ผลของดอกดาหลาอบแห งต อการลด ... · 2017-08-15 ·...

7
ผลของดอกดาหลาอบแหงตอการลดระดับน้ําตาลในเลือดของผูมีภาวะใกลเบาหวานของ อาสาสมัครโรงพยาบาลตะโหมด จังหวัดพัทลุง Hypoglycemic Effect of Etlingera Elatior (Torch Ginger) Flower in PreDiabetes, Volunteers of Tamod Hospital, Phatthalung นายแพทยเดชา มุทธาพุทธิพงศ อาจารย นายแพทยสุรพงษ ลูกหนุมารเจา ดร.ภก.ภาณุพงศ พุทธรักษ บทคัดยอ จากการศึกษากอนหนานี้พบวา เหงาของดาหลามี ฤทธิ์ชวยตานอนุมูลอิสระ ลดการอักเสบ และระดับน้ําตาล ในเลือด เนื่องจากพบ anti–α glucosidase, anti–α amylase และพบวาในดอกดาหลามีสารประกอบทีคลายกัน โดยเฉพาะสาระสําคัญตาง ๆ ประกอบไปดวย phenol, flavonoids, anthocyanins, tannins, quercetin แตยังขาดการวิจัยในมนุษย การศึกษานี้จึงไดศึกษาผลของ การลดระดับน้ําตาลในเลือดของดอกดาหลาอบแหงในผูมี ภาวะใกลเบาหวานโดยการศึกษาเชิงทดลองครั้งนี้ไดทํา ในชวงเดือนพฤษภาคม 2559 เดือนกรกฎาคม 2559 โดย มีอาสาสมัครของโรงพยาบาลตะโหมด จ.พัทลุง ซึ่งเขาตาม เกณฑการคัดเลือก (Inclusion และ Exclusion Criteria) 24 คน และแบงเปนกลุมควบคุม กลุมทดลอง กลุมละ 12 คน โดยจะถูกสุมใหกลุมทดลองจะไดรับดอกดาหลาอบแหง บดใสแคปซูล วันละ 2 แคปซูล ปริมาณแคปซูลละ 500 mg เชา เย็นหลังอาหาร สวนกลุมควบคุมจะไดรับยาหลอก ( Corn Starch) วันละ 2 แคปซูล ปริมาณแคปซูลละ 500 mg เชา เย็นหลังอาหาร เปนเวลา 56 วัน ทุกกลุมจะตองชั่ง น้ําหนัก เจาะ FBS, BUN/Creatinine, SGOT/SGPT, Fasting serum insulin และคํานวณ HOMA score ในวันที0, 56 หลังครบ 56 วัน ปรากฏวามีอาสาสมัครออกจากการทดลอง กลุมละ 1 คน คงเหลืออาสาสมัครกลุมควบคุมกลุมทดลอง กลุมละ 11 คน วิเคราะหเปรียบเทียบระดับน้ําตาลในเลือดหลังงด อาหารอยางนอย 8 ชั่วโมง (FBS) ,Fasting insulin ,HOMA score ,SGOT ,SGPT ,BUN และ Creatinine ดวยสถิติ Wilcoxon Test และ MannWhitney U Test ผลการศึกษา พบวา ทั้งดอกดาหลาอบแหง และ corn starch สามารถลด FBS หลังการทดลองไดอยางไมมีนัยสําคัญ (p = 0.386 และ p = 0.398 ตามลําดับ) และพบวา การเปลี ่ยนแปลงคา Fasting insulin และ HOMA score ของดอกดาหลา อบแหง หลังทดลองมีคาลดลง ซึ่งแปลผลไดวามีความไวตอ insulin ที่เพิ่มมากขึ้น แตผลที่ไดก็ไมแตกตางอยางมีนัยสําคัญ ทางสถิติ (p=0.996 และ p=0.534 ตามลําดับ) คา SGOT, SGPT, BUN, Creatinine ทั้งดอกดาหลาอบแหง และ corn starch กอนและหลังการทดลองไมมีความแตกตางอยางมี นัยสําคัญทางสถิติ ABSTRACT The previous studies have shown that rhizome of Etlingera elatior (torch ginger) can be anti–oxidant ,reduce inflammation and blood sugar level because found anti α glucosidase, anti α amylase and found that Etlingera elatior ( torch ginger) flower have compounding same as rhizome of Etlingera elatior (torch ginger) especially main compounding such as phenol, flavonoids, anthocyanins, tannins, quercetin but still lack of researches for human. So this research studied effect of Etlingera elatior (torch ginger) flower for anti diabetic activity in prediabetes.This study consist of the volunteers following inclusion and exclusion criteria 24 subjects divided into 2 groups randomly: 12 subjects in the control group received (corn starch 500mg/capsule, 2 capsules/day, morning and evening after meal) and 12 subjects in the treatment group received ( Etlingera elatior flower 500 mg/capsule, 2 capsules/day, morning and evening after meal) for 56 days. Subjects in both groups were measured body weight, FBS, BUN/Creatinine, SGOT/SGPT, Fasting serum insulin and calculated HOMA score at day 0 and 56. When study was done, found volunteer lost during study ( 1 subject per group) . Volunteers remained 22 subjects ,11 subjects per group. FBS , fasting insulin ,HOMA score , รายงานสืบเนองการประชุมวิชาการและนำาเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ครั้งที่ 1 “นวัตกรรมสร้างสรรค์ ศาสตร์พระราชาสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน ไทยแลนด์ 4.0” 3

Upload: others

Post on 17-Jan-2020

5 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: ผลของดอกดาหลาอบแห งต อการลด ... · 2017-08-15 · อาจารย นายแพทย สุรพงษ ลูกหนุมารเจ

ผลของดอกดาหลาอบแหงตอการลดระดับน้ําตาลในเลือดของผูมีภาวะใกลเบาหวานของอาสาสมัครโรงพยาบาลตะโหมด จังหวัดพัทลุง

Hypoglycemic Effect of Etlingera Elatior (Torch Ginger) Flower in Pre–Diabetes, Volunteers of Tamod Hospital, Phatthalung

นายแพทยเดชา มุทธาพุทธิพงศ

อาจารย นายแพทยสุรพงษ ลูกหนุมารเจา

ดร.ภก.ภาณุพงศ พุทธรักษ

บทคัดยอ จากการศึกษากอนหนาน้ีพบวา เหงาของดาหลามีฤทธ์ิชวยตานอนุมูลอิสระ ลดการอักเสบ และระดับนํ้าตาลในเลือด เน่ืองจากพบ anti–α glucosidase, anti–α amylase และพบวาในดอกดาหลามีสารประกอบที่คลายกัน โดยเฉพาะสาระสําคัญตาง ๆ ประกอบไปดวยphenol, flavonoids, anthocyanins, tannins, quercetin แตยังขาดการวิจัยในมนุษย การศึกษาน้ีจึงไดศึกษาผลของการลดระดับนํ้าตาลในเลือดของดอกดาหลาอบแหงในผูมีภาวะใกลเบาหวานโดยการศึกษาเชิงทดลองครั้ง น้ีไดทําในชวงเดือนพฤษภาคม 2559 – เดือนกรกฎาคม 2559 โดยมีอาสาสมัครของโรงพยาบาลตะโหมด จ.พัทลุง ซ่ึงเขาตามเกณฑการคัดเลือก (Inclusion และ Exclusion Criteria) 24 คน และแบงเปนกลุมควบคุม – กลุมทดลอง กลุมละ 12 คน โดยจะถูกสุมใหกลุมทดลองจะไดรับดอกดาหลาอบแหงบดใสแคปซูล วันละ 2 แคปซูล ปริมาณแคปซูลละ 500 mg เชา เย็นหลังอาหาร สวนกลุมควบคุมจะไดรับยาหลอก (Corn Starch) วันละ 2 แคปซูล ปริมาณแคปซูลละ 500 mg เชา เย็นหลังอาหาร เปนเวลา 56 วัน ทุกกลุมจะตองชั่งนํ้าหนัก เจาะ FBS, BUN/Creatinine, SGOT/SGPT, Fasting serum insulin และคํานวณ HOMA score ในวันที่ 0, 56 หลังครบ 56 วัน ปรากฏวามีอาสาสมัครออกจากการทดลองกลุมละ 1 คน คงเหลืออาสาสมัครกลุมควบคุม–กลุมทดลอง กลุมละ 11 คน วิเคราะหเปรียบเทียบระดับนํ้าตาลในเลือดหลังงดอาหารอยางนอย 8 ชั่วโมง (FBS) ,Fasting insulin ,HOMA score ,SGOT ,SGPT ,BUN และ Creatinine ดวยสถิติ Wilcoxon Test และ Mann–Whitney U Test ผลการศึกษาพบวา ทั้งดอกดาหลาอบแหง และ corn starch สามารถลด FBS หลังการทดลองไดอยางไมมีนัยสําคัญ (p = 0.386 และ p = 0.398 ตามลําดับ) และพบวา การเปล่ียนแปลงคา Fasting insulin และ HOMA score ของดอกดาหลาอบแหง หลังทดลองมีคาลดลง ซ่ึงแปลผลไดวามีความไวตอ

insulin ที่เพิ่มมากขึ้น แตผลที่ไดก็ไมแตกตางอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p=0.996 และ p=0.534 ตามลําดับ) คา SGOT, SGPT, BUN, Creatinine ทั้งดอกดาหลาอบแหง และ corn starch กอนและหลังการทดลองไมมีความแตกตางอยางมีนัยสําคัญทางสถิต ิ ABSTRACT The previous studies have shown that rhizome of Etlingera elatior (torch ginger) can be anti–oxidant ,reduce inflammation and blood sugar level because found anti–α glucosidase, anti–α amylase and found that Etlingera elatior (torch ginger) flower have compounding same as rhizome of Etlingera elatior (torch ginger) especially main compounding such as phenol, flavonoids, anthocyanins, tannins, quercetin but still lack of researches for human. So this research studied effect of Etlingera elatior (torch ginger) flower for anti–diabetic activity in pre–diabetes.This study consist of the volunteers following inclusion and exclusion criteria 24 subjects divided into 2 groups randomly: 12 subjects in the control group received (corn starch 500mg/capsule, 2 capsules/day, morning and evening after meal) and 12 subjects in the treatment group received (Etlingera elatior flower 500 mg/capsule, 2 capsules/day, morning and evening after meal) for 56 days. Subjects in both groups were measured body weight, FBS, BUN/Creatinine, SGOT/SGPT, Fasting serum insulin and calculated HOMA score at day 0 and 56. When study was done, found volunteer lost during study (1 subject per group). Volunteers remained 22 subjects ,11 subjects per group. FBS ,fasting insulin ,HOMA score ,

รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการและนำาเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ครั้งที่ 1

“นวัตกรรมสร้างสรรค์ ศาสตร์พระราชาสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน ไทยแลนด์ 4.0”3

Page 2: ผลของดอกดาหลาอบแห งต อการลด ... · 2017-08-15 · อาจารย นายแพทย สุรพงษ ลูกหนุมารเจ

SGOT ,SGPT ,BUN, and creatinine were analysed by using Wilcoxon Test and Mann–Whitney U Test. The study found that both Etlingera elatior flower and corn starch reduced FBS non significantly (p = 0.386 and p = 0.398 respectively), fasting insulin and HOMA score of Etlingera elatior flower decreased ,which showed that increase insulin resistant but it was not significantly (p=0.996, p=0.534 respectively). SGOT , SGPT ,BUN ,and creatinine of both groups were not different significantly. คําสําคัญ : ดอกดาหลา, กลุมที่มีภาวะกอนเบาหวาน, ระดับนํ้าตาลในเลือดหลังงดอาหารอยาง นอย 8 ชั่วโมง, HOMA score Keywords : Etlingera Elatior Flower, Pre– diabetes/Fasting blood sugar(FBS), HOMA score บทนํา โรคเบาหวานเปนโรคเรื้อรังที่เกิดจากตับออนไมสามารถผลิตฮอรโมนอินซูลินไดเพียงพอ หรือ รางกายไมสามารถนําฮอรโมนอินซูลินที่ผลิตออกมาไปใชได ซ่ึงฮอรโมนอินซูลินจะเปนฮอรโมนที่ควบคุมระดับนํ้าตาลในเลือด ระดับนํ้าตาลในเลือดสูง (Hyperglycemia) เปนผลที่รางกายไมสามารถควบคุมเบาหวานและสามารถนําไปสูความผิดปกติของระบบในรางกายได โดยเฉพาะระบบประสาทและหลอดเลือด ในประเทศไทยอุบัติการณโรคเบาหวานชนิดที่ 1 จะพบคอนขางต่ํากวาโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ซ่ึงโรคเบาหวานชนิดที่ 2 เปนชนิดที่พบบอยที่สุดคือพบประมาณรอยละ 95 ของผูปวยเบาหวานทั้งหมดมักพบในคนอายุ 30 ปขึ้นไปรูปรางทวมหรืออวน อาจกอใหเกิดภาวะแทรกซอนในหลายระบบของรางกาย หากไดรับการดูแลไมถูกตอง มีโอกาสเส่ียงตอการเกิดภาวะแทรกซอนทั้งแบบเฉียบพลันและแบบเรื้อรัง อาทิ เบาหวานขึ้นตา โรคหลอดเลือดสมอง โรคหลอดเลือดหัวใจ โรคไตเรื้อรัง และการสูญเสียเทาจากบาดแผลเบาหวาน สงผลกระทบตอการดํารงชีวิตของผูปวยและครอบครัว (สมาคมโรคเบาหวานแหงประเทศไทย ในพระบรมราชาชูปถัมภสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชสุมารี, สมาคมตอมไรทอแหงประเทศไทยกรมการแพทย กระทรวงสาธารณสุข และสํานักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติ. 2554 : 5) สําหรับประเทศไทย รายงานจากการสํารวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจรางกาย ครั้งที่ 4 พ.ศ. 2551–2552 พบความชุกของ

โรคเบาหวานในประชากรไทยอายุ15ปขึ้นไป คิดเปนรอยละ 6.9 ทั้งน้ีพบวาหน่ึงในสามของผูที่เปนโรคเบาหวานไมเคยไดรับการวินิจฉัยวาเปนโรคเบาหวานมากอน และมีผูที่ไดรับการวินิจฉัยวาเปนโรคเบาหวานแตไมไดรับการรักษา คิดเปนรอยละ 3.3 สถิติจากประเทศตาง ๆ พบวาผูปวยโรคเบาหวานที่สามารถควบคุมนํ้าตาลใหอยู ในเกณฑที่ เหมาะสมได มีประมาณรอยละ 20–70 สําหรับประเทศไทย ป 2555 พบผูเสียชี วิตจากโรคเบาหวานทั้งหมด 7,749 ราย หรือเฉล่ียวันละ 22 คน คิดเปนอัตราตายดวยโรคเบาหวาน 12.06 ตอแสนประชากร และมีผูปวยดวยโรคเบาหวานเขาพักรักษาตัวในโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข จํานวน 674,826 ครั้ง คิดเปนอัตราปวยดวยโรคเบาหวาน เทากับ 1050.05 ตอแสนประชากร (สํานักโรคไมติดตอ กรมควบคมุโรค. 2556) ป จ จั ยที่ เ ก่ี ย วข อง กั บภ าวะแทรกซ อนของโรคเบาหวาน ไดแก ระยะเวลาการเปนโรคเบาหวาน อายุ ดัชนีมวลกาย การสูบบุหรี่ ผลกระทบของการสูบบุหรี่ทําใหการดื้ออินซูลิน (Insulin Resistance) ผลการรักษาเบาหวานเลวลง เกิดกลุมอาการเมตาบอลิก มีภาวะแทรกซอนของหลอดเลือดเล็กและหลอดเลือดใหญ ตลอดจนอัตราตายสูงขึ้น (ราม รังสินธุ , ธีรยุทธ สุขมี, ปยทัศน ทัศนาวิวัฒน และคณะทํางานเจาหนาที่เครือขายวิจัยคลินิกสหสถาบัน. 2555) ปจจุบันน้ีภาวะที่ เจอไดบอยขึ้น คือภาวะใกลเบาหวาน หรือที่เรียกวา Pre-diabetes (Impaired Glucose Metabolism) เปนภาวะที่มีระดับนํ้าตาลในเลือดสูงกวาปกติ แตไมสูงพอที่จะวินิจฉัยเปนโรคเบาหวานได ซ่ึงมีความเส่ียงที่จะพัฒนาไปเปนโรคเบาหวานชนิดที่ 2 เชนเดียวกับการเกิดโรคหัวใจและโรคหลอดเลือดสมอง มักจะพบวาใชเวลาในการพัฒนาไปเปนโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ภายใน 10 ป (American Diabetes Association. 2012) ผลการศึกษาของ Nichols พบวา คนที่ มีระดับนํ้าตาลในเลือด 90–94 mg/dl มีโอกาสเปล่ียนเปนโรคเบาหวาน มากกวาคนที่มี FBS < 85 mg/dl 1.5 เทา และคนที่ มีระดับนํ้าตาลในเลือด 95–99 mg/dl มีโอกาสเปนเบาหวานมากขึ้น 2.3 เทา ส่ิงสําคัญที่สุดของการดูแลเบาหวาน และภาวะใกลเบาหวานคือการสอนใหผูที่มีความเส่ียงและผูที่เปนเบาหวานแลวรูจักดูแลตนเองในเรื่องของอาหาร จัดการกับความเครียด อย างเหมาะสม และการออกกําลั งกายน่ันคื อ “การปรับเปล่ียนพฤติกรรม” รวมถึงการดูแลรักษาแบบองครวม ปจจุบันสมุนไพรไดเขามามีบทบาทในการรักษาและควบคุมความรุนแรงของโรคที่มีผลตอสุขภาพชีวิตของคนไทย

รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการและนำาเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ครั้งที่ 1

“นวัตกรรมสร้างสรรค์ ศาสตร์พระราชาสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน ไทยแลนด์ 4.0”4

Page 3: ผลของดอกดาหลาอบแห งต อการลด ... · 2017-08-15 · อาจารย นายแพทย สุรพงษ ลูกหนุมารเจ

ไดหลาย ๆ โรคโรคเบาหวานก็เปนอีกโรคหน่ึงที่สามารถใชสมุนไพรในการควบคุมความรุนแรงของโรคได เชนเมล็ดหวา ใบแปะตําปง ใบหมอน และสมุนไพรอีกจํานวนมาก รวมถึงดอกดาหลาทีนํ่ามาใชในงานวิจัยน้ี ซ่ึงหาไดงายในพื้นที่ทําการวิจัย มีความปลอดภัยเน่ืองจากเปนสมุนไพรพื้นบาน มีการนํามาประกอบอาหาร รวมถึงเปนยาสมุนไพรพื้นบาน และมีงานวิจัยรองรับ วามีสารตานอนุมูลอิสระ และสามารถลดนํ้าตาลได “ดาหลา” มีชื่อทางวิทยาศาสตร คือ Etlingera elatior เปนพืชสมุนไพรชนิดหน่ึงที่มีแหลงกําเนิดในแถบภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต ไดแก ประเทศอินโดนีเซีย ประเทศมาเลเซีย และภาคใตของประเทศไทย ซ่ึงเปนสมุนไพรพื้นบานมาแตดั้ งเดิม เชน ใชรักษาอาการปวดหู รักษาโรคเบาหวาน ตานการอักเสบ ตานอนุมูลอิสระ หรือใชทําความสะอาดแผล อีกทั้งใชประกอบอาหาร ทั้งตมจ้ิมนํ้าพริก ทําแกงสม แกงจืด แกงเผ็ด แกงกะทิ และผสมในขาวยําที่เปนอาหารเอกลักษณประจําทองถิ่นของภาคใต หรือบางแหงก็นําดอกดาหลาไปแปรรูปเปนนํ้าสมุนไพร ไวนสมุนไพร นํ้าสม นํ้ายาทําความสะอาด หรือแมแตนําไปทําเปนนํ้าหมัก ดังน้ันผูวิจัยจึงตองการศึกษาเรื่องดอกดาหลามีผลตอการลดระดับนํ้าตาลในเลือดในประชากรที่เริ่มระดับนํ้าตาลในเลือดสูง เน่ืองจากหาวัตถุดิบไดงาย ในสถานที่ที่วางแผนทํางานวิจัยน้ี และเปนอาหารพื้นบานในภาคใตของประเทศไทยที่ประชากรในภาคใตคุนเคยเปนอยางดี อีกทั้งมีงานวิจัยรองรับ ในเรื่องของการลดนํ้าตาลในเลือด และเปนสารตานอนุมูลอิสระ ซ่ึงเปนสาเหตุอีกอยางหน่ึงของการเกิดโรคเบาหวาน รวมถึงงาน วิจัยของ Srey, Sontimung, Thengyai, Ovatlarnporn, & Puttarak (2014) ไดกลาวถึงเหงาของดาหลามีสาระสําคัญตางๆ ประกอบไปดวย phenol, flavonoids, anthocyanins, tannins, quercetin ซ่ึงมีฤทธ์ิชวยตานอนุมูลอิสระ ลดการอักเสบ และระดับนํ้าตาลในเลือด เน่ืองจากพบ anti–α glucosidase, anti–α amylase ในสารดังกลาว และพบวาในดอกดาหลามีสารประกอบที่คลายกันกับเหงาของดาหลา แตสามารถนํามาประกอบเปนอาหารไดงายกวาเหงา รวมกับมีการใชดอกดาหลา ประกอบอาหาร และใชเปนยาพื้นบานเพื่อลดอาการอักเสบ ปวดหู จึงเหมาะในการนํามาใชในงานวิจัยครั้งน้ี โดยหวังเปนอยางยิ่งวางานวิจัยชิ้นน้ีจะเปนประโยชนตอประชากรที่เริ่มมีระดับนํ้าตาลในเลือดสูง และสามารถนําไปพัฒนาเปน “โภชเภสัช (Nutraceutical)” ไดในอนาคต เพื่อเปนตัวเลือกหน่ึงในการลดอัตราเส่ียงของการเกิดโรคเบาหวาน

วัตถุประสงค เพื่อศึกษาผลของดอกดาหลาอบแหงตอการลดของระดับนํ้าตาลในเลือดของผูที่มีภาวะใกลเบาหวาน

สมมติฐาน ผูที่มีภาวะใกลเบาหวานทานดอกดาหลาอบแหงมีผลทําใหระดับนํ้าตาลในเลือดลดลง

วิธีการดําเนินงานวิจัย รู ป แ บ บ ข อ ง ง า น วิ จั ย เ ป น Experimental Research โดยมีตัวแปรดังน้ี – ตัวแปรตน : ดอกดาหลาบดอบแหง – ตัวแปรควบคุม : อายุ, เพศ, เชื้อชาติ, โรค ประจําตัว – ตัวแปรตาม : FBS Fasting insulin HOMA score SGOT /SGPT BUN, Creatinine กอนเริ่มงานวิจัย ทางผูวิจัยไดตั้งสมมติฐานดังน้ี – ดาหลาสามารถลดระดับนํ้าตาลในเลือดในผูที่มีภาวะใกลเบาหวานได – ดอกดาหลาปองกันการพัฒนาของโรคจากภาวะใกลเบาหวานไปเปนโรคเบาหวานได ผูวิจัยไดดําเนินการตามลําดับขั้นตอนดังตอไปน้ี 1. ประชากรและกลุมตัวอยาง กลุมประชากรคือผูปวยที่มีตรวจสุขภาพประจําปที่โรงพยาบาลตะโหมด อ .ตะโหมด จ.พัทลุง ในชวงเดือนพฤษภาคม 2559–กรกฎาคม 2559 พบวามีระดับนํ้าตาลในเลือดในขณะทองวาง และงดอาหารเปนเวลาอยางนอย 8 ชั่วโมงสูงกวา 100 แตไมสูงเกิน 125 หรือที่เรียกวา “Pre–diabetes” จํานวน 28 คน กลุมตัวอยางคือผูปวยที่มีตรวจสุขภาพประจําปที่โรงพยาบาลตะโหมด อ .ตะโหมด จ.พัทลุง ในชวงเดือนพฤษภาคม 2559–กรกฎาคม 2559 พบวามีระดับนํ้าตาลในเลือดในขณะทองวาง และงดอาหารเปนเวลาอยางนอย 8 ชั่วโมงสูงกวา 100 แตไมสูงเกิน 125 หรือที่เรียกวา “Pre–diabetes”จํานวน 22 คน ที่ไดจากการสุมแบบ Simple Random Sampling หลังจากน้ันแบงกลุมตัวอยางเปนกลุมทดลอง 11 คน และกลุมควบคุม 11 คน โดยใชเทคนิค Double Blind Control และมีเกณฑคัดเลือกดังน้ี

รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการและนำาเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ครั้งที่ 1

“นวัตกรรมสร้างสรรค์ ศาสตร์พระราชาสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน ไทยแลนด์ 4.0”5

Page 4: ผลของดอกดาหลาอบแห งต อการลด ... · 2017-08-15 · อาจารย นายแพทย สุรพงษ ลูกหนุมารเจ

Inclusion Criteria – ประชากรเพศหญิงหรือชาย อายุ 25–70 ป – มีสุขภาพดี, ไมมีประวัติเปนโรคเรื้อรัง, การเจ็บปวยหนักและโรคเก่ียวกับระบบทางเดินอาหาร, ตับ, ไตและโรคเบาหวาน – มีระดับ FBS level ≥ 100 mg/dL to≤ 125 mg/dL – ผูที่ไมไดรับยา หรืออาหารเสริมที่มีผลตอระดับระดับนํ้าตาลในเลือดผูที่สมัครใจเขารวมโครงการดวยความเต็มใจ ไดรับทราบขอมูลโครงการทั้งขอดีและขอเสียอยางละเอียด แลวจึงลงลายมือชื่อในเอกสารแสดงความยินยอมเขารวมโครงการ Exclusion Criteria – เปนโรคเบาหวาน หรือมีโรคประจําตัวอ่ืน ๆ – รับประทานยาหรื ออาหารเสริม ซ่ึงอาจมีผลกระทบตอระดับนํ้าตาล และฮอรโมนอินซูลินในเลือด – อาสาสมัครที่ตั้งครรภและใหนมบุตร กลุมตัวอยาง อางอิงจากการศึกษาของ พ .ญ .วรรณพร พั วประเสริฐ & Prof Dr. Werner Kurotshka เรื่อง “Effect of Syzygium cumini (L.) Skeels seed extract on lowering blood glucose level in Thai people with impaired fasting glucose” เพื่อใชคาเฉล่ียและคาความแปรปรวนของระดับนํ้าตาลในเลือดในขณะทองวาง และงดอาหารเปนเวลาอยางนอย 8 ชั่วโมงของกลุมทดลอง 2 กลุมในการคํานวณ

n0 = 2Z2α/2σ2

d2 เม่ือ Z คือ คาจากตาราง Z ที่ความนาจะเปน α/2 เม่ือเปนการทดสอบทางสองทาง σ2 คือ ความแปรปรวนของขอมูลในประชากร d คือ ความคลาดเคล่ือนที่มากที่ สุดที่ยอมใหเกิดขึ้นไดเม่ือนําคาตัวอยางไปประมาณคาประชากร ซ่ึงผูวิจัยกําหนดใหมีคาเทากับ 5.5 และกําหนดชวงความเชื่อม่ันที่ α = 0.05

ดังน้ันตองสุมกลุมตัวอยาง 9 คน เพื่อการวิจัยครั้งน้ี Drop Out อีก 30% คิดเปนกลุมตัวอยาง 3 คนเพื่อปองกันการสูญหายระหวางการทดลอง ดังน้ัน n =12 2. เคร่ืองมือเคร่ืองมือที่ใชในการวิจัย – แบบบันทึกขอมูลในการวิจัย

– เอกสารชี้แจงรายละเอียดของงานวิจัยสําหรับผูที่เขารวมงานวิจัย – เอกสารยินยอมเขารวมงานวิจัย ( Inform Consent) – หนังสือรับรองจริยธรรมการวิจัยในมนุษยเอกสารเลขที่ 030/2559 – คูมือรับประทานดอกดาหลาอบแหง – ดอกดาหลาที่ลางทําความสะอาดนํามาหั่นเปนชิ้นเล็ก และนําไปผานลมรอน 50 ºC เปนเวลา 48 ชั่วโมง หลังจากน้ันนําไปบดละเอียด และนํามาบรรจุแคปซูลขนาด 500 มิลลิกรัม

เครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูล – หลอดพลาสติกขนาด 5 มล . สําหรับเก็บตัวอยางเลือด (ไซริงจ) – เข็มเจาะดูดเลือด – เครื่องตรวจระดับนํ้าตาลในเลือดที่ไดรับการตรวจสอบมาตรฐาน Calibration 3. การเก็บรวบรวมขอมูล 3.1 ผูทํางานวิจัยทําการแบงกลุมอาสาสมัครออกเปน 2 กลุมดวยวิธีการสุม คือ กลุมทดลองและกลุมควบคุม กลุมละ 12 คน โดยไมมีขอจํากัดการวิจัย ในการแนะนําใหมีการปรับเปล่ียนพฤติกรรม หรือเพิ่มการออกกําลังกาย ทั้งน้ีผูเขารวมงานวิจัย ยังคงมีพฤติกรรมแบบเดิมกอนเขารับการวิจัย 3.2 กลุมทดลองจะไดรับดอกดาหลาอบแหงบดใสแคปซูล วันละ 2 แคปซูล ปริมาณแคปซูลละ500 mg เชา เยน็หลังอาหาร และกลุมควบคุมจะไดรับยาหลอก วันละ 2 แคปซูล เชา เย็นหลังอาหารเปนเวลา 56 วัน 3.3 อาสาสมัครทั้ง 2 กลุม จะตองชั่งนํ้าหนัก และเจาะเลือดเพื่อตรวจวัดระดับนํ้าตาลในเลือดในขณะทองวาง และงดอาหารเปนเวลาอยางนอย 8 ชั่วโมง (FBS) การทํางานของไต (BUN/Creatinine) เอ็นไซมตับ (SGOT, SGPT) ระดับอินซูลินในเลือด (Fasting Plasma Insulin) และนํามาคํานวณภาวะดื้อของอินซูลิน (HOMA score) ในวันม่ี 0 และ 56 3.4 นําขอมูลที่ได มาเก็บเรียงเรียงในตาราง เพื่อนํามาวิเคราะหตอไป 4. การวิเคราะหขอมูล นํานํ้าหนักที่วัดได ผลระดับนํ้าตาลในเลือดในขณะทองวาง และงดอาหารเปนเวลาอยางนอย 8 ชั่วโมง (FBS) ระดับอินซูลินในเลือด (Fasting plasma insulin) และนํามาคํานวณภาวะดื้อของอินซูลิน (HOMA score) การทํางานของ

รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการและนำาเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ครั้งที่ 1

“นวัตกรรมสร้างสรรค์ ศาสตร์พระราชาสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน ไทยแลนด์ 4.0”6

Page 5: ผลของดอกดาหลาอบแห งต อการลด ... · 2017-08-15 · อาจารย นายแพทย สุรพงษ ลูกหนุมารเจ

Inclusion Criteria – ประชากรเพศหญิงหรือชาย อายุ 25–70 ป – มีสุขภาพดี, ไมมีประวัติเปนโรคเรื้อรัง, การเจ็บปวยหนักและโรคเก่ียวกับระบบทางเดินอาหาร, ตับ, ไตและโรคเบาหวาน – มีระดับ FBS level ≥ 100 mg/dL to≤ 125 mg/dL – ผูที่ไมไดรับยา หรืออาหารเสริมที่มีผลตอระดับระดับนํ้าตาลในเลือดผูที่สมัครใจเขารวมโครงการดวยความเต็มใจ ไดรับทราบขอมูลโครงการทั้งขอดีและขอเสียอยางละเอียด แลวจึงลงลายมือชื่อในเอกสารแสดงความยินยอมเขารวมโครงการ Exclusion Criteria – เปนโรคเบาหวาน หรือมีโรคประจําตัวอ่ืน ๆ – รับประทานยาหรื ออาหารเสริม ซ่ึงอาจมีผลกระทบตอระดับนํ้าตาล และฮอรโมนอินซูลินในเลือด – อาสาสมัครที่ตั้งครรภและใหนมบุตร กลุมตัวอยาง อางอิงจากการศึกษาของ พ .ญ .วรรณพร พั วประเสริฐ & Prof Dr. Werner Kurotshka เรื่อง “Effect of Syzygium cumini (L.) Skeels seed extract on lowering blood glucose level in Thai people with impaired fasting glucose” เพื่อใชคาเฉล่ียและคาความแปรปรวนของระดับนํ้าตาลในเลือดในขณะทองวาง และงดอาหารเปนเวลาอยางนอย 8 ชั่วโมงของกลุมทดลอง 2 กลุมในการคํานวณ

n0 = 2Z2α/2σ2

d2 เม่ือ Z คือ คาจากตาราง Z ที่ความนาจะเปน α/2 เม่ือเปนการทดสอบทางสองทาง σ2 คือ ความแปรปรวนของขอมูลในประชากร d คือ ความคลาดเคล่ือนที่มากที่ สุดที่ยอมใหเกิดขึ้นไดเม่ือนําคาตัวอยางไปประมาณคาประชากร ซ่ึงผูวิจัยกําหนดใหมีคาเทากับ 5.5 และกําหนดชวงความเชื่อม่ันที่ α = 0.05

ดังน้ันตองสุมกลุมตัวอยาง 9 คน เพื่อการวิจัยครั้งน้ี Drop Out อีก 30% คิดเปนกลุมตัวอยาง 3 คนเพื่อปองกันการสูญหายระหวางการทดลอง ดังน้ัน n =12 2. เคร่ืองมือเคร่ืองมือที่ใชในการวิจัย – แบบบันทึกขอมูลในการวิจัย

– เอกสารชี้แจงรายละเอียดของงานวิจัยสําหรับผูที่เขารวมงานวิจัย – เอกสารยินยอมเขารวมงานวิจัย ( Inform Consent) – หนังสือรับรองจริยธรรมการวิจัยในมนุษยเอกสารเลขที่ 030/2559 – คูมือรับประทานดอกดาหลาอบแหง – ดอกดาหลาที่ลางทําความสะอาดนํามาหั่นเปนชิ้นเล็ก และนําไปผานลมรอน 50 ºC เปนเวลา 48 ชั่วโมง หลังจากน้ันนําไปบดละเอียด และนํามาบรรจุแคปซูลขนาด 500 มิลลิกรัม

เครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูล – หลอดพลาสติกขนาด 5 มล . สําหรับเก็บตัวอยางเลือด (ไซริงจ) – เข็มเจาะดูดเลือด – เครื่องตรวจระดับนํ้าตาลในเลือดที่ไดรับการตรวจสอบมาตรฐาน Calibration 3. การเก็บรวบรวมขอมูล 3.1 ผูทํางานวิจัยทําการแบงกลุมอาสาสมัครออกเปน 2 กลุมดวยวิธีการสุม คือ กลุมทดลองและกลุมควบคุม กลุมละ 12 คน โดยไมมีขอจํากัดการวิจัย ในการแนะนําใหมีการปรับเปล่ียนพฤติกรรม หรือเพิ่มการออกกําลังกาย ทั้งน้ีผูเขารวมงานวิจัย ยังคงมีพฤติกรรมแบบเดิมกอนเขารับการวิจัย 3.2 กลุมทดลองจะไดรับดอกดาหลาอบแหงบดใสแคปซูล วันละ 2 แคปซูล ปริมาณแคปซูลละ500 mg เชา เยน็หลังอาหาร และกลุมควบคุมจะไดรับยาหลอก วันละ 2 แคปซูล เชา เย็นหลังอาหารเปนเวลา 56 วัน 3.3 อาสาสมัครทั้ง 2 กลุม จะตองชั่งนํ้าหนัก และเจาะเลือดเพื่อตรวจวัดระดับนํ้าตาลในเลือดในขณะทองวาง และงดอาหารเปนเวลาอยางนอย 8 ชั่วโมง (FBS) การทํางานของไต (BUN/Creatinine) เอ็นไซมตับ (SGOT, SGPT) ระดับอินซูลินในเลือด (Fasting Plasma Insulin) และนํามาคํานวณภาวะดื้อของอินซูลิน (HOMA score) ในวันม่ี 0 และ 56 3.4 นําขอมูลที่ได มาเก็บเรียงเรียงในตาราง เพื่อนํามาวิเคราะหตอไป 4. การวิเคราะหขอมูล นํานํ้าหนักที่วัดได ผลระดับนํ้าตาลในเลือดในขณะทองวาง และงดอาหารเปนเวลาอยางนอย 8 ชั่วโมง (FBS) ระดับอินซูลินในเลือด (Fasting plasma insulin) และนํามาคํานวณภาวะดื้อของอินซูลิน (HOMA score) การทํางานของ

ไต (BUN/Creatinine) เอ็นไซมตับ (SGOT, SGPT) ในวันที่ 0 และ 56 มาประเมิน และสรุปผลการทดลอง 5. สถิติที่ใชในการวิจัย สถิติที่ใชในการทดสอบเลือกใช Wilcoxon Signed Rank test สําหรับเปรียบเทียบการทดสอบผลการตรวจกอนและหลังการทดลอง ในกลุมเดียวกัน (กลุมทดลอง และกลุมควบคุม) และใช Mann–Whitney U Test สําหรับเปรียบเทียบการทดสอบผลการตรวจกอนและหลังการทดลอง ระหวางกลุม (กลุมทดลอง และกลุมควบคุม) สรุปผล การวิจัยครั้งน้ีเปนการศึกษาเชิงทดลองทางคลินิกเพื่อศึกษาการทานดาหลาอบแหงมีผลตอการลดระดับนํ้าตาลในเลือดในประชากรที่ เริ่มระดับนํ้าตาลในเลือดสูง โดยเปรียบเทียบระดับนํ้าตาลในเลือดในขณะทองวาง และงดอาหารเปนเวลาอยางนอย 8 ชั่วโมง (FBS) หลังทานดาหลาอบแหงเปรียบเทียบกับการทานยาหลอก (Corn Starch) เปนเวลา 56 วัน โดยมีอาสาสมัครเขารวมงานวิจัยทั้งหมด 24 คน แบงเปน 2 กลุม คือ กลุมควบคุม 12 คน และกลุมทดลอง 12 คน แตมีอาสาสมัครไดออกจากการวิจัย ระหวางการทําวิจัย กลุมละ 1 คน เหลืออาสาสมัคร กลุมควบคุม 11 คน และกลุมทดลอง 11 คน คาเริ่มตนของระดับนํ้าตาลในเลือดในขณะทองวาง และงดอาหารเปนเวลาอยางนอย 8 ชั่วโมง (FBS) ของทั้งสองกลุมไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ความเชื่อม่ันที ่95% (α = 0.05) เม่ือเปรียบเทียบการเปล่ียนแปลงคา FBS ของกอนและหลังส้ินสุดการทดลอง พบวา FBS ลดลงจาก Baseline เดิม อยางไมมีนัยสําคัญ ทั้งกลุมของดอกดาหลาบดแหง และยาหลอก (p = 0.386 และ p = 0.398 ตามลําดับ)

เม่ือเปรียบเทียบการเปล่ียนแปลงคา Fasting Insulin กอนและหลังส้ินสุดการทดลอง ของกลุมดาหลาอบแหงและกลุมยาหลอก พบวาไมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ แตคา Fasting Insulin มีแนวโนมลดลงในกลุมที่ทานดาหลาอบแหง

(p = 0.996) ซ่ึงแปลผลไดวามีความไวตอ Insulin เพิ่มมากขึ้น

เม่ือเปรียบเทียบการเปล่ียนแปลงคา HOMA score ของกอนและหลังส้ินสุดการทดลอง ของกลุมดาหลาอบแหงและกลุมยาหลอก พบวาไมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ แตคา HOMA score มีแนวโนมลดลงในกลุมที่ทานดาหลาอบแหง (p=0.534) เชนเดียวกับคา fasting insulin ซ่ึงแปลผลไดวามีความไวตอ insulin เพิ่มมากขึ้นเชนเดียวกัน

เม่ือเปรียบเทียบการเปล่ียนแปลงคา SGOT/SGPT ของกอนและหลังส้ินสุดการทดลอง ภายในกลุมการทดลอง และระหวางกลุมดาหลาอบแหงและกลุมยาหลอก พบวาไมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการและนำาเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ครั้งที่ 1

“นวัตกรรมสร้างสรรค์ ศาสตร์พระราชาสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน ไทยแลนด์ 4.0”7

Page 6: ผลของดอกดาหลาอบแห งต อการลด ... · 2017-08-15 · อาจารย นายแพทย สุรพงษ ลูกหนุมารเจ

เม่ือเปรียบเทียบการเปล่ียนแปลงคา BUN/Creatinine ของกอนและหลังส้ินสุดการทดลอง ภายในกลุมการทดลอง และระหวางกลุมดาหลาอบแหงและกลุมยาหลอก พบวาไมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิต ิ

อภิปรายผล จากผลการวิจัยเรื่อง ผลของดอกดาหลาอบแหงตอการลดระดับนํ้าตาลในเลือดของผูมีภาวะใกลเบาหวานของอาสาสมัครโรงพยาบาลตะโหมด จ.พัทลุง พบวาดอกดาหลาอบแหงขนาด 500 มิลลิกรัม เชา–เย็น รวม 1000 มิลลิกรัม ติดตอกันเปนเวลา 8 สัปดาห มีผลตอการลดลงของระดับนํ้าตาลในเลือดในขณะทองวาง และงดอาหารเปนเวลาอยางนอย 8 ชั่วโมง (FBS) ซ่ึงสอดคลองกับสมมติฐานของผูวิจัยที่ตั้งไวตอนแรกวาดอกดาหลาสามารถลดระดับนํ้าตาลในเลือดในผูที่มีภาวะใกลเบาหวาน และสอดคลองกับงานวิจัยของ

Ruyani, Sundaryono ,Rozi, Samitra & Gresinta (2014) ที่ ก ล า ว ถึ ง ใ บ ข อ ง พื ช ต ร ะ กู ล ด า ห ล า ( Etlingera Hemisphaerica) ลดนํ้าตาลไดในหนู และจากงานวิจัยของ Srey and others (2014) ที่กลาวถึงเหงาของดาหลามีสาร anti–amylase, anti–glucosidase ซ่ึงสามารถลดระดับนํ้าตาลได แตการลดลงของ FBS ไมมีความแตกตางอยางมีนัยสําคัญ เชนเดียวกับยาหลอก ซ่ึงคา FBS ลดลงหลังการทดลองเชนกัน อาจเน่ืองมาจากอาสาสมัครที่เขารวมการวิจัยทุกคน ตระหนักวามีภาวะใกลเบาหวาน จึงมีการปรับเปล่ียนพฤติกรรมการรับประทานอาหาร และการออกกําลังกาย ไปในแนวทางที่ดีขึ้น ผลจากการวิเคราะหการเปล่ียนแปลงของคา fasting insulin และ HOMA score ของกอนและหลังส้ินสุดการทดลอง ภายในกลุมและระหวางกลุมดาหลาอบแหงและกลุมยาหลอก พบวาไมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ แตคา fasting insulin และ HOMA score มีแนวโนมลดลงในกลุมที่ทานดาหลาอบแหง ซ่ึงแปลผลไดวามีความไวตอ insulin เพิ่ มมากขึ้ น ซ่ึ งสอดคลองกับงานวิ จัยของ Maimulyanti & Prihadi (2015) ซ่ึ งกลาวถึ งสาร antioxidant ในดอกดาหลา โดยสาร antioxidant มีผลชวยให insulin resistance ดีขึ้น และงานวิจัยของ Park and others (2009) ที่กลาวถึง oxidative stress มีผลตอการเพิ่มขึ้นของ insulin resistance ซ่ึงระยะเวลาที่ใชในการทดลองที่นอย รวมถึงจํานวนอาสาสมัครจํานวนนอย อาจเปนผลใหการทดลองมีความแตกตางอยางไมมีนัยสําคัญ

สวนผลของการเปล่ียนแปลงคา SGOT/SGPT และ BUN/Creatinine ของกอนและหลังส้ินสุดการทดลอง ภายในกลุม และระหวางกลุมดาหลาอบแหงและกลุมยาหลอก พบวาไมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ และอยูในเกณฑปกติ แสดงวาปริมาณของดาหลาอบแหง 1000 มิลลิกรัมตอวัน มีความปลอดภัย ไม มีผลตอการทํางานของตับ และไตในระยะเวลาที่ทําการทดลอง ซ่ึงอาจนําไปใชอางอิงในการทดลองครั้งตอไป ขอเสนอแนะ 1. ขอเสนอแนะในการนําไปใช 1.1 เวลาที่ใชในการวิจัยมีจํากัดเพียง 2 เดือน ทําใหผลการทดลองไมแตกตางอยางชัดเจน 1.2 จํานวนอาสาสมัครในการทดลองมีจํานวนนอย อาจเพิ่มเวลาในการเก็บขอมูล นาจะทําใหไดจํานวนอาสาสมัครที่เพิ่มขึ้น

รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการและนำาเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ครั้งที่ 1

“นวัตกรรมสร้างสรรค์ ศาสตร์พระราชาสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน ไทยแลนด์ 4.0”8

Page 7: ผลของดอกดาหลาอบแห งต อการลด ... · 2017-08-15 · อาจารย นายแพทย สุรพงษ ลูกหนุมารเจ

เม่ือเปรียบเทียบการเปล่ียนแปลงคา BUN/Creatinine ของกอนและหลังส้ินสุดการทดลอง ภายในกลุมการทดลอง และระหวางกลุมดาหลาอบแหงและกลุมยาหลอก พบวาไมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิต ิ

อภิปรายผล จากผลการวิจัยเรื่อง ผลของดอกดาหลาอบแหงตอการลดระดับนํ้าตาลในเลือดของผูมีภาวะใกลเบาหวานของอาสาสมัครโรงพยาบาลตะโหมด จ.พัทลุง พบวาดอกดาหลาอบแหงขนาด 500 มิลลิกรัม เชา–เย็น รวม 1000 มิลลิกรัม ติดตอกันเปนเวลา 8 สัปดาห มีผลตอการลดลงของระดับนํ้าตาลในเลือดในขณะทองวาง และงดอาหารเปนเวลาอยางนอย 8 ชั่วโมง (FBS) ซ่ึงสอดคลองกับสมมติฐานของผูวิจัยที่ตั้งไวตอนแรกวาดอกดาหลาสามารถลดระดับนํ้าตาลในเลือดในผูที่มีภาวะใกลเบาหวาน และสอดคลองกับงานวิจัยของ

Ruyani, Sundaryono ,Rozi, Samitra & Gresinta (2014) ที่ ก ล า ว ถึ ง ใ บ ข อ ง พื ช ต ร ะ กู ล ด า ห ล า ( Etlingera Hemisphaerica) ลดนํ้าตาลไดในหนู และจากงานวิจัยของ Srey and others (2014) ที่กลาวถึงเหงาของดาหลามีสาร anti–amylase, anti–glucosidase ซ่ึงสามารถลดระดับนํ้าตาลได แตการลดลงของ FBS ไมมีความแตกตางอยางมีนัยสําคัญ เชนเดียวกับยาหลอก ซ่ึงคา FBS ลดลงหลังการทดลองเชนกัน อาจเน่ืองมาจากอาสาสมัครที่เขารวมการวิจัยทุกคน ตระหนักวามีภาวะใกลเบาหวาน จึงมีการปรับเปล่ียนพฤติกรรมการรับประทานอาหาร และการออกกําลังกาย ไปในแนวทางที่ดีขึ้น ผลจากการวิเคราะหการเปล่ียนแปลงของคา fasting insulin และ HOMA score ของกอนและหลังส้ินสุดการทดลอง ภายในกลุมและระหวางกลุมดาหลาอบแหงและกลุมยาหลอก พบวาไมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ แตคา fasting insulin และ HOMA score มีแนวโนมลดลงในกลุมที่ทานดาหลาอบแหง ซ่ึงแปลผลไดวามีความไวตอ insulin เพิ่ มมากขึ้ น ซ่ึ งสอดคลองกับงานวิ จัยของ Maimulyanti & Prihadi (2015) ซ่ึ งกลาวถึ งสาร antioxidant ในดอกดาหลา โดยสาร antioxidant มีผลชวยให insulin resistance ดีขึ้น และงานวิจัยของ Park and others (2009) ที่กลาวถึง oxidative stress มีผลตอการเพิ่มขึ้นของ insulin resistance ซ่ึงระยะเวลาที่ใชในการทดลองที่นอย รวมถึงจํานวนอาสาสมัครจํานวนนอย อาจเปนผลใหการทดลองมีความแตกตางอยางไมมีนัยสําคัญ

สวนผลของการเปล่ียนแปลงคา SGOT/SGPT และ BUN/Creatinine ของกอนและหลังส้ินสุดการทดลอง ภายในกลุม และระหวางกลุมดาหลาอบแหงและกลุมยาหลอก พบวาไมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ และอยูในเกณฑปกติ แสดงวาปริมาณของดาหลาอบแหง 1000 มิลลิกรัมตอวัน มีความปลอดภัย ไม มีผลตอการทํางานของตับ และไตในระยะเวลาที่ทําการทดลอง ซ่ึงอาจนําไปใชอางอิงในการทดลองครั้งตอไป ขอเสนอแนะ 1. ขอเสนอแนะในการนําไปใช 1.1 เวลาที่ใชในการวิจัยมีจํากัดเพียง 2 เดือน ทําใหผลการทดลองไมแตกตางอยางชัดเจน 1.2 จํานวนอาสาสมัครในการทดลองมีจํานวนนอย อาจเพิ่มเวลาในการเก็บขอมูล นาจะทําใหไดจํานวนอาสาสมัครที่เพิ่มขึ้น

1.3 ขนาดของดอกดาหลาอบแหงที่ใชในการทดลองครั้งน้ีใชเพียงขนาดเดียว ซ่ึงเกิดจากการประยุกตจากขนาดที่ใชในการประกอบอาหาร ทําใหไมมีผลการทดลองเปรียบเทียบสําหรับดอกดาหลาอบแหงในขนาดตาง ๆ 2. ขอเสนอแนะเพื่อการวิจัยครั้งตอไป 2.1 ควรมีการศึกษาเพิ่มเติมโดยใชระยะเวลาที่นานกวาเดิม เพื่อใหเห็นแนวโนมการเปล่ียนแปลงของผลการทดลองที่ชัดเจนยิ่งขึ้น

2.2 ควรเพิ่มจํานวนอาสาสมัครในการทดลองใหมากขึ้น เพื่อเพิ่มนํ้าหนักความนาเชื่อถือของงานวิจัย 2.3 ควรใชดอกดาหลาอบแหงในหลาย ๆ ขนาด เปรี ยบ เที ยบ กัน เพื่ อดู ว าความแตกต างของประสิทธิภาพตอผลการทดลองแตละชนิด

รายการอางอิง วรรณพร พัวประเสริฐ & Prof Dr. Werner Kurotshka. (2555). Effect of Syzygium cumini (L.) Skeels seed extract

on lowering blood glucose level in Thai people with impaired fasting glucose. เชียงราย : มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง.

ราม รังสินธุ, ธีรยุทธ สุขมี, ปยทัศน ทัศนาวิวัฒน และคณะทํางานเจาหนาที่เครือขายวิจัยคลินิกสหสถาบัน. (2555). รายงานฉบับสมบูรณ การประเมินผลการดูแลผูปวยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 และความดันโลหิตสูงของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขและโรงพยาบาลสังกัดกรุงเทพมหานคร ประจําป 2555. (ออนไลน). แหลงที่มา : http://www.tima.or.th/index.php/component/attachments/download/24.

สมาคมโรคเบาหวานแหงประเทศไทย ในพระบรมราชาชูปถัมภสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชสุมารี, สมาคมตอมไรทอแหงประเทศไทยกรมการแพทย กระทรวงสาธารณสุข และสํานักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาต.ิ (2554)

สํานักโรคไมติดตอ กรมควบคุมโรค. (2556). ขอมูลโรคไมติดตอเร้ือรัง. (ออนไลน). แหลงที่มา : http://www.thaincd.com/information–statistic/non–communicable–disease–data.php

American Diabetes Association. (2012). Executive Summary : Standards of medical care. Maimulyanti, A., & Prihadi, A. R. (2015). “Chemical composition, phytochemical and antioxidant activity from

extract of Etlingera elatior flower from Indonesia,” Journal of Pharmacognosy and Phytochemistry. 3(6) : 233–238.

Park and others. (2009). “Oxidative stress and insulin resistance. The coronary artery risk development in young adults study,” Diabetes Care. 32(7) : 1302–1307.

Ruyani, A., Sundaryono, A., Rozi, Z. F., Samitra, D., & Gresinta, E. (2014). “Potential Assessment of Leaf Ethanolic Extract Honje (Etlinger Hemisphaerica) in Regulating Glucose and Triglyceride on Mice(Mus Musculus),” International Journal of Science. 3 : 70–76.

Srey, C., Sontimung, C., Thengyai, S. Ovatlarnporn, C., & Puttarak, P. (2014). “Anti α–amylase, anti–oxidation, and anti–inflammation activities of Etlingera elatior rhizome,” Journal of Chemical and Pharmaceutical Research. 6(12), 885–891.

รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการและนำาเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ครั้งที่ 1

“นวัตกรรมสร้างสรรค์ ศาสตร์พระราชาสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน ไทยแลนด์ 4.0”9