มาตรการการตรวจเงินแผ นดิน¸¡ลก-3.pdf ·...

56

Upload: others

Post on 29-Oct-2019

5 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: มาตรการการตรวจเงินแผ นดิน¸¡ลก-3.pdf · และเป นมาตรการป องกันการท ุจริต
Page 2: มาตรการการตรวจเงินแผ นดิน¸¡ลก-3.pdf · และเป นมาตรการป องกันการท ุจริต

มาตรการการตรวจเงินแผนดิน

เรื่อง การปองกันหรือควบคุมความเสยีหายใหหนวยรับตรวจปฏิบัติ รหัส มลก.๓

คํานํา ๑. พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการตรวจเงินแผนดิน พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๑๕ (๓) (ข)

และ(ง) กําหนดใหคณะกรรมการตรวจเงินแผนดินมีอํานาจหนาที่ออกระเบียบหรือประกาศ มาตรการปองกันหรือควบคุมความเสียหายใหหนวยรับตรวจใดหนวยรับตรวจหนึ่ง หรือหลายหนวยปฏิบัติ ในกรณีที่เห็นวาอาจเกิดความเสียหายเกี่ยวกับการใชจายเงินโดยหนวยรับตรวจ และมาตรการอื่นที่คณะกรรมการเห็นสมควร กอปรกับตามเจตนารมณของการตรวจสอบตาม มาตรา ๔ กําหนดใหหนวยรับตรวจปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ มติคณะรัฐมนตรี และ แบบแผนการปฏิบัติราชการอันจะกอใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุดในการบริหารการเงินของรัฐ และเปนมาตรการปองกันการทุจริต ดังนั้น เพื่อใหเปนไปตามที่กฎหมายกําหนด และสอดคลองกับนโยบายการตรวจเงินแผนดิน (พ.ศ.๒๕๔๓-๒๕๔๖) ของคณะกรรมการตรวจเงินแผนดิน ขอ ๔ และ ๕ ซ่ึงมีนโยบายใหการตรวจสอบเปนไปเพื่อการสรางสรรค รัดกุม เขมงวด มีประสิทธิภาพเพียงพอท่ีจะปองกันความเสียหายและทันตอเหตุการณ เสริมสรางวินัยทางงบประมาณและ การคลังในภาครัฐ พรอมทั้งติดตามดูแลใหปฏิบัติตามโดยเครงครัด และเปาหมายการตรวจเงินแผนดินที่กําหนดไวในขอ ๒ เปนการปองกันและควบคุมการใชจายเงินของรัฐใหเปนไปโดยถูกตอง ไมใหเกิดความเสี่ยงหรือร่ัวไหล คณะกรรมการตรวจเงินแผนดินจึงกําหนดมาตรการปองกันหรือควบคุมความเสียหายของหนวยรับตรวจ เพื่อใหหนวยรับตรวจใชเปนแนวทาง ในการปฏิบัติ

หลักการและเหตุผล ๒. การดําเนินงานของหนวยรับตรวจมีความสําคัญอยางยิ่งตอความสําเร็จของนโยบายรัฐบาล

ซ่ึงเปนแนวทางการปฏิบัติในการแกไขปญหาของประเทศชาติ การดําเนินงานจะประสบความสําเร็จไดนั้น ผูบริหารจะตองคํานึงถึงการปองกันหรือควบคุมความเสี่ยงของเหตุการณที่จะเกิดขึ้นในอนาคตอันจะเปนอุปสรรคทําใหไมสามารถดําเนินการตามที่ตั้งเปาหมายไว หากผูบริหารของ หนวยรับตรวจใหความสนใจมากเพียงพอก็จะผลักดันใหการดําเนินงานเปนไปอยางเหมาะสม สามารถบรรลุวัตถุประสงค และเปาหมายอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล สามารถปองกันหรือควบคุมความเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้นจากการดําเนินงานดังกลาว ทําใหการบริหารทรัพยากรของหนวยรับตรวจเปนไปอยางคุมคา ความเสียหายที่เกิดขึ้นจากการดําเนินงานนั้นอาจมีสาเหตุ มาจากหนวยรับตรวจขาดระบบการบริหารหรือระบบการควบคุมภายในที่ดี ระบบงานหรือ

Page 3: มาตรการการตรวจเงินแผ นดิน¸¡ลก-3.pdf · และเป นมาตรการป องกันการท ุจริต

- ๒ -

ระบบการบริหารงานและระบบการบริหารงบประมาณไมมีประสิทธิภาพ ลาชา การปฏิบัติงาน ไมเปนไปตามกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ มติคณะรัฐมนตรี และแบบแผนการปฏิบัติงาน การไมปฏิบัติตามมาตรการและหลักการบัญชี การไมปฏิบัติตามมาตรฐานที่เกี่ยวกับการควบคุม การเงินของรัฐ ผูบริหารเพิกเฉย ปลอยปละละเลย หรือละเวนการปฏิบัติหนาที่ ปฏิบัตินอกเหนืออํานาจหนาที่ รวมทั้งความไมซื่อสัตยสุจริตของผูปฏิบัติงานและผูที ่เกี่ยวของ ทั้งโดยจงใจ หรือปฏิบัติหนาที่โดยประมาทของผูบริหาร รวมทั้งขาราชการ พนักงาน ลูกจาง หรือผูปฏิบัติงานประเภทอื่นของหนวยรับตรวจ ซ่ึงถาเกิดความเสียหาย ผูรับตรวจและเจาหนาที่ผูปฏิบัติงาน อาจไดรับโทษทางอาญา แพง วินัย และตามระเบียบวินัยทางงบประมาณและการคลัง

๓. ดังนั้นการกําหนดมาตรการปองกันหรือควบคุมความเสียหายใหหนวยรับตรวจปฏิบัติจะเปนแนวทางชวยสรางความรูและความเขาใจ รวมทั้งสงเสริมและสนับสนุนใหหนวยรับตรวจปฏิบัติภารกิจ ตามอํานาจหนาที่ไดอยางมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และคุมคา ลดความเสี่ยงตอการปฏิบัติ ผิดพลาด ซ่ึงจะเปนประโยชนตอการพัฒนาประเทศอยางตอเนื่องและยั่งยืน

วัตถุประสงค ๔. เพื่อใหผูบริหารของหนวยรับตรวจตระหนักถึงความสําคัญของการปองกัน หรือควบคุมความเสียหาย

ที่อาจเกิดขึ้นกับหนวยรับตรวจ และนํามาตรการนี้ไปใชเพื่อเปนแนวทางในการปองกนัหรือควบคมุความเสียหายของหนวยงานในความรับผิดชอบของตน

๕. เพื่อเสริมสรางการบริหารจัดการที่ดี (Good Governance) กอใหเกิดการดําเนินงานที่โปรงใส ตรวจสอบได และสรางความเชื่อมั่นแกประชาชนตอผลการดําเนินงานของหนวยรับตรวจ

๖. เพื่อใหเกิดความเขาใจที่ชัดเจนในบทบาทของหนวยงาน และบุคลากรผูปฏิบัติงาน ในหนวยรับตรวจนั้น ๆ อันจะเปนการเสริมสรางจิตสํานึกในภาระหนาที่และความรับผิดชอบที่ถูกตอง และเหมาะสม

๗. เพื่อใชมาตรการนี้เปนเครื่องมือในการประเมินประสิทธิภาพในการบริหารการเงิน และการดาํเนนิงานของหนวยรับตรวจ

ขอบเขตการใช ๘. ใชกับหนวยรับตรวจทุกหนวยตามมาตรา ๔ ของพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวย

การตรวจเงินแผนดิน พ.ศ. ๒๕๔๒

คํานิยาม ๙. หนวยรับตรวจ หมายถึง (๑) กระทรวง ทบวง กรม สวนราชการที่เรียกชื่อ

อยางอื่นที่มีฐานะเปนกระทรวง ทบวง หรือกรม

(๒) หนวยงานของราชการสวนภูมิภาค (๓) หนวยงานของราชการสวนทองถ่ิน

Page 4: มาตรการการตรวจเงินแผ นดิน¸¡ลก-3.pdf · และเป นมาตรการป องกันการท ุจริต

- ๓ -

(๔) รัฐวิสาหกิจตามกฎหมายวาดวยวิธีการ งบประมาณหรือตามกฎหมายอื่น

(๕) หนวยงานอื่นของรัฐ (๖) หนวยงานที่ไดรับเงินอุดหนุน หรือกิจการ

ที่ได รับเงินหรือทรัพย สินลงทุนจาก หนวยรับตรวจตาม (๑) (๒) (๓) (๔) หรือ (๕)

(๗) หนวยงานอื่นใดหรือกิจการที่ ได รับ เ งิ น อุ ด ห นุ น จ า ก รั ฐ ที่ มี ก ฎ ห ม า ยกํ าหนดให สํ านักงานการตรวจ เงินแผนดินเปน ผูตรวจสอบ

๑๐. หนวยงานของราชการสวนทองถิ่น หมายถึง องคการบริหารสวนจังหวัด เทศบาล องคการบริหารสวนตําบล กรุงเทพมหานคร เมืองพัทยา และองคกรปกครองสวนทอง ถ่ินอื่นที่มีกฎหมายจัดตั้งขึ้น

๑๑. ความเสียหาย หมายถึง ผลที่เกิดจากพฤติการณของหนวยรับตรวจหรือขาราชการ ลูกจาง พนักงาน เจาหนาที่ของหนวยรับตรวจซึ่งกระทบตอเงินหรือมูลคา ที่ คํ านวณได เป นตั ว เ งิ น ทรัพย สิ นและประโยชนของรัฐ หรือตอบุคคลภายนอก อันไดแก (๑) การสูญเสียไปซึ่งเงิน ทรัพยสิน หรือ

ประโยชนของรัฐ อันเนื่องมาจากการทุจริตหรือประพฤติมิชอบ หรือการละเลยไมปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ มติคณะรัฐมนตรี และแบบแผนการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ของหนวยรับตรวจ รวมถึงการกําหนดกลยุทธการดําเนินการที่ ผิดพลาด หรือการใชอํานาจหนาที่ โดยมิชอบ หรือการบริหารงานที่เกินอํานาจ นอกเหนือขอบอํานาจของผูบริหารของหนวยรับตรวจ

(๒) การสูญเสียรายไดหรือประโยชนที่ รัฐควรจะไดโดยชอบดวยกฎหมาย

Page 5: มาตรการการตรวจเงินแผ นดิน¸¡ลก-3.pdf · และเป นมาตรการป องกันการท ุจริต

- ๔ -

(๓) การสูญเสียประโยชนจากการไมไดใชทรัพยสินของรัฐ หรือใชทรัพยสินของรัฐไมคุมคา

(๔) ความรับผิดชอบในการชดใชคาสินไหมทดแทนของรัฐ อันเนื่องมาจากการกระทําละเมิดของหนวยรับตรวจ

(๕) ความสูญเปลาหรือความสิ้นเปลืองจากการใชจ ายเงินของรัฐเกินกวาที่ควรจะตองจาย หรือใชจายเงินของรัฐโดยไมจําเปน หร ือ ใช จ า ย เ ง ินของร ัฐ โดยไมไดรับผลตอบแทนตามวัตถุประสงค

(๖) อ่ืน ๆ นอกจากที่กลาวไวขางตน ๑๒. ความเสี่ยง หมายถึง โอกาสที่จะเกิดความผิดพลาด หรือเหตุการณ

ซ่ึงเกิดจากความไมแนนอนในสถานการณ ตาง ๆ ส่ิงที่คาดไมถึง ส่ิงที่คาดคะเนไมได และส่ิงที่ควบคุมไมได ที่มีผลกระทบทําใหเกิดอุปสรรค ขอขัดของ ไมสามารถปฏิบัติงานได หรือทําใหงานไมประสบความสําเร็จตาม วัตถุประสงค และเปาหมายที่กําหนด ทําใหเกิดความเสียหายแกเงิน ทรัพยสิน สิทธิ หรือผลประโยชนของรัฐ

๑๓. การควบคุม หมายถึง การกํากับดูแล ตรวจสอบ การปฏิบัติงานใหเปนไปตามกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับที่เกี่ยวของ นโยบาย วิธีปฏิบัติงานและคําสั่งตาง ๆ ที่กําหนดไว

๑๔. การติดตามและประเมินผล หมายถึง กระบวนการประเมินคุณภาพการปฏิบัติงานและประเมินความสําเร็จของการปฏิบัติงานอยางตอเนื่องและสม่ําเสมอ โดยใชแนวทางการบริหารจัดการที่ดีและมีการกําหนดตัวช้ีวัดที่ชัดเจน

๑๕. เงิน หมายถึง เงินสด เช็ค ธนาณัติ ดราฟต และหลักฐานอ่ืนที่เปนหลักฐานแทนตัวเงิน

Page 6: มาตรการการตรวจเงินแผ นดิน¸¡ลก-3.pdf · และเป นมาตรการป องกันการท ุจริต

- ๕ -

๑๖. รายได หมายถึง เงินหรือทรัพยสินอื่น ที่หนวยรับตรวจไดรับจากการดําเนินงานตามอํานาจหนาที่ที่กฎหมายกําหนด จากการนําทรัพยสินของหนวยรับตรวจไปหาผลประโยชน การจัดกิจกรรมเชิงพาณิชย การลงทุน สิทธิประโยชนที่ไดจากทรัพยสินของหนวยรับตรวจ รวมทั้งการจัดกิจกรรมอื่นเฉพาะกิจ

๑๗. การดําเนินงาน หมายถึง การปฏิบัติหนาที่ของหนวยรับตรวจในดานสําคัญ ๒ ดาน คือ การบริหารทั่วไป และ การดําเนินงานตามแผนงาน งาน โครงการ

๑๘. ผูบริหาร หมายถึง ผูที่มีหนาที่รับผิดชอบดําเนินการหรือจัดการใหบุคลากรในหนวยรับตรวจปฏิบัติงานไดตามวัตถุประสงค และเปาหมายของหนวยรับตรวจ ซ่ึงผูบริหารในแตละระดับจะมีความรับผิดชอบที่แตกตางกัน ไดแก (๑) ผูบริหารระดับสูง รับผิดชอบเนนหนัก

ในดานการกําหนดนโยบาย การวางแผนกลยุทธ การจัดรูปงาน การควบคุม การปฏิบัติงาน และการประเมินผลสําเร็จ เชน ประธานคณะกรรมการบริหาร ผูจัดการใหญ ผูวาการ ปลัดกระทรวง อธิบดี อธิการบดี เลขาธิการ เปนตน

(๒) ผูบริหารระดับกลาง รับผิดชอบในการประสานระหว า งนโยบายและการปฏิบัติงานทั้ง ๔ ดาน คือ การวางแผน จัดทําแผนปฏิบัติงาน การจัดรูปงาน การส่ังงาน และการควบคุมงาน โดยตองใหความสนใจ กับการวางแผนและการจัดรูปงานมากขึ้น เชน ผู อํ านวยการสํ านั ก ผูอํานวยการกอง ผูจัดการสาขา หัวหนาโครงการ เปนตน

Page 7: มาตรการการตรวจเงินแผ นดิน¸¡ลก-3.pdf · และเป นมาตรการป องกันการท ุจริต

- ๖ -

(๓) ผูบริหารระดับตน รับผิดชอบในการ

ส่ังงาน และการควบคุมการปฏิบัติงาน ให เปนไปตามแผนปฏิบัติงาน เชน หัวหนางาน หัวหนาแผนก หัวหนาฝาย เปนตน

๑๙. เจาหนาท่ีผูปฏิบัติงาน หมายถึง เจาหนาที่ที่ไดรับมอบหมายจากผูบังคับบัญชา หรือผูที่ รับผิดชอบปฏิบัติงานตามตําแหนงหนาที่ที่กําหนดโดยปกติ

๒๐. การจัดรูปงาน หมายถึง การกําหนดโครงสรางการบริหารงาน การกําหนดวัตถุประสงคการปฏิบัติงาน ภารกิจที่ตองปฏิบัติ ความชํานาญเฉพาะบุคคล อํานาจหนาที่ความ รับผิดชอบ รูปแบบการประสานงานและทรัพยากรที่ใชสนับสนุนการประสานงาน

๒๑. พัสดุ หมายถึง วัสดุ ครุภัณฑ ที่ดินและสิ่งกอสราง

กรอบมาตรการปองกันหรือควบคุมความเสียหายใหหนวยรับตรวจปฏิบัต ิ๒๒. มาตรการที่กําหนดไวนี้ กําหนดตามลักษณะการตรวจสอบของสํานักงานการตรวจเงินแผนดิน

ซ่ึงปฏิบัติตามอํานาจหนาที่ที่กําหนดไวในพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการตรวจเงินแผนดิน พ.ศ.๒๕๔๒ ประกอบดวย ๔ มาตรการ คือ

มาตรการที่ ๑ มาตรการปองกันหรือควบคุมความเสียหายดานการเงิน มาตรการที่ ๒ มาตรการปองกันหรือควบคุมความเสียหายดานการดําเนินงาน มาตรการที่ ๓ มาตรการปองกันหรือควบคุมความเสียหายดานการจัดซื้อจัดจาง มาตรการที่ ๔ มาตรการปองกันหรือควบคุมความเสียหายดานการจัดเก็บรายได

Page 8: มาตรการการตรวจเงินแผ นดิน¸¡ลก-3.pdf · และเป นมาตรการป องกันการท ุจริต

- ๗ -

มาตรการที่ ๑ มาตรการปองกันหรือควบคุมความเสียหายดานการเงิน

๒๓. ในการบริหารงานและการปฏิบัติงานทางดานการเงิน ผูบริหารและเจาหนาที่ผูปฏิบัติงานทุกระดับจะตองใหความสําคัญในการปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ และแบบแผนการปฏิบัติงานของหนวยรับตรวจดวยความซื่อสัตยสุจริต มีระบบการบรหิารจดัการและระบบ การควบคุมภายในที่ดี มีการกํากับดูแลตรวจสอบอยางใกลชิด ซ่ึงจะทําใหการบริหารงานและ การบริหารงบประมาณมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล คุมคาและประหยัด ไมเกิดการสูญเสียเงินทรัพยสิน รายได หรือประโยชนอ่ืนใดของรัฐ ไมเกิดการสูญเปลาและสิ้นเปลือง

๒๔. ปจจัยที่หนวยรับตรวจควรนํามาพิจารณาใชเปนแนวทางในการปองกันหรือควบคุมความเสียหาย ดานการเงิน มี ๔ สวน ดังนี้ คือ

สวนที่ ๑ กฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ มติคณะรัฐมนตรี และหนังสือส่ังการที่เกี่ยวของ สวนที่ ๒ การวางแผน สวนที่ ๓ การปฏิบัติงานตามแผนการเงิน สวนที่ ๔ การติดตามและประเมนิผล

สวนท่ี ๑ กฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ มติคณะรัฐมนตรี และหนังสือสั่งการที่เก่ียวของ

๒๕. เพื่อใหหนวยรับตรวจมีการปองกันหรือควบคุมความเสียหายดานการเงิน ผูบริหารและเจาหนาท่ี ผูปฏิบัติงานทุกระดับควรมีหลักการในการปฏิบัติ ดังนี้ ๒๕ .๑ ปฏิบัติงานใหเปนไปตามอํานาจหนาที่ที่กําหนดไว และไมขัดตอรัฐธรรมนูญ

แหงราชอาณาจักรไทย ๒๕.๒ ปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ มติคณะรัฐมนตรี และหนังสือส่ังการที่เกี่ยวของ

๒๖. การดําเนินงานดานกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ มติคณะรัฐมนตรี และหนังสือส่ังการที่เกี่ยวของ ประกอบดวยกิจกรรมหลัก ๓ กิจกรรม ดังนี้ กิจกรรมที่ ๑ การรวบรวมและศึกษากฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ มติคณะรัฐมนตรี และหนังสือ

ส่ังการที่เกี่ยวของ กิจกรรมที่ ๒ การทบทวนความเหมาะสมของกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ มติคณะรัฐมนตรี

และหนังสือส่ังการที่เกี่ยวของ กิจกรรมที่ ๓ การดําเนินการขอปรับปรุงแกไขหรือ กําหนดกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ

มติคณะรัฐมนตรี และหนังสือส่ังการที่เกี่ยวของ

Page 9: มาตรการการตรวจเงินแผ นดิน¸¡ลก-3.pdf · และเป นมาตรการป องกันการท ุจริต

- ๘ -

กิจกรรมท่ี ๑ การรวบรวมและศึกษากฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ มติคณะรัฐมนตรี และหนังสือสั่งการ ท่ีเก่ียวของ ๒๗. เพื ่อใหผู บริหารและเจาหนา ที ่ผู ปฏิบัต ิงานทุกระดับทําความเขาใจเกี ่ยวกับกฎหมาย

ระเบียบ ขอบังคับ มติคณะรัฐมนตรี และหนังสือส่ังการที่เกี่ยวของดานการเงิน โดย ๒๗.๑ ผูบริหารระดับสูงเปนผูรับผิดชอบกําหนดใหมีฝายกฎหมายหรือกลุมงานที่มีหนาที่ดังนี้

๒๗.๑.๑ รวบรวมและศึกษา กฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ มติคณะรัฐมนตรี และหนังสือสั่งการที ่เกี ่ยวของกับการปฏิบัติงานในแตละขั้นตอนการดําเนินงาน ดานการเงิน ที่กําหนดไวของหนวยรับตรวจ

๒๗.๑.๒ จําแนกรายละเอียดของกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ มติคณะรัฐมนตรี และหนังสือส่ังการที่เกี่ยวของดังกลาวตาม ๒๗.๑.๑ ในแตละขั้นตอนใหชัดเจน

๒๗.๑.๓ จัดทําผังการปฏิบัติงาน (Flow Chart) โดยละเอียด ๒๗.๑.๔ จัดทําคูมือการปฏิบัติตามขอกําหนดของกฎหมาย ฯลฯ ที่เกี่ยวของดานการเงิน ๒๗.๑.๕ เผยแพรใหเจาหนาที่ผูรับผิดชอบในการปฏิบัติงานนั้น และผูที่เกี่ยวของเพื่อ

นําไปใชประโยชนในการปฏิบัติงาน ๒๗.๒ ผูบริหารทุกระดับตองใชความระมัดระวังและรอบคอบ ในการบริหารดานการเงิน

ใหเปนไปตามกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ มติคณะรัฐมนตรี หนังสือส่ังการ และแนวทาง วิธีการที่กําหนดไว

กิจกรรมที่ ๒ การทบทวนความเหมาะสมของกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ มติคณะรัฐมนตรีและหนังสือสั่งการที่เก่ียวของ ๒๘. เพื่อใหทราบถึงขอขัดของหรือปญหาอุปสรรคในการปฏิบัติงานดานการเงิน อันเนื่องมาจาก

ขอกําหนดตามกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ มติคณะรัฐมนตรี และหนังสือส่ังการที่เกี่ยวของ โดยฝายกฎหมายหรือกลุมงานที่รับผิดชอบตามขอ ๒๗.๑ และเจาหนาท่ีผูปฏิบัติงานรับผิดชอบ ดําเนินการดังนี้ ๒๘.๑ ทบทวนกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ มติคณะรัฐมนตรี และหนังสือส่ังการที่เกี่ยวของ

ที่มีผลบังคับใชอยูในปจจุบัน และพิจารณาวาจะทําใหเกิดปญหาหรืออุปสรรคในการปฏิบัติงานดังตอไปนี้หรือไม โดยพิจารณาถึงสาเหตุตาง ๆ ไดแก (๑) ความไมเหมาะสมกับสถานการณที่เปลี่ยนแปลง (๒) ความไมคลองตัวในการปฏิบัติหรือมีขอกําหนดมากเกินความจําเปน (๓) ขาดการควบคุมภายในดานการเงินที่ดี (๔) ขอกําหนดของกฎหมาย ระเบียบ ฯลฯ ขัดแยงกันหรือซํ้าซอนกัน

๒๘.๒ ประมวลขอกําหนดของกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ มติคณะรัฐมนตรี และหนังสือ ส่ังการที่เกี่ยวของ ที่เปนปญหาอุปสรรคทําใหไมสามารถสนับสนุนการดําเนินงาน

Page 10: มาตรการการตรวจเงินแผ นดิน¸¡ลก-3.pdf · และเป นมาตรการป องกันการท ุจริต

- ๙ -

ใหสอดคลองตามวัตถุประสงคและเปาหมายไดอยางมีประสิทธิภาพ และเสนอความเห็นตอผูบริหารเพื่อทราบและพิจารณาสั่งการปรับปรุงแกไข

๒๘.๓ ในกรณีที่หนวยรับตรวจเปนหนวยงานยอย เมื่อดําเนินการตามขอ ๒๘.๑ และ ๒๘.๒ ควรรวบรวมเสนอใหหนวยงานตนสังกัดทราบ เพื่อเสนอใหผูมีอํานาจปรับปรุงแกไขตอไป

กิจกรรมที่ ๓ การดําเนินการขอปรับปรุงแกไข หรือกําหนดกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ มติคณะรัฐมนตรี และหนังสือสั่งการที่เก่ียวของ ๒๙. เพื่อใหกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ มติคณะรัฐมนตรี และหนังสือส่ังการที่ใชในการปฏิบัติงาน

เหมาะสมกับสถานการณที่เปนอยู เปนแนวทางใหหนวยรับตรวจสามารถจัดใหมีระบบการควบคุมภายในที่ดี และเกิดความคลองตัวในการปฏิบัติงาน สามารถแกไขและปองกันความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นไดทันเหตุการณ ผูบริหารระดับสูงรับผิดชอบดําเนินการดังนี้ ๒๙.๑ พิจารณาขอเสนอตามกิจกรรมที่ ๒ วาควรดําเนินการแกไขปรับปรุง หรือไม ๒๙.๒ จัดใหมีการยกรางในเบื้องตน โดยอาจขอคําแนะนําจากที่ปรึกษาและผูเชี่ยวชาญ ๒๙.๓ วางแผนการดําเนินงานในการขอปรับปรุงแกไขหรือเสนอรางกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ

มติคณะรัฐมนตรี และหนังสือส่ังการ ที่ปรับปรุงแกไข หรือกําหนดขึ้นใหม เพื่อใหสามารถใชไดทันตามกําหนด

๒๙.๔ เสนอรางกฎหมาย ระเบียบ ฯลฯ ใหหนวยงานที่เกี่ยวของพิจารณาดําเนินการตามขั้นตอน ที่กําหนด

๒๙.๕ มอบหมายใหมีเจาหนาที่ผูรับผิดชอบติดตามการดําเนินการตามขอ ๒๙.๔ หากมีปญหาอุปสรรคในระหวางการดําเนินการ ใหเจาหนาที่ผูรับผิดชอบรายงานและเสนอผูบริหารเพื่อประสานงานกับผูที่มีอํานาจในการใหความเห็นชอบ และชี้แจงขอมูลเพิ่มเติม เพื่อความเขาใจที่ชัดเจน รวมทั้งจัดทํารายงานความกาวหนาในการดําเนินงานอยางตอเนือ่งตามความเหมาะสม

สวนท่ี ๒

การวางแผน

๓๐. การบริหารดานการเงินที่มีประสิทธิภาพจะชวยปองกันและลดความเสี่ยงที่จะเกิดปญหาหรือ ขอผิดพลาดทางการเงิน ซ่ึงการบริหารดานการเงินที่มีความสําคัญ คือ การวางแผนทางการเงิน ไวลวงหนาอยางรอบคอบและรัดกุม ผูบริหารระดับสูงจึงควรมีหลักการในการวางแผน ดังนี้ ๓๐.๑ กําหนดใหมีการวางแผนทางการเงินอยางรอบคอบ รัดกุม ๓๐.๒ กําหนดใหมีระบบงานทางการเงิน ขั้นตอนในการปฏิบัติงานของแตละระบบงาน

วัตถุประสงคของแตละขั้นตอน และวิธีการปฏิบัติงานใหบรรลุวัตถุประสงคที่กําหนดไว

Page 11: มาตรการการตรวจเงินแผ นดิน¸¡ลก-3.pdf · และเป นมาตรการป องกันการท ุจริต

- ๑๐ -

ไดแก ระบบงบประมาณ ระบบการรับจายเงิน ระบบบัญชีตามเกณฑที่เหมาะสม ระบบตนทุน และการจัดหาเงินทุน

๓๐.๓ กําหนดใหมีการสื่อสาร เผยแพร และประชาสัมพันธ กิจกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับการวางแผนทางการเงินใหเจาหนาที่ผูรับผิดชอบ และผูที่เกี่ยวของทราบแนวทางและวิธีการปฏิบัติงานอยางทั่วถึง

๓๑. การวางแผน ประกอบดวยกิจกรรมหลัก ๔ กิจกรรม ดังนี้ กิจกรรมที่ ๑ การกําหนดหนาที่งานดานการเงิน และการมอบหมายใหเจาหนาที่ปฏิบัติ กิจกรรมที่ ๒ การประเมินความเสี่ยง การควบคุม และการบริหารความเสี่ยง กิจกรรมที่ ๓ การวางแผนทางการเงิน กิจกรรมที่ ๔ การสื่อสาร การเผยแพร และประชาสัมพนัธ

กิจกรรมที่ ๑ การกาํหนดหนาท่ีงานดานการเงิน และการมอบหมายใหเจาหนาท่ีปฏิบัติ ๓๒. เพื่อใหมีแนวทางในการปฏิบัติงานดานการเงินที่ไดรับมอบหมายที่ชัดเจนและเหมาะสม ผูปฏิบัติงาน

มีคุณสมบัติเหมาะสม และสามารถปฏิบัติงานไดอยางมีประสิทธิภาพ ๓๒.๑ ผูบริหารระดับสูง เปนผูรับผิดชอบใหมีการทบทวนการกําหนดหนาที่ความรบัผิดชอบของ

ผูปฏิบัติงานดานการเงินใหเหมาะสมและชัดเจนสอดคลองกับโครงสรางของหนวยงานทางการเงิน ซ่ึงอาจกําหนดหนาที่ความรับผิดชอบแบงเปน ๔ ระดับ ดังนี้ (๑) หนาที่ในการวางนโยบายทิศทางกลยุทธ และการวางแผนทางการเงิน (๒) หนาที่ในการควบคุมกํากับดูแล เชน กําหนดใหมีหัวหนาหนวยงานทางการเงิน

(Chief Finance Officer) ที่มีความรูความสามารถในการบริหารดานการเงิน การบัญชี เพื่อจัดทําแผนการเงินและวิเคราะหฐานะการเงินรวมทั้งใหคําปรึกษาแกผูบริหารระดับสูง

(๓) หนาที่ในการรับนโยบายมาปฏิบัติ (๔) หนาที่ในการปฏิบัติงานตามนโยบายและแผนงานที่กําหนดไว โดยตองให

ความสําคัญตอความสําเร็จของงาน ๓๒.๒ ผูบริหารทุกระดับท่ีควบคุมกํากับดูแลหนวยงานดานการเงิน เปนผูรับผิดชอบใหมี

การแบงแยกหนาที่งานภายในหนวยงานที่รับผิดชอบใหชัดเจน เหมาะสม และจัดทํา เปนลายลักษณอักษร

๓๒.๓ ผูบริหารทุกระดับเปนผูรับผิดชอบใหมีระบบการพัฒนาบุคลากรที่มีมาตรฐาน เชน การฝกอบรม การนิเทศงาน การเสริมสรางระบบคุณธรรม ทัศนคติและพฤติกรรม ความรับผิดชอบตอตนเองและงาน

Page 12: มาตรการการตรวจเงินแผ นดิน¸¡ลก-3.pdf · และเป นมาตรการป องกันการท ุจริต

- ๑๑ -

๓๒.๔ ผูบริหารทุกระดับที่รับผิดชอบในการแตงตั ้งหรือมอบหมายเจาหนาที ่ผู ปฏิบัติงาน ทางดานการเงินจําเปนตองใหความสําคัญอยางมากกับความซื่อสัตยและความรู ความสามารถของเจาหนาที่ผูปฏิบัติงานนั้นใหตรงกับคุณลักษณะที่กําหนดไว

๓๒.๕ ผูบริหารระดับกลางและระดับตน เปนผูรับผิดชอบกําหนดแนวทางและหลักเกณฑ ในการพัฒนาเจาหนาที่ผูปฏิบัติงานที่รับผิดชอบดานการเงิน และเจาหนาที่ผูปฏิบัติงานที่มีภารกิจเกี่ยวเนื่องกับหนวยงานดานการเงินอยางเปนระบบ ใหทันกับการพัฒนาหรือ การเปลี่ยนแปลงดานการเงินที่เกิดขึ้นตลอดเวลา

กิจกรรมที่ ๒ การประเมินความเสี่ยง การควบคุม และการบริหารความเสี่ยง ๓๓. เพื่อใหหนวยรับตรวจพิจารณาถึงปจจัยตาง ๆ ที่ทําใหเกิดผลกระทบทางดานการเงินแกหนวยรับตรวจ

รวมทั้งการกําหนดกลไกที่ใชในการปองกันหรือควบคุมผลกระทบที่จะเกิดขึ้น โดยผูบริหารระดับสูง เปนผูรับผิดชอบดําเนินการดังนี้ ๓๓.๑ การพิจารณาความเสี่ยง ดังตอไปนี้

๓๓.๑.๑ ความเสี่ยงจากลักษณะของหนวยงาน เชน งานในลักษณะที่ตองใชคนจํานวนมากปฏิบัติงานอยางเดียวกัน ยอมมีโอกาสที่คุณภาพงานจะไมสม่ําเสมอกัน

๓๓.๑.๒ ความเสี่ยงจากการควบคุมภายใน เปนความเสี่ยงที่เกิดจากระบบการควบคุม ภายในของหนวยรับตรวจ ไมอาจปองกันขอผิดพลาดในสวนที่ เกิดจาก ความเสี่ยงจากลักษณะหนวยงานไดทั้งหมด หรือแมวาหนวยรับตรวจอาจจัดใหมีระบบการควบคุมภายในที่ดีแลว แตไมมีการปฏิบัติตามระบบที่มีอยูก็ทําใหเกิดความเสียหายขึ้นไดเชนกัน

ดังนั้นผูบริหารเปนผูรับผิดชอบจัดใหมีระบบการควบคุมภายในทีเ่หมาะสม เพราะหากหนวยรับตรวจจะจัดใหมีระบบการควบคุมภายในเพื่อใหครอบคลุม ขอผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้นทั้งหมด ยอมเปนไปไดยาก และอาจเกินความจําเปน อีกทั้งอาจกอใหเกิดตนทุนในการจัดระบบการควบคุมภายในที่ สูงเกิน ความจําเปน หรือประสิทธิภาพการดําเนินงานอาจลดลงได ถาระบบและ ขั้นตอนการควบคุมมีมากเกินไป

๓๓.๑.๓ ความเสี่ยงจากการตรวจสอบที่ไมอาจคนพบความไมถูกตองของรายการ หรือ ขอผิดพลาดที่มีอยู

๓๓.๒ กําหนดใหมีการระบุและวิเคราะหความเสี่ยงที่มีผลกระทบตอการบรรลุวัตถุประสงค การดําเนินงานดานการเงิน ซ่ึงปจจัยที่มีผลกระทบตอความเสี่ยงอาจเกิดขึ้นไดจากปจจัยทั้งภายในและภายนอก ๓๓.๒.๑ ปจจัยภายนอก เชน

- การเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี อาจทําใหตองเปลี่ยนแปลงวิธีการดําเนินงาน

Page 13: มาตรการการตรวจเงินแผ นดิน¸¡ลก-3.pdf · และเป นมาตรการป องกันการท ุจริต

- ๑๒ -

- ขอกําหนดของรัฐบาล - กฎหมายที่ออกใหม - ผลของการประชาสัมพันธ - ภัยธรรมชาติ

๓๓.๒.๒ ปจจัยภายใน เชน - ความซื่อสัตยและจริยธรรมของผูบริหาร หากผูบริหารขาดความซื่อสัตย

และจริยธรรม ระดับความเสี่ยงยอมสูง - คุณภาพของบุคลากรที่ไดรับการแตงตั้ง - ความยุงยากซับซอนของขั้นตอนการปฏิบัติงาน - การเปลี่ยนแปลงตวับุคลากรทั้งระดับบริหารและระดับปฏิบัติ

๓๓.๓ จัดใหมีการวิเคราะหเพื่อใหทราบความชัดเจนถึงสาเหตุของความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้นซึ่งเปนผลใหเกิดความเสียหายทางดานการเงิน และกําหนดวิธีการควบคุมเพื่อปองกันความเสี่ยง โดยตองพิจารณาถึงตนทุนที่จะเกิดขึ้นดวยวาคุมกับประโยชนที่ไดรับหรือไม เชน ฝายพัสดุ ไดจัดหาพัสดุโดยส่ังซื้อจากผูขายรายเดียวเปนระยะเวลานาน จะตองปองกันโดย - กําหนดวิธีการคัดเลือกเพื่อใหไดผูขายที่ดีที่สุดทั้งในดานคุณภาพและราคา - จัดใหมีการหมุนเวียนเจาหนาที่ฝายพัสดุที่รับผิดชอบในการจัดหา - กําหนดวงเงินอนุมัติใหเหมาะสม

๓๓.๔ ใหความสําคัญกับการประเมินความเสี่ยงอยางสม่ําเสมอ และพิจารณาปรับปรุง หรือ เปลี่ยนแปลงกิจกรรมในการปองกันหรือควบคุมความเสี่ยงใหเหมาะสม

กิจกรรมท่ี ๓ การวางแผนทางการเงิน ๓๔. เปนแนวทางในการบริหารการเงินใหมีประสิทธิภาพ และเกิดประโยชนสูงสุดแกหนวยรับตรวจ

สามารถบริหารสภาพคลอง บริหารหนี้ไดอยางมีประสิทธิภาพและมีความคลองตัว เชน การจัดทํา งบประมาณ การจัดทําประมาณการเงินสดรับ ประมาณการเงินสดจาย ระบบตนทุน ระบบบัญชี ๓๔.๑ ในการจัดทํางบประมาณของหนวยรับตรวจควรสอดคลองกับแผนกลยุทธ และแผน

ปฏิบัติงานทั้งในระยะสั้นและระยะปานกลางที่ไดจัดทําไว ซ่ึงงบประมาณที่จัดทําจะตองประกอบดวย ประมาณการรายรับ และงบประมาณรายจาย

๓๔.๒ เจาหนาท่ีผูปฏิบัติงานเปนผูรับผิดชอบจัดทําประมาณการรายรับและงบประมาณรายจาย ใหละเอียดรอบคอบ เพื่อใหสามารถกําหนดรายรับที่จะเกิดขึ้นใหใกลเคียงขอเท็จจริง มากที่สุด และงบประมาณรายจายที่ครอบคลุมรายจายทุกประเภท ทั้งรายจายประจํา รายจายดาน ลงทุน รายจายในลักษณะที่เปนโครงการ การจายชําระหนี้ ฯลฯ ซ่ึงรายจายเหลานี้ควรประมาณการขึ้นตามความจําเปน และเหมาะสม คํานวณตนทุนตอหนวยอยางถูกตองครบถวนทุกดาน โดยพิจารณาดังนี้

Page 14: มาตรการการตรวจเงินแผ นดิน¸¡ลก-3.pdf · และเป นมาตรการป องกันการท ุจริต

- ๑๓ -

๓๔.๒.๑ ดานประมาณการรายรับ (๑) จําแนกประเภทรายรับใหเหมาะสม เพื่อความถูกตองและเชื่อถือไดในการ

ประมาณการรายรับแตละประเภท เนื่องจากรายรับแตละประเภทจะมีลักษณะที่แตกตางกัน บางประเภทไดรับผลกระทบเมื่อสภาวะเศรษฐกิจเปลี่ยนแปลงไป แตบางประเภทจะไมมีผลกระทบเลย

(๒) การประมาณการรายรับควรพิจารณาในลักษณะเคลื่อนไหว ซ่ึงอาจจะ เปนไปไดทั้งเพิ่มขึ้นหรือลดลง

(๓) การใหความสําคัญกับการพิจารณาแหลงที่มาของรายรับแตละประเภท รวมถึงสาเหตุที่มีผลกระทบตอรายรับประเภทนั้น ๆ ซ่ึงจะเปนปจจัยสําคัญที่จะทําใหจัดทําประมาณการรายรับ ไดอยางถูกตอง และเปนธรรม

๓๔.๒.๒ ดานงบประมาณรายจาย (๑) จัดทํางบประมาณรายจายใหสอดคลองกับลักษณะการใชจายตามแผน

แมบทและแผนปฏิบัติการประจําป (๒) กําหนดกิจกรรมใหเหมาะสมกับการดําเนินงานตามแผนงานที่กําหนดไวให

ครบถวนเพียงพอที่จะสงผลใหการดําเนินงานบรรลุตามเปาหมายไดอยาง มีประสิทธิภาพ

(๓) พิจารณาถึงกฎหมาย ระเบียบขอบังคับ ที่กําหนดใหจายได (๔) ไมควรกําหนดงบประมาณรายจาย สําหรับกิจกรรมใดกิจกรรมหนึ่งสูงเกิน

ความเหมาะสม จะทําใหเสียโอกาสที่จะนําเงินสวนนี้ไปใชในการดําเนินการในกิจกรรมอื ่น ๆ ที่มี ความจําเปนในการพัฒนาประเทศไดมากขึ ้น หรือกําหนดใหต่ํากวาที่ควรจะเปนซึ่งทําใหไมสามารถดําเนินการตามแผนที่วางไวได

(๕) ในการกําหนดรายจายสําหรับแผนงานหรือโครงการใหคํานึงถึงความสาํคญัที่แตกตางกันของแผนงานหรือโครงการโดยเลือกดําเนินการเฉพาะที่มี ความสําคัญในลําดับตน ๆ ตามลําดับ ตามกําลังทรัพยากรที่มีอยู

๓๔.๓ ผูบริหารระดับสูงและระดับกลางเปนผูรับผิดชอบใหมีการจัดทําประมาณการเงินสดรับและประมาณการเงินสดจาย โดยจัดทํางบประมาณเงินสด เพื่อใชเปนขอมูลในการบริหารสภาพคลอง และบริหารหนี้ของหนวยรับตรวจใหมีประสิทธิภาพ การจัดทํา แผนการเงินที่ดีจะเอื้อประโยชนตอการดําเนินงานใหบรรลุผลสําเร็จตามเปาหมายอยางมี ประสิทธิภาพ ในทางตรงกันขามถาวางแผนทางการเงินไมรอบคอบและรัดกุม เชน จัดทํา ขอมูลดานรายจายไมครบถวนทําใหการวางแผนที่จะเตรียมเงินมาใชในการดําเนินงานนั้น ๆ ไมเพียงพอกับความตองการ อาจทําใหการดําเนินงานลมเหลวและ อาจกอใหเกิด

Page 15: มาตรการการตรวจเงินแผ นดิน¸¡ลก-3.pdf · และเป นมาตรการป องกันการท ุจริต

- ๑๔ -

ความเสียหายทางการเงินดวย ซ่ึงในการวางแผนทางการเงินนี้ อาจตองมีผูเชี่ยวชาญ มาใหคําแนะนํา ปรึกษา หรือมีคณะทํางานเพื่อดําเนินการใหไดแผนทางการเงินที่เหมาะสม

๓๔.๔ ผูบริหารระดับสูงและระดับกลางรับผิดชอบจัดใหมีการวางระบบบัญชีใหสอดคลอง กับหลักการและนโยบายการบัญชีที่กําหนดไว เพื่อบันทึกรายการทางการเงินของหนวย รับตรวจที่ เกิดขึ้นอยางถูกตองและครบถวนสําหรับเปนขอมูลที่ เอื้อตอการคํานวณ ตนทุนรวม หรือผลผลิตที่ถูกตองเหมาะสมและใชในการวัดผลการดําเนินงาน รวมถึงการขอตั้งงบประมาณของหนวยรับตรวจในปตอไป ซ่ึงระบบการคํานวณตนทุนเปนสิ่งสําคัญที่อาจปองกัน หรือควบคุมความเสียหายทางการเงินได และใชในการควบคุมและวัดผล การปฏิบัติงาน ตนทุนอาจจําแนกไดหลายลักษณะตามความตองการ ดังนี้ (๑) การจําแนกตนทุนตามระยะเวลา เปนตนทุนในการวัดคาสินทรัพยและบริการตาง ๆ

โดยสัมพันธกับระยะเวลาในการดําเนินงานของหนวยรับตรวจแบงเปน ๓ ประเภท คือ ตนทุนที่เกิดขึ้นในอดีตหรือตนทุนจริง ตนทุนทดแทน และตนทุนในอนาคต

(๒) การจําแนกตนทุนตามลักษณะการดําเนินงาน ไดแก ตนทุนการผลิต และตนทุนที่ ไมเกี่ยวกับการผลิต

(๓) การจําแนกตนทุนตามสวนประกอบของผลิตภัณฑ ประกอบดวยตนทุน วัตถุดิบ คาแรง และคาใชจายในการผลิต

(๔) การจําแนกตนทุนตามปริมาณกิจกรรม ซ่ึงจะเปลี่ยนแปลงจากปริมาณของกิจกรรม ซ่ึงตองวิเคราะหวาเมื่อปริมาณการผลิตสูงขึ้นหรือต่ําลงตนทุนจะเปลี่ยนแปลงไปตามการผลิตหรือไม เปลี่ยนแปลงไปในลักษณะอยางไร เชน หนวยรับสินคาที่ผลิต ช่ัวโมงใหบริการ จํานวนระยะทาง จําแนกได ๔ ประเภท คือ ตนทุนแปรผัน ตนทุนคงที่ ตนทุนกึ่งผันแปร และตนทุนกึ่งคงที่

(๕) การจําแนกตนทุนเพื่อการควบคุมและวัดผลการปฏิบัติงานเพื่อใหทราบวาตนทุน เกิดที่ใดจํานวนเทาใด ใครเปนผูรับผิดชอบ ซ่ึงจําแนกเปน ๒ ประเภท คือตนทุน ทางตรงของหนวยงาน และตนทุนทางออมของหนวยงาน

(๖) การจําแนกตนทุนเพื่อการตัดสินใจเปนการรวบรวมและการวิเคราะหตนทุนที่ เกิดขึ้นในทางเลือกตาง ๆ ประกอบการตัดสินใจของผูบริหาร ไดแก ตนทุนที่ เกี่ยวกับการตัดสินใจ (ตนทุนสวนแตกตาง ตนทุนหลีกเลี่ยงได ตนทุนคาเสียโอกาส) และ ตนทุนที่ไมเกี่ยวกับการตัดสินใจ (ตนทุนจม ตนทุนที่หลีกเลี่ยงไมได)

๓๔.๕ หนวยรับตรวจควรกําหนดระบบตนทุนใหเปนไปตามหลักเกณฑที่เหมาะสม โดยศึกษาเพิ่มเติมและขอคําแนะนําจากผูเชี่ยวชาญ

๓๔.๖ ผูบริหารระดับสูงและระดับกลาง ตองนําขอมูลทางการเงินที่จัดทําไวมาใชประโยชนในการบริหารงานอยางจริงจัง

Page 16: มาตรการการตรวจเงินแผ นดิน¸¡ลก-3.pdf · และเป นมาตรการป องกันการท ุจริต

- ๑๕ -

กิจกรรมท่ี ๔ การสื่อสาร การเผยแพรและ ประชาสัมพนัธ ๓๕. เพื่อใหมีการสื่อสาร เผยแพร และประชาสัมพันธเกี่ยวกับขอมูลทางดานการเงิน ใหผูบริหารและ

เจาหนาที่ผูปฏิบัติงานทุกระดับทราบ และใชเปนแนวทางในการปฏิบัติงานใหบรรลุวัตถุประสงคอยางมีประสิทธิภาพ โดยผูบริหารระดับกลางที่เก่ียวของทางดานการเงินเปนผูรับผิดชอบดําเนินการดังนี้ ๓๕.๑ จัดทําแผนการสื่อสาร เผยแพร ประชาสัมพันธขอมูลทางดานการเงินที่จําเปนตองใช

ประโยชนในการบริหารและการปฏิบัติงานในหนวยรับตรวจ รวมทั้งขอมูลทางการเงินที่จะตองเปดเผยตอบุคคลภายนอก เชน งบประมาณ รายงานทางการเงิน กฎหมาย ระเบียบ รายงานผลการใชจายเงินในโครงการที่สําคัญ เปนตน

๓๕.๒ กําหนดรูปแบบ วิธีการ และกลุมเปาหมายในการสื่อสาร เผยแพร และประชาสัมพันธในรายละเอียดไวอยางชัดเจน เชน การจัดอบรมสัมมนา การประชุม การสื่อสารผานส่ืออิเล็กทรอนิกส (E-Mail, Internet)

สวนท่ี ๓

การปฏิบตัิงานตามแผนการเงิน

๓๖. เพื่อใหการปฏิบัติงานเปนไปตามแผนการเงินที่กําหนดไว และบรรลุเปาหมายตามที่กําหนดไวอยางมีประสิทธิภาพ และทันเวลา จึงควรมีหลักการในการปฏิบัติงานตามแผนการเงิน ดังนี้ ๓๖.๑ ในแตละขั้นตอนของการปฏิบัติงาน ตองมีการควบคุมคุณภาพใหเปนไปตามมาตรฐาน

ที่กําหนด ๓๖.๒ การดําเนินงานสําเร็จตามเปาหมายในเวลาที่เหมาะสม ๓๖.๓ การรายงานผลปฏิบัติงานเปนไปอยางสม่ําเสมอ และตอเนื่อง

๓๗. การดําเนินงานดานการปฏิบัติงานตามแผนการเงินประกอบดวย กิจกรรมหลัก ๕ กิจกรรม ดังนี้ กิจกรรมที่ ๑ การเตรียมงาน กิจกรรมที่ ๒ การปฏิบัติงานดานการเงิน กิจกรรมที่ ๓ การประสานงานดานการเงิน กิจกรรมที่ ๔ การควบคุม กํากับดูแล และติดตามตรวจสอบ กิจกรรมที่ ๕ การรายงานผลการปฏิบัติงานตามแผนทางการเงิน

กิจกรรมที่ ๑ การเตรียมงาน ๓๘. เพื่อใหหนวยรับตรวจมีความพรอมในการปฏิบัติงานทางดานการเงินใหบรรลุตามวัตถุประสงค และ

เปาหมาย

Page 17: มาตรการการตรวจเงินแผ นดิน¸¡ลก-3.pdf · และเป นมาตรการป องกันการท ุจริต

- ๑๖ -

๓๘.๑ ผูบริหารทุกระดับเปนผูรับผิดชอบในการสํารวจความพรอมที่จะปฏิบัติงานตามแผนในเรื่องตาง ๆ เชน คูมือการปฏิบัติงาน วัสดุ อุปกรณ เครื่องมือ เอกสารที่จําเปนตองใช ผังทางเดินของงาน การมอบหมายความรับผิดชอบในการปฏิบัติงาน เปนตน

๓๘.๒ ผูบริหารทุกระดับตองใหความสําคัญกับการกําหนดแนวทาง และวิธีการปฏิบัติงานดานการเงิน โดยมอบหมายใหเจาหนาท่ีผูปฏิบัติงานปรับปรุง หรือจัดทําผังทางเดินของงาน คูมือการปฏิบัติงาน ซึ่งผูบริหารทุกระดับไดสอบทานความถูกตองครบถวน และใหความเห็นชอบแลว รวมถึงการจัดเตรียมเอกสารที่จะตองใช เพื่อใชเปนแนวทางในการปฏิบัติงานที่ชัดเจน

๓๘.๓ ผูบริหารระดับกลางเปนผูรับผิดชอบเผยแพรคูมือการปฏิบัติงานที่ไดรับความเห็นชอบจากผูบริหารระดับสูงใหเจาหนาที่ผูปฏิบัติงานที่เกี่ยวของทุกระดับไดรับทราบ และศึกษาทําความเขาใจ เพื่อใหการปฏิบัติงานเปนไปตามมาตรฐานที่กําหนดไว

๓๘.๔ ผูบริหารระดับกลาง และระดับตนเปนผูรับผิดชอบในการทบทวน และปรับปรุงแกไข คูมือการปฏิบัติงานใหทันตอการเปลี่ยนแปลงอยูเสมอ

กิจกรรมท่ี ๒ การปฏิบัตงิานดานการเงนิ ๓๙. เพื่อใหการปฏิบัติงานสําเร็จตามวัตถุประสงค ไดผลตามเปาหมายที่กําหนดไว การบริหารการเงิน

เปนไปตามแผนการเงินที่กําหนดไว และควบคุมมิใหเกิดความผิดพลาด อันอาจจะกอใหเกิด ความเสียหายตอหนวยรับตรวจได ๓๙.๑ ผูบริหาร และเจาหนาท่ีผูปฏิบัติงานทุกระดับ ตองทําความเขาใจแผนการเงินที่กําหนดไว

ใหชัดเจนหากมีการเปลี่ยนแปลงตองมีการติดตามขอมูลอยางตอเนื่อง ๓๙.๒ เจาหนาที่ผูปฏิบัติงานทุกระดับรับผิดชอบปฏิบัติงานใหเปนไปตามกําหนดเวลาของ

แผนทางการเงิน กรณีที่ไมสามารถปฏิบัติไดตามแผนใหนําขอ ๔๑.๒ มาเปนแนวทาง การปฏิบัติ

๓๙.๓ เจาหนาท่ีผูปฏิบัติงานจะตองปฏิบัติงานดานการเงินทุกกิจกรรมใหถูกตองตามระเบียบแบบแผนฯ และจัดทําเอกสารหลักฐานใหครบถวนถูกตอง

๓๙.๔ เจาหนาท่ีผูปฏิบัติงานดานการเงินที่ไดรับมอบหมายใหรวบรวม และจัดเก็บเอกสาร ทางการเงินเปนผูรับผิดชอบควบคุมใหมีเอกสารครบถวนเปนปจจุบัน หากเอกสารขาดหายไปตองเรงติดตามกอนที่จะเกิดความเสียหาย และผูบริหารทุกระดับเปนผูรับผิดชอบสงเสริมและสนับสนุนใหจัดทําระบบฐานขอมูลที่เปนมาตรฐานและเปนประโยชนในการบริหาร

๓๙.๕ ขอมูลทางการเงินที่รวบรวมไดจากเอกสารทางการเงินของหนวยรับตรวจ และขอมูล ที่ไดจากภายนอก ผูบริหารทุกระดับเปนผูรับผิดชอบนํามาจัดทําฐานขอมูลที่เปนประโยชนเพื่อการตัดสินใจในการบริหารทางการเงิน และนํามาพิจารณาจัดทําเปน รายงาน รวมถึงรายละเอียดที่จําเปน เพื่อนํามาใชประโยชนในการบริหารการเงิน

Page 18: มาตรการการตรวจเงินแผ นดิน¸¡ลก-3.pdf · และเป นมาตรการป องกันการท ุจริต

- ๑๗ -

ที่กําหนดไว หรือนํามาใชประโยชนอ่ืน ๆ ที่เกี่ยวของอยางเหมาะสม เชน รายงานเกี่ยวกับการรับ – จายเงินประจําวัน รายงานยอดคงเหลือตามบัญชีแยกประเภท งบแสดงฐานะการเงิน งบแสดงผลการดําเนินงาน

๓๙.๖ ผูบริหารระดับสูงเปนผูรับผิดชอบกําหนดใหมีบุคคล หรือคณะบุคคลที่มีหนาที่เกี่ยวของในการกํากับดูแล ควบคุมและตรวจสอบทางการเงินที่จําเปนอยางนอยตองมีหัวหนาหนวยงานทางการเงิน คณะกรรมการเก็บรักษาเงิน ผูอนุมัติการจายเงิน ผูตรวจสอบกอนการจายเงิน เจาหนาที่ตรวจสอบ การรับ – จายเงินประจําวัน

กิจกรรมที่ ๓ การประสานงานดานการเงิน ๔๐. เพื่อมิใหเกิดความขัดแยงในการปฏิบัติงานจึงควรสรางความรวมมือในการปฏิบัติงานทั้งภายใน

และภายนอกหนวยงาน เพื่อใหแผนการเงินบรรลุเปาหมาย ซ่ึงความขัดแยงดังกลาว ไดแก (๑) ความขัดแยงที่อาจเกิดขึ้นภายในหนวยงาน เชน

- เจาหนาที่ผูปฏิบัติกับเจาหนาที่การเงินมีความเขาใจที่ไมสอดคลองกันเกี่ยวกับระเบียบปฏิบัติหรือมีความเขาใจที่ไมชัดเจน

- ฝายการเงินกําหนดขั้นตอน หรือวิธีการปฏิบัติงานไวมากเกินความจําเปน ซ่ึงอาจ ทําใหหนวยงานที่ตองปฏิบัติไมสามารถปฏิบัติตามที่กําหนดไวได

- ฝายการเงินมีบุคลากรไมเพียงพอ หรือภารกิจที่ตองปฏิบัติมีมาก อาจใหคําแนะนําและทําความเขาใจกับเจาหนาที่ผูปฏิบัติงานดานอื่นไมทั่วถึง

- เจาหนาที่ผูปฏิบัติจงใจฝาฝนระเบียบ ทําใหเกิดความขัดแยงกับผูที่ทําหนาที่ควบคุม ติดตามและตรวจสอบ หรือกับเจาหนาที่ผูที่ปฏิบัติงานรวมกัน

(๒) ความขัดแยงที่เกิดจากภายนอกหนวยงาน เชน - กฎหมาย ระเบียบ ตาง ๆ ที่บังคับใชกับหนวยรับตรวจและหนวยงานที่มีลักษณะ

การปฏิบัติงานที่ใกลเคียงกันหลายหนวยงาน อาจทําใหเกิดความไมชัดเจนในการแบงแยกหนาที่ ตามกฎหมาย ฯลฯ ดังกลาว

- กฎหมาย ระเบียบ ฯลฯ ที่ประกาศใชใหม หนวยรับตรวจยังไมเขาใจชัดเจน ผูบริหารและเจาหนาท่ีผูปฏิบัติงานรับผิดชอบดําเนินการดังนี้

๔๐.๑ ผูบริหารทุกระดับรับผิดชอบการกําหนดหลักเกณฑ และวิธีการในการประสานงาน ทั้งระหวางหนวยงานภายใน และกับหนวยงานภายนอก ดังนี้ - การประสานงานภายใน เชน การกําหนดใหมีการทํางานเปนทีม การประชุม การทํา

ขอตกลงรวมกัน การจัดใหมีเครือขายการสื่อสารภายในโดยใชเทคโนโลยีสารสนเทศ - การประสานงานภายนอก เชน การทําขอตกลงรวมกัน การประชุมรวมระหวางหนวยงาน

๔๐.๒ ผูบริหารระดับกลาง และระดับตน เปนผู รับผิดชอบในการจัดใหมีการประชุมปรึกษาหารือกันอยางสม่ําเสมอ เพื่อใหเจาหนาที่ผูปฏิบัติงานดานการเงินมีสวนรวมใน

Page 19: มาตรการการตรวจเงินแผ นดิน¸¡ลก-3.pdf · และเป นมาตรการป องกันการท ุจริต

- ๑๘ -

การเสนอขอมูลที่เกิดขึ้นจริงและความเห็นที่ถูกตองชัดเจน อันจะกอใหเกิดความเขาใจในการปฏิบัติงานไปแนวทางเดียวกัน และไดขอยุติที่สามารถนําไปเปนแนวทางในการปฏิบัติงานตอไป

๔๐.๓ เจาหนาท่ีผูปฏิบัติงานดานการเงินรับผิดชอบการรายงานผูบริหารตามลําดับชั้นโดยเร็วในกรณีที่มีปญหาขัดของเพื่อใหผูรับผิดชอบวินิจฉัยปญหา ขอขัดของ และหาแนวทางแกไขมิใหเกิดความเสียหายหรือระงับความเสียหายที่เกิดขึ้น ซ่ึงปญหาเหลานี้ตองไดรับการแกไขโดยเร็ว

กิจกรรมที่ ๔ การควบคุมกํากับดูแล และติดตามตรวจสอบ ๔๑. เพื่อใหมีการติดตามตรวจสอบประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการปฏิบัติงานและทราบถึง

ปญหาอุปสรรค เพื่อใหสามารถหาแนวทางแกไขไดอยางเหมาะสม ทําใหการปฏิบัติงานเปนไป ตามเปาหมาย ทันเวลา

๔๑.๑ ผูบริหารทุกระดับเปนผูรับผิดชอบควบคุมกํากับดูแลใหมีการใชจายเงินตามแผนที่กําหนดไว และมิใหมีการใชจายเงินใกลส้ินปงบประมาณโดยไมสมเหตุผล เพื่อใหการใชจายเงินมี ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ตามแผนที่วางไว ไมเกิดการสูญเปลา และสิ้นเปลือง

๔๑.๒ ผูบริหารระดับสูงเปนผูรับผิดชอบกําหนดใหมีการเปรียบเทียบผลที่เกิดขึ้นจริงกับแผน หากมีความแตกตางที่มีสาระสําคัญ ตองวิเคราะหสาเหตุที่ทําใหเกิดความแตกตาง และส่ังการใหมีการแกไข การเปรียบเทียบ การวิเคราะหและการสั่งการแกไขนี้ ควรกระทําใหมีความถี่พอสมควร อาจเปนรายเดือนหรือรายสัปดาหสําหรับกิจกรรมบางอยาง เพื่อใหแกไขไดทันทวงที

๔๑.๓ ผูบริหารระดับสูงเปนผูรับผิดชอบใหมีการจัดทําหลักเกณฑ ตัวช้ีวัดทางการเงินและแนวทางการติดตาม ตรวจสอบทางดานการเงินที่เปนมาตรฐาน จัดใหมีระบบการรายงานตาง ๆ อยางเหมาะสม เชน การรายงานผลการปฏิบัติงานดานการจัดเก็บรายได และการใชจายเงิน

๔๑.๔ ผูบริหารระดับสูงเปนผูรับผิดชอบกําหนดใหมีหนวยงานที่ทําหนาที่หรือใหมีสวนงาน ในการควบคุมตรวจสอบ และประเมินผลโดยใหรับผิดชอบในการควบคุมตรวจสอบ ใหเปนไปตามวัตถุประสงค และเปาหมายรวมถึงการตัดสินใจในการแกปญหาที่เกิดจากการปฏิบัติงานทางการเงิน เชน ผูตรวจสอบภายใน หรืออ่ืน ๆ ที่เห็นสมควร

๔๑.๕ ผูบริหารทุกระดับรับผิดชอบติดตามตรวจสอบและประเมินผลเปาหมายทางการเงิน ที่กําหนดไว หากไมสามารถปฏิบัติไดเนื่องจากมีปญหาอุปสรรคที่คาดไมถึงเกิดขึ้น ให ผูรับผิดชอบวินิจฉัยปญหา และรีบหาแนวทางแกไข มิใหเกิดความเสียหาย หรือควบคุม มิใหเกิดความเสี่ยงทางการเงิน เชน ความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงอัตราแลกเปลี่ยน

๔๑.๖ ผูบริหารทุกระดับรับผิดชอบกําหนดแนวทางปฏิบัติงานดานการเงินที่เสริมสรางจริยธรรม คุณธรรม และจัดบุคลากรที่มีความรูความสามารถใหเหมาะสมในการติดตามตรวจสอบ

Page 20: มาตรการการตรวจเงินแผ นดิน¸¡ลก-3.pdf · และเป นมาตรการป องกันการท ุจริต

- ๑๙ -

และผูบริหารระดับตนตองควบคุมกํากับดูแลใหเจาหนาท่ีผูปฏิบัติงานดานการเงิน ปฏิบัติใหทันเวลา และเปนไปตามมาตรฐาน กฎหมาย ระเบียบ มติคณะรัฐมนตรีและหนังสือ ส่ังการที่กําหนด ซ่ึงหากไมดําเนินการอาจทําใหเกิดความเสียหายดานการเงินได

กิจกรรมที่ ๕ การรายงานผลการปฏิบัติงานตามแผนทางการเงิน ๔๒. เพื่อใหมีระบบการรายงานการปฏิบัติงานดานการเงินที่รัดกุม และสามารถนําไปใชประโยชนได

ผูบริหารทุกระดับรับผิดชอบกําหนดความตองการขอมูลที่ตองใชทางดานการเงิน และรูปแบบ การรายงาน เพื่อใหไดขอมูลที่สอดคลองกับความตองการ ๔๒.๑ เจาหนาท่ีผูปฏิบัติงานดานการเงินเปนผูรับผิดชอบจัดทํารายงานผลการปฏิบัติงาน

ในความรับผิดชอบเสนอตอผูบังคับบัญชาในระยะเวลาที่กําหนด และใหความเห็น หรือช้ีใหเห็นสิ่งบอกเหตุที่จะทําใหเปนอุปสรรคในการปฏิบัติงานตามแผน

๔๒.๒ ผูบริหารทุกระดับควรนํารายงานผลการปฏิบัติงานดานการเงินไปใชประโยชนในการติดตามการปฏิบัติงานตามแผนการเงิน และดานอื่น ๆ เชน เงินที่ใชจายเปรียบเทียบกับผลงานที่ไดรับเปนไปตามแผนหรือไม และรายจายนั้นเปนไปโดยประหยัด และคุมคาหรือไม

สวนท่ี ๔

การติดตามและประเมินผล

๔๓. เนื่องจากผูบริหารระดับสูงมีความรับผิดชอบในการควบคุมดูแลใหการบริหารงานเกิดประสิทธิภาพ ประสิทธิผล คุมคาและประหยัด ไมเกิดการสูญเปลา ส้ินเปลือง จึงมีหนาที่จัดใหมีการติดตามและประเมินผลเพื่อใหทราบผลการดําเนินงานดานการเงิน ปญหาอุปสรรค และขอขัดของในการปฏิบัติงาน เพื่อหาแนวทางแกไขใหทันเหตุการณ การติดตามและประเมินผลจึงควรมีหลักการ ดังนี้ ๔๓.๑ กําหนดผลสําเร็จเพื่อใชเปนตัวช้ีวัดในการวัดผลการปฏิบัติงาน ๔๓.๒ กําหนดใหมีการสรุปผลการปฏิบัติงาน ปญหาอุปสรรค และความเห็นในการปรับปรุงแกไข

อยางสม่ําเสมอ และตอเนื่อง

๔๔. การดําเนินงานดานการติดตามและประเมินผล ประกอบดวยกิจกรรมหลัก ๓ กิจกรรม ดังนี้ กิจกรรมที่ ๑ การวางแผนการติดตามและประเมินผล กิจกรรมที่ ๒ การดําเนินการติดตามและประเมินผล กิจกรรมที่ ๓ การรายงานและการเผยแพรผลการประเมิน

Page 21: มาตรการการตรวจเงินแผ นดิน¸¡ลก-3.pdf · และเป นมาตรการป องกันการท ุจริต

- ๒๐ -

กิจกรรมที่ ๑ การวางแผนการติดตาม และประเมินผล ๔๕. เพื่อใหมีระบบการติดตาม และประเมินผลการปฏิบัติงานดานการเงินที่มีประสิทธิภาพ และ

สามารถนําเอาขอมูลจากการติดตาม และประเมินผลมาใชประโยชน ๔๕.๑ ผูบริหารระดับสูงเปนผูรับผิดชอบแตงตั้งใหมีบุคคล คณะบุคคล หรือกลุมงานรับผิดชอบ

ในการติดตาม และประเมินผลทางการเงินของหนวยรับตรวจ และกําหนดผูรับผิดชอบไวอยางชัดเจน

๔๕.๒ ผูบริหารระดับสูงเปนผูรับผิดชอบจัดใหมีแผนการติดตาม และประเมินผลทางการเงิน ในแตละดานใหมีความถี่พอสมควร เชนเปนรายเดือน หรือรายสัปดาห เพื่อจะไดส่ังการแกไขไดทันทวงที และกําหนดผูรับผิดชอบไวอยางชัดเจน เชน - การรับเงิน ถูกตองครบถวนเปนไปตามแผนทางการเงินหรือไม - การจายเงิน ถูกตองเปนไปตามกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ ฯลฯ เปนไปตามแผนการเงิน

ที่กําหนดไว และประหยัดหรือไม - ทรัพยสินที่ไดมาไดใชประโยชนใหเปนไปตามวัตถุประสงคเพียงใด คุมคาหรือไม - การเก็บรักษาเงินและทรัพยสิน มั่นคงปลอดภัยและครบถวนหรือไม - การบริหารเงิน ทรัพยสิน และสิทธิ ไดผลตามแผนการเงินที่กําหนดไวอยางมี

ประสิทธิภาพหรือไม - ผลประโยชน ไดมีการติดตามควบคุมใหเปนไปตามเปาหมายที่กําหนดไวเพียงใด

๔๕.๓ ผูบริหารระดับสูงสนับสนุนใหมีการนําขอมูลจากการติดตาม และประเมินผล ดานการเงินมาใชประโยชน

๔๕.๔ ผูบริหารระดับกลาง และระดับตนรับผิดชอบกําหนดเกณฑตัวช้ีวัดดานการเงนิ ขอบเขต และระยะเวลา ที่จะทําการติดตาม และประเมินผล

กิจกรรมที่ ๒ การดําเนินการติดตามและประเมินผล ๔๖. เพื่อใหการติดตาม และประเมินผลดานการเงินสามารถนํามาใชประโยชนในการวัดผลการปฏิบัติงาน

ดานการเงินและแกไขปญหาอุปสรรคในการปฏิบัติงาน ๔๖.๑ ผูบริหารระดับกลาง และระดับตนรับผิดชอบกําหนดแนวทาง และวิธีการเก็บรวบรวม

ขอมูล การควบคุมการจัดเก็บขอมูล เพื่อใหไดขอมูลที่มีคุณภาพ และเชื่อถือได และตัวช้ีวัด การบรรลุวัตถุประสงคที่เหมาะสมสอดคลองกับประเด็นที่ตองการประเมินเปนรูปธรรมสามารถวัดได เชน แนวทางการติดตามการใชจายเงิน ตองเก็บรวบรวมขอมูลเกี่ยวกับ งบประมาณ และแผนการใชจายเงินเปรียบเทียบกับการใชจายจริง ปญหาอุปสรรค และการแกไขปญหา

Page 22: มาตรการการตรวจเงินแผ นดิน¸¡ลก-3.pdf · และเป นมาตรการป องกันการท ุจริต

- ๒๑ -

๔๖.๒ เจาหนาท่ีผูปฏิบัติงานควรมีความเขาใจในวัตถุประสงค เปาหมายในการติดตาม และประเมินผล และประโยชนที่คาดวาจะไดรับ รวมถึงงานที่ไดรับมอบหมายในการติดตาม และประเมินผล อยางชัดเจน

๔๖.๓ เจาหนาท่ีผูปฏิบัติงานเปนผูรับผิดชอบรวบรวมขอมูลใหครบถวนเปนปจจุบัน และทันตามกําหนดเวลา ดวยความเที่ยงธรรม และโปรงใส สามารถนําเสนอขอมูลใหกับฝายบริหารไดอยางรวดเร็ว ทันตามความตองการ

๔๖.๔ เจาหนาท่ีผูปฏิบัติงานเปนผูรับผิดชอบวิเคราะหขอมูลที่ไดจากผลการติดตาม และนํามาประเมินผล รวบรวมปญหาอุปสรรค พรอมทั้งขอเสนอแนะในการปรับปรุงแกไขใหเหมาะสมยิ่งขึ้น รวมถึงการนําผลการตรวจสอบ ขอเสนอแนะของสํานักงานการตรวจเงินแผนดิน ขอสังเกตและขอเสนอแนะของคณะกรรมการตรวจเงินแผนดินมาเปนแนวทางในการปรับปรุงแกไขดวย

๔๖.๕ ผูบริหารระดับกลางและระดับตนรับผิดชอบติดตามการสรุป และวิเคราะหผลการติดตาม และประเมินผล ใหดําเนินการอยางตอเนื่องและสม่ําเสมอ

๔๖.๖ เจาหนาท่ีผูปฏิบัติงานเปนผูรับผิดชอบจัดทํากระดาษทําการเพื่อรวบรวม และบันทึกผลของการติดตามการดําเนินการทางดานการเงิน เพื่อใชเปนเอกสารประกอบในการวิเคราะหและประเมินผล

๔๖.๗ เจาหนาท่ีผูปฏิบัติงานเปนผูรับผิดชอบจัดทํารายงานสรุปผลการติดตาม และประเมินผล อยางตอเนื่อง โดยนําเสนอขอมูลที่สามารถนําไปเลือกใชในการดําเนินงานตอไปได

กิจกรรมที่ ๓ การรายงาน และการเผยแพรผลการประเมิน ๔๗. เพื่อใหผูที่เกี่ยวของสามารถติดตามความกาวหนา และความสําเร็จในการปฏิบัติงานตามแผนการเงิน

ของหนวยรับตรวจไดอยางตอเนื่อง ๔๗.๑ เจาหนาท่ีผูปฏิบัติงานเปนผูรับผิดชอบนําเสนอรายงานผลการติดตาม และประเมินผล

ตอฝายบริหารที่มีอํานาจในการปรับปรุงแกไข ใหทันความตองการของการใชประโยชนจากรายงานดังกลาว

๔๗.๒ หนวยงาน และบุคลากรที่เก่ียวของในการประเมินผลรับผิดชอบแจงผลการประเมินผล ที่ไดรับความเห็นชอบจากผูมีอํานาจแลวใหผูที่เกี่ยวของทราบ และทันเวลาที่จะไปใชประโยชนอยางตอเนื่อง

๔๗.๓ ผลการปฏิบัติงานดานการเงินควรเผยแพรตามความเหมาะสม และเปนไปตามเปาหมายของหนวยรับตรวจ

Page 23: มาตรการการตรวจเงินแผ นดิน¸¡ลก-3.pdf · และเป นมาตรการป องกันการท ุจริต

- ๒๒ -

มาตรการที่ ๒ มาตรการปองกันหรือควบคมุความเสียหายดานการดําเนินงาน

๔๘. ความเสียหายจากการดําเนินงานเกิดจากการดําเนินงานที่ไมประสบผลสําเร็จตามเปาหมาย เก ิดการทุจริต เก ิดจ ุดออนในการดํา เนินงาน ผู ปฏิบัต ิงานไมมีคุณภาพ หรือการดําเนินงานที่ไมตอเนื่องมีการเปลี่ยนผูบริหารงานในหนวยงานบอยทําใหงานหยุดชะงักหรือลมเลิกเปนผลทําใหเกิดความสูญเปลาจากทรัพยากรที่ไดใชไปแลวโดยไมไดรับประโยชน

๔๙. ปจจัยที่หนวยรับตรวจควรนํามาพิจารณาใชเปนแนวทางในการปองกันหรือควบคุมความเสียหาย ดานการดําเนินงาน มี ๕ สวน คือ

สวนที่ ๑ กฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ มติคณะรัฐมนตรี และหนังสือส่ังการที่เกี่ยวของ สวนที่ ๒ การวางแผน สวนที่ ๓ การปฏิบัติงานตามแผน สวนที่ ๔ การเงิน สวนที่ ๕ การติดตามและประเมินผล

สวนท่ี ๑

กฎหมาย ระเบียบ ขอบงัคบั มติคณะรัฐมนตรี และหนังสือสั่งการท่ีเก่ียวของ

๕๐. แนวทางปฏิบัติในการปองกันหรือควบคุมความเสียหายดานการดําเนินงาน ในสวนที่ เกี่ยวกับกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ มติคณะรัฐมนตรี และหนังสือส่ังการที่เกี่ยวของกับการดําเนินงาน มีแนวปฏิบัติเชนเดียวกับแนวทางที่กําหนดไวในมาตรการที่ ๑ มาตรการปองกันหรือควบคุมความเสียหายดานการเงิน สวนที่ ๑ กลาวคือ ผูบริหารและเจาหนาท่ีผูปฏิบัติงานทุกระดับของหนวยรับตรวจ ควรปฏิบัติงานใหเปนไปตามอํานาจหนาที่ที่กําหนดไว และเปนไปตามกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ มติคณะรัฐมนตรี และหนังสือส่ังการที่เกี่ยวของ โดยมีกิจกรรมหลักในการดําเนินงาน ๓ กิจกรรม เชนเดียวกัน คือ

กิจกรรมที่ ๑ การรวบรวมและศึกษากฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ มติคณะรัฐมนตรี และหนังสือสั่งการ ท่ีเก่ียวของ ๕๑. ฝายกฎหมายหรือกลุมงานที่ไดรับมอบหมายจากผูบริหารระดับสูงรับผิดชอบดําเนินการรวบรวม

และศึกษา ตลอดจนเผยแพรใหผูบริหารและเจาหนาที่ที่เกี่ยวของมีความเขาใจเกี่ยวกับกฎหมาย ระเบียบ ฯลฯ และผูบริหารทุกระดับตองใชความระมัดระวังในการบริหารงาน ใหเปนไปตามกฎหมาย ระเบียบ ฯลฯ ดังกลาว

Page 24: มาตรการการตรวจเงินแผ นดิน¸¡ลก-3.pdf · และเป นมาตรการป องกันการท ุจริต

- ๒๓ -

กิจกรรมที่ ๒ การทบทวนความเหมาะสมของกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ มติคณะรัฐมนตรี และหนังสือสั่งการที่เก่ียวของ ๕๒. ฝายกฎหมายหรือกลุมงานที่ไดรับมอบหมาย รับผิดชอบทบทวนและประมวลขอกําหนดตาม

กฎหมายที่เกี่ยวของกับการดําเนินงาน เพื่อใหทราบปญหาหรือขอขัดของในทางปฏิบัติตามที่กําหนดไว และเสนอความเห็นใหผูมีอํานาจพิจารณาปรับปรุงแกไขตอไป

กิจกรรมที่ ๓ การดําเนินการขอปรับปรุงแกไข หรือกําหนดกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ มติคณะรัฐมนตรี และหนังสือสั่งการที่เก่ียวของ ๕๓. ผูบริหารระดับสูงเปนผูรับผิดชอบในการใหความเห็นตอขอเสนอตามกิจกรรมที่ ๒ และจัดใหมี

การดําเนินการยกรางในสวนที่เกี่ยวของ เสนอราง ตลอดจนติดตามผลการดําเนินการในการ ขอปรับปรุงแกไข

๕๔. ทั้งนี้ในการดําเนินการทั้ง ๓ กิจกรรม ใหเปนไปตามแนวทางการปฏิบัติที่กําหนดไวในมาตรการที่ ๑ สวนที่ ๑ กิจกรรมที่ ๑ – ๓ ขอ ๒๗ - ๒๙

สวนท่ี ๒ การวางแผน

๕๕. เพื่อใหการดําเนินงานมีทิศทางในการปฏิบัติที่ชัดเจนและมีประสิทธิภาพ บรรลุตามวัตถุประสงค ที่กําหนดไว หนวยรับตรวจจะตองใหความสําคัญกับการวางแผนการดําเนินงานที่เหมาะสมและ สอดคลองกับแนวนโยบายของรัฐ โดยควรดําเนินการในการวางแผนดังนี้ ๕๕.๑ ใหสอดคลองกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ นโยบายของรัฐ และ

แผนพัฒนาองคกร ๕๕.๒ ใหมีขั้นตอนเนื้อหา และรายละเอียดครบถวน ตามหลักของการวางแผนงาน งาน

โครงการ เพื่อใหสามารถวัดและประเมินผลได ๕๕.๓ ใหสามารถนําไปปฏิบัติได และใหทุกคนมีสวนรวม ในบางกรณีอาจมีการทดลอง

ปฏิบัติโดยจัดทําโครงการนํารองเพื่อใหทราบวามีปญหา อุปสรรคหรือไม ดําเนินการ ไดหรือไม

๕๕.๔ เผยแพรและประชาสัมพันธ แผนที่กําหนดเพื่อใหทุกคนในหนวยงานรับทราบ

๕๖. การดําเนินงานดานการวางแผน ประกอบดวยกิจกรรมหลัก ๘ กิจกรรม ดังนี้ กิจกรรมที่ ๑ การวางแผนตามนโยบายของรัฐ กิจกรรมที่ ๒ การจัดทําแผนกลยุทธ กิจกรรมที่ ๓ การจัดทําแผนปฏิบัติการ กิจกรรมที่ ๔ การกําหนดความรับผิดชอบ

Page 25: มาตรการการตรวจเงินแผ นดิน¸¡ลก-3.pdf · และเป นมาตรการป องกันการท ุจริต

- ๒๔ -

กิจกรรมที่ ๕ การจัดทํางบประมาณ กิจกรรมที่ ๖ การควบคุมและการบริหารความเสี่ยง กิจกรรมที่ ๗ การสื่อสาร การเผยแพร และประชาสัมพันธ กิจกรรมที่ ๘ การประเมินผลงาน

กิจกรรมที่ ๑ การวางแผนตามนโยบายของรัฐ ๕๗. เพื่อใหการปฏิบัติงานของหนวยรับตรวจสอดคลองกับ เจตนารมณของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ

สังคมแหงชาติ นโยบายรัฐบาล และแผนพัฒนาองคกร ๕๗.๑ ผูบริหารระดับสูงของหนวยรับตรวจเปนผูรับผิดชอบการจัดทําแผนใหสอดคลองกับ

ทิศทาง และยุทธศาสตรของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ นโยบายรัฐบาล และแผนพัฒนาองคกร

๕๗.๒ ผูบริหารระดับกลางเปนผูรับผิดชอบแปลงแผนใหเปนแผนกลยุทธของหนวยงาน โดยใหมีการประสานงานและรวมมือกันอยางใกลชิดในระหวางหนวยงานที่มีลักษณะงานเกี่ยวของสัมพันธกันทั้งภายในหนวยงานและภายนอก เพื่อใหการดําเนินงานตามแผนงาน งาน โครงการ เกิดผลตามที่กําหนดไวในแผนพัฒนาฯ และไมเกิดการดําเนินงานที่ซํ้าซอน

๕๗.๓ จัดใหมีคณะกรรมการ หรืออนุกรรมการ หรือคณะทํางาน ที่มีความรู ความเขาใจ ในการวางแผน และมีความชํานาญในการปฏิบัติงาน

กิจกรรมที่ ๒ การจัดทําแผนกลยุทธ ๕๘. เพื่อใหผูบริหารระดับสูง ระดับกลางและเจาหนาที่ผูปฏิบัติงานกําหนดวิธีการที่จะดําเนินงาน

ใหประสบความสําเร็จตามวัตถุประสงคและเปาหมายของหนวยรับตรวจ ๕๘.๑ ผูบริหารระดับสูงและระดับกลางรับผิดชอบใหมีการวางแผนที่เปนขั้นตอน มีการบริหารงาน

แบบบูรณาการ เพื่อใหบริหารงานบรรลุผลสําเร็จไดตามเปาหมาย และสามารถรองรับปญหา อุปสรรคตาง ๆ ที่อาจจะเกิดขึ้น โดยใหผูบริหารและเจาหนาท่ีผูปฏิบัติงาน ทุกระดับมีสวนรวมในแตละขั้นตอน ดังนี้ (๑) การกําหนดวิสัยทัศนและพันธกิจ (๒) การวิเคราะหโอกาส อุปสรรค รวมถึงจุดออน และจุดแข็ง (๓) การกําหนดกลยุทธ (๔) การจัดทําแผนปฏิบัติการ

๕๘.๒ ผูบริหารระดับสูงและระดับกลางใชขอมูลที่ทันเหตุการณมีความเที่ยงตรง เชื่อถือได และครบถวน ประกอบการตัดสินใจในการวางแผน

๕๘.๓ ผูบริหารระดับสูงและระดับกลางรับผิดชอบกําหนดใหมีการศึกษาความเปนไปไดของงาน ที่สําคัญกอนการดําเนินงานวามีความเปนไปได มีความคุมคาหรือไม และมีผลกระทบ

Page 26: มาตรการการตรวจเงินแผ นดิน¸¡ลก-3.pdf · และเป นมาตรการป องกันการท ุจริต

- ๒๕ -

อยางไร เพื่อตัดสินใจเลือกงานที่เหมาะสมและเปนประโยชนที่สุดในการดําเนินงาน สําหรับ จัดทําแผนปฏิบัติการตอไป

กิจกรรมที่ ๓ การจัดทําแผนปฏิบัติการ ๕๙. เพื่อกําหนดทิศทางการปฏิบัติงาน และการจัดสรรทรัพยากรในการดําเนินงาน ทําใหเจาหนาที่

ผูปฏิบัติงานทราบแนวทางในการทํางาน และผูบริหารทุกระดับสามารถใชเปนเครื่องมือในการ ติดตามงานไมใหลาชา ๕๙.๑ ในกรณีที่หนวยรับตรวจตั้งแต ๒ หนวยข้ึนไป มีความรับผิดชอบที่จะดําเนินการตาม

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ และนโยบายรัฐบาลรวมกัน ผูบริหารระดับสูงของหนวยรับตรวจตองทําความตกลง และมีสวนรวมในการกําหนดกรอบและหลักการในการแปลงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ เพื่อนําไปจัดทําแผนปฏิบัติการของแตละหนวยงานตอไป

๕๙.๒ การจัดทําแผนปฏิบัติการรวมกัน การจัดสรรทรัพยากรใหเพียงพอและพรอมสําหรับ การดําเนินงานใหบรรลุวัตถุประสงคและเปาหมาย ผูบริหารระดับกลางตองกําหนด วัตถุประสงคและเปาหมายที่ชัดเจนเปนรูปธรรม และสามารถวัดได

๕๙.๓ ผูบริหารระดับสูงเปนผูรับผิดชอบกําหนดใหมีการจัดทําแผนปฏิบัติการ ทั้งแผนระยะสั้น และระยะปานกลาง

๕๙.๔ ผูบริหารระดับกลางและระดับตนรับผิดชอบกําหนดงานแตละขั้นตอนโดยละเอียดและกําหนดเวลาที่จะดําเนินการใหเสร็จสิ้นในแตละขั้นตอน

๕๙.๕ ผูบริหารระดับกลางและระดับตน รวมกันพิจารณาถึงปญหาอุปสรรคที่อาจจะทําให การดําเนินงานไมประสบความสําเร็จตามที่ตองการ

๕๙.๖ ผูบริหารระดับสูงและระดับกลางรับผิดชอบกําหนดใหมีการวางแผนระบบการติดตามและประเมินผล

๕๙.๗ เจาหนาท่ีผูปฏิบัติงานทุกระดับควรมีความพรอมและมีความตั้งใจที่จะทําความเขาใจ ตามนโยบายและแผนงานที่กําหนด

๕๙.๘ ผูบริหารทุกระดับควรใหเจาหนาที่ผูปฏิบัติงานมีสวนรวมในการวิเคราะหและกําหนด แนวทางในการปฏิบัติงาน รวมถึงกิจกรรมที่จะตองดําเนินการเพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคและเปาหมายของแผน ที่กําหนดไว

กิจกรรมที่ ๔ การกําหนดความรับผดิชอบ ๖๐. เพื่อใหมหีลักเกณฑในการบริหารงานดานบุคลากรที่ชัดเจนและเหมาะสม

๖๐.๑ ผูบริหารระดับสูงและระดับกลางรวมกันวางแผนเกี่ยวกับกระบวนการปฏิบัติงาน ลดขั้นตอนการทํางานโดยการมอบอํานาจใหสามารถดําเนินการไดตามเปาหมายและรวดเร็ว

Page 27: มาตรการการตรวจเงินแผ นดิน¸¡ลก-3.pdf · และเป นมาตรการป องกันการท ุจริต

- ๒๖ -

๖๐.๒ ผูบริหารระดับกลางเปนผูรับผิดชอบกําหนดมาตรฐานและเปาหมายการปฏิบัติงานของบุคลากร และกําหนดคุณลักษณะของบุคลากรผูรับผิดชอบในการปฏิบัติงานในภารกิจตาง ๆ ที่กําหนดไวใหชัดเจน

๖๐.๓ ผูบริหารทุกระดับควรใหความสําคัญกับหลักการทํางานเปนทีม เพื่อใหเกิดความรับผิดชอบรวมกันในการปฏิบัติงานที่ไดรับมอบหมาย รวมถึงการรวมกันแกไขปญหาอุปสรรคจากการดําเนินงาน ดังกลาว

๖๐.๔ ผูบริหารทุกระดับเปนผูรับผิดชอบใหมีการฝกอบรมเจาหนาที่ที่เกี่ยวของใหมีความรูความเขาใจ และทักษะในการปฏิบัติงานตามแผนใหเปนไปในทิศทางเดียวกัน

๖๐.๕ เจาหนาที่ผูปฏิบัติงานพรอมที่จะปรับพฤติกรรมในการปฏิบัติงานใหสามารถทํางานรวมกับผูอ่ืนไดอยางมีประสิทธิภาพ

กิจกรรมที่ ๕ การจัดทํางบประมาณ ๖๑. เพื่อจัดสรรทรัพยากรตามความจําเปนและเหมาะสมที่จะตองใชในการปฏิบัติตามแผนของ

หนวยรับตรวจที่กําหนดไว ซ่ึงเปนการแสดงแผนการดําเนินงานเปนตัวเลขจํานวนเงิน ทําให หนวยรับตรวจใชทรัพยากรที่มีอยูอยางประหยัดและคุมคา รวมถึงผูบริหารสามารถใชเปนเครื่องมือในการบริหารและควบคุมทางดานการเงิน ๖๑.๑ ในการจัดทํางบประมาณผูบริหารทุกระดับควรคํานึงถึงการเปลี่ยนแปลงตามสภาพ

แวดลอมทั้งในปจจุบันและอนาคต เพื่อใหการคาดการณใกลเคียงกับสภาพความเปนจริงมากที่สุด ซ่ึงหากคาดคะเนไมถูกตองอาจจะมีผลทําใหไมสามารถดําเนินการสําเร็จลุลวงตามแผนงานที่วางไวได หรือมีการใชจายงบประมาณเกินความจําเปน

๖๑.๒ ผูบริหารระดับสูงและระดับกลาง ควรคํานึงถึงความสําคัญที่แตกตางกันของงานในการกําหนดแผนการดําเนินงาน โดยเลือกดําเนินงานเฉพาะที่มีความสําคัญในลําดับตน ๆ ตามลําดับ ตามกําลังทรัพยากรที่มีอยู

๖๑.๓ ผูบริหารระดับสูงควรใหหัวหนาหนวยงานตาง ๆ ของหนวยรับตรวจมีสวนรวมในการกําหนดงบประมาณ

๖๑.๔ ผูบริหารระดับสูงเปนผู รับผิดชอบกําหนดเกณฑในการจัดทํางบประมาณให เปน มาตรฐานเดียวกัน และเจาหนาท่ีผูปฏิบัติงานจะตองเอาใจใสในการปฏิบัติตามเกณฑ ที่กําหนดไวอยางเครงครัด

๖๑.๕ ผูบริหารทุกระดับที่ เกี่ยวของในการจัดทํางบประมาณและเจาหนาท่ีผูปฏิบัติงาน ควรคํานึงถึงการใชทรัพยากรรวมกันภายในหนวยงาน โดยคํานึงถึงประโยชนที่จะไดรับ จากทรัพยากรที ่จ ัดหามาเพื ่อใชในการดําเนินงานของหนวยรับตรวจใหสามารถนํามาใชประโยชนในหนวยงานไดอยางคุมคา เชน โอกาสที่จะไดใชประโยชนและระยะเวลาที่สามารถใชประโยชนจากครุภัณฑที่ไดมา เปนตน

Page 28: มาตรการการตรวจเงินแผ นดิน¸¡ลก-3.pdf · และเป นมาตรการป องกันการท ุจริต

- ๒๗ -

๖๑.๖ เจาหนาท่ีผูรับผิดชอบในการจัดทําประมาณการตาง ๆ จัดใหมีรายละเอียดที่ชัดเจน เพือ่เปนเครื่องมือใหผูบริหารใชเปนกรอบในการกํากับ ควบคุม และติดตามการวัดผล การปฏิบัติงาน รวมถึง การประสานงานเพื่อดําเนินงานตามแผนงานที่กําหนดไวดวย

๖๑.๗ เจาหนาท่ีผูปฏิบัติงานเปนผูรับผิดชอบจัดทําประมาณการรายรับใหละเอียดรอบคอบ เพื่อใหสามารถกําหนดรายรับที่จะเกิดขึ้นไดใกลเคียงกับขอเท็จจริงมากที่สุด อันจะสงผลใหผูบริหารระดับสูงและระดับกลางของหนวยรับตรวจสามารถกําหนดแผนงานที่จะรองรับแนวทางในการดําเนินงานไดอยางเหมาะสม และเกิดประโยชนสูงสุด

๖๑.๘ เจาหนาท่ีผูปฏิบัติงานไมควรกําหนดงบประมาณรายจายสูงเกินความจําเปน วงเงินงบประมาณที่กําหนดควรอางอิงขอมูลที่เชื่อถือไดและชัดเจน เชน ราคามาตรฐานครุภัณฑ ราคามาตรฐานอุตสาหกรรม เปนตน ซึ่งหากกําหนดวงเงินงบประมาณไวสูงเกินไปจะทําใหเสียโอกาสที่จะนําเงิน สวนนี้ไปใชในการดําเนินการในกิจกรรมอื่นที่มีความจําเปนไดมากขึ้น หรือกําหนดไวต่ํากวาที่ควรจะเปน ก็อาจจะทําใหไมสามารถดําเนินการตามแผนที่วางไวได

๖๑.๙ ผูบริหารระดับกลางเปนผูรับผิดชอบจัดทําแผนการรับ – จายเงิน ในแตละชวงเวลา เพื่อใชเปนขอมูลในการบริหารการเงินของหนวยรับตรวจ

กิจกรรมที่ ๖ การควบคุม และการบริหารความเสี่ยง ๖๒. เพื่อปองกัน ลด หรือขจัดโอกาสที่จะเกิดความเสียหายจากการดําเนินงาน และเพื่อเปนปจจัย

ในการเสริมสรางความเชื่อมั่นที่มีตอหนวยรับตรวจ ๖๒.๑ ผูบริหารทุกระดับรับผิดชอบพิจารณาปจจัยเสี่ยงตาง ๆ ที่มีผลกระทบตอการดําเนินงาน

ของหนวยรับตรวจอยางตอเนื่อง และวิเคราะหถึงผลกระทบของความเสี่ยงที่มีตอหนวยรับตรวจ โดยใหมีระบบงานที่ชัดเจนตามแผนการปฏิบัติงาน

๖๒.๒ ผูบริหารระดับกลางและระดับตนรับผิดชอบกําหนดวิธีการควบคุม เพื่อปองกันมิใหเกิดความเสียหาย

๖๒.๓ ผูบริหารทุกระดับควรใหความสําคัญกับการประเมินความเสี่ยงอยางสม่ําเสมอ และ ปรับเปลี่ยนมาตรการควบคุมภายในใหมีความสัมพันธ เหมาะสม กับความเสี่ยงที่เปลี่ยนไปอยูตลอดเวลา

กิจกรรมที่ ๗ การสื่อสาร การเผยแพร และประชาสัมพันธ ๖๓. เพื่อใหมีการกําหนดแนวทาง และวิธีการในการสื่อสาร เผยแพร และประชาสัมพันธ เกี่ยวกับ

การดําเนินงานของหนวยรับตรวจ เพื่อใหผูบริหารหรือเจาหนาที่ผูปฏิบัติงานทุกระดับไดรับทราบ มีความเขาใจ และมีสวนรวมในการดําเนินงานในสวนที่เกี่ยวของใหสําเร็จตามวัตถุประสงคที่กําหนดไวอยางมีประสิทธิภาพ

Page 29: มาตรการการตรวจเงินแผ นดิน¸¡ลก-3.pdf · และเป นมาตรการป องกันการท ุจริต

- ๒๘ -

๖๓.๑ ผูบริหารระดับสูงเปนผูรับผิดชอบกําหนดนโยบายในการสื่อสาร การเผยแพร และประชาสัมพันธเกี่ยวกับการวางแผน

๖๓.๒ ผูบริหารระดับกลางเปนผูรับผิดชอบจัดทําแผนการสื่อสาร เผยแพร และประชาสัมพันธเกี่ยวกับการวางแผนของหนวยรับตรวจ

๖๓.๓ ผูบริหารระดับกลางและระดับตนรับผิดชอบกําหนดวิธีการ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่จําเปนตองใชในการสื่อสาร เผยแพร และประชาสัมพันธ

๖๓.๔ ผูบริหารระดับกลางเปนผูรับผิดชอบเผยแพรแผนการสื่อสาร เผยแพรและประชาสัมพันธการวางแผนที่ไดรับความเห็นชอบแลวแกผูปฏิบัติงาน เพื่อใหผูปฏิบัติงานทุก ๆ สวนและ ผูที่จะไดรับผลกระทบ ไดรับรูถึงทิศทางและแนวทางในการดําเนินงานขององคกร

๖๓.๕ ผูบริหารระดับตนเปนผู รับผิดชอบกําหนดแนวทางการเผยแพรและรณรงค เพื่อ เสริมสรางจิตสํานึกในการมีสวนรวมแกเจาหนาที่ผูปฏิบัติงานทุกระดับในหนวยงาน

๖๓.๖ ผูบริหารระดับตนควรใหโอกาสแก เจาหนาที่ ผูปฏิบัติงานในการเสนอความเห็น กรณีมีปญหาอุปสรรคจากการดําเนินงานที่อาจจะกอใหเกิดความเสียหายแกหนวยรับตรวจ เจาหนาที่ผูปฏิบัติงานตองรายงานใหผูบริหารตามลําดับชั้นทราบโดยเร็ว เพื่อเปนขอมูลสําหรับผูบริหารในการปรับเปลี่ยนแผนหรือหาแนวทางแกไขใหสามารถปองกัน หรือควบคุมความเสียหายดังกลาว

กิจกรรมที่ ๘ การประเมินผลงาน ๖๔. เพื่อใหทราบผลการปฏิบัติงานวาเปนไปตามแผนที่กําหนดไวหรือไม ๖๕. ผูบริหารระดับสูงเปนผูรับผิดชอบกําหนดลักษณะของการประเมิน ใหมีการประเมินผลทั้งกอน

ดําเนินงาน ระหวางดําเนินงาน และหลังดําเนินงาน รวมถึงการกําหนดชวงเวลาของการติดตามและประเมินผลที่เหมาะสม

สวนท่ี ๓

การปฏิบตัิงานตามแผน

๖๖. เพื่อใหผลการดําเนินงานของหนวยรับตรวจเปนไปตามแผนการดําเนินงานที่กําหนดไว และบรรลุเปาหมายตามที่กําหนดไวอยางมีประสิทธิภาพและทันเวลา จึงควรมีหลักการในการปฏิบัติงานตามแผน ดังนี้ ๖๖.๑ ในแตละขั้นตอนของการปฏิบัติงาน ตองมีการควบคุมคุณภาพ ใหเปนไปตามมาตรฐาน

ที่กําหนด ๖๖.๒ การดําเนินงานตองใหสําเร็จทันตามเวลาที่กําหนดไว ๖๖.๓ การรายงานผลการปฏิบัติงานตองเปนไปอยางสม่ําเสมอ และตอเนื่อง

Page 30: มาตรการการตรวจเงินแผ นดิน¸¡ลก-3.pdf · และเป นมาตรการป องกันการท ุจริต

- ๒๙ -

๖๗. การดําเนินงานดานการปฏิบัติงานตามแผนประกอบดวยกิจกรรมหลัก ๕ กิจกรรม ดังนี้ กิจกรรมที่ ๑ การเตรียมงาน กิจกรรมที่ ๒ การปฏิบัติงานตามแผน กิจกรรมที่ ๓ การควบคุม กํากับดูแล และติดตามตรวจสอบการปฏิบัติงานตามแผน กิจกรรมที่ ๔ การประสานงาน กิจกรรมที่ ๕ การรายงานผลการปฏิบัติงานตามแผน

กิจกรรมที่ ๑ การเตรียมงาน ๖๘. เพื่อใหหนวยรับตรวจมีความพรอมในการปฏิบัติงานตามแผนที่กําหนดไว

๖๘.๑ ผูบริหารทุกระดับควรใหความสําคัญในการกําหนดแนวทางในการปฏิบัติงาน เพื่อให กิจกรรมที่จะดําเนินการบรรลุวัตถุประสงคและเปาหมาย

๖๘.๒ ผูบริหารระดับสูงพิจารณามอบหมายใหบุคคลหรือคณะบุคคลรับผิดชอบในการปฏิบัติงาน ของงานหรือโครงการตาง ๆ ในฐานะหัวหนางาน หรือโครงการ รวมทั้งจัดเตรียมบุคลากรใหเหมาะสมกับงานที่กําหนด และใหมีผูควบคุม ตรวจสอบ และประเมินผลการปฏิบัติงานดังกลาวดวย

๖๘.๓ หัวหนางาน หรือโครงการรับผิดชอบในการสํารวจความพรอมของอุปกรณ เครื่องมือ ยานพาหนะที่จําเปนตองใชในการปฏิบัติงานวามีเพียงพอหรือไม หากไมเพียงพอตองเตรียมการที่จะหาใหพรอมกอนที่จะปฏิบัติงาน

๖๘.๔ หัวหนางาน หรือโครงการ เปนผูรับผิดชอบจัดเตรียม และตรวจสอบระบบ และอุปกรณการสื่อสารใหพรอม เพื่อประโยชนในการสั่งการ ประสานงาน และแกไขปญหาไดทันเวลา

๖๘.๕ หัวหนางานเปนผูรับผิดชอบกําหนดรูปแบบของเอกสารที่จําเปนตองใชในการปฏิบัติงาน และการรายงาน

๖๘.๖ ผูบริหารทุกระดับ และเจาหนาท่ีผูปฏิบัติงานที่เก่ียวของทางดานการเงิน รับผิดชอบ การจัดเตรียมเงินใหเพียงพอที่จะนํามาใชจายในการปฏิบัติงานใหสําเร็จตามแผน

๖๘.๗ ผูบริหารระดับสูงควรใหการสนับสนุนในการดําเนินงานตามขอ ๖๘.๓ ถึง ขอ ๖๘.๖ เพื่อมิใหเปนอุปสรรคในการปฏิบัติงานใหสําเร็จตามแผนที่กําหนดไว

กิจกรรมที่ ๒ การปฏิบัติงานตามแผน ๖๙. เพื่อใหการปฏิบัติงานสําเร็จตามวัตถุประสงค และเปาหมายที่กําหนดไว ๗๐. การปฏิบัติงานตามแผน แยกไดเปน ๒ ลักษณะ คือ (๑) หนวยรับตรวจดําเนินการเอง (๒) จัดหาพัสดุหรือบริการ โดยใหบุคคลภายนอกรับไปดําเนินการ

Page 31: มาตรการการตรวจเงินแผ นดิน¸¡ลก-3.pdf · และเป นมาตรการป องกันการท ุจริต

- ๓๐ -

๗๑. สําหรับการจัดหาพัสดุหรือบริการ โดยใหบุคคลภายนอกรับไปดําเนินการ ใหถือปฏิบัติตามมาตรการปองกันหรือควบคุมความเสียหายดานการจัดซื้อ จัดจาง ซ่ึงในมาตรการนี้จะเนนในกรณี ที่ หนวยรับตรวจดําเนินการเอง โดยหัวหนางาน หรือโครงการ และเจาหนาท่ีผูปฏิบัติงานตองปฏิบัติดังนี้ ๗๑.๑ เขาใจในวัตถุประสงค เปาหมาย และกิจกรรมของแผนอยางชัดเจน ๗๑.๒ ปฏิบัติงานใหสอดคลองกับแนวทางและวิธีการปฏิบัติตามแผนที่กําหนดอยางตอเนื่อง

และสม่ําเสมอ ๗๑.๓ มีความรับผิดชอบในงานที่ไดรับมอบหมายไปปฏิบัติใหบรรลุวัตถุประสงค และทันเวลา ๗๑.๔ ไมละเลย หรือละเวนการปฏิบัติงานตามขั้นตอนทุกขั้นตอน โดยตองคํานึงถึงความถูกตอง

และเปนไปตามกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ มติคณะรัฐมนตรี และแบบแผนการปฏิบัติงาน ๗๑.๕ การใชทรัพยากรที่จัดเตรียมไว ไดแก เงิน อุปกรณ เครื่องมือ เครื่องใช ยานพาหนะ และ

ระบบเทคโนโลยีตาง ๆ ใหเปนไปโดยประหยัด และเกิดประโยชนคุมคา ๗๑.๖ จัดเก็บและ ดูแลรักษาทรัพยากรดังกลาวตามขอ ๗๑.๕ ที่อยูในความรับผิดชอบใหเหมาะสม

และรัดกุม ๗๑.๗ หัวหนางาน หรือโครงการ ควรมีความเอาใจใสตอผลกระทบที่อาจจะไดรับจากการปฏิบัติ

ซ่ึงจะเปนอันตรายตอสวัสดิภาพ และสุขภาพของผูปฏิบัติงาน ๗๑.๘ หัวหนางาน หรือโครงการเปนผูรับผิดชอบกํากับดูแลใหเจาหนาที่ปฏิบัติงานใหเต็มกําลัง

ความสามารถ และเปนไปตามระเบียบแบบแผนการปฏิบัติงานของหนวยรับตรวจ ๗๑.๙ หัวหนางาน หรือโครงการ เปนผูรับผิดชอบติดตามการปฏิบัติงาน เพื่อใหมั่นใจวา

การดําเนินงานมีคุณภาพเปนไปตามเปาหมาย ๗๑.๑๐ ผูบริหารทุกระดับควรปฏิบัติงานใหเปนแบบอยางที่ดีแกบุคลากรในการปฏิบัติงาน

ที่ถูกตองและเหมาะสม

กิจกรรมที่ ๓ การควบคุม กํากับดูแล และติดตามตรวจสอบการปฏิบัติงานตามแผน ๗๒. ติดตาม และตรวจสอบผลการปฏิบัติงานที่มีประสิทธิภาพ และใหทราบถึงปญหาและอุปสรรค

ที่เกิดขึ้นระหวางการปฏิบัติงาน เพื่อสามารถหาแนวทางแกไขไดอยางเหมาะสม และทันเหตุการณ กอนที่จะเกิดความเสียหายแกหนวยรับตรวจ ๗๒.๑ ผูบริหารระดับสูงเปนผูรับผิดชอบใหมีการกําหนดหลักเกณฑและแนวทางการปฏิบัติ

ที่เปนมาตรฐาน โดยจัดใหมีระบบงานตาง ๆ ที่เหมาะสม เชน กระบวนการปฏิบัติงานตามมาตรฐาน ISO ระบบการควบคุมภายใน การตรวจสอบภายใน ระบบบัญชี ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ วิธีดําเนินการจัดซื้อจัดจาง เปนตน

๗๒.๒ ผูบริหารระดับสูง เปนผู รับผิดชอบกําหนดแนวทางปฏิบัติที่ เสริมสรางจริยธรรม คุณธรรม จิตสํานึกและจัดบุคลากรที่มีความรูความสามารถใหเหมาะสมกับงาน

Page 32: มาตรการการตรวจเงินแผ นดิน¸¡ลก-3.pdf · และเป นมาตรการป องกันการท ุจริต

- ๓๑ -

๗๒.๓ ผูบริหารระดับสูงควรใชเทคนิคในการวางแผน และการควบคุม ที่มีการใชขอมูล เชิงปริมาณ (PERT หรือ CPM) สําหรับงานที่มีกิจกรรมจํานวนมาก และแตละกิจกรรม มีความสัมพันธตอกัน เชน การกอสรางสะพาน อาคาร เขื่อน เปนตน

๗๒.๔ ผูบริหารระดับสูงเปนผูรับผิดชอบจัดใหมีบุคคลหรือคณะบุคคล หรือหนวยงาน ทําหนาที่ ควบคุม ติดตามและตรวจสอบ เพื่อใหรับผิดชอบในการควบคุมการปฏิบัติงานใหเปนไปตามวัตถุประสงคและเปาหมาย มีการเปรียบเทียบผลที่เกิดขึ้นกับแผนการวิเคราะหสาเหตุ ที่เกิดความแตกตาง รวมทั้งการสั่งการใหแกไขปญหาที่เกิดจากการดําเนินงาน

๗๒.๕ ผูบริหารระดับตนเปนผูรับผิดชอบควบคุมกํากับดูแลใหผูปฏิบัติงาน ปฏิบัติใหเปนไปตามมาตรฐานที่กําหนดทั้งในเชิงปริมาณ คุณภาพ และเวลา ตลอดจนใหคําปรึกษาแนะนําแกผูปฏิบัติงาน หากผลการปฏิบัติงานแตกตางไปจากมาตรฐานตองดําเนินการแกไขใหทันเวลา

๗๒.๖ เจาหนาท่ีผูปฏิบัติงานเปนผูรับผิดชอบจัดเตรียมขอมูลเกี่ยวกับแผนและผลการปฏิบัติงาน ใหถูกตองสมบูรณ เพื่อใหสามารถใชประโยชนในการบริหารงานไดทันเวลา

๗๒.๗ ผูบริหารทุกระดับเปนผูรับผิดชอบวิเคราะหขอมูลที่ไดรับตามขอ ๗๒.๖ และประเมินผลการปฏิบัติงานทั้งในดานผลการปฏิบัติงานและดานการเงิน เพื่อมิใหเกิดการรั่วไหล หรือสูญเปลา

๗๒.๘ ผูบริหารทุกระดับรับผิดชอบควบคุมใหมีการปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ มติคณะรัฐมนตรี คูมือการปฏิบัติงาน ฯลฯ

๗๒.๙ ผูบริหารทุกระดับควรเปดโอกาสและรับฟงความคิดเห็นจากผูมีสวนเกี่ยวของแลวแตกรณี

กิจกรรมที่ ๔ การประสานงาน ๗๓. เพื่อใหเกิดความรวมมือในการปฏิบัติงาน

๗๓.๑ ผูบริหารระดับสูงเปนผูรับผิดชอบกําหนดหลักเกณฑและวิธีการในการประสานงาน ทั้งระหวางหนวยงานภายใน และกับหนวยงานภายนอก

๗๓.๒ ผูบริหารทุกระดับเปนผูรับผิดชอบจัดใหมีการประชุมปรึกษาหารือกันอยางสม่ําเสมอ เพื่อใหเจาหนาที่ผูปฏิบัติงานทุกระดับมีสวนรวมในการเสนอขอมูลที่เกิดขึ้นจริง และความเห็นที่ถูกตองชัดเจน อันจะกอใหเกิดความเขาใจในการปฏิบัติงานไปแนวทางเดียวกันและไดขอยุติที่สามารถนําไปเปนแนวทางในการปฏิบัติงานตอไป

๗๓.๓ ในกรณีที่มีการติดตอประสานงานภายนอก หนวยรับตรวจจะตองทราบถึงขอบเขตอํานาจหนาที่ตามกฎหมายของหนวยงานนั้น ๆ อยางชัดเชน

๗๓.๔ หากในระดับการประสานงานระหวางเจาหนาที่ผูปฏิบัติงานมีปญหาขอขัดของใหเจาหนาท่ี ผูปฏิบัติงานเปนผูรับผิดชอบในการรายงานผูบริหารตามลําดับชั้นโดยเร็ว เพื่อทราบและ หาแนวทางแกไขมิใหเกิดความเสียหาย หรือระงับความเสียหายที่เกิดขึ้น

Page 33: มาตรการการตรวจเงินแผ นดิน¸¡ลก-3.pdf · และเป นมาตรการป องกันการท ุจริต

- ๓๒ -

กิจกรรมที่ ๕ การรายงานผลการปฏิบัติงานตามแผน ๗๔. เพื่อใหมีระบบการรายงานการปฏิบัติงานที่รัดกุม และเปนประโยชนในการปรับปรุงแกไข

การปฏิบัติงานใหดีขึ้น ๗๔.๑ เจาหนาท่ีผู รับผิดชอบในการดําเนินงานทุกขั้นตอนของกระบวนการปฏิบัติงานเปน

ผูรับผิดชอบจัดทํารายงานผลการปฏิบัติงานในความรับผิดชอบเสนอตอผูบังคับบัญชา ในระยะเวลาที่เหมาะสม

๗๔.๒ ผูบริหารทุกระดับควรนํารายงานผลการปฏิบัติงานไปใชในการปรับปรุงแกไขการปฏิบัติงาน ๗๔.๓ เจาหนาท่ีผูปฏิบัติงานตองใหความสําคัญในการปรับปรุงแกไขการปฏิบัติงานตามที่ไดรับ

มอบหมาย

สวนท่ี ๔ การเงิน

๗๕. เพื่อใหการบริหารการเงินเปนไปอยางเหมาะสมถูกตอง โปรงใส และตรวจสอบได ไมเกิดปญหาอุปสรรคในการดําเนินงาน จึงควรมีหลักการในการดําเนินการดานการเงินดังนี้ ๗๕.๑ มีความถูกตองตามกฎหมาย ระเบียบ ฯลฯ ที่กําหนดไว ๗๕.๒ มีระบบการควบคุมภายใน และตรวจสอบภายในที่เหมาะสม ๗๕.๓ มีการบริหารการเงินที่ดีไมเกิดปญหาดานการเงิน อันจะเปนอุปสรรคในการดําเนินงาน ๗๕.๔ ดําเนินการดวยความโปรงใส

๗๖. การดําเนินงานดานการเงิน ประกอบดวย ๕ กิจกรรมหลัก ดังนี้ กิจกรรมที่ ๑ การควบคุมงบประมาณ กิจกรรมที่ ๒ การจัดหาเงินและเตรียมเงิน กิจกรรมที่ ๓ การคํานวณตนทุนที่เกิดขึ้นจริง กิจกรรมที่ ๔ การใชจายเงิน กิจกรรมที่ ๕ การจัดทํารายงานการเงินเสนอผูบริหาร

กิจกรรมที่ ๑ การควบคุมงบประมาณ ๗๗. เพื่อใหสามารถบริหารงบประมาณใหสอดคลองกับแผนที่กําหนดไว

๗๗.๑ ผูบริหารระดับสูงเปนผูรับผิดชอบจัดใหมีการทําแผนปฏิบัติการตามงบประมาณที่ ไดรับจัดสรร เชน แผนการจัดซื้อจัดจาง แผนการใชจายเงิน

๗๗.๒ ผูบริหารระดับกลางและระดับตนเปนผูรับผิดชอบในการควบคุมการใชจายเงินใหเปนไปตามแผน โดยใหเจาหนาท่ี ผูปฏิบัติงานเปนผูรับผิดชอบจัดทํารายงานผลการใชจายเงิน รายงานเงินคงเหลือของการดําเนินงานแตละเรื่อง

Page 34: มาตรการการตรวจเงินแผ นดิน¸¡ลก-3.pdf · และเป นมาตรการป องกันการท ุจริต

- ๓๓ -

๗๗.๓ ผูบริหารระดับตนเปนผูรับผิดชอบในการวิเคราะหรายงานตามขอ ๗๗.๒ วามีปญหา อุปสรรคหรือไม และมีแนวทางแกไขปญหาและอุปสรรคนั้น ๆ อยางไร เชน การประมาณการผิดพลาด อนุมัติเงินไมทัน เจาหนาที่ไมมีประสิทธิภาพ เปนตน

๗๗.๔ เจาหนาท่ีผูปฏิบัติงานเปนผูรับผิดชอบจัดทําทะเบียนคุมงบประมาณที่ไดรับ การเบิกจายเงิน รวมถึงงบประมาณคงเหลือ

กิจกรรมที่ ๒ การจัดหาเงินและเตรียมเงิน ๗๘. เพื่อใหหนวยรับตรวจมีความคลองตัวในการบริหารการเงินใหเพียงพอกับความจําเปน

๗๘.๑ ผูบริหารระดับสูงและระดับกลางเปนผูรับผิดชอบจัดทําแผนจัดหาเงินและรายละเอียดประกอบแผน เพื่อของบประมาณสําหรับการดําเนินงาน

๗๘.๒ ผูบริหารระดับสูงเปนผูรับผิดชอบจัดทําแผนการรับจายเงินสําหรับการดําเนินงาน ๗๘.๓ ผูบริหารระดับกลางเปนผูรับผิดชอบควบคุมดูแลอยางใกลชิดวาหนวยงานมีเงินเพียงพอ

ที่จะใชในการปฏิบัติงานไดทันตามเวลาโดยไมใหติดขัดหรือไม ๗๘.๔ ผูบริหารระดับกลางและระดับตนเปนผูรับผิดชอบในการพิจารณาวาเงินที่มีอยูเพียงพอ

กับการใชจายตามงบประมาณรายจายหรือไม เพื่อใหสามารถดําเนินงานไดตามที่ตั้ง เปาหมายไว

กิจกรรมที่ ๓ การคํานวณตนทุนท่ีเกิดขึ้นจริง ๗๙. เพื่อควบคุมการใชทรัพยากรที่จําเปนตอการดําเนินงานใหเกิดประโยชนสูงสุด ประหยัดและคุมคา

๗๙.๑ เจาหนาท่ีผูปฏิบัติงานเปนผูรับผิดชอบประมวลขอมูลทางการเงินเพื่อนํามาคํานวณ ตนทุนตอหนวยที่เกิดขึ้นจริงของการดําเนินงานแตละเร่ือง เชน ตนทุนการกอสรางถนนตอกิโลเมตร คาแรงงานตอคนตอวัน

๗๙.๒ เจาหนาท่ีผูปฏิบัติงานเปนผูรับผิดชอบในการวิเคราะหตนทุนที่เกิดขึ้นจริง เพื่อพิจารณาความคุมคา การใชประโยชน ความประหยัด และความมีประสิทธิภาพประสิทธิผล

๗๙.๓ ผูบริหารระดับกลางและระดับตนเปนผูรับผิดชอบทบทวนตนทุนที่เกิดขึ้นวาเหมาะสม หรือไม และเสนอความเห็นในการปรับปรุงการดําเนินงาน เพื่อตัดหรือลดตนทุนที่ ไมจําเปนลง

๗๙.๔ ผูบริหารระดับสูงกําหนดใหผูรับผิดชอบการดําเนินงานแตละขั้นตอนปรับปรุงแกไข ข้ันตอนและวิธีการเพื่อใหสามารถควบคุมการใชทรัพยากรใหเกิดประโยชนสูงสุด

กิจกรรมที่ ๔ การใชจายเงิน ๘๐. เพื่อใหเชื่อมั่นไดวาการใชจายเงินของหนวยรับตรวจเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ

๘๐.๑ ผูบริหารระดับสูงและระดับกลางรับผิดชอบการกําหนดหลักเกณฑการใชจายเงินใหเปนไปตามกิจกรรม ไมนําเงินของกิจกรรมนั้น ๆ ไปใชในกิจกรรมอื่น ๆ

Page 35: มาตรการการตรวจเงินแผ นดิน¸¡ลก-3.pdf · และเป นมาตรการป องกันการท ุจริต

- ๓๔ -

๘๐.๒ ผูบริหารระดับกลาง ระดับตน และเจาหนาท่ีผูปฏิบัติงานเปนผูรับผิดชอบในการใชจายเงิน ใหเปนไปตามกฎหมายระเบียบ ขอบังคับที่กําหนด

๘๐.๓ ผูบริหารระดับสูงและระดับกลางรับผิดชอบควบคุมดูแลการใชจายเงินใหเปนไปโดยประหยัด คุมคา โปรงใส และเปนไปตามแผนที่กําหนดไว

กิจกรรมที่ ๕ การจัดทํารายงานการเงินเสนอผูบริหาร ๘๑. เพื่อใหผูบริหารไดรับทราบขอมูลที่ถูกตองและเปนประโยชนในการใชประกอบการตัดสินใจ

ในการบริหารงานไดอยางเหมาะสม ๘๑.๑ ผูบริหารทุกระดับรับผิดชอบกําหนดรูปแบบ และวิธีรายงานที่จําเปนและเปนประโยชน

ตอผูบริหาร เพื่อใชในการตัดสินใจและแกไขปญหาไดทันเวลา ๘๑.๒ สําหรับการบริหารงานภายในถาผูบริหารระดับตนเห็นวาเปนความจําเปน อาจจะ

กําหนดรูปแบบการรายงานเพื่อใหทราบขอมูลเบื้องตนในการปฏิบัติงานของตน ๘๑.๓ เจาหนาท่ีผูปฏิบัติงานเปนผูรับผิดชอบประมวลขอมูลทางการเงินจากฐานขอมูล และ

จัดทํารายงานทางการเงินตามรูปแบบที่กําหนดไว ๘๑.๔ เจาหนาท่ีผูปฏิบัติงานเปนผูรับผิดชอบวิเคราะหรายงานทางการเงินนําเสนอผูบริหาร

ตามลําดับชั้น เพื่อพิจารณาผลการดําเนินงานพรอมปญหาอุปสรรคที่เกิดขึ้น รวมทั้ง ขอเสนอในการแกไข

๘๑.๕ ผูบริหารระดับสูงควรใหความสนใจกับการใชประโยชนจากรายงานที่จัดทําขึ้น และควรนํารายงานการตรวจสอบของผูตรวจสอบภายในมาใชประโยชนดวย

สวนท่ี ๕

การติดตามและประเมินผล

๘๒. เพื่อใหทราบความสําเร็จของงาน ปองกันหรือควบคุมความเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้นจากการดําเนินงานที่ผิดพลาดหรือการทุจริต ทราบปญหาและจุดออนในการปฏิบัติงาน คุณภาพและ ประสิทธิภาพของเจาหนาที่ผูปฏิบัติงาน ผูบริหารระดับสูงจึงควรมีหลักการในการติดตามและประเมินผล ดังนี้ ๘๒.๑ กําหนดผลสําเร็จการดําเนินงาน เพื่อใชเปนตัวช้ีวัดในการวัดผลการปฏิบัติงาน ๘๒.๒ กําหนดใหมีการสรุปผลการปฏิบัติงาน ปญหาอุปสรรค และความเห็นในการปรับปรุง

แกไขอยางสม่ําเสมอ และตอเนื่อง ๘๓. การติดตามและประเมินผล ประกอบดวยกิจกรรมหลัก ๔ กิจกรรม ดังนี้

กิจกรรมที่ ๑ การวางแผนการติดตามและประเมินผล กิจกรรมที่ ๒ การดําเนินการติดตามและประเมินผลระหวางดําเนินการและหลังดําเนินการ กิจกรรมที่ ๓ การแจงผลการประเมินและการใชประโยชน

Page 36: มาตรการการตรวจเงินแผ นดิน¸¡ลก-3.pdf · และเป นมาตรการป องกันการท ุจริต

- ๓๕ -

กิจกรรมที่ ๔ การเผยแพรผลการประเมิน

กิจกรรมที่ ๑ การวางแผนการติดตามและประเมินผล ๘๔. เพื่อใหมีระบบการติดตามและประเมินผลที่มีประสิทธิภาพ

๘๔.๑ ผูบริหารระดับสูงและระดับกลางรับผิดชอบกําหนดการติดตามและประเมินผลทั้ง ๔ ดานคือ ผลสําเร็จของการดําเนินงาน การปองกันความเสียหาย ความถูกตอง และจุดออนทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ

๘๔.๒ ผูบริหารระดับสูงและระดับกลางสนับสนุนใหมีการนําผลจากการติดตามและประเมินผล มาใชใหเปนประโยชน

๘๔.๓ ผูบริหารระดับกลางและระดับตนรับผิดชอบกําหนดหนวยงานและบุคลากรในการทําหนาที่ ติดตามและประเมินผลไวอยางชัดเจน

๘๔.๔ ผูบริหารระดับกลางเปนผูรับผิดชอบกําหนดเกณฑตัวช้ีวัด ขอบเขต และระยะเวลาที่จะทําการติดตามและประเมินผล โดยคํานึงถึงงบประมาณ บุคลากร เทคนิค และวิธีการ เลือกเกณฑ ซ่ึงตองดูถึงผลลัพธและผลกระทบที่ไดรับ

๘๔.๕ ผูบริหารระดับกลางเปนผูรับผิดชอบจัดทําประมาณการคาใชจายในการดําเนินการ ติดตามและประเมินผล โดยจัดลําดับความสําคัญใหเหมาะสมกับงานที่จําเปนตองประเมินผล

กิจกรรมที่ ๒ การดําเนินการติดตามและประเมินผลระหวางดําเนินการและหลังดําเนินการ ๘๕. เพื่อใหการติดตาม และประเมินผลสามารถนํามาใชประโยชนในการแกปญหาอุปสรรคในการ

ดําเนินงาน ๘๕.๑ ผูบริหารระดับกลางเปนผูรับผิดชอบกําหนดแนวทางและวิธีการเก็บรวบรวมขอมูล

การควบคุมการจัดเก็บขอมูลเพื่อใหไดขอมูลที่มีคุณภาพและเชื่อถือได และกําหนดตัวช้ีวัดการบรรลุวัตถุประสงคที่เหมาะสม สอดคลองกับประเด็นที่ตองการประเมินเปนรูปธรรม สามารถวัดได

๘๕.๒ ผูบริหารระดับกลางเปนผูรับผิดชอบกําหนดการติดตามและประเมินผลระหวางดําเนินงาน เพื่อวิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับทรัพยากรที่ใชในการดําเนินงานกับประสิทธิผลของผลงาน ที่เกิดขึ้น รวมถึงปญหาอุปสรรคที่มีผลกระทบตอความเปนไปไดและความสําเร็จของ งานนั้น เพื่อที่จะนํามาปรับปรุงงาน และจะเปนการปองกันควบคุมมิใหเกิดความเสียหายจากการดําเนินงานไดอยางทันทวงที นอกจากนั้นยังเปนการตรวจสอบขอบกพรองของ การดําเนินงานตามแผนที่กําหนด เพื่อประกอบการตัดสินใจวาควรจะ ยกเลิก ชะลอ หรือควรดําเนินงานตอไป และมีความจําเปนตองปรับปรุงเปลี่ยนแปลงการดําเนินงานในเรื่องใดบาง เพื่อใหเกิดประสิทธิภาพ ประสิทธิผลยิ่งขึ้น

Page 37: มาตรการการตรวจเงินแผ นดิน¸¡ลก-3.pdf · และเป นมาตรการป องกันการท ุจริต

- ๓๖ -

๘๕.๓ ผูบริหารระดับสูงและระดับกลางเปนผูรับผิดชอบติดตามการสรุปและวิเคราะหผลการติดตามและประเมินผลอยางตอเนื่อง

๘๕.๔ เจาหนาท่ีผูปฏิบัติงานควรมีความเขาใจในวัตถุประสงค เปาหมายในการติดตามและ ประเมินผล และประโยชนที่คาดวาจะไดรับ รวมถึงงานที่ไดรับมอบหมายในการติดตามและประเมินผลอยางชัดเจน

๘๕.๕ เจาหนาท่ีผูปฏิบัติงาน เปนผู รับผิดชอบรวบรวมขอมูลใหครบถวนและทันตามกําหนดเวลาดวยความเที่ยงตรงเปนธรรมและโปรงใส สามารถนําเสนอขอมูลใหกับฝายบริหารไดอยางรวดเร็ว

๘๕.๖ เจาหนาท่ีผูปฏิบัติงานเปนผูรับผิดชอบวิเคราะหผลการปฏิบัติงานที่ไดรับจากการติดตามและการประเมินผล รวบรวมปญหาอุปสรรคพรอมทั้งขอเสนอแนะในการปรับปรุงแกไขใหเหมาะสมยิ่งขึ้น

๘๕.๗ เจาหนาท่ีผูปฏิบัติงานเปนผูรับผิดชอบจัดทํารายงานสรุปผลการติดตามและประเมินผล อยางตอเนื่อง โดยนําเสนอขอมูลที่สามารถนําไปใชในการดําเนินงานตอไปได

๘๕.๘ เจาหนาท่ีผูปฏิบัติงานเปนผูรับผิดชอบในการนําเสนอรายงานผลการติดตามและประเมินผลตอฝายบริหารใหทันตามความตองการของการใชประโยชนจากรายงานดังกลาว

๘๕.๙ เจาหนาท่ีผูปฏิบัติงานเปนผูรับผิดชอบติดตามผลการพิจารณารายงานเพื่อดําเนินการ ปรับปรุงแกไขการดําเนินงานในสวนที่รับผิดชอบ ตามแนวทางที่ฝายบริหารมอบหมาย

กิจกรรมที่๓ การแจงผลการประเมินและการใชประโยชน ๘๖. เพื่อใหผูที่เกี่ยวของทราบความกาวหนา และความสําเร็จในการดําเนินงานของหนวยรับตรวจ

ไดอยางตอเนื่อง ๘๖.๑ หนวยงานและบุคลากรที่รับผิดชอบในการประเมินผล รับผิดชอบแจงผลการประเมิน

ที่เสร็จแลว ใหผูบริหารและหนวยงานที่เกี่ยวของทราบภายในระยะเวลาที่กําหนด ๘๖.๒ ผูบริหารและเจาหนาท่ีผูปฏิบัติงานที่เก่ียวของรับผิดชอบในการนําผลการประเมินที่ได

รับมาพิจารณาปรับปรุงแกไขการดําเนินงานที่ยังไมสามารถดําเนินการใหสัมฤทธิผลตามวัตถุประสงคและเปาหมาย

Page 38: มาตรการการตรวจเงินแผ นดิน¸¡ลก-3.pdf · และเป นมาตรการป องกันการท ุจริต

- ๓๗ -

กิจกรรมที่ ๔ การเผยแพรผลการประเมิน ๘๗. เพื่อใหผูที่เกี่ยวของสามารถติดตามความกาวหนา และความสําเร็จในการดําเนินงานของหนวยรับ

ตรวจไดอยางตอเนื่อง ๘๗.๑ ผูบริหารระดับสูงเปนผูรับผิดชอบกําหนดวิธีการเผยแพรการติดตามและประเมินผลให

ผูเกี่ยวของทราบ และรับฟงความคิดเห็น เพื่อใหเกิดความเขาใจและมีสวนรวมในการ รับผิดชอบการดําเนินงานในสวนตาง ๆ

๘๗.๒ ผูบริหารระดับสูงเปนผูรับผิดชอบกําหนดขอบเขตและรูปแบบของขอมูลที่ไดจากการประเมินผลที่จะเผยแพรใหชัดเจน เพื่อใหเกิดการนําไปใชประโยชนไดอยางเหมาะสม

Page 39: มาตรการการตรวจเงินแผ นดิน¸¡ลก-3.pdf · และเป นมาตรการป องกันการท ุจริต

- ๓๘ -

มาตรการที่ ๓ มาตรการปองกันหรือควบคุมความเสียหายดานการจัดซื้อจัดจาง

๘๘. ความเสียหายจากการจัดซื้อจัดจาง เกิดจากการไมปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ มติคณะรัฐมนตรี และแบบแผนการปฏิบัติงาน การปฏิบัติงานที่ไมมีประสิทธิผล ไมมีประสิทธิภาพ ไมคุมคา และไมประหยัดของหนวยรับตรวจ และเกิดการทุจริตหรือประพฤติมิชอบในการปฏิบัติงาน

๘๙. ปจจัยที่หนวยรับตรวจควรนํามาพิจารณาใชเปนแนวทางในการปองกัน หรือควบคุมความเสียหายดานการจัดซื้อจัดจางมี ๔ สวน คือ สวนที่ ๑ กฎหมาย ระเบยีบ ขอบังคับ มติคณะรัฐมนตรี และหนังสอืส่ังการที่เกี่ยวของ สวนที่ ๒ การบริหารและควบคุมพัสด ุสวนที่ ๓ การดําเนนิการจัดซื้อจัดจาง สวนที่ ๔ การติดตามและประเมนิผล

สวนท่ี ๑

กฎหมาย ระเบียบ ขอบงัคบั มติคณะรัฐมนตรี และหนงัสือสั่งการที่เก่ียวของ

๙๐. แนวทางปฏิบัติในการปองกันหรือควบคุมความเสียหายดานการดําเนินงาน ในสวนที่ เกี่ยวกับกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ มติคณะรัฐมนตรี และหนังสือส่ังการที่เกี่ยวของกับการจัดซื้อจัดจาง มีแนวปฏิบัติเชนเดียวกับแนวทางที่กําหนดไวในมาตรการที่ ๑ มาตรการปองกันหรือควบคุม ความเสียหายดานการเงิน สวนที่ ๑ กลาวคือ ผูบริหารและเจาหนาท่ีผูปฏิบัติงานทุกระดับของหนวยรับตรวจ ควรปฏิบัติงานใหเปนไปตามอํานาจหนาที่ที่กําหนดไว และเปนไปตามกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ มติคณะรัฐมนตรี และหนังสือส่ังการที่เกี่ยวของ โดยมีกิจกรรมหลักในการดําเนินงาน ๓ กิจกรรม เชนเดียวกัน คือ

กิจกรรมท่ี ๑ การรวบรวมและศึกษากฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ มติคณะรัฐมนตรี และหนังสือสั่งการ ท่ีเก่ียวของ ๙๑. ฝายกฎหมายหรือกลุมงานที่ไดรับมอบหมายจากผูบริหารระดับสูงรับผิดชอบดําเนินการรวบรวม

และศึกษา ตลอดจนเผยแพรใหผูบริหารและเจาหนาที่ที่เกี่ยวของมีความเขาใจเกี่ยวกับกฎหมาย ระเบียบ ฯลฯ และผูบริหารทุกระดับตองใชความระมัดระวังในการบริหารงาน ใหเปนไปตามกฎหมาย ระเบียบ ฯลฯ ดังกลาว

Page 40: มาตรการการตรวจเงินแผ นดิน¸¡ลก-3.pdf · และเป นมาตรการป องกันการท ุจริต

- ๓๙ -

กิจกรรมที่ ๒ การทบทวนความเหมาะสมของกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ มติคณะรัฐมนตรี และหนังสือสั่งการที่เก่ียวของ ๙๒. ฝายกฎหมายหรือกลุมงานที่ไดรับมอบหมาย รับผิดชอบทบทวนและประมวลขอกําหนด

ตามกฎหมายที่เกี่ยวของกับการจัดซื้อจัดจาง เพื่อใหทราบปญหาหรือขอขัดของในทางปฏิบัติ ตามที่กําหนดไว และเสนอความเหน็ใหผูมีอํานาจพิจารณาปรับปรุงแกไขตอไป

กิจกรรมที่ ๓ การดําเนินการขอปรับปรุงแกไข หรือกําหนดกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ มติคณะรัฐมนตรี และหนังสือสั่งการที่เก่ียวของ ๙๓. ผูบริหารระดับสูงเปนผูรับผิดชอบในการใหความเห็นตอขอเสนอตามกิจกรรมที่ ๒ และจัดใหมี

การดําเนินการยกรางในสวนที่เกี่ยวของ เสนอราง ตลอดจนติดตามผลการดําเนินการในการ ขอปรับปรุงแกไข

๙๔. ทั้งนี้ในการดําเนินการทั้ง ๓ กิจกรรม ใหเปนไปตามแนวทางการปฏิบัติที่กําหนดไวในมาตรการที่ ๑ สวนที่ ๑ กิจกรรมที่ ๑ – ๓ ขอ ๒๗ - ๒๙

สวนท่ี ๒

การบริหารและการควบคุมพัสด ุ

๙๕. เพื่อใหการใชทรัพยากรของหนวยรับตรวจเปนไปโดยประหยัดและคุมคา ผูบริหารตองบริหารและควบคุมพัสดุของหนวยรับตรวจอยางรอบคอบและรัดกุมใหเกิดประโยชนแกหนวยงาน ตามความตองการ จึงควรมีหลักการบริหารและการควบคุมพัสดุ ดังนี้ ๙๕.๑ เปนไปตามกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ มติคณะรัฐมนตรี และหนังสือส่ังการที่เกี่ยวของ ๙๕.๒ มีการกําหนดหนาที่ความรับผิดชอบใหชัดเจนรวมถึงการกําหนดระบบการบริหาร

การควบคุม การติดตาม และการใชประโยชนที่เหมาะสมและรัดกุม ปองกันมิให เกิดความสูญเปลา หรือส้ินเปลืองเกินความจําเปน

๙๖. การบริหารและการควบคุมพัสดุ ประกอบดวยกิจกรรมหลัก ๕ กิจกรรม ดังนี้ กิจกรรมที่ ๑ การกําหนดใหมีระบบการวางแผน การจัดหา การควบคุม การติดตาม และ

การใชประโยชน กิจกรรมที่ ๒ การรวบรวมและประเมินความตองการ กิจกรรมที่ ๓ การจัดทํางบประมาณ กจิกรรมที่ ๔ การจัดทําแผนการจัดซื้อจัดจาง กิจกรรมที่ ๕ การกําหนดวิธีการจัดซื้อจัดจาง

Page 41: มาตรการการตรวจเงินแผ นดิน¸¡ลก-3.pdf · และเป นมาตรการป องกันการท ุจริต

- ๔๐ -

กิจกรรมที่ ๑ การกําหนดใหมีระบบการวางแผน การจัดหา การควบคุม การติดตาม และการใชประโยชน ๙๗. เพื่อใหมีระบบตาง ๆ ในการปฏิบัติงาน และทําใหการบริหารและการควบคุมพัสดุมีประสิทธิภาพ

๙๗.๑ ผูบริหารระดับกลางเปนผูรับผิดชอบกําหนดใหมีระบบการจัดหาพัสดุหรือบริการ การควบคุม การติดตาม และการใชประโยชน ใหเหมาะสมและเปนไปตามกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ มติคณะรัฐมนตรี และหนังสือส่ังการที่เกี่ยวของ

๙๗.๒ ผูบริหารระดับกลางเปนผูรับผิดชอบกําหนดหนาที่และความรับผิดชอบในการปฏิบัติงานใหแกเจาหนาที่ผูปฏิบัติเพื่อใหการปฏิบัติงานตาง ๆ เปนไปตามระบบที่ไดกําหนดไว

๙๗.๓ ผูบริหารระดับกลางเปนผูรับผิดชอบสั่งการและควบคุมการปฏิบัติงานใหเปนไปตามระบบที่กําหนดไว

๙๗.๔ เจาหนาท่ีผูปฏิบัติงานตองปฏิบัติตามที่ผูบริหารกําหนดไว หากพบปญหาอุปสรรคในการปฏิบัติงาน ตองรายงานเสนอผูบริหารตามลําดับชั้นทันที เพื่อดําเนินการแกไขตอไป

กิจกรรมที่ ๒ การรวบรวมและประเมินความตองการ ๙๘. เพื่อใหทราบถึงความตองการ ความจําเปนในการจัดหาพัสดุหรือบริการ ซ่ึงจะเปนขอมูลที่จะ

นํามาใชในการวางแผนการจัดหาพัสดุหรือบริการใหไดตรงตามความตองการและทันเวลาใชงาน ๙๘.๑ ผูบริหารระดับสูงเปนผูรับผิดชอบกําหนดใหมีการรวบรวมขอมูลเกี่ยวกับความตองการ

ในการจัดซื้อจดัจางของหนวยรับตรวจ ๙๘.๒ เจาหนาท่ีผูปฏิบัติงานเปนผูรับผิดชอบดําเนินการรวบรวมขอมูลเกี่ยวกับความตองการ

ในการจัดซื้อจัดจาง ความเปนไปไดในการจัดซื้อจัดจาง ความเหมาะสม ความจําเปนของหนวยรับตรวจ และขอมูลการของบประมาณจัดซื้อจัดจาง

๙๘.๓ ผูบริหารระดับสูงเปนผู รับผิดชอบกําหนดใหมีการประเมินขอมูล เพื่อพิจารณาถึง ความตองการ ความเปนไปไดในการจัดซื้อจัดจาง และความเหมาะสมกับความจําเปน ของหนวยรับตรวจโดยการจัดลําดับความสําคัญ

๙๘.๔ ผูบริหารระดับกลาง เปนผู รับผิดชอบกําหนดใหมีการนําขอมูลจากการประเมิน ความตองการ มาพิจารณา เพื่อของบประมาณที่จะดําเนินการจัดซื้อจัดจาง

๙๘.๕ เจาหนาท่ีผูปฏิบัติงานเปนผูรับผิดชอบสรุปผลการรวบรวมขอมูล ความตองการ และ งบประมาณในการดําเนินการจัดซื้อจัดจาง เสนอผูบริหารเพื่อพิจารณา

๙๘.๖ ผูบริหารระดับกลางเปนผูรับผิดชอบในการพิจารณาสรุปผลขอมูลความตองการในการจัดซื้อจัดจางของหนวยรับตรวจ เพื่อดําเนินการตามขั้นตอนในการจัดซื้อจัดจางตอไป

๙๘.๗ ผูบริหารทุกระดับควรใชความระมัดระวังในการดําเนินการทุกกิจกรรม ตามขอ ๙๘.๑-๙๘.๖ ทุกขั้นตอน และตองคํานึงถึงความจําเปน ประหยัด และคุมคา

Page 42: มาตรการการตรวจเงินแผ นดิน¸¡ลก-3.pdf · และเป นมาตรการป องกันการท ุจริต

- ๔๑ -

กิจกรรมที่ ๓ การจัดทํางบประมาณ ๙๙. เพื่อใหมีการเตรียมการเกี่ยวกับเงินงบประมาณใหเพียงพอกับความจําเปนในการดําเนินการจัดซื้อ

จัดจางที่วางแผนไว ๙๙.๑ ผูบริหารระดับกลางเปนผูรับผิดชอบกําหนดใหมีการจัดทําแผนการใชจายเงินในการ

ดําเนินการจัดซื้อจัดจาง โดยใหสอดคลองกับแผนการจัดซื้อจัดจาง ๙๙.๒ ผูบริหารระดับกลางเปนผูรับผิดชอบกําหนดใหมีการจัดลําดับความสําคัญในแผน

การใชจายเงิน เพื่อใหสอดคลองกับแผนการจัดซื้อจัดจาง โดยคํานึงถึงประโยชนสูงสุด ที่จะไดรับ

๙๙.๓ เจาหนาท่ีผูปฏิบัติงานที่มีหนาท่ีรับผิดชอบจัดทําแผนการใชจายเงินงบประมาณในการจัดซื้อจัดจาง ตามแผนที่กําหนด

กิจกรรมที่ ๔ การจัดทําแผนการจัดซื้อจัดจาง ๑๐๐. เพื่อเปนกรอบในการดําเนินการเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจาง ใหสอดคลองกับแผนในการปฏิบัติงาน

๑๐๐.๑ ผูบริหารระดับกลางเปนผูรับผิดชอบกําหนดใหมีการจัดทําแผนการจัดซื้อจัดจาง โดยนําขอมูลจากการรวบรวมและประเมินความตองการมาใชในการพิจารณา เพื่อจัดทําแผน การจัดซื้อจัดจางประจําป

๑๐๐.๒ ผูบริหารระดับกลางเปนผูรับผิดชอบกําหนดใหมีการจัดลําดับความสําคัญของการจัดซื้อจัดจางไวในแผนการจัดซื้อจัดจาง

๑๐๐.๓ เจาหนาท่ีผูปฏิบัติงานที่มีหนาที่รับผิดชอบ จัดทําแผนการจัดซื้อจัดจางตามที่ไดรับ มอบหมายจากผูบริหาร โดยตองคํานึงถึงลําดับความสําคัญ ความตองการ และการใชประโยชน

กิจกรรมที่ ๕ การกําหนดวิธีการจัดซื้อจัดจาง ๑๐๑. เพื่อใหการดําเนินการจัดซื้อจัดจาง ถูกตองเปนไปตามกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ มติคณะรัฐมนตรี

และหนังสือส่ังการที่เกี่ยวของ รวมทั้งบรรลุวัตถุประสงคและเปาหมายของหนวยรับตรวจ ๑๐๑.๑ ผูบริหารระดับสูงเปนผูรับผิดชอบกําหนดหนาที่ความรับผิดชอบเกี่ยวกับขั้นตอน และ

วิธีการจัดซื้อจัดจาง ไวอยางชัดเจนและเหมาะสม ๑๐๑.๒ ผูบริหารระดับกลางเปนผูรับผิดชอบกําหนดขั้นตอน และวิธีการจัดซื้อจัดจางใหเหมาะสม

รัดกุม และ เปนไปตามกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ มติคณะรัฐมนตรี และหนังสอืส่ังการที่เกี่ยวของ

๑๐๑.๓ เจาหนาท่ีผูปฏิบัติงานศึกษาและทําความเขาใจถึงขอกําหนดขั้นตอนและวิธีการจัดซื้อ จัดจาง

Page 43: มาตรการการตรวจเงินแผ นดิน¸¡ลก-3.pdf · และเป นมาตรการป องกันการท ุจริต

- ๔๒ -

สวนท่ี ๓ การดําเนินการจัดซื้อจัดจาง

๑๐๒. เพื่อใหหนวยรับตรวจสามารถจัดหาพัสดุหรือบริการที่มีคุณภาพ ตรงตามความตองการ ทันตามเวลาที่กําหนด ในราคาที่เหมาะสม จึงควรมีหลักการในการดําเนินการจัดซื้อจัดจาง ดังนี้ ๑๐๒.๑ ผูมีหนาท่ีเก่ียวกับการจัดซื้อจัดจาง จะตองปฏิบัติใหเปนไปตามขั้นตอนที่กําหนด ๑๐๒.๒ ปญหาขอขัดของในการปฏิบัติงาน ตองไดรับการพิจารณาปรับปรุงแกไขอยางตอเนื่อง

๑๐๓. การดําเนินงานดานการจัดซื้อจัดจาง ประกอบดวยกิจกรรมหลัก ๔ กิจกรรม ดังนี้ กิจกรรมที่ ๑ การเตรียมงาน กิจกรรมที่ ๒ การดําเนินการจัดซื้อจัดจาง กิจกรรมที่ ๓ การรายงานผลการดําเนินการจัดซื้อจัดจาง กิจกรรมที่ ๔ การติดตามการใชประโยชน

กิจกรรมที่ ๑ การเตรียมงาน ๑๐๔. เพื่อใหหนวยรับตรวจมีความพรอมในการปฏิบัติงานทางดานการจัดซื้อจัดจาง ใหบรรลุตาม

วัตถุประสงค เปาหมาย และทันตามความตองการ ๑๐๔.๑ ผูบริหารทุกระดับ รับผิดชอบในการสํารวจความพรอมที่จะปฏิบัติงานตามแผน

ในเรื่อง ตาง ๆ เชน คูมือการปฏิบัติงาน วัสดุ อุปกรณ เครื่องมือ เอกสารที่จําเปนตองใช ผังทางเดินของงาน การมอบหมายความรับผิดชอบในการปฏิบัติงาน เปนตน

๑๐๔.๒ ผูบริหารทุกระดับตองใหความสําคัญกับการกําหนดแนวทาง และวิธีการปฏิบัติงานดานการจัดซื้อจัดจาง โดยมอบหมายใหเจาหนาท่ีผูปฏิบัติงานปรับปรุงหรือจัดทําผังทางเดิน ของงาน และคูมือการปฏิบัติงาน และจัดเตรียมเอกสารที่จะตองใช เพื่อใชเปนแนวทางในการปฏิบัติงานที่ชัดเจน

๑๐๔.๓ ผูบริหารระดับกลางเปนผูรับผิดชอบเผยแพรคูมือการปฏิบัติงานที่ไดรับความเห็นชอบจาก ผูบริหารระดับสูงใหเจาหนาท่ีผูปฏิบัติงานที่ เ ก่ียวของทุกระดับทราบ และศึกษา ทําความเขาใจ เพื่อใหสามารถปฏิบัติงานเปนไปตามที่กําหนดไว

๑๐๔.๔ ผูบริหารระดับกลางและระดับตนรับผิดชอบทบทวน และปรับปรุงแกไขคูมือการปฏิบัติงาน ใหทันตอการเปลี่ยนแปลงอยูเสมอ

๑๐๔.๕ เจาหนาท่ีผูปฏิบัติงานเปนผูรับผิดชอบรวบรวมหรือจัดหาขอมูลที่ถูกตองสมบูรณ เพื่อให ผูบริหารสามารถใชประโยชนในการดําเนินการจัดซื้อจัดจางไดอยางมีประสิทธิภาพและเหมาะสม

Page 44: มาตรการการตรวจเงินแผ นดิน¸¡ลก-3.pdf · และเป นมาตรการป องกันการท ุจริต

- ๔๓ -

กิจกรรมที่ ๒ การดําเนินการจัดซื้อจัดจาง ๑๐๕. เพื่อใหการดําเนินการถูกตอง เปนไปตามกฎหมาย ระเบียบฯ และวิธีการจัดหาที่เหมาะสม

๑๐๕.๑ ผูบริหารระดับสูงเปนผูรับผิดชอบดําเนินการ ดังนี้ ๑๐๕.๑.๑ กําหนดใหมีการดําเนินการจัดซื้อจัดจางอยางเหมาะสม และเปนไปตาม

กฎหมาย ระเบียบ และขอบังคับที่เกี่ยวของ ๑๐๕.๑.๒ กําหนดคุณสมบัติ หนาที่ และความรับผิดชอบของเจาหนาที่ผูปฏิบัติงานจัดซื้อ

จัดจางไวอยางชัดเจนและเหมาะสม ๑๐๕.๒ ผูบริหารระดับกลางเปนผูรับผิดชอบกําหนดรูปแบบ และวิธีการประสานงานเกี่ยวกับ

การจัดซื้อจัดจาง ระหวางหนวยงานภายใน และหนวยงานภายนอก ๑๐๕.๓ เจาหนาท่ีผูปฏิบัติงานเปนผูรับผิดชอบดําเนินการจัดซื้อจัดจางตามขั้นตอน และวิธีการ

จัดซื้อจัดจาง ที่ไดกําหนดไวตามที่ไดรับมอบหมาย ๑๐๕.๔ ผูบริหารระดับกลางเปนผูรับผิดชอบกําหนดใหมีการควบคุม และกํากับดูแลใหเจาหนาที่

ผูปฏิบัติ ปฏิบัติงานเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจางใหเปนไปตามกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ มติคณะรัฐมนตรี และหนังสือส่ังการที่เกี่ยวของ และเปนไปตามมาตรฐานที่กําหนดไวในคูมือการปฏิบัติงาน

กิจกรรมที่ ๓ การรายงานผลการดําเนินการจัดซื้อจัดจาง ๑๐๖. เพื่อใหทราบผลการดําเนินการจัดซื้อจัดจาง ปญหาอุปสรรคที่เกิดขึ้น เพื่อหาแนวทางแกไข

ปรับปรุงไดทันเวลา ๑๐๖.๑ ผูบริหารระดับกลางเปนผูรับผิดชอบดําเนินการ ดังนี้

๑๐๖.๑.๑ กําหนดระยะเวลาใหเจาหนาที่ผูปฏิบัติงาน รายงานผลการปฏิบัติงานดานการ จัดซื้อจัดจาง

๑๐๖.๑.๒ กําหนดหลักเกณฑ และวิธีการติดตามผลการปฏิบัติงาน เพื่อใหทราบ ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และปญหาอุปสรรค เพื่อจะไดนําไปแกไข ปรับปรุงตอไป

๑๐๖.๒ เจาหนาท่ีผูปฏิบัติงานเปนผูรับผิดชอบดําเนินการจัดซื้อจัดจางตามที่ผูบริหารมอบหมาย และรายงานผลการปฏิบัติงานใหผูบริหารทราบ หากพบวามีความไมชัดเจนและ ไมเหมาะสมของการปฏิบัติ จะตองรายงานและนําเสนอใหผูบริหารทราบโดยทันที

๑๐๖.๓ ผูบริหารระดับกลางเปนผูรับผิดชอบกําหนดใหมีการเผยแพรผลการปฏิบัติงานในการดําเนินการจัดซ้ือจัดจางใหผูเกี่ยวของทราบ เพื่อจะเปนประโยชนในการปรับปรุงแกไข ในการปฏิบัติงานตอไป

Page 45: มาตรการการตรวจเงินแผ นดิน¸¡ลก-3.pdf · และเป นมาตรการป องกันการท ุจริต

- ๔๔ -

กิจกรรมที่ ๔ การติดตามการใชประโยชน ๑๐๗. เพื่อใหทราบถึงการใชประโยชนจากพัสดุหรือบริการที่จัดหาวาเปนไปตามวัตถุประสงคเพียงใด

คุมคาหรือไม โดยผูบริหารระดับกลางเปนผูรับผิดชอบดําเนินการ ดังนี้ ๑๐๗.๑ กําหนดใหมีการติดตามการใชประโยชนจากพัสดุและบริการที่ดําเนินการจัดซื้อจัดจาง

ใหทราบวามีการใชประโยชนคุมคา ประหยัด และมีประสิทธิภาพหรือไม ๑๐๗.๒ กําหนดใหมีการเผยแพรผลการติดตามการใชประโยชนจากการดําเนินการจัดซื้อจัดจาง

ใหผูที่เกี่ยวของทราบ เพื่อเปนประโยชนในการปรับปรุงแกไขการปฏิบัติงานตอไป

สวนท่ี ๔ การติดตามและประเมินผล

๑๐๘. เพื่อใหทราบความสําเร็จของการดําเนินการจัดซื้อจัดจาง ปองกันหรือควบคุมความเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้นจากการจัดซื้อจัดจางที่ไมถูกตองเหมาะสม ทราบปญหา และจุดออนในการปฏิบัติงาน คุณภาพและประสิทธิภาพของเจาหนาที่ผูปฏิบัติงาน ผูบริหารระดับสูงจึงควรมีหลักการในการ ติดตามและประเมินผล ดังนี้ ๑๐๘.๑ กําหนดผลสําเร็จของการจัดซื้อจัดจาง เพื่อใชเปนตัวช้ีวัดในการวัดผลการปฏิบัติงาน ๑๐๘.๒ กําหนดใหมีการสรุปผลการปฏิบัติงาน ปญหาอุปสรรค และความเห็นในการปรับปรุง

แกไข อยางสม่ําเสมอและตอเนื่อง

๑๐๙. การดําเนินการติดตามและประเมินผล ประกอบดวยกิจกรรมหลัก ๓ กิจกรรม ดังนี้ กิจกรรมที่ ๑ การวางแผนการติดตามและประเมินผล กิจกรรมที่ ๒ การดําเนินการติดตามและประเมินผล กิจกรรมที่ ๓ การแจงผลการประเมินและการใชประโยชน

กิจกรรมที่ ๑ การวางแผนการติดตามและประเมินผล ๑๑๐. เพื่อใหมีระบบการติดตามและประเมินผลที่มีประสิทธิภาพ

๑๑๐.๑ ผูบริหารระดับสูงและระดับกลางเปนผูรับผิดชอบดําเนินการ ดังนี้ ๑๑๐.๑.๑ กําหนดการติดตามและประเมินผลทั้ง ๔ ดานคือ ผลสําเร็จของการดําเนินงาน

การปองกันความเสียหาย ความถูกตอง และจุดออน ทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ ๑๑๐.๑.๒ สนับสนนุใหมีการนําผลจากการติดตามและประเมินผลมาใชใหเปนประโยชน

๑๑๐.๒ ผูบริหารระดับกลางเปนผูรับผิดชอบกําหนดเกณฑตัวช้ีวัด ขอบเขต และระยะเวลาที่จะทําการติดตามและประเมินผล โดยคํานึงถึงงบประมาณ บุคลากร เทคนิค และวิธีการเลือกเกณฑ ซ่ึงตองดูถึงผลลัพธและผลกระทบที่ไดรับจากผลการปฏิบัติงาน

Page 46: มาตรการการตรวจเงินแผ นดิน¸¡ลก-3.pdf · และเป นมาตรการป องกันการท ุจริต

- ๔๕ -

๑๑๐.๓ ผูบริหารระดับกลางและระดับตนเปนผูรับผิดชอบกําหนดหนวยงานและบุคลากรในการ ทําหนาที่ติดตามและประเมินผลไวอยางชัดเจน

๑๑๐.๔ ผูบริหารระดับกลางเปนผูรับผิดชอบจัดทําประมาณการคาใชจายในการดําเนินการติดตามและประเมินผล โดยจัดลําดับความสําคัญใหเหมาะสมกับงานที่จําเปนตองประเมินผล

กิจกรรมที่ ๒ การดําเนินการติดตามและประเมินผล ๑๑๑. เพื่อใหการติดตาม และประเมนิผลสามารถนาํมาใชประโยชนในการแกปญหาอุปสรรคในการดําเนนิงาน

๑๑๑.๑ ผูบริหารระดับกลางเปนผูรับผิดชอบกําหนดแนวทางและวิธีการติดตามและประเมินผล เพื่อใหไดขอมูลที่มีคุณภาพ เชื่อถือได และทันเวลา

๑๑๑.๒ ผูบริหารระดับสูงและระดับกลางรับผิดชอบติดตามการสรุปและวิเคราะหผลการติดตามและประเมินผล อยางตอเนื่อง

๑๑๑.๓ เจาหนาท่ีผูปฏิบัติงานมีความเขาใจในวัตถุประสงค เปาหมายในการติดตามและประเมนิผล และประโยชนที่คาดวาจะไดรับ รวมถึงงานที่ไดรับมอบหมายในการติดตามและประเมินผลอยางชัดเจน

๑๑๑.๔ เจาหนาท่ีผูปฏิบัติงานเปนผูรับผิดชอบดําเนินการ ดังนี้ ๑๑๑.๔.๑ รวบรวมและวิเคราะหผลที่ไดจากการติดตามและการประเมินผล รายงาน

สรุปผล และรวบรวมปญหา อุปสรรค พรอมทั้งขอเสนอแนะในการปรับปรุงแกไขใหเหมาะสมยิ่งขึ้น

๑๑๑.๔.๒ นําเสนอรายงานผลการติดตามและประเมินผลตอฝายบริหารใหทันตาม ความตองการใชประโยชนจากรายงานดังกลาว

๑๑๑.๔.๓ ติดตามผลการพิจารณารายงานเพื่อดําเนินการปรับปรุงแกไขการดําเนินงาน ในสวนที่รับผิดชอบ ตามแนวทางที่ผูบริหารมอบหมาย

กิจกรรมที่ ๓ การแจงผลการประเมินและการใชประโยชน ๑๑๒. เพื่อใหผูที่ เกี่ยวของสามารถติดตามความกาวหนา และความสําเร็จในการดําเนินงานของ

หนวยรับตรวจไดอยางตอเนื่อง ๑๑๒.๑ ผูบริหารระดับกลางเปนผูรับผิดชอบกําหนดเปาหมาย และแผนในการแจงผลการติดตาม

และประเมินผล รวมถึงปญหาอุปสรรคและผลกระทบ และวิธีการที่จะนํามาแกไข ปรับปรุงและปองกันหรือควบคุมมิใหเกิดความเสียหาย

๑๑๒.๒ หนวยงานและบุคลากรที่รับผิดชอบในการติดตามและการประเมินผล รับผิดชอบแจงผลการติดตามและประเมินผลใหผูที่เกี่ยวของทราบภายในระยะเวลาที่กําหนด และรับฟงความคิดเห็น เพื่อใหเกิดความเขาใจและมีสวนรวมในการรับผิดชอบการดําเนินงาน ในสวนตาง ๆ

Page 47: มาตรการการตรวจเงินแผ นดิน¸¡ลก-3.pdf · และเป นมาตรการป องกันการท ุจริต

- ๔๖ -

มาตรการที่ ๔ มาตรการปองกันหรือควบคมุความเสียหายดานการจดัเก็บรายได

๑๑๓. ความเสียหายดานการจัดเก็บรายได เกิดจากการจัดเก็บรายไดไมถูกตอง ไมครบถวนทั่วถึง เกิดการรั่วไหล หรือเจาหนาที่ปฏิบัติไมถูกตองตามกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ มติคณะรัฐมนตรี และหนังสือส่ังการ ทําใหหนวยรับตรวจสูญเสียรายได หรือประโยชนที่ควรจะไดรับ หรือเจาหนาที่ ละเลย ไมปฏิบัติ หรือเลือกปฏิบัติ ไมเปนธรรมในการจัดเก็บรายได หรือเกิดจากการทุจริตหรือประพฤติมิชอบ

๑๑๔. ปจจัยที่หนวยรับตรวจควรนํามาพิจารณาใชเปนแนวทางในการปองกันหรือควบคุมความเสียหาย ดานการจัดเก็บรายไดมี ๕ สวน คือ สวนที่ ๑ กฎหมาย ระเบยีบ ขอบังคับ มติคณะรัฐมนตรี และหนังสอืส่ังการที่เกี่ยวของ สวนที่ ๒ การบริหารการจัดเก็บรายได สวนที่ ๓ การดําเนินการจัดเก็บรายได สวนที่ ๔ การเงิน สวนที่ ๕ การติดตามและประเมินผล

สวนท่ี ๑

กฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ มติคณะรัฐมนตรี และหนังสือสั่งการที่เกี่ยวของ

๑๑๕. แนวทางปฏิบัติในการปองกันหรือควบคุมความเสียหายดานการดําเนินงาน ในสวนที่ เกี่ยวกับกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ มติคณะรัฐมนตรี และหนังสือส่ังการที่เกี่ยวของกับการจัดเก็บรายได มีแนวปฏิบัติเชนเดียวกับแนวทางที่กําหนดไวในมาตรการที่ ๑ มาตรการปองกันหรือควบคุมความเสียหายดานการเงิน สวนที่ ๑ กลาวคือ ผูบริหารและเจาหนาท่ีผูปฏิบัติงานทุกระดับของหนวยรับตรวจควรปฏิบัติงานใหเปนไปตามอํานาจหนาที่ที่กําหนดไว และเปนไปตามกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ มติคณะรัฐมนตรี และหนังสือส่ังการที่เกี่ยวของ โดยมีกิจกรรมหลักในการดําเนินงาน ๓ กิจกรรม เชนเดียวกัน คือ

กิจกรรมท่ี ๑ การรวบรวมและศึกษากฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ มติคณะรัฐมนตรี และหนังสือสั่งการ ท่ีเก่ียวของ ๑๑๖. ฝายกฎหมายหรือกลุมงานที่ไดรับมอบหมายจากผูบริหารระดับสูงรับผิดชอบดําเนินการรวบรวม

และศึกษา ตลอดจนเผยแพรใหผูบริหารและเจาหนาที่ที่เกี่ยวของมีความเขาใจเกี่ยวกับกฎหมาย ระเบียบ ฯลฯ และผูบริหารทุกระดับตองใชความระมัดระวังในการบริหารงาน ใหเปนไปตามกฎหมาย ระเบียบ ฯลฯ ดังกลาว

Page 48: มาตรการการตรวจเงินแผ นดิน¸¡ลก-3.pdf · และเป นมาตรการป องกันการท ุจริต

- ๔๗ -

กิจกรรมที่ ๒ การทบทวนความเหมาะสมของกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ มติคณะรัฐมนตรี และหนังสือสั่งการที่เก่ียวของ ๑๑๗. ฝายกฎหมายหรือกลุมงานที่ไดรับมอบหมาย รับผิดชอบทบทวนและประมวลขอกําหนดตาม

กฎหมายที่เกี่ยวของกับการจัดเก็บรายได เพื่อใหทราบปญหาหรือขอขัดของในทางปฏิบัติตาม ที่กําหนดไว และเสนอความเห็นใหผูมีอํานาจพิจารณาปรับปรุงแกไขตอไป

กิจกรรมที่ ๓ การดําเนินการขอปรับปรุงแกไข หรือกําหนดกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ มติคณะรัฐมนตรี และหนังสือสั่งการที่เก่ียวของ ๑๑๘. ผูบริหารระดับสูงเปนผูรับผิดชอบในการใหความเห็นตอขอเสนอตามกิจกรรมที่ ๒ และจัดใหมี

การดําเนินการยกรางในสวนที่เกี่ยวของ เสนอราง ตลอดจนติดตามผลการดําเนินการในการ ขอปรับปรุงแกไข

๑๑๙. ทั้งนี้ในการดําเนินการทั้ง ๓ กิจกรรม ใหเปนไปตามแนวทางการปฏิบัติที่กําหนดไวในมาตรการที่ ๑ สวนที่ ๑ กิจกรรมที่ ๑ – ๓ ขอ ๒๗ - ๒๙

สวนท่ี ๒

การบริหารการจัดเก็บรายได

๑๒๐. เพื่อใหการจัดเก็บรายไดของหนวยรับตรวจสามารถจัดเก็บไดอยางทั่วถึงและเปนธรรม จึงควร มีหลักการดานการบริหารการจัดเก็บรายได ดังนี้ ๑๒๐.๑ จัดเก็บใหถูกตอง ครบถวน เปนไปตามกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ มติคณะรัฐมนตรี

และหนังสือส่ังการที่เกี่ยวของ ๑๒๐.๒ มีการแบงแยกหนาที่ ความรับผิดชอบใหชัดเจน และมีระบบการควบคุมภายในที่ดี

๑๒๑. การดําเนินงานดานการบริหารการจัดเก็บรายได ประกอบดวยกิจกรรมหลัก ๔ กิจกรรม ดังนี้ กิจกรรมที่ ๑ การกําหนดหนาที่ความรับผิดชอบของหนวยงานและเจาหนาที่ที่ เกี่ยวของกับ

การจัดเก็บรายได กิจกรรมที่ ๒ การวางแผนการจัดเก็บรายได การกําหนดขั้นตอน และวิธีการจัดเก็บรายได กิจกรรมที่ ๓ การประมาณการจัดเก็บรายได กิจกรรมที่ ๔ การกําหนดรูปแบบการรายงาน

Page 49: มาตรการการตรวจเงินแผ นดิน¸¡ลก-3.pdf · และเป นมาตรการป องกันการท ุจริต

- ๔๘ -

กิจกรรมที่ ๑ การกําหนดหนาท่ีความรับผิดชอบของหนวยงานและเจาหนาท่ีท่ีเก่ียวของกับการจัดเก็บรายได ๑๒๒. เพื่อใหมีแนวทางในการปฏิบัติงานที่ไดรับมอบหมายชัดเจนและเหมาะสม ผูปฏิบัติงาน

มีคุณสมบัติเหมาะสม และสามารถปฏิบัติงานไดอยางมีประสิทธิภาพ ๑๒๒.๑ ผูบริหารระดับสูงเปนผูรับผิดชอบกําหนดโครงสรางขององคกรในสวนที่เกี่ยวกับ

การจัดเก็บรายได ใหเหมาะสมกับภารกิจในความรับผิดชอบ ๑๒๒.๒ ผูบริหารระดับกลางเปนผูรับผิดชอบกําหนดคุณสมบัติของบุคลากรผูรับผิดชอบในการ

จัดเก็บรายไดแตละประเภท ไวอยางชัดเจน ๑๒๒.๓ ผูบริหารระดับกลางกําหนดผูรับผิดชอบและมอบหมายการปฏิบัติงานอยางชัดเจนและ

เหมาะสม ๑๒๒.๔ ผูบริหารทุกระดับเปนผูรับผิดชอบจัดใหมีการฝกอบรมผูปฏิบัติงาน ใหมีความรู ความเขาใจ

และทักษะ ในการปฏิบัติงานดานการจัดเก็บรายไดแตละประเภท ใหเปนไปในทิศทางเดียวกัน

กิจกรรมที่ ๒ การวางแผนการจัดเก็บรายได การกําหนดขั้นตอน และวิธีการจัดเก็บรายได ๑๒๓. เพื่อใหจัดเก็บไดครบถวนและถูกตอง

๑๒๓.๑ ผูบริหารระดับสูงและระดับกลางเปนผูรับผิดชอบกําหนดขอบเขตการจัดเก็บรายได ใหเปนไปตามอํานาจหนาที่ตามกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ มติคณะรัฐมนตรี และ แบบแผนการปฏิบัติงานของหนวยรับตรวจ

๑๒๓.๒ ผูบริหารระดับกลางเปนผูรับผิดชอบวางแผนการสํารวจและจัดทําฐานขอมูลของรายได ที่จะจัดเก็บจากแหลงตาง ๆ ใหครบถวน ถูกตอง และเปนปจจุบัน

๑๒๓.๓ ผูบริหารระดับกลางเปนผูรับผิดชอบกําหนดขั้นตอน และวิธีการจัดเก็บรายไดประเภทตาง ๆ ๑๒๓.๔ ผูบริหารระดับกลางและระดับตนตองปฏิบัติใหสอดคลองกับแนวทาง และวิธีการ

ที่กําหนดไว

กิจกรรมที่ ๓ การประมาณการจัดเก็บรายได ๑๒๔. เพื่อใหทราบถึงประเภท และวงเงินของรายไดแตละประเภทที่จะจัดเก็บได ซ่ึงจะใชเปนขอมูล

ในการวางแผนดานการเงินไดอยางมีประสิทธิภาพ ๑๒๔.๑ ผูบริหารระดับสูง และระดับกลาง เปนผูรับผิดชอบกําหนดหลักเกณฑและวิธีการในการ

ประมาณการจัดเก็บรายไดแตละประเภทใหเหมาะสม ๑๒๔.๒ ผูบริหารระดับกลางและระดับตนควรใหเจาหนาที่ผูปฏิบัติงานทุกระดับมีสวนรวม

เสนอความเห็นในการจัดทําประมาณการจัดเก็บรายได ๑๒๔.๓ผูบริหารระดับสูงเปนผูรับผิดชอบจําแนกประเภทรายไดที่จัดเก็บใหเหมาะสมและชัดเจน

เพื่อสะดวกในการประมาณการ เพราะรายไดแตละประเภทมีลักษณะไมเหมือนกัน

Page 50: มาตรการการตรวจเงินแผ นดิน¸¡ลก-3.pdf · และเป นมาตรการป องกันการท ุจริต

- ๔๙ -

๑๒๔.๔ผูบริหารและเจาหนาท่ีผูปฏิบัติงานทุกระดับท่ีเก่ียวของกับการประมาณการรายไดแตละประเภท รับผิดชอบในการพิจารณาสภาพแวดลอมทั้งดานเศรษฐกิจ การเมือง สังคม ทัศนคติ และเทคโนโลยี ซ่ึงการใชสถิติจากรายไดปที่แลวมาเปนฐานคํานวณเพียงอยางเดียวยอมไมเพียงพอ

๑๒๔.๕ ผูบริหารและเจาหนาท่ีผูปฏิบัติงานทุกระดับควรมีความเขาใจเกี่ยวกับลักษณะของแหลงที่มาของรายไดแตละประเภทใหชัดเจนในการประมาณการจัดเก็บรายไดแตละประเภทใหถูกตอง และสอดคลองกับสถานการณ

๑๒๔.๖ ผูบริหารระดับสูงและระดับกลางเปนผูรับผิดชอบพิจารณาถึงความสัมพันธระหวาง รายไดที่จะจัดเก็บกับคาใชจายในการจัดเก็บที่จะเกิดขึ้น

๑๒๔.๗ ผูบริหารระดับสูงและระดับกลางควรคํานึงถึงสาเหตุที่มีผลกระทบตอการเปลี่ยนแปลง ในการจัดเก็บรายไดแตละประเภทของหนวยรับตรวจ

๑๒๔.๘ เจาหนาท่ีผูปฏิบัติงานเปนผูรับผิดชอบในการจัดทําประมาณการจัดเก็บรายไดแตละประเภทเปนลายลักษณอักษร เพื่อใชเปนขอมูลในการติดตามและประเมินผล

กิจกรรมที่ ๔ การกําหนดรปูแบบการรายงาน ๑๒๕. เพื่อใหมีการเก็บรวบรวมขอมูลไดครบถวนถูกตองตรงตามความตองการ และสามารถไปใช

ประโยชนในการบริหารงานการจัดเก็บไดอยางมีประสิทธิภาพ ๑๒๕.๑ ผูบริหารระดับกลางเปนผูรับผิดชอบดําเนินการ ดังนี้

๑๒๕.๑.๑ กําหนดรูปแบบ และระบบการรายงานผลการจัดเก็บรายไดแตละประเภท ๑๒๕.๑.๒ กําหนดความถี่ในการจัดทํารายงานผลการจัดเก็บรายไดตามระยะเวลาที่เหมาะสม

๑๒๕.๒ เจาหนาท่ีผูปฏิบัติงานเปนผูรับผิดชอบจัดทํารายงานผลการจัดเก็บใหเปนไปตามที่ ผูบริหารกําหนด

สวนท่ี ๓

การดําเนินการจัดเก็บรายได

๑๒๖. เพื่อใหการปฏิบัติงานในการจัดเก็บรายไดเปนไปอยางมีประสิทธิภาพและเปนไปตามกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ ฯลฯ จึงควรมีหลักการดานการดําเนินการจัดเก็บรายได ดังนี้ ๑๒๖.๑ ผูมีหนาท่ีเก่ียวกับการจัดเก็บรายได จะตองปฏิบัติงานใหเปนไปตามขั้นตอนที่กําหนด ๑๒๖.๒ ปญหา อุปสรรค และขอขัดของในการปฏิบัติงานไดรับการพิจารณาแกไขปรับปรงุ

อยางตอเนื่อง

Page 51: มาตรการการตรวจเงินแผ นดิน¸¡ลก-3.pdf · และเป นมาตรการป องกันการท ุจริต

- ๕๐ -

๑๒๗. การดําเนินการจัดเก็บรายได ประกอบดวยกจิกรรมหลัก ๕ กจิกรรม ดังนี ้กิจกรรมที ่๑ การเตรยีมงาน กิจกรรมที ่๒ การดําเนินการจัดเก็บรายได กิจกรรมที ่๓ การควบคุม กาํกับดแูล ตดิตาม และตรวจสอบ กิจกรรมที ่๔ การรายงานผลการดําเนินการจัดเก็บรายได กิจกรรมที ่๕ การปรับปรุงฐานขอมูล

กิจกรรมที่ ๑ การเตรียมงาน ๑๒๘. เพื่อใหหนวยรับตรวจมีความพรอมในการปฏิบัติงานทางดานการจัดเก็บรายไดใหบรรลุตาม

วัตถุประสงค และเปาหมาย ๑๒๘.๑ ผูบริหารทุกระดับรับผิดชอบสํารวจความพรอมที่จะปฏิบัติงานตามแผนในเรื่องตาง ๆ เชน

คูมือการปฏิบัติงาน วัสดุ อุปกรณ เครื่องมือ เอกสารที่จําเปนตองใช ผังทางเดินของงาน การมอบหมายความรับผิดชอบในการปฏิบัติงาน เปนตน

๑๒๘.๒ ผูบริหารทุกระดับควรใหความสําคัญกับการกําหนดแนวทาง และวิธีการปฏิบัติงานดาน การจัดเก็บรายได โดยมอบหมายใหเจาหนาท่ีผูปฏิบัติงานปรับปรุงหรือจัดทําผังทางเดินของงาน และคูมือการปฏิบัติงาน และจัดเตรียมเอกสารที่จะตองใช เพื่อใชเปนแนวทาง ในการปฏิบัติงานที่ชัดเจน

๑๒๘.๓ ผูบริหารระดับกลางเปนผูรับผิดชอบเผยแพรคูมือการปฏิบัติงานที่ไดรับความเห็นชอบจาก ผูบริหารระดับสูง ใหเจาหนาท่ีผูปฏิบัติงานที่เก่ียวของทุกระดับทราบ และศึกษาทําความ เขาใจ เพื่อใหสามารถปฏิบัติงานเปนไปตามมาตรฐานที่กําหนดไว

๑๒๘.๔ ผูบริหารระดับกลางและระดับตนรับผิดชอบทบทวนและปรับปรุงแกไขคูมือการปฏิบัติงานใหทันตอการเปลี่ยนแปลงอยูเสมอ

๑๒๘.๕ เจาหนาท่ีผูปฏิบัติงานเปนผูรับผิดชอบรวบรวมหรือจัดหาขอมูลที่ถูกตองสมบูรณ เพื่อใหผูบริหารสามารถใชประโยชนในการดําเนินการจัดเก็บรายได ไดอยางมีประสิทธิภาพ และเหมาะสม

กิจกรรมที่ ๒ การดําเนินการจัดเก็บรายได ๑๒๙. เพื่อใหการจัดเก็บรายไดเปนไปอยางถูกตองครบถวน และเปนธรรม

๑๒๙.๑ ผูบริหารระดับสูงเปนผูรับผิดชอบกําหนดใหมีการประชาสัมพันธเกี่ยวกับการจัดเก็บรายไดแตละประเภท ใหผูที่มีสวนเกี่ยวของทราบ เพื่อใหมีการปฏิบัติใหถูกตองตามกฎหมาย ระเบียบ ขอบงัคับ มติคณะรัฐมนตรี และแบบแผนการปฏิบัติงานที่กําหนดไว

๑๒๙.๒ เจาหนาท่ีผูปฏิบัติงานเปนผูรับผิดชอบดําเนินการ ดังนี้ ๑๒๙.๒.๑ เรงรัดการจัดเก็บรายไดใหถูกตองครบถวน และเปนไปตามกฎหมาย

ระเบียบ ขอบังคับ ฯลฯ ที่เกี่ยวของ

Page 52: มาตรการการตรวจเงินแผ นดิน¸¡ลก-3.pdf · และเป นมาตรการป องกันการท ุจริต

- ๕๑ -

๑๒๙.๒.๒ จัดทํารายงานผลการจัดเก็บรายไดเสนอตอผูบริหาร ตามระยะเวลาที่กําหนด

กิจกรรมที่ ๓ การควบคุม กํากับดูแล ติดตามและตรวจสอบ ๑๓๐. เพื่อใหผูที่ไดรับมอบหมายดําเนินการควบคุมกํากับดูแล และติดตามตรวจสอบการปฏิบัติงานดาน

การจัดเก็บรายไดอยางมีประสิทธิภาพ เปนไปตามเปาหมาย ทันเวลา และทราบถึงปญหาอุปสรรคที่เกิดขึ้นระหวางการปฏิบัติงาน เพื่อสามารถหาแนวทางแกไขไดอยางเหมาะสม และ ทันเหตุการณ กอนที่จะเกิดความเสียหายแกหนวยรับตรวจ ๑๓๐.๑ ผูบริหารระดับสูงเปนผูรับผิดชอบกําหนดหลักเกณฑ และแนวทางการควบคุม ติดตาม

และตรวจสอบทางดานการจัดเก็บรายไดที่เปนมาตรฐาน โดยจัดใหมีระบบงานตาง ๆ อยางเหมาะสม เชน การรายงานผลการปฏิบัติงานดานการจัดเก็บรายได การตรวจสอบความครบถวนถูกตองของการจัดเก็บ การบันทึกรายการทางการเงิน

๑๓๐.๒ ผูบริหารทุกระดับเปนผูรับผิดชอบติดตามตรวจสอบการปฏิบัติงานใหเปนไปตามแผนการจัดเก็บรายไดที่กําหนดไวอยางสม่ําเสมอ โดยควรมีความถี่ในการตรวจสอบพอสมควร หากไมสามารถปฏิบัติได เนื่องจากมีปญหาอุปสรรคที่คาดไมถึงเกิดขึ้น ใหผูรับผิดชอบวินิจฉัยปญหา และรีบหาแนวทางแกไข

๑๓๐.๓ ผูบริหารระดับกลางเปนผูรับผิดชอบกําหนดแนวทางปฏิบัติงานดานการจัดเก็บรายได และจัดบุคลากรที่มีความรูความสามารถให เหมาะสมในการติดตามตรวจสอบ และ ผูบริหารระดับตนเปนผูรับผิดชอบควบคุมกํากับดูแลใหเจาหนาที่ผูปฏิบัติงานดานการจัดเก็บรายได ปฏิบัติใหทันเวลา และเปนไปตามมาตรฐาน กฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ ฯลฯ ที่กําหนดไว

๑๓๐.๔ ผูบริหารระดับสูงเปนผูรับผิดชอบกําหนดใหมีสวนงานในการควบคุมตรวจสอบ และประเมินผล เพื่อใหรับผิดชอบในการควบคุมการปฏิบัติงานใหเปนไปตามวัตถุประสงค และเปาหมาย รวมถึงการตัดสินใจในการแกปญหาที่เกิดจากการปฏิบัติงานดานการจัดเก็บรายได

กิจกรรมที่ ๔ การรายงานผลการดําเนินการจัดเก็บรายได ๑๓๑. เพื่อใหมีระบบการรายงานการปฏิบัติงานดานการจัดเก็บรายไดที่รัดกุม และเหมาะสม

๑๓๑.๑ ผูบริหารทุกระดับเปนผู รับผิดชอบกําหนดความตองการขอมูลที่ตองใชทางดาน การจัดเก็บรายได และรูปแบบการรายงาน เพื่อใหไดขอมูลที่สอดคลองกับความตองการ

๑๓๑.๒ เจาหนาท่ีผูปฏิบัติงานดานการจัดเก็บรายไดเปนผูรับผิดชอบจัดทํารายงานผลการ ปฏิบัติงานในความรับผิดชอบเสนอตอผูบังคับบัญชาในระยะเวลาที่กําหนด และตองใหความเห็น หรือช้ีใหเห็นสิ่งบอกเหตุที่จะทําใหเปนอุปสรรคในการปฏิบัติงานตามแผน

Page 53: มาตรการการตรวจเงินแผ นดิน¸¡ลก-3.pdf · และเป นมาตรการป องกันการท ุจริต

- ๕๒ -

๑๓๑.๓ ผูบริหารทุกระดับควรนํารายงานผลการปฏิบัติงานดานการจัดเก็บรายไดไปใชประโยชน เชน รายไดที่จัดเก็บไดเปรียบเทียบกับประมาณการวาเปนไปตามแผนหรือไม สาเหตุ และผลกระทบที่จะเกิดขึ้น

กิจกรรมที่ ๕ การปรับปรุงฐานขอมูล ๑๓๒. เพื่อใชเปนประโยชนในการจัดทําแผนการจัดเก็บรายไดในปตอ ๆ ไป

ผูบริหารระดับกลางและระดับตนเปนผูรับผิดชอบดําเนินการปรับปรุงฐานขอมูล เกี่ยวกับรายไดแตละประเภทใหตรงตามสภาพขอเท็จจริงอยูเสมอ และจัดทําฐานขอมูลใหเสร็จสิ้นกอนที่จะดําเนินการจัดเก็บในปตอไป เพื่อใหการดําเนินการจัดเก็บเปนไปอยางทั่วถึงและเปนธรรม

สวนท่ี ๔ การเงิน

๑๓๓. เพื่อใหการบริหารดานการเงินเกี่ยวกับการจัดเก็บรายไดเปนไปอยางถูกตอง เหมาะสม โปรงใส และตรวจสอบได ควรมีหลักการปฏิบัติดานการเงิน ดังนี้ ๑๓๓.๑ มีความถูกตองตามกฎหมาย ระเบียบ ฯลฯ ที่กําหนดไว ๑๓๓.๒ มีระบบการควบคุมภายใน และการตรวจสอบภายในที่เหมาะสม ๑๓๓.๓ มีการบริหารการเงินที่ดี ไมเกิดปญหาจากการจัดเก็บรายไดไมเปนไปตามเปาหมาย

อันจะเปนอุปสรรคในการดําเนินงาน ๑๓๓.๔ มีความโปรงใส

๑๓๔. การดําเนินงานดานการเงิน ประกอบดวยกิจกรรมหลัก ๒ กิจกรรม ดังนี้ กิจกรรมที่ ๑ การรับเงิน กิจกรรมที่ ๒ การนําสงเงิน

กิจกรรมที่ ๑ การรับเงิน ๑๓๕. เพื่อใหหนวยรับตรวจไดรับรายไดถูกตองครบถวนและไมเกิดการรั่วไหล

๑๓๕.๑ ผูบริหารระดับกลาง เปนผู รับผิดชอบกําหนดใหมี เจ าหนาที่ ผูทํ าหนาที่ รับเงิน เปนลายลักษณอักษร และการรับเงินแตละครั้งจะตองมีการออกใบเสร็จรับเงินทุกครั้ง โดยผูรับเงินไมลงลายมือช่ือรับเงินไวลวงหนา

๑๓๕.๒ ผูบริหารระดับตนเปนผูรับผิดชอบกําหนดขั้นตอนและวิธีการรับเงิน เปนลายลักษณอักษรใหชัดเจนงายตอการปฏิบัติงาน

Page 54: มาตรการการตรวจเงินแผ นดิน¸¡ลก-3.pdf · และเป นมาตรการป องกันการท ุจริต

- ๕๓ -

๑๓๕.๓ ผูบริหารระดับตนเปนผูรับผิดชอบกําหนดใหมีการควบคุมใบเสร็จรับเงิน โดยจัดทําทะเบียนคุมใบเสร็จรับเงินทุกเลม มีหมายเลขกํากับเลมและหมายเลขกํากับใบเสร็จรับเงินเรียงกันทุกฉบับ

๑๓๕.๔ เจาหนาท่ีผูปฏิบัติงานเปนผูรับผิดชอบจัดทํารายงานสรุปการรับเงินรายไดในแตละวันเสนอผูบริหารตามลําดับชั้น เพื่อทราบและนําไปใชประโยชนในสวนที่เกี่ยวของตอไป

๑๓๕.๕ เจาหนาท่ีผูปฏิบัติงาน เปนผู รับผิดชอบจัดทําเอกสารหลักฐานการรับเงินรายได ใหถูกตองครบถวน และเปนปจจุบัน

กิจกรรมที่ ๒ การนําสงเงิน ๑๓๖. เพื่อใหรายรับจากการจัดเก็บรายได มีการจัดเก็บรักษาไวตามระเบียบ ถูกตอง และครบถวน

๑๓๖.๑ เจาหนาท่ีผูปฏิบัติงานที่มีหนาท่ีรับเงินรายได เปนผูรับผิดชอบรวบรวมเอกสารหลักฐานการรับเงินรายได พรอมทั้งตัวเงินที่จัดเก็บได นําสงเจาหนาที่การเงินทุกสิ้นวัน เพื่อบันทึกบัญชีตอไป

๑๓๖.๒ ผูบริหารระดับตนเปนผูรับผิดชอบควบคุม กํากับดูแล และตรวจสอบ การนําสงเงิน ใหถูกตอง ครบถวน ภายในเวลาที่กําหนด

สวนท่ี ๕

การติดตามและประเมินผล

๑๓๗. เพื่อใหทราบความสําเร็จของงาน ปองกันหรือควบคุมความเสียหายที่อาจจะเกิดจากการจัดเก็บรายไดที่ผิดพลาดหรือการทุจริต ทราบปญหาและจุดออนในการปฏิบัติงาน คุณภาพ และ ประสิทธิภาพของเจาหนาที่ผูปฏิบัติงาน ผูบริหารระดับสูงจึงควรมีหลักการในการติดตามและประเมินผล ดังนี้ ๑๓๗.๑ กําหนดผลสําเร็จของการดําเนินงาน เพื่อใชเปนตัวชี้วัดในการวัดผลการปฏิบัติงาน ๑๓๗.๒ กําหนดใหมีการสรุปผลการปฏิบัติงาน ปญหาอุปสรรคและความเห็นในการปรับปรุง

แกไขอยางสม่ําเสมอและตอเนื่อง

๑๓๘. การดําเนินงานดานการติดตามและประเมินผล ประกอบดวยกิจกรรมหลัก ๓ กิจกรรม ดังนี้ กิจกรรมที่ ๑ การวางแผนการติดตามและประเมินผล กิจกรรมที่ ๒ การดําเนินการติดตามและประเมินผล กิจกรรมที่ ๓ การเผยแพรผลการติดตามและประเมินผล

กิจกรรมที่ ๑ การวางแผนการติดตามและประเมินผล ๑๓๙. เพื่อใหมีระบบการติดตามและประเมินผลทีม่ีประสิทธิภาพ

Page 55: มาตรการการตรวจเงินแผ นดิน¸¡ลก-3.pdf · และเป นมาตรการป องกันการท ุจริต

- ๕๔ -

๑๓๙.๑ ผูบริหารระดับสูงเปนผูรับผิดชอบกําหนดใหมีการติดตามและประเมินผลใหสอดคลองกับความตองการที่จะนําไปใชประโยชน

๑๓๙.๒ ผูบริหารระดับสูงเปนผูรับผิดชอบกําหนดใหมีหนวยงานที่ทําหนาที่ติดตามและประเมนิผลไวอยางชัดเจน

๑๓๙.๓ ผูบริหารระดับกลางเปนผูรับผิดชอบระบุเกณฑ และขอบเขตที่จะทําการติดตาม และประเมินผล โดยคํานึงถึงงบประมาณ บุคลากร เทคนิค และวิธีการเลือกเกณฑ ที่จะทําการติดตามและประเมินผล

กิจกรรมที่ ๒ การดําเนินการติดตามและประเมินผล ๑๔๐. เพื่อใหการติดตาม และประเมินผลดานการจัดเก็บรายไดสามารถนํามาใชประโยชนในการแกไข

ปญหาอุปสรรคในการดําเนินงานไดอยางมีประสิทธิผลและประสิทธิภาพ ๑๔๐.๑ ผู บริหารระดับกลางเปนผูรับผิดชอบกําหนดระบบและรูปแบบขอมูลเชิงปริมาณ

ที่จําเปนตองใชในการประเมินผล ๑๔๐.๒ ผูบริหารระดับกลางเปนผูรับผิดชอบกําหนดตัวช้ีวัดการบรรลุวัตถุประสงคของการจัดเก็บ

รายไดที่เหมาะสมและเปนรูปธรรม สอดคลองกับประเด็นที่ตองการประเมินและเปนที่ยอมรับจากผูใชผลการประเมิน

๑๔๐.๓ เจาหนาท่ีผูปฏิบัติงานควรมีความเขาใจถึงวัตถุประสงค เปาหมายในการติดตามและประเมินผล และประโยชนที่คาดวาจะไดรับ รวมถึงงานที่ไดรับมอบหมายอยางชัดเจน

๑๔๐.๔ เจาหนาท่ีผูปฏิบัติงานเปนผูรับผิดชอบรวบรวมขอมูลใหครบถวน และทนัตามกาํหนดเวลา ดวยความเที่ยงตรง เปนธรรม

๑๔๐.๕ ผูบริหารและเจาหนาท่ีผูปฏิบัติงานทุกระดับเปดโอกาส และรับฟงความคิดเห็นจาก ผูมีสวนเกี่ยวของ เพื่อประโยชนในการติดตามและประเมินผล

๑๔๐.๖ เจาหนาท่ีผูปฏิบัติงานเปนผูรับผิดชอบในการวิเคราะหผลการติดตามและประเมินผล รวมทั้งปญหาอุปสรรค พรอมทั้งเสนอความเห็นในการปรับปรุงแกไขใหเหมาะสมยิ่งขึ้น

๑๔๐.๗ ผูบริหารทุกระดับเปนผูรับผิดชอบติดตามการสรุปและวิเคราะหผลการติดตามและ ประเมินผลอยางตอเนื่อง

กิจกรรมที่ ๓ การเผยแพรผลการติดตามและประเมินผล ๑๔๑. เพื่อใหทราบความกาวหนาและความสําเร็จในการจัดเก็บรายได

๑๔๑.๑ ผูบริหารระดับกลางเปนผูรับผิดชอบกําหนดวิธีการ ขอบเขต และรูปแบบของขอมูล ในการเผยแพรผลการติดตามและประเมินผลใหผูที่เกี่ยวของทราบ

๑๔๑.๒ เจาหนาท่ีผูปฏิบัติงานเปนผูรับผิดชอบจัดทํารายงานสรุปผลการติดตามและประเมินผลเสนอตอผูบริหารอยางตอเนื่อง โดยนําเสนอขอมูลที่สามารถนําไปใชประโยชน ในการบริหารงานจัดเก็บรายไดตรงตามความตองการ

Page 56: มาตรการการตรวจเงินแผ นดิน¸¡ลก-3.pdf · และเป นมาตรการป องกันการท ุจริต

- ๕๕ -

๑๔๑.๓ เจาหนาท่ีผูปฏิบัติงานเปนผูรับผิดชอบนําเสนอรายงานผลการติดตามและประเมินผล

ตอผูบริหารใหทันตามความตองการ

หมายเหตุ คณะกรรมการตรวจเงินแผนดินใหความเห็นชอบมาตรการการตรวจเงินแผนดิน เร่ือง การปองกันหรือควบคุมความเสียหายใหหนวยรับตรวจปฏิบัติฉบับนี้แลว ในการประชุมคณะกรรมการตรวจเงินแผนดิน คร้ังที่ ๒๘/๒๕๔๖ วันที่ ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๔๖