โครงงาน...

25
1 โครงงาน การสงออกยางพาราไทย ตางประเทศ เสนอ ผศ.ดร.ชิดชนก ราฮิมมูลา จัดทําโดย นางสาวนูรีศัณย อูเซ็ง 5120710090 นางสาวอาตีณา เลาะยะผา 5120710246 นางสาวฮัรตีนี แวสาเมาะ 5120710272 โครงงานฉบับนี้เปนสวนหนึ่งของรายวิชา 196-306 ความสัมพันธระหวางประเทศ 2 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี

Upload: others

Post on 17-Jan-2020

3 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: โครงงาน ราฮิมมูลาintra.polsci.pn.psu.ac.th/add_doccument/doccufile/04-01...4 บทท 3 ว ตถ ประสงค และเป าหมาย

1

โครงงาน

การสงออกยางพาราไทย – ตางประเทศ

เสนอ

ผศ.ดร.ชิดชนก ราฮิมมูลา

จัดทําโดย

นางสาวนูรีศัณย อูเซ็ง 5120710090

นางสาวอาตีณา เลาะยะผา 5120710246

นางสาวฮัรตีนี แวสาเมาะ 5120710272

โครงงานฉบับนี้เปนสวนหนึ่งของรายวิชา 196-306

ความสัมพันธระหวางประเทศ 2

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี

Page 2: โครงงาน ราฮิมมูลาintra.polsci.pn.psu.ac.th/add_doccument/doccufile/04-01...4 บทท 3 ว ตถ ประสงค และเป าหมาย

2

บทที่ 1 บทคัดยอ

ยางพาราเปนวัตถุดิบสําคัญสําหรับการทําผลิตภัณฑตางๆ ดวยคุณสมบัติเฉพาะของยางพารา

เองที่มีความพิเศษ ทําใหเปนที่ตองการของประเทศอุตสาหกรรม เพื่อนํามาแปรรูปเปนสินคาหลากหลายประเภทจําหนายทั่วโลก

สําหรับประเทศไทยยางพาราเปนพืชเศรษฐกิจที่มีการสงออกเปนอันดับตนของโลก รวมทั้งอินโดนีเซีย มาเลเซียและการกรีดยางเปนอาชีพที่สําคัญของประชาชนในภาคใตของประเทศ แตดวยความไมพรอมและตนทุนเทคโนโลยีอุตสาหกรรมสูงตองนําเขาจากตางประเทศ ประเทศไทยจึงมีการสงออกยางพารา ไปยังตางประเทศมากกวาการแปรรูปเปนผลิตภัณฑเอง ตลาดยางพาราจึงขึ้นอยูกับแนวโมเศรษฐกิจโลกเปนตัวกําหนด

Page 3: โครงงาน ราฮิมมูลาintra.polsci.pn.psu.ac.th/add_doccument/doccufile/04-01...4 บทท 3 ว ตถ ประสงค และเป าหมาย

3

บทที่ 2

หลักการและเหตุผล

ประเทศไทยเปนประเทศเกษตรกรรมที่มีการสงออกสินคาเกษตรตางๆหลากหลายชนิด ยางพาราจึงเปนพืชเศรษฐกิจที่ไทยมีการสงออกเปนอันดับตนๆของโลก เนื่องจากยางพาราเปนวัตถุดิบสําคัญสําหรับสถานประกอบการ โดยการใชผลิตภัณฑตางๆ เพราะฉะนั้น ยางพาราจึงมีความสําคัญตอเศรษฐกิจทั้งระดับประเทศและภูมิภาค โดยเฉพาะภาคใตของไทย การทําโครงงานเรื่องนี้จึงมีประโยชน อยางมากทั้งการศึกษาและสภาพพื้นที่โดยตรง

Page 4: โครงงาน ราฮิมมูลาintra.polsci.pn.psu.ac.th/add_doccument/doccufile/04-01...4 บทท 3 ว ตถ ประสงค และเป าหมาย

4

บทที่ 3 วัตถุประสงคและเปาหมาย

1. คาดวาการทําโครงงานยางพาราจะชวยใหเพิ่มการเรียนรูและประสบการณ 2. สามารถคาดการณแนวโนมราคายางพาราในอนาคต ไดอยางมีหลักการ 3. สามารถรับมือกับปญหาเกี่ยวกับยางพาราตามกระแสเศรษฐกิจได 4. 4สามารถเผยแพรความรูที่ไดมาใหกับเพื่อนๆนักศึกษาและผูที่สนใจได 5. สามารถนําขอมูลมาประยุกตใชในพื้นที่ เพราะเปนแหลงผลิตยางพารา 6. เพื่อศึกษาเกี่ยวกับผลกระทบของยางพาราในประเทศไทยและระหวางประเทศไดเปนอยางดี

Page 5: โครงงาน ราฮิมมูลาintra.polsci.pn.psu.ac.th/add_doccument/doccufile/04-01...4 บทท 3 ว ตถ ประสงค และเป าหมาย

5

บทที ่4

สมมติฐานในการทําโครงงาน

1. คาดวาในอนาคตในขางหนาประเทศไทยจะมีแนวโนมเศรษฐกิจยางพาราในระดับที่ลดลงกวาปที่ผานมา

2. ราคายางพาราขึ้นอยูกับการกําหนดของรัฐบาลหรือตลาดโลก 3. การสงออกของไทยมีภาวะกดดันจากปจจัยภายนอกประเทศไมใชปจจัยภายในประเทศ 4. จากการสังเกตการขนสงยางพารามีการลําเลียงทางเรือ 5. วัตถุที่ไดนํามาแปรรูปเปนผลิตภัณฑกอนสงออกทั้งหมด

Page 6: โครงงาน ราฮิมมูลาintra.polsci.pn.psu.ac.th/add_doccument/doccufile/04-01...4 บทท 3 ว ตถ ประสงค และเป าหมาย

6

บทที ่5 เนื้อเรื่อง

จากการทําโครงงาน การหาขอมูลและการลงสํารวจในพื้นที่ พบวาสถานการณแนวโนมเศรษฐกิจยางพาราของประเทศไทย ขึ้นอยูกับกระแสเศรษฐกิจโลก เพราะเปนการคายางพาราสวนใหญเปนสงออกมากวาการแปรรูปทําผลิตภัณฑจําหนายเอง ขึ้นอยูกับความตองการของตางประเทศจึงยังตองพึ่งพาตางประเทศอยูมากและขึ้นอยูกับเศรษฐกิจโลกที่กําหนดกลไกตลาด

ขอมูลที่เรานํามาศึกษาเปนขอมูลที่วิเคราะหกันแบบปตอป และวิเคราะหจากขอมูลที่ไดสํารวจมาของสํานักงานเศรษฐกิจและการเกษตรเขต 9 สงขลา และสมาคมยางพาราแหงประเทศไทย ดังนี้

ขอมูลจากสมาคมยางพาราแหงประเทศไทย สถานการณยางพาราป 2552 คาดวาปริมาณการผลิตธรรมชาติของโลกมีแนวโนมลดลง

เหลือ 9.4 ลานตัน หรือลดลงรอยละ 4.8 เมื่อเทียบกับปที่ผานมา อันเปนผลมาจากสภาพอากาศที่แปรปรวน เกิดภาวะฝนตกหนักผิดปกติ สงผลใหเกิดน้ําทวมในแหลงผลิตยางของประเทศผูผลิตยางสําคัญ ทั้งไทย อินโดนีเซียและมาเลเซีย ทําใหปริมาณการผลิตยางโดยรวมทั้ง 3 ประเทศลดลงประมาณรอยละ 6.0 อยางไรก็ตาม ปริมาณการผลิตยางของกัมพูชา พมา และลาวมีแนวโนมเพิ่มข้ึน เนื่องจากการเขาไปลงทุนปลูกยางของจีน เวียดนาม มาเลเซีย และไทย ขณะที่ปนี้คาดวาความตองการใชยางพาราโลกอยูที่ 9.3 ลานตัน สวนการสงออกในป 2552 คาดวาไทยจะสงออก 2.6 ลานตัน มูลคาประมาณ 170,000-180,000 ลานบาท ลดลงจากปกอน ที่สงออกไดที่ 2.7 ลานตัน มูลคา 220,000 ลานบาท สําหรับราคายางพาราตั้งแตป 2549 เปนตนมา ราคายางภายในประเทศผันผวนคอนขางรุนแรงตามภาวะตลาดโลก อยางไรก็ตาม ในป 2552 จากสภาพอากาศที่แปรปรวนสงผลใหราคายางเริ่มสูงขึ้นอยางตอเนื่อง แมวาจะอยูในชวงวิกฤตเศรษฐกิจ ที่ความตองการใชยางธรรมชาติล ด ล ง อ ย า ง ม า ก แ ล ะ ก า ร ส ง อ อ ก ย า ง ข อ ง ไ ท ย ห ด ตั ว อ ย า ง ม า ก ก็ ต า ม

Page 7: โครงงาน ราฮิมมูลาintra.polsci.pn.psu.ac.th/add_doccument/doccufile/04-01...4 บทท 3 ว ตถ ประสงค และเป าหมาย

7

สถานการณยางพาราป 2553 คาดวามีแนวโนมดีขึ้นตามการฟนตัวของภาวะเศรษฐกิจโลก ซ่ึงสงผลดีตออุตสาหกรรมรถยนตและความตองการยางธรรมชาติเพิ่มขึ้น กอปรกับสภาพอากาศที่แปรปรวนอยางรุนแรง สงผลกระทบตอปริมาณการผลิตของประเทศผูผลิตยางสําคัญ นับเปนปจจัยกระตุนใหประเทศผูซื้อยางเริ่มหันมาซื้อยาง เนื่องจากคาดการณวาราคายางมีแนวโนมเพิ่มสูงขึ้น ในป 2553 คาดการณวาผลผลิตของโลกมีแนวโนมเพิ่มขึ้นที่ปริมาณ 9.7 ลานตัน สวนความตองการใชยางพาราของโลกป 2553 จะเพิ่มขึ้น 3-5% เมื่อเทียบกับป 2552 สําหรับประเทศไทยคาดวาจะมีผลผลิตยางพารา 3 ลานตัน เพิ่ม 3-5% เมื่อเทียบกับป 2552 สวนการสงออกยางพาราของไทยคาดวาจะยังหดตัวตอเนื่องไปถึงชวงไตรมาสแรกของป 2553 เนื่องจากความตองการยางในสหรัฐฯและยุโรปยังฟนตัวอยางเช่ืองชา โดยความตองการยางธรรมชาติที่เพิ่มขึ้นจะมาจากตลาดเอเชีย โดยเฉพาะจีน และอินเดีย รวมทั้งตลาดในอเมริกาใต สวนราคายางในประเทศคาดวามีโอกาสผันผวนเชนเดียวกับในชวงระยะ 2-3 ปที่ผานมา เนื่องจากไทยยังตองเผชิญกับปจจัยเสี่ยงหลายประการดังนี้ 1. ปจจัยเสี่ยงดานการผลิต จากสภาพอากาศที่แปรปรวน ซึ่งสงผลกระทบอยางมากตอปริมาณการผลิตยาง และการเพิ่มขึ้นของผลผลิตยางธรรมชาติของประเทศคูแขง โดยเฉพาะอินโดนีเซีย ซึ่งมีพื้นที่ปลูกยางที่ยังไมไดเปดกรีดมากกวาไทย นอกจากนี้การขยายพื้นที่ปลูกยางในพมา กัมพูชา และลาวจากการเขาไปลงทุนปลูกยางของทั้งจีน เวียดนาม มาเลเซีย และไทย 2. ปจจัยเสี่ยงดานการตลาด จากวิกฤตเศรษฐกิจ ทําใหปริมาณความตองการยางธรรมชาติมีแนวโนมลดลงอยางตอเนื่องตั้งแตชวงปลายป 2551 ตอเนื่องถึงป 2552 โดยเฉพาะจากประเทศผูใชยางสําคัญของโลก ไมวาจะเปนสหรัฐฯ ญี่ปุน และสหภาพยุโรป ซ่ึงจะสงผลกระทบตออุตสาหกรรมยางรถยนต ที่เปนผูใชยางพาราหลัก นอกจากนี้ ผูสงออกยางไทยหันไปสงออกยางคอมปาวดหรือยางผสม แทนยางแผน และยางแทง เนื่องจากจีนลดภาษียางคอมปาวดลงเหลือ รอยละ 0 ต้ังแตตนป 2552 ในขณะที่การสงออกยางแผนและยางแทงจีนยังคงเสียภาษีในอัตรารอยละ 20 และอีกปจจัยหนึ่งที่มีผลตอมูลคาการสงออกยางและผลิตภัณฑยางของไทยคือ การปรับเพิ่มภาษีสินคานําเขายางรถยนตนั่ง และรถบรรทุกขนาดเล็กทั้งหมดของสหรัฐฯ จากประเทศจีนเปนระยะเวลาทั้งหมด 3 ป ซ่ึงมาตรการดังกลาวมีผลบังคับใช

Page 8: โครงงาน ราฮิมมูลาintra.polsci.pn.psu.ac.th/add_doccument/doccufile/04-01...4 บทท 3 ว ตถ ประสงค และเป าหมาย

8

ตั้งแตวันที่ 26 กันยายน 2552 โดยมีการปรับข้ึนภาษีนําเขายางรถยนตเพิ่มเปนรอยละ 35 ในปแรก รอยละ 30 ในปที่ 2 และรอยละ 25 ในปที่ 3 ซึ่งผลจากการที่สหรัฐฯนําเขายางรถยนตจากจีนลดลง อาจสงผลตอไทย ในฐานะที่เปนประเทศที่สงออกยางแปรรูปขั้นตนไปยังจีนเพื่อเปนวัตถุดิบสําหรับอุตสาหกรรมยางรถยนตของจีน และนโยบายดานภาษีนําเขาของประเทศจีน ซ่ึงมีการประกาศลดภาษีนําเขาโดยจะเริ่มบังคับใชวันที่ 1 มกราคม 2553 จะสงผลใหราคาอาจมีการปรับตัวสูงขึ้นได 3. ปจจัยเสี่ยงดานคาเงิน ประเด็นที่ตองจับตามองคือ คาเงินบาทเมื่อเทียบกับประเทศคูแขง ซ่ึงถาเงินบาทแข็งคาเมื่อเทียบกับคาเงินของประเทศคูแขง จะสงผลทําใหไทยเสียเปรียบในการแขงขันในการส ง อ อ ก ย า ง ใ น ต ล า ด โ ล ก จากขอมูลที่กลาวมาขางตน เกษตรกรชาวสวนยาง ผูประกอบการ ภาครัฐและผูที่เกี่ยวของตองเตรียมรับมือกับความผันผวนของสถานการณและราคายางเชนเดียวกับที่เกิดขึ้นในชวงระยะ 2-3 ปที่ผานมา เนื่องจากมีปจจัยเสี่ยงหลายประการที่ตองจับตามองอยางใกลชิด ดังนั้นเปนความสําคัญและจําเปนอยางยิ่งที่ทุกภาคสวนจะตองรวมมือกันในการแกไขวิกฤตการณ เพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมยางพาราไทยใหเติบโตอยางยั่งยืนตอไป

นายศุภชัย โพธ์ิสุ รมช.เกษตรและสหกรณ เปดเผยหลังเปนประธานเปดโรงงานตนแบบอุตสาหกรรมผลิตภัณฑยาง ที่โรงงานตนแบบ อ.เขาสวนกวาง จ.ขอนแกน เมื่อเร็วๆ นี้ วา โรงงานตนแบบนี้ เปน 1 ใน 4 แหง ที่สํานักงานกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง(สกย.) ไดทําการกอสรางขึ้นเพื่อใชเปนโรงงานแปรรูปยางดิบใหเปนผลิตภัณฑยางท่ีเปนแหลงเรียนรูแกเกษตรกร นักศึกษาที่สนใจและในแหลงที่มีพืน้ที่เพาะปลูกยางพาราจํานวนมาก ซ่ึงสกย.ไดรบัความรวมมือจากอาจารยวิทยาลัยเทคนคิน้ําพอง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาลัยเทคนิคสุราษฎร และมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร รวมกันออกแบบและกอสราง โดยหลังจากเปดที่ จ.ขอนแกนแลวจะทยอยเปดอีก 3 แหง คือ ระยอง สุราษฎธานี และปตตานี

Page 9: โครงงาน ราฮิมมูลาintra.polsci.pn.psu.ac.th/add_doccument/doccufile/04-01...4 บทท 3 ว ตถ ประสงค และเป าหมาย

9

ทั้งนี้ภาคอีสานมีพื้นที่ยางกวา 3 ลานไร บางแหงก็เริ่มกรีดยางไดแลว แตทักษะในการแปรรูปผลิตภัณฑยางของคนอีสานยังไมชํานาญมากนัก โรงงานนี้นาจะมีสวนชวยเพิ่มทักษะในการเพิ่มมูลคายาง ดวยการอาศัยเทคโนโลยีที่ สกย.ไดจัดสรางให ซึ่งจะเปนไปตามแนวทางที่รัฐบาลสงเสริมใหการปลูกยางพาราเปนอีกอาชีพที่สรางความมั่นคงมีรายไดตลอดทั้งป

ขอมูลจากสํานักงานเศรษฐกิจและการเกษตร เขต 9 สงขลา 1. สถานการณป 2552 1.1 ของโลก 1.1.1 การผลิต ในป 2552 เนื้อที่ปลูกยางพาราของโลก 103.53 ลานไร เพิ่มขึ้นจาก 100.65 ลานไร ของป 2551 รอยละ 2.86 ผลผลิตยางพาราของโลก 9.58 ลานตน ลดลงจาก 9.88 ลาน

ตน ของปที่แลวรอยละ 1.82 เนื่องจากแหลงผิลตยางพาราของบางประเทศ อาทิ อินเดีย

อินโดนีเซีย เกิดความเสียหายจากภัยธรรมชาติ ประกอบกับในความรวมมือของประเทศผูผลิตรายใหญ 3

ประเทศ ไดแก ไทย มาเลเซีย และอินโดนีเซียใหจํากัดปริมาณการผลิตยางพาราเพื่อใหสอดคลองกับ

ความตองการของตลาด 1.1.2 การตลาด 1.1.2.1 ความตองการใชยางพารา ในป 2552 ความตองการใชยางพาราของโลก 9.678 ลานตน ลดลงจาก 10.088 ลานตน

ของปที่แลวรอยละ 4.06 เนื่องจากภาวะเศรษฐกิจโลกถดถอย โดยเฉพาะประเทศผูใชยางพารารายใหญลดปริมาณการใชยางในอุตสาหกรรมตางๆ ลง ไดแก จีน สหรัฐอเมริกา ญี่ปุน เปนตน

1.1.2.2 ราคา

Page 10: โครงงาน ราฮิมมูลาintra.polsci.pn.psu.ac.th/add_doccument/doccufile/04-01...4 บทท 3 ว ตถ ประสงค และเป าหมาย

10

ราคายางพาราในตลาดโลกลดลงจากปที่แลวโดยเฉพาะในรูปเงินตราตางประเทศลดลงในอัตราคอนขางสง แตเมื่ออยูในรูปของเงินบาทไทยราคายางลดลงในอัตราที่นอยกวาเล็กนอย ทั้งนี้เนื่องจากคาเงินบาทไทยป 2552 ออนคากวาป 2551 โดยราคายางพาราในตลาดตางๆ เปนดังนี้

ราคาซื้อขายลวงหนาในตลาดสิงคโปร : SICOM ป 2552 ราคายางแผนรมควันช้ัน 3 เฉล่ียกิโลกรัมละ 188.01 เซนตสหรัฐ ลดลงจากกิโลกรัมละ 258.56 เซนตสหรัฐของปที่แลวรอยละ 27 แตเมื่ออยูในรูปเงินบาท

ราคายางแผนรมควนชน 3 เฉลยกโลกรมละ 63.86 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 85.28 บาทของปที่แลว รอยละ 25

ราคายางแทงเฉล่ียกิโลกรัมละ 174.41 เซนตสหรัฐ ลดลงจากกิโลกรัมละ 252.88 เซนตสหัฐของปที่แลวรอยละ 31 แตเมื่ออยูในรูปเงินบาท ราคายางแทงเฉลี่ยกิโลกรัมละ 57.55 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 83.38 บาทของปที่แลวรอยละ30

ราคาซื้อขายลวงหนาในตลาดโตเกียว : TOCOM ป 2552 ราคายางแผนรมควันชั้น 3 เฉลี่ยกิโลกรัมละ 175.30 เยน ลดลงจากกิโลกรัมละ 269.29

เยนของปที่แลวรอยละ 35 แตเมื่ออยูในรูปเงินบาท ราคายางแผนรมควันชั้น 3 เฉลี่ยกิโลกรัมละ 63.48 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 84.64 บาทของปที่แลวรอยละ 25

1.1.2.3 การสงออก ในป 2552 การสงออกยางพาราของโลก 6.737 ลานตน ลดลงจาก 7.284 ลานตน ของปที่แลวรอยละ 7.5 เนื่องจากไทย มาเลเซีย อินโดนเซีย มีแผนลดปริมาณ

การสงออกยางพารารอยละ 10 1.1.2.4 การนําเขา ในป 2552 การนเขายางพาราโลก 6.401 ลานตน ลดลงจาก 7.015 ลานตน ของปที่แลว

รอยละ 9 เนื่องจากภาวะเศรษฐกิจโลกชะลอตัว ความตองการใชยางพาราในประเทศผูใชลดลง การนําเขาจึงลดลง

1.2 ของไทย 1.2.1 การผลิต

Page 11: โครงงาน ราฮิมมูลาintra.polsci.pn.psu.ac.th/add_doccument/doccufile/04-01...4 บทท 3 ว ตถ ประสงค และเป าหมาย

11

ป 2552 เนื้อที่ปลูกยางพาราของไทย 17.410 ลานไร เนื้อที่กรีดยางได 11.51 ลานไรผลผลิต 3.116 ลานตัน เพิ่มขึ้นจากปที่แลวรอยละ 4.13, 1.23 และ 0.28 ตามลําดับเนื้อที่ปลูก เนื้อที่กรีดยางได และผลผลิตเพิ่มขึ้นเนื่องจากราคายางพาราไดโนมสูงขึ้นอยางตอเนื่องจูงใจใหเกษตรกรขยายพื้นที่ปลูกเพิ่มขึ้นอยางมากตั้งแตป 2545 เปนตนมาถึงปจจุบัน ซึ่งตนยางพาราที่ปลูกใหมไดทยอยเปดกรีดเพิ่มขึ้นตั้งแตป 2551 ที่ผานมา สงผลใหผลผลิตยางพาราเพิ่มขึ้น

1.2.2 การตลาด 1.2.2.1 ความตองการใชยาพาราในประเทศ ในป 2552 ไทยมีความตองการใชยางพาราในประเทศ 0.370 ลานตัน ลดลงจาก 0.398

ลานตัน ของปที่แลวรอยละ 7.03 เนื่องจากไทยไดรับผลกระทบจากภาวะวิกฤตการเงินที่เกิดขึ้นในสหรัฐอเมริกา ซ่ึงเปนประเทศผูนําเขาสินคาอุปโภคบริโภครายใหญที่สุดของโลก

ต้ังแตป 2551 ตอเนื่องถึงป 2552 สงผลใหอุตสาหกรรมผลิตภัณฑยางในประเทศชะลอการใชยางพาราเปนวัตถุดิบในการผลิตผลิตภัณฑยาง ความตองการใชยางพาราในประเทศในรูปยางแผนรมควัน ยางแทง และนายางขน ประมาณรอยละ 40.80, 33.96 และ 25.24 อุตสาหกรรมที่มีการใชยางมากที่สุด คือ อุตสาหกรรมยางลอ ซ่ึงประกอบดวยยางพาหนะ ยางรถจักรยาน/จักรยานยนต และยางหลอดอก

1.2.2.2 ราคา ราคายางพาราในประเทศลดลงจากปที่แลวตามภาวะราคาในตลาดโลก ราคาเกษตรกรขายไดและราคาประมูลตลาดกลางยางพารา ป 2552 ราคายางแผนดิบคุณภาพ 3 ที่เกษตรกรขายได ณ ไรนา เฉลี่ยกิโลกรัมละ 55.19 บาท

ลดลงจากกิโลกรัมละ 76.52 บาท ของปที่แลวรอยละ 28 ราคาประมูลยางแผนดิบคุณภาพ 3 ณ ตลาดกลางยางพาราเฉลี่ยกิโลกรัมละ 58.53 บาท

ลดลงจากกิโลกรัมละ 79.62 บาทของปที่แลวรอยละ 36ยางพารา65 65 ราคาประมูลนํ้ายางสด ณ ตลาดกลางยางพาราเฉลี่ยกิโลกรัมละ 55.64 บาท ลดลงจาก

Page 12: โครงงาน ราฮิมมูลาintra.polsci.pn.psu.ac.th/add_doccument/doccufile/04-01...4 บทท 3 ว ตถ ประสงค และเป าหมาย

12

กิโลกรัมละ 75.28 บาทของปที่แลวรอยละ 26 ราคาประมูลตลาดกลางยางพาราและราคาสงออก ป 2552 ราคาประมูลยางแผนรมควันชั้น 3 เฉล่ียกิโลกรัมละ 60.82 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ

82.34 บาทของปที่แลวรอยละ 26 ราคาสงออก F.O.B ยางแผนรมควันชั้น 3 เฉลี่ยกิโลกรัมละ 65.24 บาท ลดลงจาก

กิโลกรัมละ 86.78 บาทของปที่แลวรอยละ 25 ราคาสงออก F.O.B ยางแทง เฉลี่ยกิโลกรัมละ 62.41 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 84.84

บาทของปที่แลวรอยละ 26 ราคาสงออก F.O.B นํ้ายางขนเฉล่ียกิโลกรัมละ 44.61 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 57.86

บาทของปที่แลวรอยละ 23 1.2.2.3 การสงออก ในป 2552 ไทยสงออกยางพารา 2.70 ลานตัน เพิ่มขึ้นเล็กนอยจาก 2.69 ลานตันของปที่

แลวรอยละ 0.37 โดยสงออกในรูปยางแผนรมควัน 0.769 ลานตัน ยางแทง 0.991 ลานตัน นํ้ายางขน 0.504 ลานตัน และยางคอมพาวด 0.435 ลานตัน ประเทศคูคาที่สําคัญ ไดแก จีน มาเลเซีย ญ่ีปุน สหรัฐอเมริกา และเกาหลีใต เปนตน สําหรับประเทศคูแขงที่สําคัญ ไดแก อินโดนีเซีย มาเลเซีย และเวียดนาม

2. แนวโนมป 2553 2.1 ของโลก 2.1.1 การผลิต คาดวาเนื้อที่ปลูกยางพาราของโลกเพิ มข้ึนจากป 2552 รอยละ 3 ผลผลิตยางพาราเพิ มขึ

นรอยละ 2 เนื องจากราคายางพาราโนมสูงขึ น สงผลใหประเทศผูผลิตตางเพิ่มปริมาณการผลิตมากขึ้น ประกอบกับประเทศผูผลิตยางพารารายใหม อาทิ กัมพูชา ลาว พมา คาดวาจะเริ่มทยอยเปดกรีดยางไดเพิ่มขึ้น

2.1.2 การตลาด

Page 13: โครงงาน ราฮิมมูลาintra.polsci.pn.psu.ac.th/add_doccument/doccufile/04-01...4 บทท 3 ว ตถ ประสงค และเป าหมาย

13

2.1.2.1 ความตองการใชยางพารา คาดวาความตองการใชยางพาราของโลกจะเพิ มขึ นตามภาวะเศรษฐกิจโลกที คาดวา

จะฟ นตัวในอัตรารอยละ 3 ตอป สําหรับประเทศที คาดวาจะมีการใชยางพาราเพิ่มขึ้นมาก ไดแก จีน อินเดีย และเกาหลีใต เปนตน 2.1.2.2 ราคา คาดวาราคายางพาราในตลาดโลกจะเพิ่มสูงขึ้นตามความตองการใชยางพาราโลกที่เพิ่มข้ึน

แมวาปริมาณการผลิตโลกจะเพิ่มขึ้นก็ตามสถานการณสินคาเกษตรทีสําคัญและแนวโนม ป255366 66

2.1.2.3 การสงออก คาดวาการสงออกยางพาราในตลาดโลกจะเพิ่มสูงขึ้น ตามความตองการใชยางพาราโลก

ที่เพิ่มข้ึน 2.2 ของไทย 2.2.1 การผลิต คาดวาเนื้อที่กรีดยางไดของไทยประมาณ 11.994 ลานไร เพิ่มขึ้นจาก 11.508 ลานไรของป

2552 รอยละ 4.22 ผลผลิตยางพาราประมาณ 3.326 ลานตัน เพิ่มขึ้นจากป 2552 รอยละ 6.8เนื่องจากเนื้อที่เปดกรีดยางไดทยอยเปดกรีดมากข้ึน และมีตนยางพาราที่อยูในชวงใหผลผลิตสูงเพิ่มมากข้ึน ประกอบกับราคายางพาราโนมสูงขึ้น สงผลใหเกษตรกรดูแลและบํารุงรักษาตนยางพาราอยางดี

2.2.2 การตลาด 2.2.2.1 ความตองการใชยางพาราในประเทศ คาดวาจะมีการใชยางพาราในประเทศประมาณ 0.400 ลานตัน เพิ่มขึ้นจาก 0.370 ลา

นตันของป 2551 รอยละ 8.11 เนื่องจากนโยบายสนับสนุนการใชยางพาราในประเทศเพิ่มขึ้น ประกอบกับอุตสาหกรรมในประเทศเริ่มหันมาลงทุนเพิ่มขึ้นตามการคาดการณวาเศรษฐกิจไทยจะฟนตัวขึ้นในปนี้หลังจากเศรษฐกิจถดถอยจากวิกฤตการณการเงินเมื่อปที่ผานมา

2.2.2.2 ราคา

Page 14: โครงงาน ราฮิมมูลาintra.polsci.pn.psu.ac.th/add_doccument/doccufile/04-01...4 บทท 3 ว ตถ ประสงค และเป าหมาย

14

คาดวาราคายางพาราในประเทศจะเพิ่มสูงข้ึนตามภาวะราคาในตลาดโลก และตามนโยบายยกระดับยางพาราของภาครัฐ ไดแก การสนับสนุนใหสถาบันเกษตรกรแปรรูปผลผลิตเพื่อเพิ่มมูลคา และการดึงซัพพลายออกจากตลาดเพื่อใหสอดคลองกับปริมาณความตองการของตลาด

2.2.2.3 การสงออก คาดวาการสงออกยางพาราของไทยประมาณ 2.85 ลานตัน เพิ่มขึ้นจาก 2.70 ลานตันข

องป 2552 รอยละ 5.56 เนื่องจากคาดวาจีนจะนําเขายางพาราจากไทยเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะในรูปยางคอมปาวด ซ่ึงในชวง 3 ปที่ผานมา (ป 2550 – 2552) มีแนวโนมการสงออกเพิ่มขึ้นถึงรอยละ 64.66ตอปยางพารา67 67

ตารางที่ 1 ผลผลิต ปริมาณการใชยาง การสงออก การนําเขา สต็อกของโลก หนวย : ลานตัน

ป ผลผลิต ปริมาณการใช สงออก นําเขา สต็อก 2548 8.906 9.184 6.994 6.502 1.844 2549 9.698 9.709 7.593 6.830 1.833 2550 9.687 10.230 7.538 7.229 1.290 2551 9.877 10.088 7.284 7 .015 1.079 2552 9.588 9.678 6.737 6.401 1.073 G.R. 1.67 1.44 -1.16 -0.05 -14.90

ที่มา : IRSG Vol.64 No. 1 -3 July - September 2009 ตารางที่ 2 ความตองการใชยางพาราของประเทศผู ใชที่สําคัญ หนวย : ลานตัน

ป โลก จีน อเมริกา ญีปุน อินเดีย EU 2548 9.184 2.266 1.159 0.857 0.789 1.255 2549 9.709 2.780 1.003 0.874 0.815 1.238 2550 10.230 2.892 1.018 0.887 0.851 1.312

Page 15: โครงงาน ราฮิมมูลาintra.polsci.pn.psu.ac.th/add_doccument/doccufile/04-01...4 บทท 3 ว ตถ ประสงค และเป าหมาย

15

2551 10.088 2.924 1.041 0.878 0.881 1.13 2552 9.678 3.228 0.855 704.000 0.875 0.830

อัตราการเติบโต(%) 1.44 7.88 -5.55 282.93 2.89 -8.77 ที่มา : IRSG Vol.64 No. 1 -3 July - September 2009 ตารางที่ 3 การสงออกยางพาราของประเทศผู สงออกที่สําคัญ หนวย : ลานตัน

ป โลก ไทย อินโดนีเซีย มาเลเซีย เวียดนาม 2548 6.994 2.680 2.025 1.128 0.538 2549 7.593 2.830 2.287 1.131 0.680 2550 7.538 2.720 2.407 1.018 0.682 2551 7.284 2.690 2.296 0.917 0.620 2552 6.737 2.700 2.126 0.721 0.637 GR -1.16 -0.36 1.02 -10.46 2.48

ที่มา : IRSG Vol.64 No. 1 -3 July - September 2009สถานการณ สินคาเกษตรทีสําคัญและแนวโนม ป2553 68 68 ตารางที่ 5 พื้นที่ปลูก ผลผลิต ผลผลิตตอไร ยางพาราของไทย

ป เนือทปีลูก(ลานไร) ผลผลิต/ไร(กก.) ผลผลิตผลผลิต(ลานตัน) 2548 13.610 282 2.980 2549 14.354 282 3.070 2550 15.354 274 3.024 2551 16.717 278 3.167 2552 17.410 276 3.116 GR 6.66 -0.57 1.21

ที่มา : ศูนยสารสนเทศ สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร

Page 16: โครงงาน ราฮิมมูลาintra.polsci.pn.psu.ac.th/add_doccument/doccufile/04-01...4 บทท 3 ว ตถ ประสงค และเป าหมาย

16

ตารางที่ 7 การใชยางพาราในประเทศแยกตามประเภทอุตสาหกรรม หนวย : ตัน

ป ยางลอ ถุงมือยาง ยางยืด ยางรัดของ อืนๆ รวม 2548 171,948 57,658 43,752 25,412 35,879 334,649 2549 164,873 62,312 68,179 16,382 9,139 320,885 2550 206,694 54,808 72,193 17,232 22,732 373,659 2551 244,443 52,436 54,108 21,657 24,951 397,595 2552 227,476 48,766 50,320 20,128 23,310 370,000 GR 10.005 -4.949 0.487 -1.853 1.428 4.239

ที่มา : สถาบันวิจัยยาง กรมวิชาการเกษตร ตารางที่ 8 การสงออกยางพาราในประเทศแยกตามชนิดยาง หนวย : ลานตัน

ป ยางแผนรมควัน ยางแทง นํายางขน ยางคอมพาวด อืน ๆ รวม 2548 0.924 1.147 0.469 0.060 0.080 2.68 2549 0.939 1.103 0.527 0.170 0.091 2.83 2550 0.867 0.878 0.532 0.161 0.280 2.72 2551 0.766 0.986 0.502 0.198 0.416 2.69 2552 0.769 0.990 0.503 0.435 0.003 2.70 GR -5.55 -3.98 0.92 50.90 -39.63 -0.36 ที่มา : กรมศุลกากร

ตารางที่ 9 การสงออกยางพาราของไทยไปยังประเทศคู คาที่สําคัญ ป จีน สหรัฐอเมรกิา ญีปุน มาเลเซีย อืนๆ รวม 2548 0.601 0.237 0.539 0.402 0.901 2.68 2549 0.778 0.207 0.492 0.436 0.917 2.83 2550 0.833 0.195 0.409 0.427 0.856 2.72

Page 17: โครงงาน ราฮิมมูลาintra.polsci.pn.psu.ac.th/add_doccument/doccufile/04-01...4 บทท 3 ว ตถ ประสงค และเป าหมาย

17

2551 0.836 0.215 0.386 0.415 0.838 2.69 2552 0.838 0.216 0.387 0.416 0.843 2.70

ที่มา : กรมศุลกากรสถานการณ สินคาเกษตรทีสําคัญและแนวโนม ป255370 70 ที่มา : ศูนยสารสนเทศ สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร และสถาบันวิจัยยาง กรมวิชาการ

เกษตร ตารางที่ 10 ราคายางพาราสงออก เอฟ.โอ.บี ป 2548 - 2552 หนวย : บาท/กก.

ป ยางแผนรมควันชัน 3 ยางแทง นํายางขน 2548 60.38 56.66 45.37 2549 79.50 75.43 56.98 2550 78.61 75.21 53.17 2551 86.78 84.84 57.86 2552 65.24 62.41 44.61 GR 2.45 3.16 -0.18

ที่มา : สถาบันวิจัยยาง กรมวิชาการเกษตรยางพารา71 71 ความเคลื่อนไหวเกี่ยวกับการพัฒนาพาราภายในประเทศ นายศุภชัย โพธิ์สุ รมช.เกษตรและสหกรณ เปดเผยหลังเปนประธานเปดโรงงานตนแบบ

อุตสาหกรรมผลิตภัณฑยาง ที่โรงงานตนแบบ อ.เขาสวนกวาง จ.ขอนแกน เมื่อเร็วๆ นี้ วา โรงงานตนแบบนี้ เปน 1 ใน 4 แหง ที่สํานักงานกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง(สกย.) ไดทําการกอสรางขึ้นเพื่อใชเปนโรงงานแปรรูปยางดิบใหเปนผลิตภัณฑยางท่ีเปนแหลงเรียนรูแกเกษตรกร นักศึกษาที่สนใจและในแหลงที่มีพื้นที่เพาะปลูกยางพาราจํานวนมาก ซ่ึงสกย.ไดรับความรวมมือจากอาจารยวิทยาลั ย เทคนิ คน้ํ าพอง มหาวิทยา ลัย เกษตรศาสตร วิ ทยาลั ย เทคนิ คสุ ร าษฎร และมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร รวมกันออกแบบและกอสราง โดยหลังจากเปดที่ จ.ขอนแกนแลวจะ

Page 18: โครงงาน ราฮิมมูลาintra.polsci.pn.psu.ac.th/add_doccument/doccufile/04-01...4 บทท 3 ว ตถ ประสงค และเป าหมาย

18

ท ย อ ย เ ป ด อี ก 3 แ ห ง คื อ ร ะ ย อ ง สุ ร า ษ ฎ ธ า นี แ ล ะ ป ต ต า นี

ทั้งนี้ภาคอีสานมีพื้นที่ยางกวา 3 ลานไร บางแหงก็เริ่มกรีดยางไดแลว แตทักษะในการแปรรูปผลิตภัณฑยางของคนอีสานยังไมชํานาญมากนัก โรงงานนี้นาจะมีสวนชวยเพิ่มทักษะในการเพิ่มมูลคายาง ดวยการอาศัยเทคโนโลยีที่ สกย.ไดจัดสรางให ซ่ึงจะเปนไปตามแนวทางที่รัฐบาลสงเสริมใหการปลูกยางพาราเปนอีกอาชีพที่สรางความมั่นคงมีรายไดตลอดทั้งป

การลําเลียงการสงออกยางพาราสวนใหญจะทําโดยทางเรือเนื่องมีความสะดวกและสามารถขนถายสินคาจํานวนมากได จาการลงพื้นที่เราไดไปที่ทาเรือน้ําลึก ช่ือทาเรือเจาพระยา จ.สงขลา

Page 19: โครงงาน ราฮิมมูลาintra.polsci.pn.psu.ac.th/add_doccument/doccufile/04-01...4 บทท 3 ว ตถ ประสงค และเป าหมาย

19

บทที ่6

ข้ันตอนการดําเนินงาน

1. สมาชิกในกลุมปรึกษาหารือกันเพื่อสรุปหัวขอการทําโครงงาน 2. จากการปรึกษาหารือกันสรุปไดหัวขอการสงออกยางพาราไทย-ตางประเทศ 3. ศึกษาขอมูลเกี่ยวกับการสงออกยางพาราไทย-ตางประเทศ 4. คนควาหาขอมูลทั้งในหองสมุดและอินเตอรเน็ต 5. ศึกษาหาขอมูลนอกสถานที่ 6. ลงพื้นที่ ณ สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตรเขต9 จังหวัดสงขลาเพื่อหาขอมูลเกี่ยวกับการ

สงออกยางพาราไทย-ตางประเทศ ซ่ึงหนวยงานนี้ทํางานดานนี้โดยเฉพาะ 7. ลงพื้นที่ยังดานศุลกากร จังหวัดสงขลา เพื่อดูการขนสงยางพาราที่บริษัทเจาพระยาทาเรือ

สากลจํากัด จังหวัดสงขลา 8. นําขอมูลที่ไดมาทั้งหมดมาเรียบเรียงใหสมบูรณเพื่อนําเสนออาจารย 9. นําเสนอโครงงานดวยไมโครซอฟเพาเวอรพอยตพรอมบรรยายในชั้นเรียน 10. รวบรวมขอมูลที่ไดจากหองสมุด อินเตอรเน็ตและสํานักงานเศรษฐกิจการเกษตรเขต9

ทั้งหมดอีกครั้ง เพื่อรวบรวมและเรียบเรียงเปนโครงงานอยางสมบูรณ เพื่อนําเสนออาจารย

Page 20: โครงงาน ราฮิมมูลาintra.polsci.pn.psu.ac.th/add_doccument/doccufile/04-01...4 บทท 3 ว ตถ ประสงค และเป าหมาย

20

อางอิง

• สมาคมยางพาราไทย • สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตรเขต 9 จังหวัดสงขลา • ดานศุลกากร จังหวัดสงขลา

Page 21: โครงงาน ราฮิมมูลาintra.polsci.pn.psu.ac.th/add_doccument/doccufile/04-01...4 บทท 3 ว ตถ ประสงค และเป าหมาย

21

ภาคผนวก

Page 22: โครงงาน ราฮิมมูลาintra.polsci.pn.psu.ac.th/add_doccument/doccufile/04-01...4 บทท 3 ว ตถ ประสงค และเป าหมาย

22

Page 23: โครงงาน ราฮิมมูลาintra.polsci.pn.psu.ac.th/add_doccument/doccufile/04-01...4 บทท 3 ว ตถ ประสงค และเป าหมาย

23

Page 24: โครงงาน ราฮิมมูลาintra.polsci.pn.psu.ac.th/add_doccument/doccufile/04-01...4 บทท 3 ว ตถ ประสงค และเป าหมาย

24

Page 25: โครงงาน ราฮิมมูลาintra.polsci.pn.psu.ac.th/add_doccument/doccufile/04-01...4 บทท 3 ว ตถ ประสงค และเป าหมาย

25