เนื้อเยื่อสัตว์bio.flas.kps.ku.ac.th/courses/111/animal_tissue.pdfเน...

61
เนื้อเยื่อสัตว์ (Animal Tissue) รศ.ดร.ธนวรรณ พาณิชพัฒน์

Upload: others

Post on 25-Feb-2020

2 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

  • เนือ้เยือ่สัตว์

    (Animal Tissue)

    รศ.ดร.ธนวรรณ พาณิชพฒัน์

  • เนือ้เย่ือสัตว์ (Animal Tissue)

    เนือ้เย่ือ (tissue) คือกลุ่มเซลล์ที่ร่วมกันทาํหน้าที่เฉพาะ ซึ่งส่วนมากจะ

    ประกอบด้วยกลุ่มเซลล์ที่มีขนาด

    รูปร่าง และการจัดระเบียบเป็นแบบ

    เดียวกัน

  • Animal tissueEarly development แบ่งเป็น Endoderm,

    Mesoderm, EctodermAdult : type of tissue in vertebrate body

    แบ่งเป็น 4 ชนิด

    1. เน้ือเยือ่บุผิว (Epithelium Tissue)2. เน้ือเยือ่เก่ียวพนัและคํ้าจุน (Connective and

    Supporting Tissue3. เน้ือเยือ่กลา้มเน้ือ (Muscular Tissue)4. เน้ือเยือ่ประสาท (Nervous Tissue)

  • Connective tissue

    Nervous tissueMusculartissue

    Epithelial tissue

    เนือ้เยื่อในร่างกายของสัตว์ชัน้สูง แบ่งออกเป็น 4

    ประเภท คือ

  • เป็นกลุ่มเซลล์ที่ทาํหน้าที่ปกคลุมป้องกันผิว

    ของร่างกาย หรือบุอวัยวะที่มีลักษณะเป็น

    ท่อ ทาํหน้าที่เก่ียวกับการดูดซมึ สร้างเมือก

    (secretion) และรับความรู้สึก

    เนือ้เยื่อบุผิว

    (Epithelial tissue or epithelium)

  • เนือ้เยื่อบุผิวมีลักษณะพเิศษ ประกอบด้วย

    1. เซลล์เป็นจาํนวนมากซึ่งส่วนมากเป็นเซลล์ชนิดเดยีวกันเรียงตวัอยู่ชดิตดิกัน

    2. ตัง้อยู่บนเยื่อรองรับฐาน (basement membrane) ซึ่งมีส่วนประกอบเป็นโปรตนี

    3. ด้านบนของเนือ้เยื่อบุผิวไม่ตดิต่อกับเซลล์อ่ืนด้านนีจ้ะเป็นที่อยู่ชดิกับช่องว่างของอวัยวะ

    หรือภายนอกร่างกาย

  • กงชนิดของเนือ้เยื่อบุผิว อาศัยหลัก 2 ประการ คือ

    1. แบ่งตามจาํนวนชัน้ของเซลล์

    simple epithelium ประกอบด้วยเซลล์เรียงกันเป็นชัน้เดยีว

    pseudostratified epitheliumประกอบด้วยเซลล์เรียงกันเป็นชัน้เดยีวบนเยื่อรองรับ

    ฐาน แต่มีเพียงบางเซลล์เท่านัน้ที่สูงถงึผิวหน้าด้านบน

    stratified epithelium เซลล์เรียงซ้อนกันหลายชัน้

  • ลักษณะของเนื้อเยื่อบุผิว (epithelial tissue) ที่เรียงตัวชั้นเดียว แบบต่าง ๆ

  • 2. แบ่งตามรูปร่างของเซลล์ที่อยู่ ชัน้บนๆ ได้แก่

    รูปร่างแบนบาง (squamous)

    รูปเหลี่ยมลูกบาศก์ (cuboid)

    รูปแท่งทรงกระบอก (columnar)

  • Pseudostratified ciliated columnar

    Simple cuboidal

    Stratified columnar

    Stratified squamous

    Simple squamous

    Simple columnar

  • Simple squamous epithelium, Bowman’s capsule

    บริเวณ cortex ของไตมี Bowman’s capsule เป็นวงกลมหุ้มGlomerulus ซึ่งเป็นกระจุกเส้นเลือดฝอย ที่ Bowman’s capsuleเป็นเย่ือบุผิว simple squamous

  • Squamous epithelium, from cheek

    เป็นเซลล์ที่มีลักษณะแบน บางมาก

    ตวัอย่างเช่น เยื่อบุผิวข้างแก้มในปาก

  • Stratified squamous epithelium

    Stratified squamous epithelium

    Basement membrane

  • Stratified squamous epithelium

    เป็นเซลล์ซ้อนกันหลายชัน้ด้วยกัน ชัน้ล่างซึ่ง

    อยู่ตดิกับ Basement membrane นัน้ใหญ่และแบ่งตวัอย่างรวดเร็ว กลายเป็นเซลล์ใหม่ที่เล็ก

    และบางกว่าอยู่ด้านนอก เซลล์ชัน้นอกนัน้ตายและ

    หลุดไปเร่ือยๆ เช่น เยื่อบุผิวข้างแก้มในปาก หลอด

    อาหาร และที่ผิวหนังของสัตว์เลีย้งลูกด้วยนม ขีไ้คล

    และขีรั้งแคกคื็อเซลล์ผิวชัน้บนที่ตายแล้ว และหลุด

    ออกมา

  • Simple cuboidal epithelium

    Simple cuboidal epithelium

    Basement membrane

  • Simple columnar epithelium, เยื่อบุผิวในลาํไส้

    Simple columnar epithelium

    เซลล์มีขนาดสูงมากกว่ากว้าง มักอยู่ตามส่วนของร่างกายที่ทาํ

    การสร้าง secretion หรือสาํหรับดูดของบางอย่าง เช่น อาหารที่ย่อยแล้ว เช่น เย่ือบุผิวข้างในลาํไส้ เป็นต้น

  • Pseudostratified ciliated columnar, from trachea

    เนือ้เย่ือบุผิวในบางแห่งของร่างกาย เย่ือหุ้มเซลล์ของเซลล์ชัน้บนสุดมี

    การเปล่ียนแปลงเป็นซเิลีย เรียกว่า ciliated epithelium ซเิลีย

    เคล่ือนไหวได้และทาํหน้าที่เกี่ยวกับการส่งผ่านสารที่ผิวเซลล์ เนือ้เย่ือที่

    มีซเิลียพบที่เย่ือบุผิวของท่อทางเดนิปัสสาวะ และท่อทางเดนิหายใจ

    cilia

  • Simple columnar epithelium

    เซลล์เย่ือบุผิวบางชนิดอาจเปล่ียนแปลงไปทาํหน้าที่ต่างๆ เช่น สร้าง

    เซครีชัน เรียกว่าต่อม (gland) ในกรณีที่เซลล์เดียวสร้างเซครีชัน

    เรียกว่า ต่อมเซลล์เดียว (unicellular gland) ตัวอย่างเช่น โกเบลตเซลล์

    (globlet cell) ที่เย่ือบุผนังลาํไส้ ทาํหน้าที่สร้างเมือกภายในเซลล์เตม็ไป

    ด้วยเมือกที่สร้างขึน้และพร้อมที่จะขับออก

    Globlet cell

  • Glandular epithelium secretes products, e.g. milk, hormones

    ในกรณีที่เซลล์เยื่อบุผวิอยู่ ต่อกันเป็นกลุ่มทาํหน้าที่

    สร้างเซครีช่ันส่งออกไปตามท่อ (exocrine gland) หรือเข้าสู่

    กระแสเลือด(endocrine gland) โดยตรง เรียกว่า ต่อมหลาย

    เซลล์ (multicellular gland)

  • Globlet cell

    Simple columnar epithelium

  • Taste buds on tongue

    เซลล์เยื่อบุผวิบางชนิดอาจเปลี่ยนแปลงไปทาํหน้าที่รับ

    ความรู้สกึ เรียกว่า neuroepithelial cell เช่นเซลล์ที่ปุ่มรับรส (taste bud) เซลล์เปลี่ยนเป็นรูปกระสวยหวัท้ายแหลม ด้านบนมีซเิลีย

    Taste buds

  • Transitional epithelium, e.g. Urinary bladder

  • เนือ้เยื่อเก่ียวพนัและคํา้จุน (connective and supporting tissue)

    เนือ้เยื่อเก่ียวพันและคํา้จุนเป็นเนือ้เยื่อที่พบแทรกอยู่ระหว่างเนือ้เยื่อชนิดอ่ืนๆ

    ทาํหน้าที่พยุงและยดืเหน่ียวให้เนือ้เยื่อเหล่านัน้คงรูปและอยู่รวมกันได้

    ประกอบด้วยเซลล์เรียงกันอยู่ห่างๆ อยู่ในสารระหว่างเซลล์ (matrix) ที่มีปริมาณมาก สารระหว่างเซลล์ประกอบด้วยเส้นใย และสารประกอบที่

    มีลักษณะใสและมีความหนืด

  • เส้นใยในเนือ้เยื่อเก่ียวพนัและคํา้จุน

    เส้นใยในเนือ้เย่ือเก่ียวพันมีอยู่ด้วยกัน 3 ชนิด ได้แก่

    Collagen fiber มีลักษณะเป็นเส้นเหนียวแข็งแรง อยู่รวมกันเป็นมัดใหญ่

    Elastic fiber เป็นเส้นใยที่มีความยืดหยุ่นมากแตกเป็นแขนงย่อยส่งไปเช่ือมกับแขนงของเส้นอ่ืน

    Reticular fiber มีลักษณะคล้ายเส้นใยคอลลาเจน แต่เป็นเส้นบางกว่ากระจายอยู่ทั่วไป เส้นใยชนิด

    นีจ้ะมองไม่เหน็ถ้าย้อมด้วยสีย้อมเนือ้เย่ือทั่วไป ต้อง

    ย้อมด้วยสี silver stain

    Collagen fiber

  • TISSUES:Connective Tissues

    *source unknown

  • Connective and supporting tissue

  • Loose or Areolar connective tissueเนือ้เยื่อเก่ียวพันโปร่งบาง หรือ แอรีโอล่าร์

    Cells

    Fibers

    เนือ้เยื่อนีเ้ช่ือมหนังกับกล้ามเนือ้ หรือเช่ือม

    กล้ามเนือ้กับกล้ามเนือ้ matrix อ่อนและเหนียว มีcollagen fiber และ elastic fiber

  • Dense connective tissue, tendonเนือ้เยื่อเก่ียวพนัแน่นทบึ เส้นเอน็ต่างๆ

    Fibroblast

    Collagen fiber

    Tendon เนือ้เยื่อยดึระหว่างกระดกูต้องการความแขง็แรงมาก matrix เตม็ไปด้วย collagen fiber ซึ่งเป็นเส้นขนานกัน ยดึไม่ได้

  • สาํหรับ ลิกาเมนต์ (ligament)เป็นเนือ้เยื่อเก่ียวพันแน่นทบึ ซึ่งยดึ

    กระดกู 2 ท่อนเข้าด้วยกันอยู่ตามข้อต่อของกระดกู ใน matrix จะมีเส้นใยชนิด elastic fiber มาก เหน็เป็นสีเหลือง เส้นใยมีลักษณะเป็นเส้นขนานกันแต่มีกิ่งแยกออกไปเช่ือมกับเส้นใย

    ใกล้เคียง ยดึได้ ส่วนเทนดอน

    (tendon) เหน็เป็นสีขาว ยดึกล้ามเนือ้ให้ตดิกับกระดกู

  • เนือ้เยื่อไขมัน (adipose tissue)

    เป็นเนือ้เยื่อเกี่ยวพนัที่สะสมไขมันโดยเซลล์สร้าง

    เส้นใยเกือบทัง้หมดทาํหน้าที่เป็นแหล่งสะสมไขมัน เนือ้เยื่อ

    ไขมันมักอยู่ปะปนกับ areolar connective tissue

    Nucleus ของ Adipose cell ที่ถกูเบยีดไปอยู่ขอบเซลล์

  • กระดูกอ่อน (cartilage)

    Lacunar

    ChondrocytesMatrix

    อยู่ตามบางส่วนของโครงกระดกู และมักอยู่

    ตามข้อต่อของกระดกูซึ่งมีการสัมผัสกันอยู่เสมอๆ

  • กระดูกอ่อนจําแนกตามชนิด และปริมาณเส้นใยได้ ดังนี้

    •Hyaline cartilage มีลกัษณะใส มีปริมาณเส้นใย

    ระหวา่งเซลลน์อ้ยมาก พบมากท่ีสุด อยูต่ามปลายกระดกู

    แขง็ทุกช้ิน

    •fibrous cartilage มีเส้นใยระหวา่งเซลลม์าก เป็นชนิด

    collagen เรียงตวัเป็นแถว นุ่มตวัมาก

    •elastic cartilage มีเส้นใย elastic กระจายระหวา่งตวั

    เซลลอ์ยา่งแน่นทึบ ประกอบเป็นเส้นไขวก้นั มีความ

    ยดืหยุน่มาก ไดแ้ก่ โครงของใบหู

  • Lacuna

    Chondrocytes

    Matrix

    Hyaline cartilage

    Matrix ไม่มีเส้นใยอยู่ พบอยู่ตามข้อต่อของกระดกูต่างๆ เช่น หลอดลม และกระดกู

    อ่อนของซี่โครง

  • Fibrocartilage

    Collagen fiber

    Chondrocytes

    Matrix เตม็ไปด้วย collagen fiber พบตามข้อต่อของและข้อต่อของกระดกูอ่ืนๆ

  • elastic cartilage

  • กระดกู เป็นเนือ้เยื่อเก่ียวพันชนิดพเิศษมี

    ลักษณะแขง็ เพราะมีผลึกไฮดรอกซีอะพา

    ไทต์ (hydroxyapatite) เข้ามาเสริมในสารระหว่างเซลล์

    กระดกูเป็นส่วนประกอบสาํคัญของโครง

    ร่าง เป็นส่วนห่อหุ้มป้องกันอวัยวะภายใน

    และเป็นที่เกบ็สะสมของเกลือแคลเซียมอีก

    ด้วย

    กระดูก (Bone)

  • Volkmann’s canal

    Harversian canal

    canaliculiosteocyte lacuna

    r

    periosteum

  • กระดูกประกอบด้วย เซลล์ที่เป็นตัวสร้างเส้นใย และ matrix

    เซลล์กระดูกเรียกว่า osteocyte มีลักษณะที่แตกต่างกับเซลล์กระดูกอ่อนคือมีแขนงย่ืนเป็นเส้นเลก็ๆออกไปรอบเซลล์ ฉะนัน้ รอบๆ

    lacunar จงึมีร่องให้แขนงของเซลล์แทรกตัวอยู่ด้วย เรียกว่าcanaliculi

    กระดูกมีเส้นเลือดผ่านเข้าไปหล่อเลีย้ง โดยเซลล์กระดูกมาเรียงล้อมรอบช่องที่ทอดไปตามยาวของกระดูก ที่เรียกว่าช่อง

    Harversian canal ซึ่งภายในมีเส้นเลือดที่จะส่งอาหารผ่านไปตามช่อง canaliculi ไปถงึตัวเซลล์ได้

    ช่อง Harversian canal หน่ึงจะต่อกับอีกช่องหน่ึง ทางช่องที่อยู่ตามแนวขวาง เรียกว่าช่องVolkmann’s canal

    การเรียงตัวของเซลล์กระดูกแบบนีเ้รียกว่า Harversian system

    การเรียงตัวเป็นช้ัน ๆ ของ lacunar เรียกว่า lamella

  • Harversian canal

    Canaliculi Lacunar

  • Connective tissue EpitheliumCartilage

    Smooth muscle

    ในภาพเป็นโครงสร้างของท่อลม (trachea) ซึ่งประกอบด้วยเนือ้เย่ือหลายชนิดประสานอยู่รวมกัน แต่ละชนิดมี

    ลักษณะเฉพาะ เพื่อทาํหน้าที่พเิศษได้อย่างมีประสทิธิภาพ

  • เลอืด (blood) ลาํเลยีงสารต่างๆ เช่น ก๊าซ สารอาหาร

    และของเสีย ประกอบไปด้วย

    1. ส่วนทีเ่ป็นเซลล์ และช้ินส่วนของเซลล์

    (blood corpuscles) ประกอบด้วย เมด็เลอืดแดง เมด็

    เลอืดขาว และแผ่นเลอืด (blood platelet or

    thrombocyte)

    1.1. เมด็เลอืดแดง (erythrocytes) ใน

    สัตว์เลีย้งลูกด้วยนม ไม่มนิีวเคลยีส ในคนมขีนาด 7

    ไมครอน กลมแบน ตรงกลางเว้าเข้าหากนัทั้งสองด้าน

    (biconcave) สร้างในไขกระดูก มชีีวติในกระแสเลอืด

    120 วนั แต่มกีารสร้างมาเพิม่ทุกวนั

  • 1.2. เมด็เลือดขาว (leukocytes) หนา้ท่ีต่อตา้น และ

    ทาํลายส่ิงแปลกปลอมท่ีเขา้มาในร่างกาย เซลลเ์ปล่ียนรูปร่าง

    ได ้แบ่งเป็น 2 กลุ่ม โดยดูจาก granule ใน cytoplasm

    ก. Granulocyte มีเมด็ granule อยูใ่นเซลล ์มี 1

    นิวเคลียส แต่มีหลายพ ู(lobe)

    • Neutrophil ทาํลายแบคทีเรีย

    • Eosinophil ลาํเลียงไขมนั

    • Basophil ลาํเลียงไขมนั จบัและทาํลายส่ิง

    แปลกปลอม

  • ข. Agranulocyte ไม่มีเมด็ granule อยูใ่นเซลล์

    • Lymphocyte นิวเคลียสกลม สร้าง

    antibody

    • Monocyte นิวเคลียสรูปรี ค่อนไป

    ขา้งใดขา้งหน่ึงของเซลล ์ทาํลายส่ิง

    แปลกปลอม

  • • รูปแสดงองคป์ระกอบของเลือดคน (A: lymphocyte, B: monocyte, C: neutrophil, D: eosinophil, E: basophil, F: platelet, G: erythrocyte)

  • 1.3. แผน่เลือด (blood platelet) รูปร่างแบนเหมือน

    จาน (disc-shaped) เป็นเพียงช้ินส่วนของเซลล ์ไม่มีนิวเคลียส

    ช่วยนาํสารอาหาร ของเสีย ความร้อน และทาํใหเ้ลือดแขง็ตวั มี

    อาย ุ7-8 วนั

    2. ส่วนท่ีเป็นนํ้าเลือด (blood plasma) เป็นของเหลว

    ใส ประกอบดว้ยนํ้า 90-92 % และ plasma protein 7 %

    • Albumin รักษาแรงดนัออสโมซิสของเลือด

    • Immunoglobin ทาํหนา้ท่ีเป็นภมิูคุม้กนั

    • Prothrombin และ fibrinogen ช่วยทาํใหเ้ลือดแขง็ตวั

  • เนือ้เยือ่กล้ามเนือ้(Muscular Tissue) หนา้ท่ี

    เก่ียวกบัการเคล่ือนไหวของร่างกาย

    • เส้นใยกลา้มเน้ือ (muscle fiber)

    • myofibril ประกอบดว้ยโปรตีน 2 ชนิด คือ

    • ก. actin โมเลกลุจะเส้นบาง

    • ข. myosin contractile protein

  • กล้ามเนือ้แบ่งออกได้เป็น 3 ชนิด

  • 1. กล้ามเนือ้เรียบ (smooth muscle) รูปกระสวยหวัทา้ย

    แหลม มี 1 นิวเคลียส ไม่มีลาย อยูน่อกเหนืออาํนาจจิตใจ

    2. กล้ามเนือ้ลาย (skeletal muscle) รูปทรงกระบอก มีความ

    ยาวมาก มีหลายนิวเคลียสเรียงชิดเยือ่หุม้เซลล ์อยูใ่ตก้าร

    ควบคุมของระบบประสาทส่วนกลาง พบยดึติดกบักระดูก

    3. กล้ามเนือ้หัวใจ (cardiac muscle) มีหลายนิวเคลียสอยู่

    กลางเซลล ์เซลลแ์ยกเป็น 2 แฉก การเรียงตวัประชิดกนั

    คลา้ยร่างแห รอยประชิดเรียก intercalated disc การทาํงาน

    เกิดตลอดเวลา

  • เนือ้เยือ่ประสาท (Nerve Tissue) เกิดมาจาก ectoderm1. เซลล์ประสาท (neurons) เป็นส่วนท่ีผลิต และ

    ดาํเนินการในการเกิดกระแสประสาท (nerve impulse)

    ประกอบดว้ย 3 ส่วน

    • ตวัเซลล ์(cell body) มี นิวเคลียสเป็นส่วนประกอบ

    • dendrites เป็นส่วนของเซลลท่ี์ยืน่ออกไปเป็นแขนงสั้นๆ จาํนวน

    มาก ทาํหนา้ท่ีรับความรู้สึก เขา้สู่ตวัเซลล์

    • axon ยาวกวา่dendrite นาํกระแสความรู้สึกจากตวัเซลล ์ส่งไปยงั

    เซลลป์ระสาทถดัไป หรือเซลลข์องเน้ือเยือ่อ่ืนๆ

  • 1. Cell body

    2. Dendrite

    3. Axon

    เซลล์ประสาท (Neuron) แบ่งออกเป็น3 ส่วน คือ

  • 2. เซลล์เกีย่วพนัประสาท (neuroglia or glial cell or

    supporting cell) หนา้ท่ียดึเหน่ียว พยงุใหเ้ซลลป์ระสาทอยู่

    คงท่ี เยือ่ไมอีลิน (myelin) ท่ีหุม้ใยประสาท (nerve fiber)

    เกิดจากผนงัของเซลลเ์ก่ียวพนัประสาทพนัรอบแกน axon

    ซอ้นกนัหลายๆชั้น นาํกระแสประสาทไดเ้ร็ว เยือ่หุม้

    เก่ียวพนัประสาทท่ีอยูร่อบนอกสุด เรียกวา่ neurolemma

    ส่วนคอดท่ีไม่มีเยือ่ไมอีลินหุม้ เรียกวา่ nodes of ranvier

    เป็นตาํแหน่งท่ีนาํอาหารไปใหใ้ยประสาท ท่ี nodes แต่ละ

    อนัจะพบนิวเคลียส มีหนา้ท่ีช่วยซ่อมแซมใยประสาทท่ีถกู

    ตดัขาดจากตวัเซลลใ์หดี้ข้ึน

  • เซลล์เกีย่วพนัประสาท (Glial cell or Neuroglia)

    Glial cell เป็นเซลลท่ี์มีรูปร่างและขนาดต่างๆกนัทาํหนา้ท่ีเป็นตวัยดึเหน่ียวพยงุใหเ้ซลลป์ระสาทอยูค่งท่ี และ

    ทาํหนา้ท่ีอ่ืนๆอีกแลว้แต่ชนิด

    ในระบบประสาทส่วนกลางไดแ้ก่ ependymal cell, astrocyte, oligodendroglia และmicroglia

    ในระบบประสาทส่วนปลายไดแ้ก่ Schwann cell, neurolemma

  • Schwann cell หรือ Neurolemma

    ทาํหนา้ท่ีสร้างเยือ่หุม้ไมอีลินหุม้ใยประสาทท่ีบริเวณ

    เสน้ประสาทต่างๆ ทาํหนา้ท่ีทาํลายส่ิงแปลกปลอมท่ีเขา้ไป

    ในเน้ือเยือ่ประสาท และยงัมีบทบาทในการเสริมสร้างใย

    ประสาทไดด้ว้ย

  • โพรงของร่างกายและเยือ่หุ้ม

    (Body cavities and their membranes)

    • อวยัวะภายในจะตั้งอยูภ่ายในโพรงหรือช่องวา่งของร่างกายอยา่งเหมาะสม

    • ช่องวา่งของร่างกาย แบ่งตามยาวออกเป็น ช่องดา้นหลงั (dorsal) และช่องดา้นหนา้ (ventral)

    • ช่องดา้นหลงั แบ่งเป็นช่องภายในกะโหลกศีรษะและช่องไขสนัหลงั

    • ช่องดา้นหนา้ แบ่งเป็น ช่องอก ช่องทอ้ง และช่องทอ้งนอ้ย

  • ระบบในร่างกายมนุษย์1. ระบบโครงกระดูก (Skeletal system)2. ระบบกลา้มเน้ือ (Muscular system)3. ระบบประสาทและอวยัวะรับสมัผสั (Nervous system and

    sense organ)4. ระบบหมุนเวยีนโลหิตและนํ้าเหลือง (Circulatory and lymphatic

    system)5. ระบบหายใจและแลกเปล่ียนก๊าซ (Respiratory system and

    gas exchange)6. ระบบยอ่ยอาหารและการถ่ายเท (Digestive system)7. ระบบปัสสาวะ (Urinary system)8. ระบบสืบพนัธ์ุ (Reproductive system)9. ระบบต่อมไร้ท่อ (Endocrine gland system)

    เนื้อเยื่อสัตว์�(Animal Tissue)Slide Number 2Slide Number 3Animal tissueSlide Number 5Slide Number 6Slide Number 7Slide Number 8Slide Number 9Slide Number 10Slide Number 11Slide Number 12Slide Number 13Slide Number 14Slide Number 15Slide Number 16Slide Number 17Slide Number 18Slide Number 19Slide Number 20Slide Number 21Slide Number 22Slide Number 23Slide Number 24Slide Number 25Slide Number 26Slide Number 27Slide Number 28Slide Number 29Slide Number 30Slide Number 31Slide Number 32Slide Number 33Slide Number 34Slide Number 35Slide Number 36Slide Number 37Slide Number 38Slide Number 39Slide Number 40Slide Number 41Slide Number 42Slide Number 43เลือด (blood) ลำเลียงสารต่างๆ เช่น ก๊าซ สารอาหาร และของเสีย ประกอบไปด้วย�1. ส่วนที่เป็นเซลล์ และชิ้นส่วนของเซลล์ (blood corpuscles) ประกอบด้วย เม็ดเลือดแดง เม็ดเลือดขาว และแผ่นเลือด (blood platelet or thrombocyte)�1.1. เม็ดเลือดแดง (erythrocytes) ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ไม่มีนิวเคลียส ในคนมีขนาด 7 ไมครอน กลมแบน ตรงกลางเว้าเข้าหากันทั้งสองด้าน (biconcave) สร้างในไขกระดูก มีชีวิตในกระแสเลือด 120 วัน แต่มีการสร้างมาเพิ่มทุกวัน�1.2. เม็ดเลือดขาว (leukocytes) หน้าที่ต่อต้าน และทำลายสิ่งแปลกปลอมที่เข้ามาในร่างกาย เซลล์เปลี่ยนรูปร่างได้ แบ่งเป็น 2 กลุ่ม โดยดูจาก granule ใน cytoplasm�ก. Granulocyte มีเม็ด granule อยู่ในเซลล์ มี 1 นิวเคลียส แต่มีหลายพู (lobe) ข. Agranulocyte ไม่มีเม็ด granule อยู่ในเซลล์Slide Number 47Slide Number 481.3. แผ่นเลือด (blood platelet) รูปร่างแบนเหมือนจาน (disc-shaped) เป็นเพียงชิ้นส่วนของเซลล์ ไม่มีนิวเคลียส ช่วยนำสารอาหาร ของเสีย ความร้อน และทำให้เลือดแข็งตัว มีอายุ 7-8 วัน�2. ส่วนที่เป็นน้ำเลือด (blood plasma) เป็นของเหลวใส ประกอบด้วยน้ำ 90-92 % และ plasma protein 7 %เนื้อเยื่อกล้ามเนื้อ(Muscular Tissue) หน้าที่เกี่ยวกับการเคลื่อนไหวของร่างกาย Slide Number 511. กล้ามเนื้อเรียบ (smooth muscle) รูปกระสวยหัวท้ายแหลม มี 1 นิวเคลียส ไม่มีลาย อยู่นอกเหนืออำนาจจิตใจ �2. กล้ามเนื้อลาย (skeletal muscle) รูปทรงกระบอก มีความยาวมาก มีหลายนิวเคลียสเรียงชิดเยื่อหุ้มเซลล์ อยู่ใต้การควบคุมของระบบประสาทส่วนกลาง พบยึดติดกับกระดูก�3. กล้ามเนื้อหัวใจ (cardiac muscle) มีหลายนิวเคลียสอยู่กลางเซลล์ เซลล์แยกเป็น 2 แฉก การเรียงตัวประชิดกันคล้ายร่างแห รอยประชิดเรียก intercalated disc การทำงานเกิดตลอดเวลา�เนื้อเยื่อประสาท (Nerve Tissue) เกิดมาจาก ectoderm�1. เซลล์ประสาท (neurons) เป็นส่วนที่ผลิต และดำเนินการในการเกิดกระแสประสาท (nerve impulse) ประกอบด้วย 3 ส่วนSlide Number 542. เซลล์เกี่ยวพันประสาท (neuroglia or glial cell or supporting cell) หน้าที่ยึดเหนี่ยว พยุงให้เซลล์ประสาทอยู่คงที่ เยื่อไมอีลิน (myelin) ที่หุ้มใยประสาท (nerve fiber) เกิดจากผนังของเซลล์เกี่ยวพันประสาทพันรอบแกน axon ซ้อนกันหลายๆชั้น นำกระแสประสาทได้เร็ว เยื่อหุ้มเกี่ยวพันประสาทที่อยู่รอบนอกสุด เรียกว่า neurolemma ส่วนคอดที่ไม่มีเยื่อไมอีลินหุ้ม เรียกว่า nodes of ranvier เป็นตำแหน่งที่นำอาหารไปให้ใยประสาท ที่ nodes แต่ละอันจะพบนิวเคลียส มีหน้าที่ช่วยซ่อมแซมใยประสาทที่ถูกตัดขาดจากตัวเซลล์ให้ดีขึ้น Slide Number 56Slide Number 57Slide Number 58โพรงของร่างกายและเยื่อหุ้ม�(Body cavities and their membranes)Slide Number 60ระบบในร่างกายมนุษย์