บทสรุปสําหรับผูบริหาร...

5
สํานักงานสถิติแหงชาติ ไดจัดทําการสํารวจพฤติกรรมการ ดูแลรักษาตนเองดวยแพทยแผนไทยและสมุนไพรของครัวเรือน พ.ศ. 2556 โดยเก็บขอมูลเกี่ยวกับการใชยาแผนไทย ค/าใชจ/ายและ การใชบริการทางการแพทยแผนไทย พฤติกรรมการดูแลรักษา ตนเองเมื่อเจ็บป1วย ระดับความรูของประชาชนเกี่ยวกับสิทธิ ความปลอดภัยและมาตรฐานยาสมุนไพร ตลอดจนทัศนคติของ ประชาชนที่มีต/อการแพทยแผนไทยและยาสมุนไพรไทย โดยสอบถาม ประชาชนที่มีอายุ 18 ป8ขึ้นไป ทุกจังหวัดทั่วประเทศ มีประชาชน ถูกเลือกเป<นตัวอย/าง 5,800 ราย เก็บรวบรวมขอมูลระหว/างวันที่ 4 - 22 พฤศจิกายน 2556 และเสนอผลสํารวจในระดับกรุงเทพมหานคร ภาค และทั่วประเทศ จําแนกตามเขตการปกครอง คือ ในเขตเทศบาล และนอกเขตเทศบาล ในรูปรอยละ สรุปผลการสํารวจที่สําคัญๆ 1. ขอมูลทั่วไปของผูตอบสัมภาษณ) และความคิดเห็นเกี่ยวกับการ รับรูและการใชยาแผนไทย 1.1 การรูจักยาแผนไทย/สมุนไพร เพื่อใชในการรักษาโรค 10 อันดับแรก การใชยาแผนไทย/สมุนไพร ในการรักษาโรค พบว/า ประชาชน รอยละ 41.6 ตอบว/าไม/รูจักและไม/เคยใช ที่รูจักแต/ไม/เคยใช รอยละ 36.5 ส/วนประชาชนที่รูจักและเคยใชมีสัดส/วนต่ําสุด รอยละ 21.9 เมื่อพิจารณาตามเขตการปกครอง พบว/า ประชาชนในเขต เทศบาลรูจักแต/ไม/เคยใชยาแผนไทย/สมุนไพร มีสัดส/วนสูงกว/านอก เขตเทศบาล ตาราง 1 รอยละของประชาชน จําแนกตามการรูจักยาแผนไทย/สมุนไพร เพื่อใชในการรักษาโรค และเขตการปกครอง การรูจักยาแผนไทย/สมุนไพร ทั่ว ประเทศ ในเขต เทศบาล นอกเขต เทศบาล รวม 100.0 100.0 100.0 ไม/รูจักและไม/เคยใช 41.6 41.3 42.0 รูจักแต/ไม/เคยใช 36.5 37.3 35.5 รูจักและเคยใชก/อน 12 เดือนที่ผ/านมา 10.8 10.1 11.5 รูจักและเคยใชในรอบ 12 เดือนที่ผ/านมา 11.1 11.3 11.0 จากการสํารวจ พบว/า ยาแผนไทย/สมุนไพร เพื่อใชในการ รักษาโรคที่ประชาชนรูจัก (ทั้งเคยใชและไม/เคยใช) 10 อันดับแรก คือ ว/านหางจระเข รอยละ 96.8 รองลงมาไดแก/ ยาหม/องสมุนไพร รอยละ 96.5 ยาหอม รอยละ 95.7 ยาดมสมุนไพร รอยละ 95.1 ยาอมสมุนไพร รอยละ 93.9 ฟIาทะลายโจร รอยละ 91.5 บัวบก รอยละ 90.2 ขมิ้นชัน รอยละ 87.2 ยาแกไอผสมมะขามปIอม รอยละ 84.1 และ ไพล รอยละ 77.1 1.2 การซื้อยาแผนไทย/สมุนไพร จํานวนครั้ง และจํานวนเงิน ที่ซื้อตอครั้ง จากการสํารวจ พบว/า ประชาชนที่รูจักและเคยใชยาแผนไทย/ สมุนไพรในรอบ 12 เดือนที่ผ/านมา ซื้อยาหม/องสมุนไพรมีสัดส/วนสูงกว/า ยาแผนไทยประเภทอื่นๆ คือ รอยละ 60.4 (ซื้อ 2.7 ครั้งต/อป8 จํานวนเงิน ที่ซื้อ 54.52 บาทต/อครั้ง) รองลงมาไดแก/ ยาดมสมุนไพร ซื้อรอยละ 37.2 (ซื้อ 2.9 ครั้งต/อป8 จํานวนเงินที่ซื้อ 40.84 บาทต/อครั้ง) ยาหอม รอยละ 34.0 (ซื้อ 2.6 ครั้งต/อป8 จํานวนเงินที่ซื้อ 48.81 บาทต/อครั้ง) ยาอมสมุนไพร รอยละ 30.4 (ซื้อ 3.5 ครั้งต/อป8 จํานวนเงินที่ซื้อ 35.93 บาทต/อครั้ง) ยาแกไอผสมมะขามปIอม รอยละ14.4 (ซื้อ 1.7 ครั้งต/อป8 จํานวนเงินที่ซื้อ 39.30 บาทต/อครั้ง) ไพล รอยละ 14.0 (ซื้อ 2.3 ครั้งต/อป8 จํานวนเงินที่ซื้อ 81.50 บาทต/อครั้ง) ส/วนยาแผนไทย/ สมุนไพร รายการอื่นๆ มีประชาชนซื้อนอยกว/ารอยละ 7 บทสรุปสําหรับผูบริหาร การสํารวจพฤติกรรมการดูแลรักษาตนเองดวยแพทย)แผนไทยและสมุนไพรของครัวเรือน พ.ศ. 2556

Upload: others

Post on 12-Apr-2020

6 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: บทสรุปสําหรับผูบริหาร การสํารวจพฤติกรรมการดูแลรักษาตนเองด ...service.nso.go.th/nso/nsopublish/themes/files/repherb56.pdf ·

สํานักงานสถิติแห�งชาติ ได�จัดทําการสํารวจพฤติกรรมการดูแลรักษาตนเองด�วยแพทย�แผนไทยและสมุนไพรของครัวเรือน พ.ศ. 2556 โดยเก็บข�อมูลเก่ียวกับการใช�ยาแผนไทย ค/าใช�จ/ายและการใช�บริการทางการแพทย�แผนไทย พฤติกรรมการดูแลรักษาตนเองเมื่อเ จ็บป1วย ระดับความรู�ของประชาชนเก่ียวกับสิทธิ ความปลอดภัยและมาตรฐานยาสมุนไพร ตลอดจนทัศนคติของประชาชนท่ีมีต/อการแพทย�แผนไทยและยาสมุนไพรไทย โดยสอบถามประชาชนท่ีมีอายุ 18 ป8ข้ึนไป ทุกจังหวัดท่ัวประเทศ มีประชาชน ถูกเลือกเป<นตัวอย/าง 5,800 ราย เก็บรวบรวมข�อมูลระหว/างวันท่ี 4 - 22 พฤศจิกายน 2556 และเสนอผลสํารวจในระดับกรุงเทพมหานคร ภาค และท่ัวประเทศ จําแนกตามเขตการปกครอง คือ ในเขตเทศบาล และนอกเขตเทศบาล ในรูปร�อยละ สรุปผลการสํารวจท่ีสําคัญๆ 1. ข อมูลท่ัวไปของผู ตอบสัมภาษณ) และความคิดเห็นเกี่ยวกับการรับรู และการใช ยาแผนไทย

1.1 การรู จักยาแผนไทย/สมุนไพร เพ่ือใช ในการรักษาโรค 10 อันดับแรก

การใช�ยาแผนไทย/สมุนไพร ในการรักษาโรค พบว/า ประชาชน ร�อยละ 41.6 ตอบว/าไม/รู�จักและไม/เคยใช� ท่ีรู�จักแต/ไม/เคยใช� ร�อยละ 36.5 ส/วนประชาชนท่ีรู�จักและเคยใช�มีสัดส/วนต่ําสุด ร�อยละ 21.9

เมื่อพิจารณาตามเขตการปกครอง พบว/า ประชาชนในเขตเทศบาลรู�จักแต/ไม/เคยใช�ยาแผนไทย/สมุนไพร มีสัดส/วนสูงกว/านอกเขตเทศบาล

ตาราง 1 ร อยละของประชาชน จําแนกตามการรู จักยาแผนไทย/สมุนไพร เพ่ือใช ในการรักษาโรค และเขตการปกครอง

การรู�จักยาแผนไทย/สมุนไพร ท่ัว

ประเทศ ในเขต

เทศบาล นอกเขตเทศบาล

รวม 100.0 100.0 100.0

ไม/รู�จักและไม/เคยใช� 41.6 41.3 42.0

รู�จักแต/ไม/เคยใช� 36.5 37.3 35.5

รู�จักและเคยใช�ก/อน 12 เดือนท่ีผ/านมา 10.8 10.1 11.5

รู�จักและเคยใช�ในรอบ 12 เดือนท่ีผ/านมา 11.1 11.3 11.0

จากการสํารวจ พบว/า ยาแผนไทย/สมุนไพร เพ่ือใช�ในการรักษาโรคท่ีประชาชนรู�จัก (ท้ังเคยใช�และไม/เคยใช�) 10 อันดับแรก คือ ว/านหางจระเข� ร�อยละ 96.8 รองลงมาได�แก/ ยาหม/องสมุนไพร ร�อยละ 96.5 ยาหอม ร�อยละ 95.7 ยาดมสมุนไพร ร�อยละ 95.1 ยาอมสมุนไพร ร�อยละ 93.9 ฟIาทะลายโจร ร�อยละ 91.5 บัวบก ร�อยละ 90.2 ขมิ้นชัน ร�อยละ 87.2 ยาแก�ไอผสมมะขามปIอม ร�อยละ 84.1 และไพล ร�อยละ 77.1

1.2 การซ้ือยาแผนไทย/สมุนไพร จํานวนคร้ัง และจํานวนเงินท่ีซ้ือต�อคร้ัง จากการสํารวจ พบว/า ประชาชนท่ีรู�จักและเคยใช�ยาแผนไทย/สมุนไพรในรอบ 12 เดือนท่ีผ/านมา ซ้ือยาหม/องสมุนไพรมีสัดส/วนสูงกว/ายาแผนไทยประเภทอ่ืนๆ คือ ร�อยละ 60.4 (ซ้ือ 2.7 ครั้งต/อป8 จํานวนเงินท่ีซื้อ 54.52 บาทต/อครั้ง) รองลงมาได�แก/ ยาดมสมุนไพร ซ้ือร�อยละ 37.2 (ซ้ือ 2.9 ครั้งต/อป8 จํานวนเงินท่ีซ้ือ 40.84 บาทต/อครั้ง) ยาหอม ร�อยละ 34.0 (ซ้ือ 2.6 ครั้งต/อป8 จํานวนเงินท่ีซ้ือ 48.81 บาทต/อครั้ง) ยาอมสมุนไพร ร�อยละ 30.4 (ซ้ือ 3.5 ครั้งต/อป8 จํานวนเงินท่ีซ้ือ 35.93 บาทต/อครั้ ง ) ยาแก� ไอผสมมะขามปIอม ร�อยละ14.4 (ซ้ือ 1.7 ครั้งต/อป8 จํานวนเงินท่ีซื้อ 39.30 บาทต/อครั้ง) ไพล ร�อยละ 14.0 (ซ้ือ 2.3 ครั้งต/อป8 จํานวนเงินท่ีซื้อ 81.50 บาทต/อครั้ง) ส/วนยาแผนไทย/สมุนไพร รายการอ่ืนๆ มีประชาชนซ้ือน�อยกว/าร�อยละ 7

บทสรุปสําหรับผู บริหาร การสํารวจพฤตกิรรมการดแูลรักษาตนเองด วยแพทย)แผนไทยและสมุนไพรของครัวเรือน พ.ศ. 2556

Page 2: บทสรุปสําหรับผูบริหาร การสํารวจพฤติกรรมการดูแลรักษาตนเองด ...service.nso.go.th/nso/nsopublish/themes/files/repherb56.pdf ·

ตาราง 2 ร อยละของประชาชนที่รู จักและเคยใช ยาแผนไทย/สมุนไพร ในรอบ 12 เดือนที่ผ�านมา จําแนกตามการซ้ือยาแผนไทย/สมุนไพร จํานวนครั้งที่ซ้ือต�อป< และจํานวนเงินที่ซ้ือต�อครั้ง

รายการยาแผนไทย/สมุนไพร

การซ้ือ1/ ยาแผนไทย/

สมุนไพร (ร�อยละ)

จํานวนคร้ังท่ีซ้ือ

ต/อป8

จํานวนเงินท่ีซ้ือ (บาทต/อ

คร้ัง) 1. ยาหม/องสมุนไพร 60.4 2.7 54.52 2. ยาดมสมุนไพร 37.2 2.9 40.84 3. ยาหอม 34.0 2.6 48.81 4. ยาอมสมุนไพร 30.4 3.5 35.93 5. ยาแก�ไอผสมมะขามปIอม 14.4 1.7 39.30 6. ไพล 14.0 2.3 81.50 7. ขม้ินชัน 6.7 3.1 85.05 8. ฟIาทะลายโจร 6.2 2.4 69.56 9. บัวบก 5.0 7.8 38.86 10. เสลดพังพอนตัวเมีย/พญายอ 2.3 2.2 68.49 11. ยาเหลืองปMดสมุทร 1.8 1.4 69.15 12. ยาธาตุบรรจบ 1.8 2.3 65.32 13. ว/านหางจระเข� 1.7 2.2 95.05 14. รางจืด 1.4 2.8 90.19 15. ยาธาตุอบเชย 1.1 2.1 73.00 16. ยาสหัสธารา 1.0 2.8 94.75 17. เถาวัลย�เปรียง 0.5 1.6 155.66 18. ยาถ/ายดีเกลือ 0.3 2.2 57.11 19. ยาเพชรสังฆาต 0.3 3.3 153.22 20. ชุมเห็ดเทศ 0.2 2.7 83.35 21. ยาประสะกานพลู 0.2 1.5 63.92 22. ยาห�าราก 0.1 1.6 94.00 23. ยาประสะไพล 0.1 2.3 58.94 24. ยาจันทน�ลีลา 0.1 2.1 81.50

1/ ตอบได�มากกว/า 1 คําตอบ

1.3 การตัดสินใจใช ยาแผนไทย

โดยรวมประชาชนท่ีรู� จักและเคยใช�ยาแผนไทย(ท้ังในรอบ 12 เดือนท่ีผ/านมา และก/อน 12 เดือนท่ีผ/านมา) ตัดสินใจใช�ยาแผนไทยเมื่อมีอาการเจ็บป1วยเล็กน�อยมีสัดส/วนสูงสุด (ร�อยละ 82.2) รองลงมาได�แก/ แพทย�แผนปOจจุบันไม/สามารถรักษาได� ร�อยละ 16.1 เจ็บป1วยเรื้อรัง ร�อยละ 8.4 และอ่ืนๆ (เช/น แพทย�สั่ง เพ่ือนแนะนําฯลฯ) ร�อยละ 1.2 ตามลําดับ

1.4 แหล�งท่ีมาของยาแผนไทย สําหรับประชาชนท่ีรู�จักและเคยใช�ยาแผนไทย(ท้ังในรอบ 12 เดือนท่ีผ/านมา และก/อน 12 เดือนท่ีผ/านมา) ร�อยละ 59.6 ระบุแหล/ ง ท่ี ม าของยาแผนไทยมาจากการ ซ้ื อจากร� านขายย า ส/วนเพาะปลูกเองในครัวเรือน/แบ/งปOนจากเพ่ือนบ�าน ร�อยละ 47.9 ซ้ือจากตลาด ร�อยละ 30.0 การออกร�าน/บูธกิจกรรม/มหกรรมต/าง ๆ ร�อยละ 13.3 และโรงพยาบาล ร�อยละ 7.8 ขณะท่ีประชาชนได� ยาแผนไทยมาจากการขายตรง มีเพียงร�อยละ 3.1 นอกจากน้ี ยังได�มาจาก แหล/งอ่ืน ๆ (เช/น หาจากภูเขา จากวัด ฯลฯ ) อีกร�อยละ 0.3

1.5 การเคยได รับยาแผนไทยจากการตรวจด วยแพทย)แผนป?จจุบันในรอบ 12 เดือนท่ีผ�านมา ประชาชนร�อยละ 94.9 ระบุว/า ไม/เคยได�รับยาแผนไทยจากการตรวจด�วยแพทย�แผนปOจจุบันในรอบ 12 เดือนท่ีผ/านมา และ ท่ีระบุว/า เคยได�รับ มีเพียงร�อยละ 5.1 โดยยาแผนไทยท่ีได�รับจากการตรวจด�วยแพทย�แผนปOจจุบันบ/อยครั้งท่ีสุด คือ ยานวดสมุนไพร (จํานวน 4.2 ครั้งต/อป8 จํานวนเงินท่ีจ/าย 94.50 บาทต/อครั้ง) รองลงมาได�แก/ ยาหม/องสมุนไพร (จํานวน 3.7 ครั้งต/อป8 จํานวนเงินท่ีจ/าย 66.29 บาทต/อครั้ง) ยาดมสมุนไพร (จํานวน 2.7 ครั้งต/อป8 จํานวนเงินท่ีจ/าย 46.67 บาทต/อครั้ง) สําหรับยาแก�ไอมะขามปIอม ขมิ้นชัน ยาอมมะแว�ง ฟIาทะลาย และยาหอม มีจํานวนครั้งท่ีได�รับระหว/าง 2.2-2.4 ครั้งต/อป8

ไม�เคยได รับ 94.9%

เคยได รับ 5.1%

แผนภูมิ 4 ร อยละของประชาชนท่ีเคยได รับยาแผนไทย1/ จากการตรวจด วยแพทย)แผนป?จจุบัน ในรอบ 12 เดอืนท่ีผ�านมา

ยาแผนไทย จํานวนคร้ังที่ซื้อ/ป< จํานวนเงินที่จ�าย (บาท/คร้ัง) ยานวดสมุนไพร 4.2 94.50ยาหม�องสมุนไพร 3.7 66.29ยาดมสมุนไพร 2.7 46.67ยาแก ไอมะขามปEอม 2.4 72.01ขม้ินชัน 2.4 123.34ยาอมมะแว ง 2.4 87.46ฟEาทะลายโจร 2.2 93.38ยาหอม 2.2 18.89

หมายเหต ุ: 1/ ตอบได�มากกว/า 1 คําตอบ

Page 3: บทสรุปสําหรับผูบริหาร การสํารวจพฤติกรรมการดูแลรักษาตนเองด ...service.nso.go.th/nso/nsopublish/themes/files/repherb56.pdf ·

1.6 การเคยซ้ือผลิตภัณฑ)สมุนไพร/สมุนไพรของต�างประเทศ ในรอบ 12 เดือนท่ีผ�านมา ประชาชน ร�อยละ 95.5 ตอบว/า ไม/เคยซ้ือผลิตภัณฑ�สมุนไพร/สมุนไพรของต/างประเทศในรอบ12 เดือนท่ีผ/านมา และ ท่ีเคยซ้ือ มีเพียงร�อยละ 4.5 ซ่ึงผลิตภัณฑ�สมุนไพร/สมุนไพรของต/างประเทศท่ีประชาชนซ้ือ ได�แก/ เห็ดหลินจือ (ซ้ือ 3.1 ครั้งต/อป8 จํานวนเงินท่ีจ/าย 1,136.47 บาทต/อครั้ง) แปะกSวย (ซ้ือ 3.1 ครั้งต/อป8 จํานวนเงิน ท่ีจ/าย 554.73 บาทต/อครั้ง) ยาสมุนไพรจีน (ซ้ือ 2.7 ครั้งต/อป8 จํานวนเงินท่ีจ/าย 756.46 บาท/ครั้ง) โสม (ซ้ือ 2.5 ครั้งต/อป8 จํานวนเงินท่ีจ/าย 1,364.23 บาทต/อครั้ง) และบัวหิมะ (ซ้ือ 1.7 ครั้งต/อป8 จํานวนเงิน ท่ีจ/าย 789.36 บาทต/อครั้ง)

2. การดูแลรักษาตนเองเมื่อเจ็บปIวยด วยการใช ยาแผนไทย ในรอบ 12 เดือนท่ีผ�านมา ในรอบ 12 เดือนท่ีผ/านมาประชาชนร�อยละ 74.6 ตอบว/า ไม/เคยเจ็บป1วย และมีร�อยละ 25.4 ท่ีตอบว/า เจ็บป1วย โดยโรคท่ีเจ็บป1วยและใช�ยาแผนไทยรักษาพบว/า โรคระบบกล�ามเน้ือ/กระดูก มีสัดส/วนสูงสุด (ร�อยละ 62.8) รองลงมาได�แก/ โรคระบบทางเดินหายใจ/หอบ/หืด (ร�อยละ 45.6) ไข�ห วัด (ร�อยละ 42.4) ท�องเสีย ท�องเดิน (ร�อยละ 33.6) ระบบทางเดินอาหาร/กระเพาะอาหาร (ร�อยละ 32.2) ภูมิแพ� (ร�อยละ 30.3) สําหรับโรคเบาหวาน ริดสีดวงทวาร ความดันโลหิตสูง มีสัดส/วนระหว/างร�อยละ 21-25 ส/วนโรคท่ีเจ็บป1วยอ่ืนๆ มีสัดส/วนต่ํากว/าร�อยละ 10

เจ็บปIวย 25.4%ไม�เคยเจ็บปIวย

74.6%

แผนภูมิ 6 ร อยละของประชาชน จําแนกตามการเจ็บปIวยในรอบ 12 เดอืนท่ีผ�านมา โรคท่ีเจ็บปIวย1/ และการใช ยาแผนไทยรักษา

โรค ร อยละระบบกล าเน้ือ/กระดูก 62.8ระบบทางเดินหายใจ/หอบ/หืด 45.6ไข หวัด 42.4ท องเสีย/ท องเดิน 33.6ระบบทางเดินอาหาร/กระเพราะอาหาร 32.2ภูมิแพ 30.3เบาหวาน 25.7ริดสีดวงทวาร 23.9 ความดันโลหิตสูง 21.5 หัวใจ 9.9มะเร็งทุกชนิด 9.6

โรคเกี่ยวกับต�อมไร ท�อ/ฮอร)โมน 7.3 หลอดเลอืดสมอง 7.0 ไตอับแสบ/ไตพิการ 3.5 สมองเสื่อม 2.8

หมายเหต ุ: 1/ ตอบได�มากกว/า 1 คําตอบ

3. การได รับความรู เกี่ยวกับยาแผนไทยจากสื่อหรือช�องทาง

ผลการสํารวจเก่ียวกับสื่อหรือช/องทางท่ีประชาชนได�รับรู�เก่ียวกับยาแผนไทย พบว/า มาจากการบอกเล/า/สมาชิกในครอบครัว (พ/อแม//ญาติ) มีสัดส/วนสูงสุด คือร�อยละ 61.9 รองลงมาได�แก/ ฟรีทีวี(ช/อง 3,5,7,9,NBT,ThaiPBS) ร�อยละ 51.6 หนังสือพิมพ�/สิ่งพิมพ�/ใบปลิว ร�อยละ 19.4 วิทยุท�องถ่ินชุมชน ร�อยละ 17.0 ผู�นําชุมชน (ปราชญ�ชาวบ�าน ครู พระฯลฯ) ร�อยละ 16.6 หนังสือ/ตําราวิชาการ/ใบลาน ร�อยละ 15.9 แพทย�แผนปOจจุบัน (คลินิก/อนามัย/โรงพยาบาล) ร�อยละ 12.3 เคเบิลทีวี/จานดาวเทียม ร�อยละ 11.1 แพทย�แผนไทย/สถานพยาบาลแพทย�แผนไทย ร�อยละ 10.7 เว็บไซต�/ อินเทอร�เนต ร�อยละ 7.2 รถเร/ ร�อยละ 3.7 Facebook ร�อยละ 1.5 และจากช/องทางอ่ืนๆ (เช/น การอบรม ดูงาน ฯลฯ) ร�อยละ 0.2

เมื่อพิจารณาเป<นรายภาค พบว/าประชาชนเกือบทุกภาคได�รับความรู� เ ก่ียวกับยาแผนไทยมาจากการบอกเล/า/สมาชิก ในครอบครัว(พ/อแม/ /ญาติ) มีสัดส/วนสูงกว/าสื่อหรือช/องทางอ่ืนๆ ยกเว�นประชาชนภาคกลางท่ีได�รับความรู�เก่ียวกับยาแผนไทยมาจากสื่อฟรีทีวี (ช/อง 3, 5, 7, 9, NBT, ThaiPBS) มีสัดส/วนสูงสุด (ร�อยละ 53.8)

ตาราง 3 ร อยละของประชาชน จําแนกตามสื่อหรือช�องทางท่ีประชาชนได รับความรู เก่ียวกับยาแผนไทย เปKนรายภาค

สื่อหรือช/องทางที่ประชาชนได�รับความรู�เก่ียวกับยาแผนไทย 1/

ทั่ว ประเทศ

ภาค

กทม. กลาง เหนือ ตะวันออก เฉียงเหนือ ใต�

• การบอกเล/า/สมาชิกใน ครอบครัว (พ/อแม//ญาติ)

61.9 67.2 53.6 62.3 65.5 67.1

• ฟรีทีวี (ช/อง 3, 5, 7, 9, NBT, ThaiPBS)

51.6 65.3 53.8 50.0 45.7 49.2

• หนังสือพิมพ�/สิ่งพิมพ�/ใบปลิว 19.4 29.0 24.3 19.1 12.8 14.4

• วิทยุท�องถ่ินชุมชน 17.0 9.0 12.5 29.7 22.3 5.5

• ผู�นําชุมชน (ปราชญ�ชาวบ�าน ครู พระ ฯลฯ)

16.6 4.1 10.4 16.4 27.1 19.3

• หนังสือ/ตําราวิชาการ/ ใบลาน

15.9 26.7 18.8 12.5 11.8 13.4

• แพทย�แผนปOจจุบัน (คลินิก/อนามัย/โรงพยาบาล)

12.3 5.7 10.0 17.9 12.7 14.7

• เคเบิลทีวี/จานดาวเทียม 11.1 12.5 12.8 7.8 11.1 10.8

• แพทย�แผนไทย/สถานพยาบาลแพทย�แผนไทย

10.7 8.5 11.5 8.9 11.3 12.0

• เว็บไซต�/อินเทอร�เนต 7.2 16.5 7.3 7.5 3.6 6.3

• รถเร/ 3.7 1.9 0.9 3.0 8.6 2.1

• Facebook 1.5 3.5 1.4 1.3 0.5 1.9

• อ่ืน ๆ เช/น อบรม ดูงาน ฯลฯ 0.2 0.4 0.5 0.1 - 0.2

1/ ตอบได�มากกว/า 1 คําตอบ

หมายเหตุ : ตอบได�มากกว/า 1 คําตอบ

Page 4: บทสรุปสําหรับผูบริหาร การสํารวจพฤติกรรมการดูแลรักษาตนเองด ...service.nso.go.th/nso/nsopublish/themes/files/repherb56.pdf ·

4. พฤติกรรมการดูแลสุขภาพส�วนใหญ�ของสมาชิกในครัวเรือน เมื่อเจ็บปIวย

สําหรับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพส/วนใหญ/ของสมาชิกในครั ว เรือนเมื่ อ เ จ็บป1วย พบว/ า ประชาชนเลือกไปพบแพทย� แผนปOจจุบันตามคลินิก/สถานพยาบาลต/าง ๆ มีสัดส/วนสูงสุด คือ ร�อยละ 65.2 รองลงมาได�แก/ ซ้ือยาแผนปOจจุบันมารักษาอาการเอง ร�อยละ 59.7 ดูแลตนเองท่ีบ�านโดยไม/เสียค/าใช�จ/าย ร�อยละ 56.4 และใช�สมุนไพร/ยาแผนไทยรักษาอาการ ร�อยละ 18.8 ขณะท่ีประชาชนเลือกท่ีจะไปพบแพทย�แผนไทย/หมอพ้ืนบ�าน มีเพียงร�อยละ 4.3

5. การใช ยาแผนไทยท่ีอยู�ในบัญชียาหลักแห�งชาติรักษาอาการเจ็บปIวยแทนยาแผนป?จจุบัน ผลการสํารวจ พบว/า ประชาชนร�อยละ 80.2 ยินดีใช� ยาแผนไทยท่ีอยู/ในบัญชียาหลักแห/งชาติรักษาอาการของโรคแทน ยาแผนปOจจุบัน ร�อยละ 17.1 ไม/แน/ใจ และอีกร�อยละ 2.7 ไม/ยินดีใช� เมื่อพิจารณาเป<นรายภาค พบว/า ประชาชนภาคใต�ยินดีใช�ยาแผนไทยท่ีอยู/ในบัญชียาหลักแห/งชาติรักษาอาการเจ็บป1วยมีสัดส/วนสูงกว/าภาคอ่ืน คือ ร�อยละ 84.6 รองลงมาได�แก/ ภาคเหนือและภาคกลาง มีสัดส/วนใกล�เคียงกัน ร�อยละ 81.9 และ 81.4 ตามลําดับ ส/วนภาคตะวันออกเฉียงเหนือร�อยละ 79.4 ขณะท่ีประชาชนกรุงเทพมหานครยินดีใช�ยาแผนไทยฯ รักษาแทนยาแผนปOจจุบันมีสัดส/วนต่ํากว/าภาคอ่ืน คือ ร�อยละ 71.6 ตาราง 4 ร อยละของประชาชน จําแนกตามการยินดีใช ยาแผนไทยที่อยู�ในบัญชี ยาหลักแห�งชาติรักษาอาการเจ็บปIวยแทนยาแผนป?จจุบัน เปKนรายภาค

การยินดีใช�ยาแผนไทยรักษาอาการเจ็บป1วยแทนยาแผนปOจจุบัน

ทั่ว ประเทศ

ภาค กทม. กลาง เหนือ ตะวันออก

เฉียงเหนือ ใต�

รวม 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 • ยินดี 80.2 71.6 81.4 81.9 79.4 84.6 • ไม/ยินดี 2.7 4.4 2.7 2.8 2.4 1.5 • ไม/แน/ใจ 17.1 24.0 15.9 15.3 18.2 13.9

6. การใช บริการของการแพทย)แผนไทย ผลการสํารวจเก่ียวกับการรู�จักบริการของการแพทย�แผนไทย (ท้ังเคยใช� และไม/เคยใช�) พบว/า ประชาชนรู�จักการนวดประคบสมุนไพรมีสัดส/วนสูงกว/าบริการประเภทอ่ืนคือ ร�อยละ 93.3 รองลงมาได�แก/ การนวดเพ่ือการรักษา และการประคบสมุนไพร มีสัดส/วนเท/ากันคือ ร�อยละ 93.0 ส/วนการอบสมุนไพร ร�อยละ 91.9 การตรวจรักษา/สั่งจ/ายยาสมุนไพร ร�อยละ 71.7 และชุดดูแลหญิงหลังคลอด ร�อยละ 67.1 ขณะท่ีการให�บริการของการแพทย�แผนไทยประเภทการน่ังถ/านประชาชนรู�จักต่ําสุด ร�อยละ 60.0 นอกจากน้ี ประชาชนยังมีการรับบริการของการแพทย�แผนไทยอ่ืนๆ (เช/น การเข�าเฝdอกกระดูก ฯลฯ) ร�อยละ 77.8 เมื่อพิจารณาตามเขตการปกครอง พบว/าประชาชนในเขตเทศบาลรู�จักบริการการแพทย�แผนไทยประเภทการนวดประคบสมุนไพรมากการบริการประเภทอ่ืน (ร�อยละ 95.9) ตาราง 5 ร อยละของประชาชน จําแนกตามการรู จักประเภทบริการการแพทย)

แผนไทย และเขตการปกครอง

ประเภทบริการการแพทย�แผนไทย ท่ัวประเทศ ในเขตเทศบาล

นอกเขตเทศบาล

1) การนวดประคบสมุนไพร 93.3 95.9 90.4

2) การนวดเพื่อการรักษา 93.0 94.0 91.6

3) การประคบสมุนไพร 93.0 95.7 89.7

4) การอบสมุนไพร 91.9 94.5 88.7

5) การตรวจรักษา/ส่ังจ/ายยาสมุนไพร 71.7 70.7 73.1

6) ชุดดูแลหญิงหลังคลอด 67.1 70.8 64.0

7) การน่ังถ/าน 60.0 63.5 57.1

8) อื่นๆ เช/น เข�าเฝdอกกระดูก ฯลฯ 77.8 55.3 100.0

7. ความรู ความเข าใจเกี่ยวกับสิทธิ ความปลอดภัยและมาตรฐานยาแผนไทย

ประชาชนมีความรู� ความเข�าใจถูกต�องมากท่ีสุดในเรื่องสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) เป<นหน/วยงานควบคุมผลิตภัณฑ�ยาแผนไทย (ร�อยละ 64.0) รองลงมา คือ ยาแผนไทยหรือยาแผนโบราณจําเป<นต�องมีฉลากยา(ร�อยละ 63.7) ผู�ป1วยสิทธิ บัตรทอง (30 บาท) มีสิทธิได�รับยาแผนไทยฟรี เช/นเดียวกับยาแผนปOจจุบัน (ร�อยละ 55.8) ปOจจุบันยาแผนไทยได�รับคัดเลือกให�อยู/ในบัญชียาหลักแห/งชาติ (ร�อยละ 52.4) สตรีคลอดท่ีมีสิทธิประกันสุขภาพถ�วน(บัตร 30บาทหรือบัตรทอง) มีสิทธิได�รับบริการฟdeนฟูสุขภาพ แม/หลังคลอดฟรี (ร�อยละ 51.1) ส/วนเรื่องอ่ืนๆ ประชาชนมีความรู� ความเข�าใจถูกต�องน�อยกว/าร�อยละ 50.0

เมื่อพิจารณาตามเขตการปกครอง พบว/าประชาชนในเขตเทศบาลมีความรู� ความเข�าใจถูกต�องมากท่ีสุดในเรื่องยาแผนไทยหรือยาแผนโบราณจําเป<นต�องมีฉลากยา(ร�อยละ 67.4) ขณะท่ีประชาชนนอกเขตเทศบาลมีความรู� ความเข�าใจถูกต�องมากท่ีสุดในเรื่องสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) เป<นหน/วยงานควบคุมผลิตภัณฑ�ยาแผนไทยมีสัดส/วนสูงสุด (ร�อยละ 63.8)

Page 5: บทสรุปสําหรับผูบริหาร การสํารวจพฤติกรรมการดูแลรักษาตนเองด ...service.nso.go.th/nso/nsopublish/themes/files/repherb56.pdf ·

ตาราง 6 ร อยละของประชาชนที่ความรู ความเข าใจถ ูกต องเก่ียวกับสิทธิ ความปลอดภัยและมาตรฐานยาแผนไทย ตามเขตการปกครอง

ความรู� ความเข�าใจเกี่ยวกับสิทธิ ความปลอดภัยและมาตรฐานยาแผนไทย

ท่ัว ประเทศ

ในเขตเทศบาล

นอกเขตเทศบาล

1) สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) เป<นหน/วยงานควบคุมผลิตภัณฑ�ยาแผนไทย

64.0 66.0 63.8

2) ยาแผนไทยหรือยาแผนโบราณจาํเป<นต�องมีฉลากยา 63.7 67.4 61.7 3) ผู�ป1วยสิทธิบัตรทอง (30 บาท) มีสิทธไิด�รับยา

แผนไทยฟรี เช/นเดียวกบัยาแผนปOจจุบัน 55.8 51.3 59.4

4) ปOจจุบันยาแผนไทยได�รับคัดเลือกให�อยู/ในบัญชียาหลักแห/งชาติ

52.4 51.4 53.5

5) สตรีหลังคลอดท่ีมีสิทธิประกันสุขภาพถ�วน (บัตร 30 หรือบัตรทอง) มีสิทธิได�รับบริการ

ฟdeนฟูสุขภาพแม/หลังคลอดฟรี

51.1 47.7 55.3

6) ในยาแผนไทยบางชนิดหากใช�ต/อเน่ืองอาจมีพิษสะสมทําให�เกิดอาการข�างเคียงหรือาการ อันไม/พึงประสงค�จากการใช�ยาได�

49.6 51.2 48.0

7) ยาแผนไทยและยาแผนโบราณบางตัวมีการ ผสมยาเสตียรอยด� ซ่ึงเป<นอันตรายต/อสุขภาพ

40.5 44.5 38.7

8) การโฆษณาสรรพคุณของยาแผนโบราณว/า สามารถรักษาโรค หรือการเจ็บป1วยให�

หายขาดได�นั้นผิดกฎหมาย

34.9 38.7 32.3

9) การบริโภคยาแผนไทยควบคู/กับยาแผน ปOจจบุันอาจเป<นอันตรายต/อสุขภาพได�

34.3 34.8 34.4

10) ยาแผนไทยเป<นยาท่ีปลอดภัย แต/ต�องใช� อย/างระมัดระวัง โดยเฉพาะกลุ/มเด็ก คนแก/ และหญิงมีครรภ�

18.9 18.9 18.6

8. ความคิดเห็นท่ัวไป และความคิดเห็นเกี่ยวกับนโยบายของรัฐต�อการแพทย)แผนไทยและยาแผนไทย 8.1 ความคิดเห็นท่ัวไปต�อการแพทย)แผนไทยและยาแผนไทย ประชาชนเห็นด�วยถึงเห็นด�วยอย/างยิ่งต/อการนํายาแผนไทยมาใช�รักษาอาการเจ็บป1วยเล็กๆ น�อยๆ หรืออาการระยะแรกช/วยลดค/าใช�จ/ายในการรักษาพยาบาลลงมีสัดส/วนสูงสุด คือร�อยละ 80.4 รองลงมาได�แก/ ยาแผนไทยใช�แล�วได�ผล โดยเฉพาะอย/างยิ่งกับอาการเจ็บป1วยเล็กๆ น�อยๆ หรืออาการระยะแรก (ร�อยละ 77.3) ประเทศไทยสามารถลดภาระรายจ/ายการนําเข�ายาได� หากใช�ยา แผนไทยแทนยาจากต/างประเทศท่ีรักษาโรคเดียวกัน (ร�อยละ 74.5) ยาแผนไทยเป<นภูมิปOญญาดั้งเดิมท่ีสืบทอดกันมา เช่ือถือและไว�วางใจได� (ร�อยละ 74.3) ยาแผนไทยบางชนิดสามารถใช�แทนยาแผนปOจจุบันได� (ร�อยละ 71.2) การรักษาโดยแพทย�แผนไทยและยาแผนไทยประหยัดค/าใช�จ/ายกว/าการรักษาโดยแพทย�แผนปOจจุบัน (ร�อยละ 70.6 ) เป<นต�น ส/วนประเด็นความคิดเห็นอ่ืนๆ มีสัดส/วนต่ํากว/าร�อยละ 66

8.2 ความคิดเห็นเกี่ยวกับนโยบายของรัฐต�อการแพทย)แผนไทยและยาแผนไทย

ประชาชนเห็นด�วยถึงเห็นด�วยอย/างยิ่งต/อรัฐบาลควรสนับสนุนให�มีการเพาะปลูกและพัฒนาสมุนไพรไทย เพ่ือสร�างรายได�ให�แก/เกษตรกร มีสัดส/วนสูงสุด คือ ร�อยละ 88.8 รองลงมาได�แก/ เทศบาล/อบต. ควรสนับสนุนให�มีการใช�สมุนให�มีการใช�สมุนไพรไทย เพ่ือปIองกันและรักษาสุขภาพของสมาชิกในชุนชน (ร�อยละ 87.6) ปOจจุบันหน/วยงานภาครัฐมีการประชาสัมพันธ�เรื่องการแพทย�แผนไทยและยาแผนไทยน�อยเกินไป (ร�อยละ 86.3) และรัฐบาลควรให�การอุดหนุนและสนับสนุนสถานพยาบาลของรัฐให�ใช�ยาแผนไทยมากข้ึน ประชาชนเห็นด�วยถึงเห็นด�วยอย/างยิ่ง ร�อยละ 84.8 ตาราง 7 ร อยละของประชาชนที่แสดงความคิดเห็นระดบัเห็นด วยถึงเห็นด วย

อย�างยิ่งต�อการแพทย)แผนไทยและยาแผนไทย และนโยบายของรัฐต�อการแพทย)แผนไทยและยาแผนไทย

ประเด็นความคิดเห็น ร อยละ ก. ความคิดเห็นทั่วไปต�อการแพทย)แผนไทยและยาแผนไทย 1) การนํายาแผนไทยมาใช�รักษาอาการเจ็บป1วยเล็กๆ น�อยๆ

หรืออาการระยะแรก ช/วยลดค/าใช�จ/ายในการรักษาพยาบาลลง 80.4

2) ยาแผนไทยใช�แล�วได�ผล โดยเฉพาะอย/างยิ่งกับอาการเจ็บป1วย เล็กๆ น�อยๆ หรืออาการระยะแรก

77.3

3) ประเทศไทยสามารถลดภาระรายจ/ายการนําเข�ายาได� หากใช�ยาแผนไทยแทนยาจากต/างประเทศท่ีรักษาโรคเดียวกัน

74.5

4) ยาแผนไทยเป<นภูมปิOญญาด้ังเดิมท่ีสืบทอดกันมา เช่ือถือและ ไว�ใจได�

74.3

5) ยาแผนไทยบางชนิดสามารถใช�แทนยาแผนปOจจุบันได� 71.2 6) การรักษาโดยแพทย�แผนไทยและยาแผนไทยประหยัด

ค/าใช�จ/ายกว/าการรักษาโดยแพทย�แผนปOจจุบัน 70.6

7) ยาแผนไทยบางชนิดสามารถรักษาโรคได�ดีกว/ายาแผนปOจจุบัน 65.0 8) การใช�ยาแผนไทยทําให�ท/านปลอดภัยจากสารเคมี 62.3 9) การใช�ยาแผนไทยจะมีสารพษิตกค�างน�อยกว/ายาแผนปOจจุบัน 62.0 10) แพทย�แผนไทยและยาแผนไทยสามารถรักษาโรคเร้ือรัง บางชนิด แพทย�แผนปOจจุบันรักษาไม/ได�

57.4

11) ยาแผนไทยมีการควบคุมคุณภาพการผลิตและการบรรจุ ด�อยกว/ายาแผนปOจจุบัน

48.1

12) การใช�ยาแผนไทยอันตรายกว/ายาแผนปOจจุบันเพราะ ไม/มีงานวิจัยมาสนับสนุน

32.0

13) แพทย�แผนไทยและยาแผนไทยเป<นของคนโบราณไม/ทันสมัย ไม/เหมาะกับปOจจุบัน

22.3

ข. ความคิดเห็นเก่ียวกับนโยบายของรฐัต�อการแพทย)แผนไทยและ ยาแผนไทย

1) รัฐบาลควรสนับสนุนให�มีการเพาะปลูกและพัฒนา สมุนไพรไทยเพื่อสร�างรายได�ให�แก/เกษตรกร

88.8

2) เทศบาล/อบต. ควรสนับสนุนให�มีการใช�สมุนไพรไทย เพื่อปIองกันและรักษาสุขภาพของสมาชิกในชุมชน

87.6

3) ปOจจุบันหน/วยงานภาครัฐมีการประชาสัมพันธ�เร่ือง การแพทย�แผนไทยและยาแผนไทยน�อยเกินไป

86.3

4) รัฐบาลควรให�การอุดหนุนและสนับสนุนสถานพยาบาลของรัฐ ให�ใช�ยาแผนไทยมากขึ้น

84.8