วิเคราะห์ cptpp หลังสหรัฐฯถอนตัว...

24
วิเคราะห์ CPTPP หลังสหรัฐฯถอนตัว ประเทศไทยควรเข้า ร่วมเป็นภาคีหรือไม่: มิติทางด้านเศรษฐกิจ รศ. ดร. อาชนัน เกาะไพบูลย์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ [email protected]

Upload: others

Post on 03-Feb-2020

3 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: วิเคราะห์ CPTPP หลังสหรัฐฯถอนตัว ประเทศไทยควรเข้า ร่วมเป็น ...ftawatch.org/sites/default/files/documents/2018_cptpp_01.pdf ·

วิเคราะห์ CPTPP หลังสหรัฐฯถอนตัว ประเทศไทยควรเข้าร่วมเป็นภาคีหรือไม่: มิติทางด้านเศรษฐกิจ

รศ. ดร. อาชนัน เกาะไพบูลย์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

[email protected]

Page 2: วิเคราะห์ CPTPP หลังสหรัฐฯถอนตัว ประเทศไทยควรเข้า ร่วมเป็น ...ftawatch.org/sites/default/files/documents/2018_cptpp_01.pdf ·

เกริ่นนำเกี่ยวกับ CPTPP

• CPTPP หรือ Comprehensive and progressive Trans-pacific partnership เป็น อภิมหา FTA อันใหม่ที่เกิดขึ้นโดยสมาชิกเดิมของ Trans-pacific partnership (TPP) 11 ประเทศ (ภายหลังที่สหรัฐฯ ถอนตัว ) พยายามนำเอาความตกลง TPP เดิมที่ทุ่มเทเจรจามาใช้ประโยชน์

• CPTPP มี 11 ประเทศประกอบด้วย ออสเตรเลีย บรูไน แคนาดา ชิลี ญี่ปุ่น มาเลเซีย เม็กซิโก นิวซีแลนด์ เปรู สิงค์โปร์ และเวียดนาม

• CPTPP ลงนามเมื่อวันที่ 8 มีนาคม 2561 ที่ Santiago ประเทศชิลี บางครั้งเรียกว่า TPP11

Page 3: วิเคราะห์ CPTPP หลังสหรัฐฯถอนตัว ประเทศไทยควรเข้า ร่วมเป็น ...ftawatch.org/sites/default/files/documents/2018_cptpp_01.pdf ·

คำโฆษณา(ชวนให้เชื่อ) เกี่ยวกับ CPTPP

• CPTPP เป็นอภิมหา FTA หรือ Mega FTA ที่ประเทศสมาชิกเป็นตลาดของประชากรกว่า 500 ล้านคนในปี 2559 การค้าระหว่างประเทศของประเทศสมาชิกมีมูลค่ามากกว่า 5 ล้านล้านเหรียญ สรอ.

• เนื้อหาการเจรจามีลักษณะเป็น High-Quality ที่ครอบคลุมหลายมิติที่จะกระตุ้นทั้งการค้าระหว่างประเทศและวางกติกาการค้าให้เป็นสากลในระยะยาว

• โอกาสที่ประเทศอื่นๆ (เกาหลีใต้ อินโดนิเซีย ฟิลิปปินส์ ไต้หวัน ไทย และอังกฤษ) จะเข้ามามีส่วนร่วมใน CPTPP ในอนาคตโดยเฉพาะสหรัฐฯ อาจเข้าร่วมในที่สุด

Page 4: วิเคราะห์ CPTPP หลังสหรัฐฯถอนตัว ประเทศไทยควรเข้า ร่วมเป็น ...ftawatch.org/sites/default/files/documents/2018_cptpp_01.pdf ·

ความแตกต่างของเนื้อหาการเจรจาระหว่าง CPTPP และ TPP

• ความแตกต่างสำคัญระหว่าง CPTPP และ TPP คือ ประเด็นล่อแหลมต่างๆ ที่สหรัฐฯ พยายามผลักดันใน TPP ออกจากความตกลง โดยเฉพาะประเด็นการผูกขาดข้อมูลยา (data exclusivity) และการขยายขอบเขตสินค้าที่จะมาจดสิทธิบัตรและระยะเวลาคุ้มครองสิทธิบัตรออกไปถูกชะลอ/ยกเลิกใน CPTPP

• ประเด็นอื่นๆ ที่ชะลอการบังคับใช้

กลไกระงับข้อพิพาทระหว่างรัฐและนักลงทุนเอกชน (Investor-state dispute settlement- ISDS)

บทที่เกี่ยวข้องกับการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ เป็นต้น

การขนส่งสินค้าเร่งด่วน (Article 5.7.1)

การผูกขาดในบริการด้านไปรษณีย์ และการอุดหนุนบริการจัดส่วนด่วนของตน

ประเด็น: พยายามจำกัดสิทธิของบริษัทเอกชนที่จะเข้ามาก้าวก่ายกิจการภายในประเทศสมาชิกในด้านต่างๆ

Page 5: วิเคราะห์ CPTPP หลังสหรัฐฯถอนตัว ประเทศไทยควรเข้า ร่วมเป็น ...ftawatch.org/sites/default/files/documents/2018_cptpp_01.pdf ·

ข้อผูกพันที่ยังมีใน CPTPP และน่าจะมีนัยต่อประเทศไทย

• ลดภาษีศุลกากรทันทีในสินค้าอุตสาหกรรม (แต่สินค้าเกษตรอาจมีระยะเวลาปรับตัวได้สำหรับสินค้าเกษตร)

• ห้ามมีมาตรการกีดกันสินค้า Remanufactured ในความหมายกว้างที่รวมไปถึงสินค้าซ่อมและเปลี่ยนแปลง (Repair & alternative)

• ข้อผูกพันในเรื่องการคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญาใน CPTPP แม้จะเอาประเด็นล่อแหลมใน TPP ออกแล้วก็ตามแต่ก็ยังเป็นเรื่องที่ผูกพันไปมากกว่าที่เราทำกับองค์กรการค้าโลก (World Trade Organization-WTO)

• ข้อผูกพันใน E-commerce, การจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ และ รัฐวิสาหกิจยังคงเหมือนเดิมที่มีใน TPP (Goodman, 2018)

Page 6: วิเคราะห์ CPTPP หลังสหรัฐฯถอนตัว ประเทศไทยควรเข้า ร่วมเป็น ...ftawatch.org/sites/default/files/documents/2018_cptpp_01.pdf ·

แม้ CPTPP ไม่มี US ทำให้ความสำคัญทางเศรษฐกิจลดลงไปมากก็ตาม แต่ไม่น่าจะส่งผลกระทบต่อประโยชน์ที่ประเทศไทยจะได้รับ

มิติทางด้านเศรษฐกิจ TPP CPTPP

ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ หรือ จีดีพี

38% 13.4%

จำนวนประชากรโลก 11% 6.7%

การส่งออกสินค้าและบริการ* 25% (24.6%) 14.5% (15.4%)

การนำเข้าสินค้าและบริการ* 28% (29.3%) 14.9% (14.9%)

หมายเหตุ: ข้อมูลปี 2016; * เฉพาะสินค้าไม่รวมบริการ

Page 7: วิเคราะห์ CPTPP หลังสหรัฐฯถอนตัว ประเทศไทยควรเข้า ร่วมเป็น ...ftawatch.org/sites/default/files/documents/2018_cptpp_01.pdf ·

FTA จะมีส่วนช่วยเปิดตลาดก็ต่อเมื่อสินค้านั้นมีภาษีศุลกากรที่สูงพอ และประเทศสมาชิกยอมเปิดเสรีเท่านั้น มิเช่นนั้น FTA อาจไม่มีผลในทางปฎิบัติแต่อย่างใด

Table 2

Average of US Tariff in 2012

Mean Min Max SD

All products 3.3 0 79.1 4.6

Processed foods (HS 03) 0.47 0 7.5 1.23

Clothing/Knitted wear (HS 61) 12.8 3.3 28.2 6.1

Clothing/Woven wear (HS 62) 10.1 1.4 24.7 4.8

Passenger CBU vehicles (HS8703) 2.5 2.5 2.5 0

Commercial CBU vehicles (HS8704) 19.9 0 25 9.6

Note: Extreme high tariff as a result of converging specific tariff to ad valorem is excluded. They

are 350 items, most of which are agricultural primary; there are 2006 items whose tariff rates are

zero; total items are 4,855 items.

Source: the Author’s compiled with WTO database. Source: Kohpaiboon and Jongwanich (2017)

Page 8: วิเคราะห์ CPTPP หลังสหรัฐฯถอนตัว ประเทศไทยควรเข้า ร่วมเป็น ...ftawatch.org/sites/default/files/documents/2018_cptpp_01.pdf ·

สิ่งที่คาดหวัง: ทำไมรัฐบาลอยากเข้าเป็นสมาชิก CPTPP

สิ่งที่คาดหวัง ข้อสังเกต

เปิดตลาดสินค้าและบริการประเทศสมาชิก CPTPP 7 จาก 11 ประเทศล้วนแล้วแต่เป็นประเทศที่มีการลงนาม FTA ไปแล้ว ดังนั้น CPTPP จึงเป็น FTA ใหม่บน FTA ที่มีอยู่แล้วที่ผ่านมา FTA ช่วยเปิดตลาดได้ไม่มากนักเพราะโดยเฉลี่ยเพียง 1 ใน 3 ของการส่งออกจากไทยไปประเทศสมาชิกที่มี FTA ที่ขอใช้สิทธิ (2006-16) (Jongwanich & Kohpaiboon, 2017) เพราะ FTA ไม่ได้ฟรีเหมือนชื่อ

กฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดที่เปิดโอกาสให้สร้าง Supply Chain ระหว่างประเทศสมาชิก

คงไม่ปฎิเสธว่า FTA อาจมีนัยต่อการตัดสินใจบ้างไม่มากก็น้อย แต่การสร้าง Supply Chain ไม่ใช่เรื่องแค่ต้นทุนระยะสั้นอย่างแต้มต่อภาษีเพียงปัจจัยเดียว

เข้าก่อนเพื่อมีอำนาจในการกำหนดกติกา คงเป็นเรื่องที่ยากที่สหรัฐฯ จะเข้าร่วม CPTPP และยอมรับกติกาใหม่ที่ข้อเรียกร้องต่างๆ ของสหรัฐฯ ถูกยกเลิก

Page 9: วิเคราะห์ CPTPP หลังสหรัฐฯถอนตัว ประเทศไทยควรเข้า ร่วมเป็น ...ftawatch.org/sites/default/files/documents/2018_cptpp_01.pdf ·

ประเทศไทยพร้อมกับข้อผูกพันที่ยังมีใน CPTPP หรือ?: (1) การเปิดตลาดของ CPTPP ไม่ใช่แค่เปิดคนอื่น แต่เราต้องเปิดให้คนอื่นๆ ด้วย พร้อมหรือไม่ ?

ออสเตรเลีย TAFTA; AANZFTA, RCEP

บรูไน AEC, AANZFTA, RCEP, AJFTA

แคนาดา

ชิลี

ญี่ปุ่น JTEPA,AJFTA,RCEP

มาเลเซีย AEC, AANZFTA, RCEP, AJFTA

เม็กซิโก

นิวซีแลนด์ TNZFTA, AANZFTA, RCEP

เปรู

สิงค์โปร์ AEC, AANZFTA, RCEP, AJFTA

เวียดนาม AEC, AANZFTA, RCEP, AJFTA

TAFTA = Thailand-Australia FTA; AANZFTA = ASEAN Australia New Zealand FTA; RCEP =Regional Comprehensive Economic Partnership; AEC = ASEAN Economic Community; ASEAN Japan FTA;

Page 10: วิเคราะห์ CPTPP หลังสหรัฐฯถอนตัว ประเทศไทยควรเข้า ร่วมเป็น ...ftawatch.org/sites/default/files/documents/2018_cptpp_01.pdf ·

CPTPP เป็นตลาดส่งออกคิดเป็นร้อยละ 30 การส่งออกรวมแต่ส่วนใหญ่เป็นตลาดที่ประเทศไทยได้ลงนาม FTA ไปแล้ว

ที่มา: คำนวณโดยผู้บรรยายใช้ฐานข้อมูล UNComtrade

0.00

0.20

0.40

0.60

0.80

1.00

1.20

1.40

1.60

0

5

10

15

20

25

30

35

2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559CPTPP สมาชิก CPTPP ที่ลงนาม FTA ก่อนหน้า แคนาดา (แกนขวา) ชิลี (แกนขวา) เม็กซิโก(แกนขวา) เปรู (แกนขวา)

Page 11: วิเคราะห์ CPTPP หลังสหรัฐฯถอนตัว ประเทศไทยควรเข้า ร่วมเป็น ...ftawatch.org/sites/default/files/documents/2018_cptpp_01.pdf ·

CPTPP ก็เป็นแหล่งนำเข้าคิดเป็นร้อยละ 30 ของการนำเข้ารวมแต่ส่วนใหญ่เป็นตลาดที่ประเทศไทยได้ลงนาม FTA ไปแล้ว

ที่มา: คำนวณโดยผู้บรรยายใช้ฐานข้อมูล UNComtrade

0.00.10.10.20.20.30.30.4

0

10

20

30

40

2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559

CPTPP สมาชิก CPTPP ที่ลงนาม FTA ก่อนหน้า

แคนาดา (แกนขวา) ชิลี (แกนขวา)

เม็กซิโก(แกนขวา) เปรู (แกนขวา)

Page 12: วิเคราะห์ CPTPP หลังสหรัฐฯถอนตัว ประเทศไทยควรเข้า ร่วมเป็น ...ftawatch.org/sites/default/files/documents/2018_cptpp_01.pdf ·

ผลประโยชน์จากการเปิดตลาดจากการลงนาม CPTPPน่าจะจำกัด

แคนาดา ชิลี เม็กซิโก เปรู

ค่าเฉลี่ยไม่ถ่วงน้ำหนัก

ทุกสินค้า 2.44 6.0 6.12 2.81

สินค้าอุตสาหกรรม (Manufactured Products) 2.62 6.0 5.81 2.89

สินค้าขั้นต้น (Primary Products) 1.65 6.0 9.07 1.76

ค่าเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก

ทุกสินค้า 0.85 5.9 4.36 1.8

สินค้าอุตสาหกรรม (Manufactured Products) 0.96 5.9 3.84 2.17

สินค้าขั้นต้น (Primary Products) 0.47 6.0 6.99 0.62

หมายเหตุ: ข้อมูลภาษีศุลกากรปี 2559 ยกเว้นเปรูที่เป็นปี 2558

ที่มา: World Development Indicator

Page 13: วิเคราะห์ CPTPP หลังสหรัฐฯถอนตัว ประเทศไทยควรเข้า ร่วมเป็น ...ftawatch.org/sites/default/files/documents/2018_cptpp_01.pdf ·
Page 14: วิเคราะห์ CPTPP หลังสหรัฐฯถอนตัว ประเทศไทยควรเข้า ร่วมเป็น ...ftawatch.org/sites/default/files/documents/2018_cptpp_01.pdf ·

การเป็น Supply Chain ในอุตสาหกรรมรถยนต์ของ Mexico ไม่มีความสัมพันธ์กับการลงนาม FTAs

• เขตการค้าเสรีกับปานามา (2014)

• เขตการค้าเสรีกับเปรู (2012)

• เขตการค้าเสรีกลุ่ม TLC Unique (คอสตาริกา เอวซัลวาดอร์ กัวเตมาลา ฮอนดูรัส และนิการากัว) (2011)

• เขตการค้าเสรีกับอุรุกวัย (2004)

• เขตการค้าเสรีกับประเทศ เอวซัลวาดอร์ กัวเตมาลา และฮอนดูรัส (2001)

• เขตการค้าเสรีกับอิสราเอล (2000)

• เขตการค้าเสรีกับสหภาพยุโรป (2000)

• เขตการค้าเสรีกับชิลี ( 1999)

• เขตการค้าเสรีกับนิการากัว (1998)

• เขตการค้าเสรีกับคอสตาริกา (1995)

• เขตการค้าเสรีกับโคลัมเบียและเวเนซูเอลาร์(1995) และ

ที่มา: รวบรวมจากเว็บไซด์ http://www.promexico.gob.mx/en/mx/tratados-comerciales โดยผู้เขียน

Page 15: วิเคราะห์ CPTPP หลังสหรัฐฯถอนตัว ประเทศไทยควรเข้า ร่วมเป็น ...ftawatch.org/sites/default/files/documents/2018_cptpp_01.pdf ·

ประเทศไทยพร้อมกับข้อผูกพันที่ยังมีใน CPTPP หรือ?: (2) เราพร้อมที่จะเปิดสินค้า Remanufactured หรือยัง

• สินค้า Remanufactured ที่กำลังผลักดันใน CPTPP ว่าต้องเปิด และเป็นการผลักดันในวงกว้างที่รวมไปถึงสินค้าซ่อมและเปลี่ยนแปลง (Repair & alternative)

• เรายังมีความเข้าใจผิดอย่างมาก (mind-set ในส่วนราชการ) ทั้งๆ ที่เรื่องนี้ได้กลายมาเป็นเครื่องมือหนึ่งในการรักษาสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสำหรับบางสินค้า

• สินค้า Remanufactured ปะปนอยู่แล้วในประเทศ

Page 16: วิเคราะห์ CPTPP หลังสหรัฐฯถอนตัว ประเทศไทยควรเข้า ร่วมเป็น ...ftawatch.org/sites/default/files/documents/2018_cptpp_01.pdf ·

ประเทศไทยพร้อมกับข้อผูกพันที่ยังมีใน CPTPP หรือ?: (3) เรามีท่าทีกับประเด็นอื่นๆ อย่างไร

• ในกลุ่มที่เชื่อใน FTA มองว่า CPTPP เป็น High-quality FTAs ที่มีส่วนช่วยกำหนดกติกาการค้าของโลกให้นำไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน

• ส่วนหนึ่งของความเชื่อดังกล่าว คือ FTA เหล่านี้ผลักดันให้มีการปฏิรูปกฎระเบียบที่ล้าสมัยและทำให้เกิดความไม่มีประสิทธิภาพ ดังนั้นการปฏิรูปที่ถูกกระตุ้นจากปัจจัยภายนอกจาก FTA จะมีส่วนช่วยเพิ่มประสิทธิภาพ

• ที่ผ่านมาเราไม่เคยมีการแสดงจุดยืนเรื่องนี้ว่าเรื่องใดที่เราต้องการปฏิรูปและในหลายๆ เรื่องสามารถดำเนินการได้โดยไม่ต้องอาศัยข้อผูกพันจาก FTA ที่อาจมีวัตถุประสงค์อื่นๆ แอบแฝงได้

• เรามีท่าทีในเรื่องเหล่านี้ E-commerce, การจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ และ รัฐวิสาหกิจอย่างไร เพราะเหตุใด

Page 17: วิเคราะห์ CPTPP หลังสหรัฐฯถอนตัว ประเทศไทยควรเข้า ร่วมเป็น ...ftawatch.org/sites/default/files/documents/2018_cptpp_01.pdf ·

การประเมินผลกระทบจากการลงนาม FTA จากแบบจำลองดุลยภาพทั่วไป และ GTAP

• เนื่องจากการลงนาม FTA ไม่จำเป็นต้องให้ประโยชน์สุทธิกับประเทศที่ลงนามเสมอไปเพราะเราเลือกลดภาษีศุลกากรให้กับประเทศหนึ่งหรือกลุ่มประเทศหนึ่งๆ ทำให้มีโอกาสที่เราอาจเลือกผิด (Trade Creation vs. Trade Diversion)

• ในทางทฤษฎีเราจึงต้องพิสูจน์ว่าการลงนาม FTA ให้ผลประโยชน์สุทธิต่อสวัสดิการสังคม โดยคำว่าสังคม ประกอบด้วยผู้ผลิต (ขายของได้มากขึ้นหรือไม่) ผู้บริโภค(ซื้อสินค้าในราคาที่ถูกลงหรือไม่) และรัฐบาล (ภาษีศุลกากรที่ไม่เก็บคืนไปตกอยู่กับใคร)

• ในทางปฎิบัตินักเศรษฐศาสตร์จึงพัฒนาแบบจำลองขึ้นมาเพื่อวัด และหนึ่งในแบบจำลองที่นิยมใช้กันในการประเมิน FTA คือ Global Trade Analysis Project (GTAP)

Page 18: วิเคราะห์ CPTPP หลังสหรัฐฯถอนตัว ประเทศไทยควรเข้า ร่วมเป็น ...ftawatch.org/sites/default/files/documents/2018_cptpp_01.pdf ·

142

Table 2 Real incomes in 2030

Country

2030 income (billions of

2015 dollars)

Change in billions of 2015 dollars Percent of income

TPP12 TPP11 TPP16US-Japan

FTA RCEP TPP12 TPP11 TPP16US-Japan

FTA RCEPAmericas 39,569 208 49 72 51 2 0.5 0.1 0.2 0.1 0.0Canada 2,717 37 22 29 –1 0 1.3 0.8 1.1 0.0 0.0

Chile 463 4 3 5 0 0 0.9 0.7 1.1 0.0 0.0

Colombia 684 0 0 0 0 0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0

Mexico 2,169 22 16 33 –1 0 1.0 0.7 1.5 0.0 0.0

Peru 442 11 10 11 0 0 2.6 2.2 2.5 0.0 0.0

United States 25,754 131 –2 –6 52 1 0.5 0.0 0.0 0.2 0.0

Latin America nie 7,341 3 0 –1 1 0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0

Asia 50,659 202 69 316 57 253 0.4 0.1 0.6 0.1 0.5Brunei 31 2 1 1 0 0 5.9 2.6 3.7 0.1 0.9

China 27,839 –18 –10 –53 –1 101 –0.1 0.0 –0.2 0.0 0.4

Hong Kong 461 6 1 1 1 2 1.2 0.2 0.3 0.3 0.4

India 5,487 –5 –4 –16 0 57 –0.1 –0.1 –0.3 0.0 1.0

Indonesia 2,192 –2 –1 18 0 1 –0.1 –0.1 0.8 0.0 0.0

Japan 4,924 125 46 98 60 56 2.5 0.9 2.0 1.2 1.1

Korea 2,243 –8 –3 84 –2 24 –0.3 –0.1 3.8 –0.1 1.1

Malaysia 675 52 21 36 0 6 7.6 3.1 5.4 0.0 0.9

Philippines 680 –1 0 13 0 1 –0.1 0.0 1.9 0.0 0.2

Singapore 485 19 13 19 0 2 3.9 2.7 3.8 0.0 0.4

Taiwan 776 1 0 60 0 –3 0.2 0.0 7.8 0.0 –0.4

Thailand 812 –7 –5 30 –1 3 –0.8 –0.6 3.6 –0.1 0.3

Vietnam 497 41 11 25 0 2 8.1 2.2 5.1 0.0 0.5

ASEAN nie 283 –1 0 0 0 1 –0.4 0.0 –0.1 0.0 0.2

Asia nie 3,272 0 0 –1 0 0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0

Oceania 2,854 21 15 22 0 7 0.7 0.5 0.8 0.0 0.2Australia 2,590 15 12 17 0 5 0.6 0.5 0.7 0.0 0.2

New Zealand 264 6 3 5 0 2 2.2 1.1 2.0 0.0 0.6

(table continues)

Source: Petri et al.(2017).

Page 19: วิเคราะห์ CPTPP หลังสหรัฐฯถอนตัว ประเทศไทยควรเข้า ร่วมเป็น ...ftawatch.org/sites/default/files/documents/2018_cptpp_01.pdf ·

ข้อพึงระวังการใช้ผลของ GTAP

• ผลการวิเคราะห์ GTAP ตั้งอยู่บนสมมติฐานหลายๆ ประการที่อาจไม่สอดคล้องกับความเป็นจริง อาทิ

• ทุกประเทศลดภาษีศุลกากรทั้งหมดโดยปราศจากเงื่อนไข

• กฎว่าด้วยถิ่นกำเนิดไม่เป็นอุปสรรคทางการค้า

• ปัจจัยหลักที่กำหนดว่าประเทศหนึ่งจะซื้อสินค้าจากประเทศใด คือ ราคา

• การค้าระหว่างประเทศสมาชิกทุกๆ บาท/ดอลลาร์ขอใช้สิทธิ FTA

• การวิเคราะห์ไม่สามารถครอบคลุมหัวข้อการเจรจาอื่นๆ ที่ไม่ใช่การเปิดตลาดสินค้าเพียงอย่างเดียว

• ดังนั้นคงไม่ใช่เรื่องแปลกที่เราพบว่าผลการวิเคราะห์ GTAP ไม่เคยแนะนำว่าไม่ควรลงนาม FTA โดยเฉพาะอย่างยิ่งการวัดสวัสดิการสังคมจากอภิมหา FTA อย่าง CPTPP จะเป็นผลบวกเพราะยิ่งมีประเทศมากเท่าไหร่ โอกาสที่เลือกผิดก็น้อย

Page 20: วิเคราะห์ CPTPP หลังสหรัฐฯถอนตัว ประเทศไทยควรเข้า ร่วมเป็น ...ftawatch.org/sites/default/files/documents/2018_cptpp_01.pdf ·

• เราคงปฎิเสธไม่ได้ว่าผลการวิเคราะห์ GTAP คงมีประโยชน์บ้าง แต่มันเป็นเรื่องยากที่จะเอาผลบวกทางด้านสวัสดิการสังคมจากการวิเคราะห์ GTAP มาเป็นเครื่องชี้ชัดว่าต้องลงนาม FTA เพราะข้อสมมติที่กล่าวข้างต้นแทบจะไม่มีหลักฐานเชิงประจักษ์สนับสนุน

Page 21: วิเคราะห์ CPTPP หลังสหรัฐฯถอนตัว ประเทศไทยควรเข้า ร่วมเป็น ...ftawatch.org/sites/default/files/documents/2018_cptpp_01.pdf ·

สรุป: ประเทศไทยควรเข้าร่วมเป็นภาคีของ CPTPP หรือไม่?

• แม้วันนี้ความล่อแหลมต่างๆ ที่เคยมีใน CPTPP จะลดลงมากกว่าเมื่อเทียบกับ TPP แต่ประโยชน์ที่ประเทศไทยจะได้รับเพิ่มจากการเข้าเป็นภาคียังค่อนข้างจำกัดไม่ว่าจะเป็นการเปิดตลาดของประเทศสมาชิก และนัยต่อห่วงโซ่อุปทาน

• เราต้องเตรียมตัวจ่ายตั๋วเข้าเป็นภาคี (มันไม่ได้ฟรีอย่างที่คิด)

ลดภาษีศุลกากรสำหรับสินค้าอุตสาหกรรมทันที

ท่าทีต่อสินค้า Remanufactured รวมไปถึง Repair and Alternatives

ท่าทีในเรื่องเหล่านี้ E-commerce, การจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ และ รัฐวิสาหกิจเป็นอย่างไร

Page 22: วิเคราะห์ CPTPP หลังสหรัฐฯถอนตัว ประเทศไทยควรเข้า ร่วมเป็น ...ftawatch.org/sites/default/files/documents/2018_cptpp_01.pdf ·

โจทย์ความท้าทายหากไทยต้องการเข้า คือ เราใช้ประโยชน์จาก CPTPP อย่างไร?

• เราจะถือโอกาสปฏิรูปภาษีศุลกากรที่เราไม่ได้ทำอะไรอย่างเป็นรูปธรรมตั้งแต่ปี 2543 เป็นต้นมา แต่การปฏิรูปต้องทำค่อนข้างเร็ว

• ท่าทีต่อสินค้า Remanufactured รวมไปถึง Repair and Alternatives โดยเฉพาะเครื่องมือแพทย์ ชิ้นส่วนยานยนต์และอากาศยานขนาดใหญ่ และผลิตภัณฑ์อิเล็กทรอนิกส์

• ท่าทีในเรื่องเหล่านี้ E-commerce, การจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ และ รัฐวิสาหกิจเราจะนำเอาความตกลงเหล่านี้มาปรับปรุงกฎระเบียบภายในประเทศและนำมาสู่การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตโดยรวมของเศรษฐกิจ

เรื่องเหล่านี้ยังไม่มีฉันทามติระหว่างหน่วยงานภาครัฐด้วยกันเอง

Page 23: วิเคราะห์ CPTPP หลังสหรัฐฯถอนตัว ประเทศไทยควรเข้า ร่วมเป็น ...ftawatch.org/sites/default/files/documents/2018_cptpp_01.pdf ·

• เรื่องเหล่านี้ต้องตอบก่อนที่จะเข้าไปเป็นภาคี และเตรียมวางแผนที่ดำเนินการควบคู่ไปกับความอยากเป็นภาคีมากกว่าการวิเคราะห์แบบจำลอง GTAP

• ที่ผ่านมาเราไม่เคยมีการกำหนดเป้าหมายของการเข้าเป็นภาคี FTA นอกเหนือจากการเปิดตลาดประเทศคู่แข่ง

• การรีบเร่งการเข้าร่วมเป็นภาคี CPTPP เพื่อให้มีบทบาทในการกำหนดเนื้อหาก่อนที่สหรัฐฯ จะกลับเข้ามาเป็นสมาชิก CPTPP ไม่น่าจะเป็นเรื่องที่สมเหตุสมผล

• พัฒนาการของ CPTPP ที่ถอนเรื่องต่างๆ ที่ล่อแหลมใน TPP ออกสะท้อนให้เห็นถึงมิติการเมืองระหว่างประเทศใน TPP (ยอมทั้งๆ ที่ไม่เต็มใจ)

Page 24: วิเคราะห์ CPTPP หลังสหรัฐฯถอนตัว ประเทศไทยควรเข้า ร่วมเป็น ...ftawatch.org/sites/default/files/documents/2018_cptpp_01.pdf ·

เอกสารอ้างอิง

• Goodman, M., (2018), ‘From TPP to CPTPP’, Center for Strategic & international Studies March 8. Available at https://www.csis.org/analysis/tpp-cptpp

• Jongwanich, J. and A. Kohpaiboon (2017), ‘Exporter Responses to FTA Tariff Preferences: Evidence from Thailand, Asian Pacific Economic Literature,31(1): 21-38

• Kohpaiboon, A. and J. Jongwanich (2017), ‘Should Thailand Join the TPP?’ Economics Working Paper ISEAS Yusof Ishak Institute, No. 9. Singapore.

• Petri, P., M. Plummer, S. Urata and F. Zhai (2017), ‘Going It Alone in the Asia-Pacific: Regional Trade Agreements Without the United States’, Working Paper No. 17-10, Peterson Institute for International Economics, Washington.