าใตน ้า โครงการkmcenter.rid.go.th/kcsurvey/pdf/maud4/4.5_7.pdf ·...

10
สำนักสำรวจด้ำนวิศวกรรมและธรณีวิทยำ โครงกำร ๑ หน่วยงำน ๑ องค์ควำมรูโครงกำร/งำน การตรวจสภาพม่านปูนทึบน้าที่เป็นปัจจุบัน ด้วยวิธีวัดค่าความต้านทานไฟฟ้าใต้น้า โครงการ ประตูระบายน้าคลองลัดโพธิ์ อันเนื่องมาจากพระราชด้าริ ต.ทรงคะนอง อ.พระประแดง จ.สมุทรปราการ หน่วยงำน ส่วนธรณีวิทยา ส้านักส้ารวจด้านวิศวกรรมและธรณีวิทยา รำยชื่อผู้ร่วมงำน ๑. นายนพดล ภูมิวิเศษ ผู้อ้านวยการส่วนธรณีวิทยา ส้านักส้ารวจด้านวิศวกรรมและธรณีวิทยา กรมชลประทาน 2. นายวิเชียร อินต๊ะเสน ผู้อ้านวยการส่วนธรณีวิทยาทางทะเล ส้านักเทคโนโลยีธรณี กรมทรัพยากรธรณี ๑. หลักกำรและเหตุผล ที่พืนคลอง และผนังก้าแพงช่องลัด โครงการประตูระบายน้าคลองลัดโพธิ์ อันเนื่องมาจาก พระราชด้าริ ต.ทรงคะนอง อ.พระประแดง จ.สมุทรปราการ ได้ท้าการสร้างม่านทึบน้าไว้รับน้าหนักแนวดิ่งและ ป้องกันการแทรกตัวของฐานรากดินอ่อนเข้ามาในช่องลัดด้านข้าง ม่านฯถูกออกแบบให้มีการเหลื่อมกันของแท่ง ปูนผสมดิน ( soil-cement column) ทังมิติด้านข้างและด้านลึก วัสดุฐานราก Soil cement มีค่าความ ต้านทานไฟฟ้าสูง เนื่องจากองค์ประกอบสารผสมดินและปูนซีเมนต์ ( deep cement mixing, DCM) แตกตัวให้ อนุมูลอิสระประเภทคาร์บอเนตในปริมาณน้อย ท้าให้มีความน้าไฟฟ้าต่้ากว่าฐานรากดินเดิมรอบข้าง ซึ่งมีสภาวะ แวดล้อมการสะสมตะกอนแบบดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้า ( Deltaic sedimentation) ดินในพืนที่นี มีวัสดุ อินทรีย์ปะปนมาก ประกอบกับน้าที่แทรกตัวในเม็ดดินเป็นน้าเค็มและน้ากร่อย มีอนุมูลโซเดียม และคลอไรด์สูง ท้าให้สภาพการน้าไฟฟ้าสูงกว่าม่านปูนทึบน้า คุณสมบัติทางไฟฟ้าที่แตกต่างกันชัดเจนนี น้าไปสู่แนวคิดการ ตรวจสภาพม่านปูนทึบน้าที่เป็นปัจจุบัน ด้วยวิธีวัดค่าความต้านทานไฟฟ้า ในอดีต การวัดค่าความต้านทานไฟฟ้านัน มีข้อจ้ากัดในบริเวณที่ชันหน้าดินมีค่าการน้าไฟฟ้าสูง (conductive overburden) ชืนแฉะ หรือจมน้า ส่วนใหญ่จึงส้ารวจบนพืนผิวบนบกเท่านัแต่ปัจจุบันนี ได้มี เครื่องมือส้ารวจด้านไฟฟ้าชนิดพิเศษ สามารถด้าเนินการส้ารวจใต้ผิวน้าไดจึงมีแนวคิดที่จะน้าเครื่องมือดังกล่าว มาทดลองตรวจสภาพพืนผิวคลองซึ่งมีรูปร่างที่ผิดลักษณะไปจากเดิม เนื่องจากผ่านการใช้งานมา 8 ปี และถูก กระทบกระเทือนอย่างหนักในช่วงการระบายน้าสู้วิกฤติมหาอุทกภัย ในปี พ.ศ.2554 ดังนันเมื่อวันที่ 1 ถึง 3 กรกฎาคม 2556 จึงมีการทดลองวิจัยร่วมกันระหว่าง ส่วนธรณีวิทยา ส้านักส้ารวจด้านวิศวกรรมและธรณีวิทยา กรมชลประทาน และส่วนธรณีวิทยาทางทะเล กรมทรัพยากรธรณี โดยท้าการทดลองตรวจสภาพพืนคลองตามแนว DCM ว่ายังคงสภาพ มิติและรูปทรง ดังที่ได้ออกแบบก่อสร้างไว้ หรือไม่ นับเป็นการส้ารวจด้านไฟฟ้าใต้ผิวน้าครังแรกของกรมชลประทาน และกรมทรัพยากรธรณี ที่ต้องวาง เครื่องส่ง/รับกระแสไฟฟ้า แนบไปกับพืนผิวคลอง ใต้ผิวน้า หากการทดลองประสบผลส้าเร็จและสามารถแสดง รูปทรง DCM ได้ชัดเจนแล้ว ก็จะสามารถใช้ภาพตัดผลส้ารวจ ในการช่วยออกแบบปรับปรุงแก้ไขป้องกัน รวมถึง การวางแผนบ้ารุงรักษา อาคารและช่องลัดต่อไปในอนาคต

Upload: others

Post on 29-Dec-2019

2 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: าใตน ้า โครงการkmcenter.rid.go.th/kcsurvey/pdf/Maud4/4.5_7.pdf · รวมรวบ วิเคราะห์ ประมวลผล และแปลความหมายขอมูลทาง

ส ำนักส ำรวจด้ำนวิศวกรรมและธรณีวิทยำ โครงกำร ๑ หน่วยงำน ๑ องค์ควำมรู้

โครงกำร/งำน การตรวจสภาพม่านปูนทึบน ้าที่เป็นปัจจุบัน ด้วยวิธีวัดค่าความต้านทานไฟฟ้าใต้น ้า โครงการประตูระบายน ้าคลองลัดโพธิ์ อันเนื่องมาจากพระราชด้าริ ต.ทรงคะนอง อ.พระประแดง จ.สมุทรปราการ หน่วยงำน ส่วนธรณีวิทยา ส้านักส้ารวจด้านวิศวกรรมและธรณีวิทยา รำยช่ือผู้ร่วมงำน

๑. นายนพดล ภูมิวิเศษ ผู้อ้านวยการส่วนธรณีวิทยา ส้านักส้ารวจด้านวิศวกรรมและธรณีวิทยา กรมชลประทาน 2. นายวิเชียร อินต๊ะเสน ผู้อ้านวยการส่วนธรณีวิทยาทางทะเล ส้านักเทคโนโลยีธรณี กรมทรัพยากรธรณี

๑. หลักกำรและเหตุผล ที่พื นคลอง และผนังก้าแพงช่องลัด โครงการประตูระบายน ้าคลองลัดโพธิ์ อันเนื่องมาจากพระราชด้าริ ต.ทรงคะนอง อ.พระประแดง จ.สมุทรปราการ ได้ท้าการสร้างม่านทึบน ้าไว้รับน ้าหนักแนวดิ่งและป้องกันการแทรกตวัของฐานรากดินอ่อนเข้ามาในช่องลัดด้านข้าง ม่านฯถูกออกแบบให้มีการเหลื่อมกันของแท่งปูนผสมดิน (soil-cement column) ทั งมิติด้านข้างและด้านลึก วัสดุฐานราก Soil cement มีค่าความต้านทานไฟฟ้าสูง เนื่องจากองค์ประกอบสารผสมดินและปูนซีเมนต์ (deep cement mixing, DCM) แตกตัวให้อนุมูลอิสระประเภทคาร์บอเนตในปริมาณน้อย ท้าให้มีความน้าไฟฟ้าต่้ากว่าฐานรากดินเดิมรอบข้าง ซึ่งมีสภาวะแวดล้อมการสะสมตะกอนแบบดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น ้า (Deltaic sedimentation) ดินในพื นที่นี มีวัสดุอินทรีย์ปะปนมาก ประกอบกับน ้าที่แทรกตัวในเม็ดดินเป็นน ้าเค็มและน ้ากร่อย มีอนุมูลโซเดียม และคลอไรด์สูง ท้าให้สภาพการน้าไฟฟ้าสูงกว่าม่านปูนทึบน ้า คุณสมบัติทางไฟฟ้าที่แตกต่างกันชัดเจนนี น้าไปสู่แนวคิดการตรวจสภาพม่านปูนทึบน ้าที่เป็นปัจจุบัน ด้วยวิธีวัดค่าความต้านทานไฟฟ้า ในอดีต การวัดค่าความต้านทานไฟฟ้านั น มีข้อจ้ากัดในบริเวณที่ชั นหน้าดินมีค่าการน้าไฟฟ้าสูง (conductive overburden) ชื นแฉะ หรือจมน ้า ส่วนใหญ่จึงส้ารวจบนพื นผิวบนบกเท่านั น แต่ปัจจุบันนี ได้มีเครื่องมือส้ารวจด้านไฟฟ้าชนิดพิเศษ สามารถด้าเนินการส้ารวจใต้ผิวน ้าได้ จึงมีแนวคิดที่จะน้าเครื่องมือดังกล่าวมาทดลองตรวจสภาพพื นผิวคลองซึ่งมีรูปร่างที่ผิดลักษณะไปจากเดิม เนื่องจากผ่านการใช้งานมา 8 ปี และถูกกระทบกระเทือนอย่างหนักในช่วงการระบายน ้าสู้วิกฤติมหาอุทกภัย ในปี พ.ศ.2554 ดังนั นเมื่อวันที่ 1 ถึง 3 กรกฎาคม 2556 จึงมีการทดลองวิจัยร่วมกันระหว่าง ส่วนธรณีวิทยา ส้านักส้ารวจด้านวิศวกรรมและธรณีวิทยา กรมชลประทาน และส่วนธรณีวิทยาทางทะเล กรมทรัพยากรธรณี โดยท้าการทดลองตรวจสภาพพื นคลองตามแนว DCM ว่ายังคงสภาพ มิติและรูปทรง ดังที่ได้ออกแบบก่อสร้างไว้หรือไม่ นับเป็นการส้ารวจด้านไฟฟ้าใต้ผิวน ้าครั งแรกของกรมชลประทาน และกรมทรัพยากรธรณี ที่ต้องวางเครื่องส่ง/รับกระแสไฟฟ้า แนบไปกับพื นผิวคลอง ใต้ผิวน ้า หากการทดลองประสบผลส้าเร็จและสามารถแสดงรูปทรง DCM ได้ชัดเจนแล้ว ก็จะสามารถใช้ภาพตัดผลส้ารวจ ในการช่วยออกแบบปรับปรุงแก้ไขป้องกัน รวมถึงการวางแผนบ้ารุงรักษา อาคารและช่องลัดต่อไปในอนาคต

Page 2: าใตน ้า โครงการkmcenter.rid.go.th/kcsurvey/pdf/Maud4/4.5_7.pdf · รวมรวบ วิเคราะห์ ประมวลผล และแปลความหมายขอมูลทาง

๒. วัตถุประสงค์ ๑. ทดลองส้ารวจวัดค่าความต้านทานไฟฟ้าบนผิวคลอง ใต้ผิวน ้า 2. ท้าภาพตัดค่าความต้านทานไฟฟ้าปรากฏ ตามแนว Designed deep cement mixing, DCM 3. วิเคราะห์มิติ รูปทรง ของม่านปูนทึบน ้า DCM ๓. พื้นที่ด ำเนินกำร

โครงการประตูระบายน ้าคลองลัดโพธิ์ อันเนื่องมาจากพระราชด้าริ ต.ทรงคะนอง อ.พระประแดง จ.สมุทรปราการ ด้าเนินการส้ารวจท้าภาพตัดทางความต้านทานไฟฟ้า (resistivity imaging) ด้วยเทคนิค Schlumberger / Wenner / Dipole-Dipole จ้านวน 7 แนว ดังนี

1. แนว EW-1 ส้ารวจใต้น ้า หัวคลอง เหนือ ปตร. ฝั่งตะวันออก ความยาว 81 เมตร 2. แนว EW-2 ส้ารวจใต้น ้า หัวคลอง ท้าย ปตร. ฝั่งตะวันออก ความยาว 135 เมตร 3. แนว EW-3 ส้ารวจใต้น ้า ท้ายคลอง ท้าย ปตร. ฝั่งตะวันออก ความยาว 135 เมตร 4. แนว EB-4 ส้ารวจบนบก หัวคลอง ท้าย ปตร. ฝั่งตะวันออก ความยาว 135 เมตร 5. แนว WW-1 ส้ารวจใต้น ้า หัวคลอง เหนือ ปตร. ฝั่งตะวันตก ความยาว 81 เมตร 6. แนว WW-2 ส้ารวจใต้น ้า ท้าย ปตร. ฝั่งตะวันตก ความยาว 135 เมตร 7. แนว WB-4 ส้ารวจบนบก ท้าย ปตร. ฝั่งตะวันตก ความยาว 135 เมตร

๔. ระยะเวลำด ำเนินกำร งานสนามตั งแตว่ันที่ 1 ถึง 3 กรกฎาคม ปี ๒๕๕3 น้าเสนอผลส้ารวจวันที่ 15 กรกฎาคม 2556 ณ ห้องประชุมส้านักชลประทานที่ 11 ๕. วิธีกำรด ำเนินกำร ๑. วางแผนการส้ารวจ วางแนวส้ารวจ ประชุมคณะท้างานสนามร่วมกับทีมนักประดาน ้า ๒. ก้าหนดจุดหัวแนวส้ารวจ ก้าหนดต้าแหน่งสนาม ๓. หย่อนถุงทรายลงสู่ใต้น ้าตามต้าแหน่ง หย่อนสายเคเบิ ลพิเศษลงไป ๔. ทีมงานนักประดาน ้าลงสู่ใต้น ้า จัดวางขั วรับ/ส่งไฟฟ้าตามต้าแหน่งที่ออกแบบไว้ทุกขั ว แล้วขึ นบก ๕. อัพโหลดไฟล์รูปแบบการเก็บข้อมูลเข้าสู่เครื่องวัด

๖. ส่งกระแส และวัดค่า ตามค้าสั่งที่ก้าหนดไว้ในไฟล์รูปแบบ บันทึก Digital data ลง Hard disk 7. เมื่อวัดค่าเสร็จ ปลดสาย ดาวน์โหลดข้อมูลสู่คอมพิวเตอร์โน๊ตบุ๊คสนาม 8. ท้าการประมวลผลอย่างง่ายในภาคสนาม เพ่ือตรวจสอบคุณภาพค่าท่ีวัดได ้9. น้าข้อมูลไปประมวลผลต่อในส้านักงานโดยเทคนิคขั นสูง วิเคราะห์ ประมวลผล และแปลความหมาย

และจัดท้ารายงานวิชาการ 10. น้าเสนอผลต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

๖.ขั้นตอนกำรปฏิบัติงำน/ด ำเนินกำร ๑. ศึกษา รวบรวม และจัดเตรียมข้อมูลเบื องต้นของโครงการ จัดท้าเอกสาร ติดต่อประสานงานระหว่างกรม ๒. วางแผนการด้าเนินการส้ารวจธรณีฟิสิกส์ ค้านวณปริมาณงาน ค้านวณราคางาน และค้านวณระยะเวลาที่ใช้ในการด้าเนินการ ๓. จัดเตรียมอุปกรณ์เครื่องมือ-เครือ่งใช้ที่ในการส้ารวจให้เหมาะสม ๔. ติดต่อประสานงานกับโครงการชลประทานสมุทรปราการ ในพื นที่ศึกษา ติดต่อทีมนักประดาน ้า

Page 3: าใตน ้า โครงการkmcenter.rid.go.th/kcsurvey/pdf/Maud4/4.5_7.pdf · รวมรวบ วิเคราะห์ ประมวลผล และแปลความหมายขอมูลทาง

๕. ปฏิบัติงานส้ารวจธรณีฟิสิกส์ จัดเก็บข้อมูลตามแผนงานที่ก้าหนด ๖. รวมรวบ วิเคราะห์ ประมวลผล และแปลความหมายข้อมูลทางธรณีฟิสิกส์ และจัดท้ารายงานให้แก่

หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ๗.เทคนิคหรือกลยุทธ์ที่ท ำให้เกิดควำมส ำเร็จ ๑. รูปแบบวิธีการส้ารวจทางธรณีฟิสิกส์แบบ Resistivity imaging ใต้น ้า 2. เครื่องมือส่ง/รับ/วัดค่าไฟฟ้าที่มีประสิทธิภาพสูง และพารามิเตอร์งานสนามที่เลือกอย่างเหมาะสม 3. สายเคเบิ ลพิเศษท่ีสามารถส่งไฟลงใต้พื นผิวดินอย่างมีประสิทธิภาพ โดยไม่รั่วสู่น ้ารอบข้าง 4. ความแม่นย้าในการก้าหนดต้าแหน่งสนาม และประสิทธิภาพการปฏิบัติงานใต้น ้าของนักประดาน ้า 5. การสามารถควบคุมบาน ปตร. ที่มีประสิทธิภาพ ท้าให้น ้าในช่องลัดอยู่ในสภาพนิ่ง 6. ความเชี่ยวชาญ ของผู้ท้าการวิเคราะห์ ประมวลผล และแปลความหมายข้อมูล ๘. องค์ประกอบของควำมส ำเร็จในกำรด ำเนินกำร ๑. โอกาสและการสนับสนุนงบประมาณจากผู้บริหารกรมชลประทาน ให้ทดลองท้าการวิจัย 2. ความร่วมมือระหว่างกรมทรัพยากรธรณีและกรมชลประทาน 3. สายสัมพันธ์พิเศษส่วนบุคคล ของเจ้าหน้าที่กรมชลประทานและเจ้าหน้าทีก่รมทรัพยากรธรณี 4. ความพร้อมของเครื่องมือส้ารวจที่ทันสมัย ประสิทธิภาพสูง เหมาะสมกับลักษณะงาน 5. การท้างานเป็นทีม ความเป็นมืออาชีพ และความสามัคคีของคณะส้ารวจ 6. ความเชี่ยวชาญ และองค์ความรู้ ของคณะผู้ส้ารวจ/ประมวลผล และแปลความหมาย 7. การอ้านวยการทุกด้านทีม่ีประสิทธิภาพของ ผู้อ้านวยการโครงการชลประทานสมุทรปราการ หัวหน้าฝ่ายบริหารจัดการด้านปลอดภัยเขื่อน หัวหน้ากลุ่มปฐพีและธรณีวิทยา ส้านักชลประทานที่ 11 การสนับสนุนเรือล้าเลียงเล็กของส้านักวิจัยและพัฒนา เจ้าหน้าที่ภาคสนามกรมทรัพยากรธรณี และเจ้าหน้าที่ภาคสนามสังกัด ผอ.คป. สมุทรปราการ ทุกคน ๙. ผลลัทธ์ที่เกิดขึ้น 1. การส้ารวจวัดค่าทางไฟฟ้า พื นผิวคลอง ใต้น ้า ประสบผลส้าเร็จดี ภาพตัดผลส้ารวจด้านไฟฟ้า มีคุณภาพดี แยกค่าสูง/ต่้าทางไฟฟ้า และบริเวณท่ีผิดปกติได้ชัดเจน 2. ภาพตัด 2 มิติ ทางไฟฟ้า แสดงรูปทรงและมิตมิ่าน DCM ทีเ่ป็นปัจจุบันได้ชัดเจน 3. ม่าน DCM ปัจจุบัน ทีเ่ป็นปัจจุบัน มีรูปทรงและมิติ เปลี่ยนไปจากท่ีได้ออกแบบไว้มาก ๑๐. ประโยชน์ที่ได้รับ หรือกำรน ำไปใช้งำน ใช้เป็นข้อมูลพื นฐานในการออกแบบซ่อมแซม ปรับปรุง และบ้ารุงรักษา ผนังและพื นคลองในช่องลัด

Page 4: าใตน ้า โครงการkmcenter.rid.go.th/kcsurvey/pdf/Maud4/4.5_7.pdf · รวมรวบ วิเคราะห์ ประมวลผล และแปลความหมายขอมูลทาง

แนวส้ารวจธรณีฟิสิกส์ สีขาวท้าการส้ารวจใต้น ้า รูปแบบ ที่ออกแบบให้เครื่องท้าการวัดค่าใต้พื นผิว อุปกรณ์พิเศษ รับ-ส่ง กระแสไฟฟ้าใต้น ้า ทีมประดาน ้าล้าเลียงสายเคเบิ ลพิเศษลงน ้า เครื่องวัดความต้านทานไฟฟ้า โดยกรมทรัพยากรธรณี การประมวลผล ด้าเนินการทันทีในภาคสนาม

Page 5: าใตน ้า โครงการkmcenter.rid.go.th/kcsurvey/pdf/Maud4/4.5_7.pdf · รวมรวบ วิเคราะห์ ประมวลผล และแปลความหมายขอมูลทาง

การจัดท้าภาพตัด 2 มิติ ประมวลผลโดยวิธี Inversion modeling ใช้คณิตศาสตร์ Finite element ภาพตัด 2 มิติ ผนังช่องลัดด้านตะวันออก เส้นสีแดงคือขอบล่างของ DCM ภาพ 3 จากซ้ายท้าบนบก ภาพตัด 2 มิติ ผนังช่องลัดด้านตะวันตก เส้นสีแดงคือขอบล่างของ DCM ภาพ 3 จากซ้ายท้าบนบก

Page 6: าใตน ้า โครงการkmcenter.rid.go.th/kcsurvey/pdf/Maud4/4.5_7.pdf · รวมรวบ วิเคราะห์ ประมวลผล และแปลความหมายขอมูลทาง

โครงการ 1 หน่วยงาน 1 องค์ความรู้ ส านักส ารวจด้านวิศวกรรมและธรณีวิทยา

ที ่ โครงการ/งาน ชื่อผู้ร่วมงาน ส่วนฯ 1 ส ารวจและจัดท าข้อมูลภูมิประเทศเชิงเลขรายละเอียดและความถูกต้องสูง

ด้วยระบบไลด้าร์ เพ่ือบริหารจัดการน้ าพื้นที่ลุ่มน้ ายมตอนบน 1. นายประสิทธิ์ พันธ์บุญเกิด . 2. นายสุพัฒน์ อัครภูศักดิ์ 3. นายขจร ใบพลูทอง 4. นายณัฐพล โพธิ์คลี ่ 5. นายธวชั นามแดง 6. นายชาตร ี ชาลีเครือ 7. นางกมลทิพย์ เงินแพทย์

ส่วนวิศวกรรม

2 การตรวจสภาพม่านปูนทึบน้ าที่เป็นปัจจุบัน ด้วยวิธีวัดค่าความต้านทานไฟฟ้าใต้น้ า โครงการประตูระบายน้ าคลองลัดโพธิ์ อันเนื่องมาจากพระราชด าริ ต.ทรงคะนอง อ.พระประแดง จ.สมุทรปราการ

นายนพดล ภูมิวิเศษ นายวิเชียร อินต๊ะเสน

ส่วนธรณีวิทยา ส านักส ารวจด้านวิศวกรรมและธรณีวิทยา กรมชลประทาน ส่วนธรณีวิทยาทางทะเล ส านักเทคโนโลยีธรณี กรมทรัพยากรธรณี

3 การประยุกต์ใช้การส ารวจธรณีฟิสิกส์ชนิดวัดค่าความต้านทานไฟฟ้าและวัดค่าความเร็วคลื่นไหวสะเทือนแบบคลื่นหักเห เพ่ือวิเคราะห์หาขอบเขตของการรั่วซึมของน้ าในท านบดิน โครงการอ่างเก็บน้ าห้วยใหญ่ อ.เมือง จ.เพชรบูรณ์

๑. นายนพดล ภูมิวิเศษ ๒. นางสาวอัญชลี คงสุข ๓. นายวิรัญ สามทองกล่ า ๔. นางสาวเบญจมาศ สวัสดพิงษ์ ๕. นายถิรวุฒิ ณ ล าปาง ๖. นางดาริกา พ่วงเขียว

ส่วนธรณีวิทยา

Page 7: าใตน ้า โครงการkmcenter.rid.go.th/kcsurvey/pdf/Maud4/4.5_7.pdf · รวมรวบ วิเคราะห์ ประมวลผล และแปลความหมายขอมูลทาง

4 โครงการติดตั้ง Staff Gauge ประกอบงาน CCTV 1. นายสมเดช สุขสวสัดิ์ 2. นายภูริพัฒน์ ช่วยความด ี 3. นายดนัย ดาวรัตน ์ 4. นายยุทธศักดิ์ วงษ์เฉลิม

ส่วนส ารวจท าแผนที่ภาคพ้ืนดิน

5 โครงการจัดท าระบบบริหารจัดการข้อมูลแผนที่ส ารวจกันเขต-ซ่อมเขตชลประทานด้วยระบบสารสนเทศ

1. นายสาธร บุญเจริญ 2. นายวินัย สุ่มเจริญ 3. นายวริษฐ์ ทองจุไร 4. นางสมศรี สุดสายบัว 5. นางสาวรุ่งฤดี หนูรักษ์

ส่วนส ารวจกันเขตและประสานงานรังวัด

5 การศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการเขื่อนใต้ดินพื้นที่เกาะพะงัน จังหวัดสุราษฎร์ธานี Pre-feasibility Study of the Underground Dam Project Kho Pangan Area, Changwat Surat Thanee

๑.นายกัมปนาท ขวัญศิริกุล ๒.นายปกรณ์ เพชระบูรณิน ๓.นายอุทัย หงษ์ใจสี

ส่วนวิศวกรรมธรณี

6 ผลกระทบของเหตุการณ์แผ่นดินไหวต่อเขื่อนของกรมชลประทาน ๑.นายอุทัย หงษ์ใจสี ๒.นายปกรณ์ เพชระบูรณิน ๓.นายกัมปนาท ขวัญศิริกุล 4. นางสาวสุธาสิน ี เปรมทอง

ส่วนวิศวกรรมธรณี

7 การวิเคราะห์ตรวจสอบการพังทลายของถนนบนคันคลองชลประทานในที่ราบลุ่มเจ้าพระยาตอนล่าง

1. นายชาญชัย ศรีสุธรรม 2. นายชยพล เตชะฐิตินันท์ 3. นายวรวุฒ ิ อุตสาหพานิช

ส่วนปฐพีกลศาสตร์

Page 8: าใตน ้า โครงการkmcenter.rid.go.th/kcsurvey/pdf/Maud4/4.5_7.pdf · รวมรวบ วิเคราะห์ ประมวลผล และแปลความหมายขอมูลทาง

8 การประเมินคุณสมบัติด้านวิศวกรรมของดินฐานรากจากผลการเจาะส ารวจปฐพีกลศาสตร์

1. นายชาญชัย ศรีสุธรรม 2. นายชยพล เตชะฐิตินันท์ 3. นายวรวุฒ ิ อุตสาหพานิช

ส่วนปฐพีกลศาสตร์

9 โครงการพัฒนาระบบการท าแผนที่เชิงเลขจากภาพถ่ายทางอากาศ บันทึกด้วยกล้องดิจิตอล

1. นายโกศล เทียนทองนุกูล 2. นางสุวรรณา ยุวนานนท ์3. นางกฤษณา กลิ่นดาว 4. นายสว่าง จอมวุฒิ 5. เจ้าหน้าที่ภายในส่วน

ส่วนส ารวจท าแผนที่จากภาพถ่าย

10 การผลิตแผนที่ภาพออร์โทเชิงเลขและวิเคราะห์เปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชนที่ดิน พื้นที่โครงการพัฒนาลุ่มน้ ายม (บริเวณเขื่อนแม่น้ ายม แม่น้ ายมตอนบน และแก่งเสือเต้น

1. นายชัชวาล ปัญญาวาทีนันท์ 2. นางสุวรรณา ยุวนานนท ์3. นางกฤษณา กลิ่นดาว 4. นายสว่าง จอมวุฒิ 5. เจ้าหน้าที่ภายในส่วน

ส่วนส ารวจท าแผนที่จากภาพถ่าย

11 การผลิตแผนที่ระบบดิจิตอลโครงการจัดรูปที่ดิน ต าบลไฮหย่อง อ าเภอพังโคน จังหวัดสกลนคร โดยใช้โปรแกรม AutoCAD Land Deveopment

1. นายประสิทธิ์ พันธ์บุญเกิด 2. นางจันทรา งาเนียม 3. นางสุทธารัตน์ จันทร์ทอง 4. นายธวชั นามแดง

ส่วนวิศวกรรม

12 การประยุกต์ใช้ระบบดาวเทียมจีพีเอสหาค่าความสูงออร์โธเมตริก 1. นายประสิทธิ์ พันธ์บุญเกิด 2. นายชวลิต ธรรมรัตนะศิริ 3. นายโพธิ์ทอง ศรีวงษา 4. นายณัฐพล โพธิ์คลี่

ส่วนวิศวกรรม

Page 9: าใตน ้า โครงการkmcenter.rid.go.th/kcsurvey/pdf/Maud4/4.5_7.pdf · รวมรวบ วิเคราะห์ ประมวลผล และแปลความหมายขอมูลทาง

13 การประยุกต์ใช้ฟรีโปรแกรม TeamViewer&Skype(Freeware)เพ่ือแก้ปัญหางานสารบรรณ

1. นายไพโรจน์ ทองส่งโสม 2. นายนพดล ภูมิวิเศษ 3. นายวริษฐุ์ ทองจุไร 4. นางสาวพัชรี ปัญญาวาทีนันท์

ฝ่ายบริหารทั่วไป ส่วนธรณีวิทยา ส่วนส ารวจกันเขตและประสานงานรังวัด ส่วนส ารวจกันเขตและประสานงานรังวัด

Page 10: าใตน ้า โครงการkmcenter.rid.go.th/kcsurvey/pdf/Maud4/4.5_7.pdf · รวมรวบ วิเคราะห์ ประมวลผล และแปลความหมายขอมูลทาง