ภาคผนวกsoreda.oas.psu.ac.th/files/623_file_appendix.pdf · 112...

41
106 ภาคผนวก

Upload: others

Post on 25-Jan-2020

1 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: ภาคผนวกsoreda.oas.psu.ac.th/files/623_file_Appendix.pdf · 112 การหาคุณภาพของเครื่องมือวิจัย 1. การหาความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา

106

ภาคผนวก

Page 2: ภาคผนวกsoreda.oas.psu.ac.th/files/623_file_Appendix.pdf · 112 การหาคุณภาพของเครื่องมือวิจัย 1. การหาความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา

107

ภาคผนวก ก รายนามผูเช่ียวชาญตรวจสอบเคร่ืองมือ

Page 3: ภาคผนวกsoreda.oas.psu.ac.th/files/623_file_Appendix.pdf · 112 การหาคุณภาพของเครื่องมือวิจัย 1. การหาความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา

108

รายนามผูเชีย่วชาญตรวจสอบคุณภาพเคร่ืองมือ

1. ตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู 1.1 ดร.พัชรีย จําปา ภาควิชาภาษาไทย คณะมนษุยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตาน ี 1.2 ผูชวยศาสตราจารยจรีรัตน สาครินทร หมวดวิชาภาษาไทย โรงเรียนสาธิตแหง มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตาน ี 1.3 อาจารยวิมล ภัครธีรเธียร หมวดวิชาภาษาไทย โรงเรียนสาธิตแหง

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตาน ี 1.4 นางนัยนา นาคะสิงห ศึกษานิเทศก ชํานาญการ สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษา

ยะลา เขต 2

1.5 นายบุญนาค ศิลากุล ศึกษานิเทศก ชํานาญการ สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษา

ยะลา เขต 2

Page 4: ภาคผนวกsoreda.oas.psu.ac.th/files/623_file_Appendix.pdf · 112 การหาคุณภาพของเครื่องมือวิจัย 1. การหาความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา

109

2. แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 2.1 ดร.พัชรีย จําปา ภาควิชาภาษาไทย คณะมนษุยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตาน ี 2.2 ผูชวยศาสตราจารยจรีรัตน สาครินทร หมวดวิชาภาษาไทย

โรงเรียนสาธิตแหงมหาวิทยาลัย สงขลานครินทรวิทยาเขตปตตาน ี

2.3 อาจารยอาฟฟ ลาเตะ ภาควิชาวัดผลและประเมินผลการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตาน ี 2.4 นางนัยนา นาคะสิงห ศึกษานิเทศก ชํานาญการ สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษา

ยะลา เขต 2

2.5 นายบุญนาค ศิลากุล ศึกษานิเทศก ชํานาญการ สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษา

ยะลา เขต 2

Page 5: ภาคผนวกsoreda.oas.psu.ac.th/files/623_file_Appendix.pdf · 112 การหาคุณภาพของเครื่องมือวิจัย 1. การหาความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา

110

3. แบบวัดการรับรูความสามารถในการเรียนวิชาภาษาไทย 3.1 ผูชวยศาสตราจารย ดร.ณัฐวทิย พจนตันต ิ ภาควิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตาน ี 3.2 ผูชวยศาสตราจารยสุวิมล นราองอาจ ภาควิชาจิตวิทยาและการแนะแนว คณะศึกษาศาสตร มหาวทิยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตาน ี 3.3 ดร.ประเสริฐ บัณฑิตศักดิ ์ ภาควิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลาครินทร วิทยาเขตปตตาน ี 3.4 อาจารยอาฟฟ ลาเตะ ภาควิชาวัดผลและประเมินผลการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลาครินทร วิทยาเขตปตตาน ี 3.5 อาจารยรอฮานา วอลี ภาควิชาวัดผลและประเมินผลการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลาครินทร วิทยาเขตปตตาน ี

Page 6: ภาคผนวกsoreda.oas.psu.ac.th/files/623_file_Appendix.pdf · 112 การหาคุณภาพของเครื่องมือวิจัย 1. การหาความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา

111

ภาคผนวก ข การหาคุณภาพเคร่ืองมือ

Page 7: ภาคผนวกsoreda.oas.psu.ac.th/files/623_file_Appendix.pdf · 112 การหาคุณภาพของเครื่องมือวิจัย 1. การหาความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา

112

การหาคุณภาพของเคร่ืองมือวิจัย 1. การหาความเทีย่งตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity) ของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิ

ทางการเรียนวิชาภาษาไทย โดยการพิจารณาความสอดคลองระหวางขอสอบกับจุดประสงคเชิงพฤติกรรม ตาราง 13 คาดัชนีความสอดคลองระหวางขอคําถามกับผลการเรียนรูท่ีคาดหวังของแบบวัด

ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน

ขอที ่ผลการประเมินของผูเชี่ยวชาญคนที ่

IOC 1 2 3 4 5 1 1 1 -1 1 1 0.8 2 1 1 1 1 1 1 3 1 1 1 1 1 1 4 1 1 -1 1 1 0.8 5 1 1 1 -1 1 0.6 6 1 1 1 0 1 0.8 7 1 1 1 1 -1 0.6 8 1 1 1 0 1 0.8 9 1 1 1 1 -1 0.6 10 1 1 1 1 1 1 11 1 1 1 1 1 1 12 1 1 0 1 1 0.8 13 1 1 1 1 1 0.8 14 1 1 0 1 1 0.8 15 1 1 1 1 1 0.8 16 1 0 1 1 1 0.8 17 1 -1 1 1 1 0.6 18 1 1 1 1 1 1 19 1 1 1 0 1 0.8 20 1 1 1 1 1 1

Page 8: ภาคผนวกsoreda.oas.psu.ac.th/files/623_file_Appendix.pdf · 112 การหาคุณภาพของเครื่องมือวิจัย 1. การหาความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา

113

ตาราง 13 คาดัชนีความสอดคลองระหวางขอคําถามกับผลการเรียนรูท่ีคาดหวังของแบบวัด

ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน (ตอ)

ขอที ่ ผลการประเมินของผูเชี่ยวชาญคนที ่ IOC 1 2 3 4 5 21 1 1 1 0 1 0.8 22 1 1 1 1 1 0.8 23 1 1 1 0 1 1 24 1 0 1 1 1 0.8 25 1 1 1 0 1 0.8 26 1 1 1 1 1 1 27 1 1 1 0 1 0.8 28 1 1 1 1 1 1 29 1 -1 1 1 1 0.6 30 1 -1 1 1 1 0.6 31 1 1 1 0 1 0.8 32 1 1 1 -1 1 0.6 33 1 1 1 0 1 0.8 34 1 1 1 1 1 1 35 1 1 1 0 1 0.8 36 1 1 1 1 1 1 37 1 1 1 1 1 1 38 0 1 1 1 1 0.8 39 1 1 1 -1 1 0.6 40 1 1 1 0 1 0.8

Page 9: ภาคผนวกsoreda.oas.psu.ac.th/files/623_file_Appendix.pdf · 112 การหาคุณภาพของเครื่องมือวิจัย 1. การหาความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา

114

2. การวิเคราะหคุณภาพรายขอ เพ่ือหาความยาก (Difficulty หรือ P) และคาอํานาจจําแนก (Discrimination หรือ D) ของแบบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาภาษาไทย ตาราง 14 คาความยาก (P) และคาอํานาจจําแนก (D) ของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน วิชาภาษาไทย

ขอที ่ คาความยาก (P) คาอํานาจจําแนก (D) 1 0.63 0.50 2 0.31 0.38 3 0.38 0.25 4 0.38 0.25 5 0.44 0.38 6 0.25 0.50 7 0.50 0.25 8 0.31 0.38 9 0.63 0.50 10 0.44 0.38 11 0.44 0.63 12 0.50 0.75 13 0.38 0.50 14 0.56 0.38 15 0.56 0.38 16 0.56 0.63 17 0.50 0.50 18 0.75 0.25 19 0.44 0.63 20 0.38 0.25

Page 10: ภาคผนวกsoreda.oas.psu.ac.th/files/623_file_Appendix.pdf · 112 การหาคุณภาพของเครื่องมือวิจัย 1. การหาความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา

115

ตาราง 14 (ตอ) คาความยาก (P) และคาอํานาจจําแนก (D) ของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทาง การเรียนวิชาภาษาไทย

ขอที ่ คาความยาก (P) คาอํานาจจําแนก (D) 21 0.38 0.25 22 0.38 0.25 23 0.63 0.50 24 0.44 0.38 25 0.56 0.88 26 0.56 0.63 27 0.44 0.38 28 0.31 0.38 29 0.31 0.75 30 0.5 0.25 31 0.38 0.25 32 0.38 0.25 33 0.38 0.25 34 0.25 0.25 35 0.44 0.88 36 0.44 0.63 37 0.25 0.50 38 0.44 0.38 39 0.38 0.25 40 0.44 0.63

3. การหาคาความเชือ่ม่ันของแบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาไทย โดยใชสูตร K-20 คาความเช่ือม่ันของแบบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 จํานวน 40 ขอ มีคาความเชื่อม่ันเทากับ .82

หมายเหต ุ แบบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาภาษาไทยท้ัง 40 ขอ เปนแบบวัดท่ีมีคา ความยาก (P) ระหวาง .25 - .88 และอํานาจจําแนก (D) ตั้งแต .20 ขึ้นไป

Page 11: ภาคผนวกsoreda.oas.psu.ac.th/files/623_file_Appendix.pdf · 112 การหาคุณภาพของเครื่องมือวิจัย 1. การหาความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา

116

ตาราง 15 คาดัชนีความสอดคลองระหวางขอคําถามกับผลการเรียนรูท่ีคาดหวังของแบบวัดการรับรู ความสามารถของตนเองในการเรียนวชิาภาษาไทย

ขอที ่ ผลการประเมินของผูเชี่ยวชาญคนที ่ IC 1 2 3 4 5 1 0 1 1 1 1 0.8 2 0 1 1 1 1 0.8 3 1 1 1 1 1 1 4 1 1 -1 1 1 0.6 5 1 1 1 -1 1 0.6 6 1 1 0 1 1 0.8 7 1 1 1 0 1 0.8 8 0 1 1 1 1 0.8 9 1 1 1 0 1 0.8 10 1 1 1 0 1 0.8 11 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 0 1 0.8 13 1 1 1 1 1 1 14 1 1 1 1 1 1 15 1 1 1 1 1 1 16 1 1 1 -1 1 0.6 17 1 -1 1 1 1 0.6 18 1 -1 1 1 1 0.6 19 1 1 1 1 1 1 20 0 1 1 1 1 0.8

Page 12: ภาคผนวกsoreda.oas.psu.ac.th/files/623_file_Appendix.pdf · 112 การหาคุณภาพของเครื่องมือวิจัย 1. การหาความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา

109

รายการ แผนที่ 1 จัดการเรียนรูแบบKWL Plus

ความสอดคลอง

แผนที่ 2 จัดการเรียนรูแบบKWL Plus ความ

สอดคลอง ผูเช่ียวชาญคนท่ี ผูเช่ียวชาญคนท่ี 1 2 3 4 5 X SD 1 2 3 4 5 X SD

1. แผนการจัดการเรียนรูมีองคประกอบครบถวน 4 4 4 5 5 4.40 0.55 มาก 4 4 4 5 5 4.40 0.55 มาก 2. หนวยการเรียนรูมีองคประกอบครบถวนเหมาะสม 4 4 2 5 5 4.00 1.22 มาก 4 4 3 5 5 4.20 0.84 มาก 3. การเขียนสาระสาํคัญในแผนกระชับครอบคลุมเปาหมาย 4 4 3 4 5 4.00 0.71 มาก 4 4 3 4 5 4.00 0.71 มาก 4. ผลการเรียนรูมีความชัดเจนถูกตองครอบคลุม 4 4 3 4 5 4.00 0.71 มาก 4 4 3 4 5 4.00 0.71 มาก 5. เนื้อหา/กจิกรรมการสอนเหมาะสมกับคาบเวลาท่ีกําหนด 4 3 3 5 5 4.00 1.00 มาก 4 3 3 4 5 3.80 0.84 มาก 6. เนื้อหาสาระในแผนถูกตองตามหลักวิชาการ 3 4 2 4 5 3.60 1.14 มาก 3 4 3 4 5 3.80 0.84 มาก 7. ใชถอยคํากะทัดรัดเขาใจงาย 3 4 3 4 5 3.80 0.84 มาก 3 3 3 4 5 3.60 0.89 มาก 8. กิจกรรมการเรียนรูเหมาะสมกับวัยของผูเรียน 4 5 3 5 5 4.40 0.89 มาก 4 5 4 5 5 4.60 0.55 มากท่ีสุด 9. กิจกรรมการสอนครบถวนตามหลักการสอน 4 5 3 5 5 4.40 0.89 มาก 4 5 4 5 5 4.60 0.55 มากท่ีสุด 10. ผูเรียนมีสวนรวมในกิจกรรมมาก 4 5 4 4 5 4.40 0.55 มาก 4 5 4 5 5 4.60 0.55 มากท่ีสุด 11. สื่อแหลงเรียนรูมีความเหมาะสมกับวัย 4 4 4 4 5 4.20 0.45 มาก 4 4 3 4 5 4.00 0.71 มาก 12. มีการวัดผลประเมินผลท่ีสอดคลองกับการเรียนรู 4 4 3 5 5 4.20 0.84 มาก 4 4 4 5 5 4.40 0.55 มาก

ตาราง 16 ความสอดคลองของแผนการจดัการเรียนรูวิชาภาษาไทยแบบ KWL Plus

117

Page 13: ภาคผนวกsoreda.oas.psu.ac.th/files/623_file_Appendix.pdf · 112 การหาคุณภาพของเครื่องมือวิจัย 1. การหาความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา

110

รายการ แผนที่ 3 จัดการเรียนรูแบบKWL Plus

ความสอดคลอง

แผนที่ 4 จัดการเรียนรูแบบKWL Plus ความ

สอดคลอง ผูเช่ียวชาญคนท่ี ผูเช่ียวชาญคนท่ี 1 2 3 4 5 X SD 1 2 3 4 5 X SD

1. แผนการจัดการเรียนรูมีองคประกอบครบถวน 4 4 4 5 4 4.20 0.45 มาก 4 4 4 5 5 4.40 0.55 มาก 2. หนวยการเรียนรูมีองคประกอบครบถวนเหมาะสม 4 4 3 5 4 4.00 0.71 มาก 4 4 3 5 5 4.20 0.84 มาก 3. การเขียนสาระสาํคัญในแผนกระชับครอบคลุมเปาหมาย 4 4 3 4 4 3.80 0.45 มาก 4 5 3 4 5 4.20 0.84 มาก 4. ผลการเรียนรูมีความชัดเจนถูกตองครอบคลุม 4 4 3 4 4 3.80 0.45 มาก 4 5 3 4 5 4.20 0.84 มาก 5. เนื้อหา/กจิกรรมการสอนเหมาะสมกับคาบเวลาท่ีกําหนด 4 5 3 4 4 4.00 0.71 มาก 4 4 3 4 5 4.00 0.71 มาก 6. เนื้อหาสาระในแผนถูกตองตามหลักวิชาการ 3 5 3 4 5 4.00 1.00 มาก 4 5 3 4 4 4.00 0.71 มาก 7. ใชถอยคํากะทัดรัดเขาใจงาย 3 4 3 4 5 3.80 0.84 มาก 4 4 4 4 5 4.20 0.45 มาก 8. กิจกรรมการเรียนรูเหมาะสมกับวัยของผูเรียน 4 5 4 5 4 4.40 0.55 มาก 4 4 4 5 5 4.40 0.55 มาก 9. กิจกรรมการสอนครบถวนตามหลักการสอน 4 5 3 5 4 4.20 0.84 มาก 4 5 3 5 5 4.40 0.89 มาก 10. ผูเรียนมีสวนรวมในกิจกรรมมาก 4 4 4 5 5 4.40 0.55 มาก 4 5 4 4 5 4.40 0.55 มาก 11. สื่อแหลงเรียนรูมีความเหมาะสมกับวัย 4 4 3 4 4 3.80 0.45 มาก 4 4 3 4 5 4.00 0.71 มาก 12. มีการวัดผลประเมินผลท่ีสอดคลองกับการเรียนรู 4 4 3 5 4 4.00 0.71 มาก 4 5 3 5 5 4.40 0.89 มาก

ตาราง 16 (ตอ) ความสอดคลองของแผนการจัดการเรียนรูวิชาภาษาไทยแบบ KWL Plus

118

Page 14: ภาคผนวกsoreda.oas.psu.ac.th/files/623_file_Appendix.pdf · 112 การหาคุณภาพของเครื่องมือวิจัย 1. การหาความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา

119

ตาราง 16 (ตอ) ความสอดคลองของแผนการจัดการเรียนรูวิชาภาษาไทยแบบ KWL Plus

รายการ แผนที่ 5 จัดการเรียนรูแบบKWL Plus

ความสอดคลอง ผูเช่ียวชาญคนท่ี

1 2 3 4 5 X SD 1. แผนการจัดการเรียนรูมีองคประกอบครบถวน 4 4 4 5 4 4.20 0.45 มาก 2. หนวยการเรียนรูมีองคประกอบครบถวนเหมาะสม 4 4 3 5 4 4.00 0.71 มาก 3. การเขียนสาระสาํคัญในแผนกระชับครอบคลุมเปาหมาย 4 5 3 4 5 4.20 0.84 มาก 4. ผลการเรียนรูมีความชัดเจนถูกตองครอบคลุม 4 5 3 4 4 4.00 0.71 มาก 5. เนื้อหา/กจิกรรมการสอนเหมาะสมกับคาบเวลาท่ีกําหนด 4 4 3 4 4 3.80 0.45 มาก 6. เนื้อหาสาระในแผนถูกตองตามหลักวิชาการ 3 5 3 4 4 3.80 0.84 มาก 7. ใชถอยคํากะทัดรัดเขาใจงาย 3 4 3 4 5 3.80 0.84 มาก 8. กิจกรรมการเรียนรูเหมาะสมกับวัยของผูเรียน 4 4 3 4 5 4.00 0.71 มาก 9. กิจกรรมการสอนครบถวนตามหลักการสอน 4 5 3 5 5 4.40 0.89 มาก 10. ผูเรียนมีสวนรวมในกิจกรรมมาก 4 4 4 5 5 4.40 0.55 มาก 11. สื่อแหลงเรียนรูมีความเหมาะสมกับวัย 4 4 3 4 5 4.00 0.71 มาก 12. มีการวัดผลประเมินผลท่ีสอดคลองกับการเรียนรู 4 5 3 4 4 4.00 0.71 มาก

Page 15: ภาคผนวกsoreda.oas.psu.ac.th/files/623_file_Appendix.pdf · 112 การหาคุณภาพของเครื่องมือวิจัย 1. การหาความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา

98

ตาราง 17 ความสอดคลองของแผนการจดัการเรียนรูวิชาภาษาไทยแบบปกต ิ

รายการ แผนการจัดการเรียนรูแบบปกติ แผนที่ 1

ความสอดคลอง

แผนการจัดการเรียนรูแบบปกติ แผนที่ 2 ความ

สอดคลอง ผูเช่ียวชาญคนที่ ผูเช่ียวชาญคนที่

1 2 3 4 5 X SD 1 2 3 4 5 X SD 1. แผนการจัดการเรียนรูมีองคประกอบครบถวน 4 4 4 5 5 4.40 0.55 มาก 4 4 4 4 5 4.25 0.45 มาก 2. หนวยการเรียนรูมีองคประกอบครบถวนเหมาะสม 4 4 3 5 5 4.20 0.84 มาก 4 4 3 5 5 4.25 0.84 มาก 3. การเขียนสาระสาํคัญในแผนกระชับครอบคลุมเปาหมาย 3 4 2 4 5 3.60 1.14 มาก 4 4 2 4 5 3.75 1.10 มาก 4. ผลการเรียนรูมีความชัดเจนถูกตองครอบคลุม 4 4 3 4 5 4.00 0.71 มาก 4 4 3 4 5 4.00 0.71 มาก 5. เนื้อหา/กจิกรรมการสอนเหมาะสมกับคาบเวลาท่ีกําหนด 4 3 2 3 5 3.40 1.14 มาก 4 3 2 4 5 3.50 1.14 มาก 6. เนื้อหาสาระในแผนถูกตองตามหลักวิชาการ 3 4 4 4 5 4.00 0.71 มาก 3 4 3 3 5 3.75 0.89 มาก 7. ใชถอยคํากะทัดรัดเขาใจงาย 2 4 4 4 5 3.80 1.10 มาก 3 4 3 4 5 4.00 0.84 มาก 8. กิจกรรมการเรียนรูเหมาะสมกับวัยของผูเรียน 4 3 4 4 5 4.00 0.71 มาก 4 4 3 4 5 4.00 0.71 มาก 9. กิจกรรมการสอนครบถวนตามหลักการสอน 3 4 4 4 5 4.00 0.71 มาก 4 4 3 3 5 3.75 0.84 มาก 10. ผูเรียนมีสวนรวมในกิจกรรมมาก 5 4 4 4 5 4.40 0.55 มาก 4 3 4 4 5 4.00 0.71 มาก 11. สื่อแหลงเรียนรูมีความเหมาะสมกับวัย 4 4 4 4 5 4.20 0.45 มาก 4 4 3 4 5 4.00 0.71 มาก 12. มีการวัดผลประเมินผลท่ีสอดคลองกับการเรียนรู 4 4 4 4 5 4.20 0.45 มาก 4 4 3 5 5 4.25 0.84 มาก

120

Page 16: ภาคผนวกsoreda.oas.psu.ac.th/files/623_file_Appendix.pdf · 112 การหาคุณภาพของเครื่องมือวิจัย 1. การหาความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา

99

รายการ แผนการจัดการเรียนรูแบบปกติ แผนที่ 3

ความสอดคลอง

แผนการจัดการเรียนรูแบบปกติ แผนที่ 4 ความ

สอดคลอง ผูเช่ียวชาญคนท่ี ผูเช่ียวชาญคนท่ี 1 2 3 4 5 X SD 1 2 3 4 5 X SD

1. แผนการจัดการเรียนรูมีองคประกอบครบถวน 4 4 4 5 4 4.20 0.45 มาก 4 4 4 5 5 4.40 0.55 1 2. หนวยการเรียนรูมีองคประกอบครบถวนเหมาะสม 4 4 3 5 4 4.00 0.71 มาก 4 4 3 5 5 4.20 0.84 1 3. การเขียนสาระสาํคัญในแผนกระชับครอบคลุมเปาหมาย 4 4 3 5 4 4.00 0.71 มาก 4 4 3 5 5 4.20 0.84 1 4. ผลการเรียนรูมีความชัดเจนถูกตองครอบคลุม 4 4 3 4 4 3.80 0.45 มาก 4 4 3 4 5 4.00 0.71 1 5. เนื้อหา/กจิกรรมการสอนเหมาะสมกับคาบเวลาท่ีกําหนด 4 3 3 4 4 3.60 0.55 มาก 4 4 3 4 4 3.80 0.45 1 6. เนื้อหาสาระในแผนถูกตองตามหลักวิชาการ 3 4 2 4 5 3.60 1.14 มาก 4 5 3 4 5 4.20 0.84 1 7. ใชถอยคํากะทัดรัดเขาใจงาย 3 4 3 4 5 3.80 0.84 มาก 4 4 3 4 5 4.00 0.71 1 8. กิจกรรมการเรียนรูเหมาะสมกับวัยของผูเรียน 4 3 3 4 4 3.60 0.55 มาก 4 4 3 4 5 4.00 0.71 1 9. กิจกรรมการสอนครบถวนตามหลักการสอน 4 4 3 4 4 3.80 0.45 มาก 4 5 3 4 5 4.20 0.84 1 10. ผูเรียนมีสวนรวมในกิจกรรมมาก 4 4 4 4 5 4.20 0.45 มาก 4 4 4 4 5 4.20 0.45 1 11. สื่อแหลงเรียนรูมีความเหมาะสมกับวัย 4 4 3 4 4 3.80 0.45 มาก 4 4 3 4 5 4.00 0.71 1 12. มีการวัดผลประเมินผลท่ีสอดคลองกับการเรียนรู 4 4 3 4 4 3.80 0.45 มาก 4 5 3 4 5 4.20 0.84 1

ตาราง 17 (ตอ) ความสอดคลองของแผนการจัดการเรียนรูวิชาภาษาไทยแบบปกต ิ

121

Page 17: ภาคผนวกsoreda.oas.psu.ac.th/files/623_file_Appendix.pdf · 112 การหาคุณภาพของเครื่องมือวิจัย 1. การหาความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา

122

ตาราง 17 (ตอ) ความสอดคลองของแผนการจัดการเรียนรูวิชาภาษาไทยแบบปกต ิ

รายการ แผนการจัดการเรียนรูแบบปกติ แผนที่ 5

ความสอดคลอง ผูเช่ียวชาญคนท่ี

1 2 3 4 5 X SD 1. แผนการจัดการเรียนรูมีองคประกอบครบถวน 4 4 4 5 5 4.40 0.55 มาก 2. หนวยการเรียนรูมีองคประกอบครบถวนเหมาะสม 4 4 3 5 5 4.20 0.84 มาก 3. การเขียนสาระสาํคัญในแผนกระชับครอบคลุมเปาหมาย 4 4 3 4 5 4.00 0.71 มาก 4. ผลการเรียนรูมีความชัดเจนถูกตองครอบคลุม 4 4 3 5 5 4.20 0.84 มาก 5. เนื้อหา/กจิกรรมการสอนเหมาะสมกับคาบเวลาท่ีกําหนด 4 4 3 4 4 3.80 0.45 มาก 6. เนื้อหาสาระในแผนถูกตองตามหลักวิชาการ 3 5 2 5 4 3.80 1.30 มาก 7. ใชถอยคํากะทัดรัดเขาใจงาย 3 4 3 4 4 3.60 0.55 มาก 8. กิจกรรมการเรียนรูเหมาะสมกับวัยของผูเรียน 4 4 3 4 4 3.80 0.45 มาก 9. กิจกรรมการสอนครบถวนตามหลักการสอน 4 5 3 4 4 4.00 0.71 มาก 10. ผูเรียนมีสวนรวมในกิจกรรมมาก 4 4 4 4 5 4.20 0.45 มาก 11. สื่อแหลงเรียนรูมีความเหมาะสมกับวัย 4 4 3 4 4 3.80 0.45 มาก 12. มีการวัดผลประเมินผลท่ีสอดคลองกับการเรียนรู 4 5 3 4 4 4.00 0.71 มาก

Page 18: ภาคผนวกsoreda.oas.psu.ac.th/files/623_file_Appendix.pdf · 112 การหาคุณภาพของเครื่องมือวิจัย 1. การหาความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา

123

ตาราง 18 คาอํานาจจําแนก (D) ของแบบวัดการรับรูความสามารถในการเรียนวิชาภาษาไทย

ขอที ่ คาอํานาจจําแนก (D) 1 0.81 2 0.59 3 0.62 4 0.62 5 0.76 6 0.61 7 0.69 8 0.78 9 0.85 10 0.72 11 0.66 12 0.76 13 0.84 14 0.86 15 0.59 16 0.72 17 0.68 18 0.62 19 0.47 20 0.57

4. การหาคาความเชือ่ม่ันของแบบวัดการรับรูความสามารถในการเรียนวิชาภาษาไทย ดวยการหาคาสัมประสิทธ์ิแอลฟา (Alpha Coefficient) คาความเช่ือม่ันของแบบวัดการรับรูความสามารถในการเรียนภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 จํานวน 20 ขอ มีคาความเชื่อม่ันเทากบั .89

หมายเหต ุ แบบวัดการรับรูความสามารถในการเรียนวิชาภาษาไทยท้ัง 20 ขอ เปนแบบ วัดท่ีมีคาอํานาจจําแนก (D) ตั้งแต .40 ขึ้นไป

Page 19: ภาคผนวกsoreda.oas.psu.ac.th/files/623_file_Appendix.pdf · 112 การหาคุณภาพของเครื่องมือวิจัย 1. การหาความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา

124

ตาราง 19 คะแนนจากผลการทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาภาษาไทยหลังการทดลอง ของนักเรียนกลุมควบคุมและกลุมทดลอง

คนที ่ คะแนนกลุมทดลอง คะแนนกลุมควบคุม กอนเรียน หลังเรียน กอนเรียน หลังเรียน

1 23 33 18 27 2 12 28 7 22 3 11 21 16 26 4 13 33 19 31 5 17 35 12 31 6 17 27 13 25 7 15 32 10 22 8 22 35 15 20 9 18 29 13 24 10 19 30 14 23 11 15 36 20 32 12 15 26 15 21 13 10 26 15 22 14 16 25 21 24 15 19 27 14 25 16 21 29 16 21 17 15 28 21 27 18 22 36 17 34 19 17 37 22 26 20 12 25 17 25 21 16 31 21 23 22 11 23 16 20 23 10 29 15 21 24 13 26 18 29

Page 20: ภาคผนวกsoreda.oas.psu.ac.th/files/623_file_Appendix.pdf · 112 การหาคุณภาพของเครื่องมือวิจัย 1. การหาความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา

125

ตาราง 20 คะแนนจากการวัดการรับรูความสามารถในการเรียนวิชาภาษาไทยหลังการทดลอง ของนักเรียนกลุมควบคุมและกลุมทดลอง

คนที ่ คะแนนกลุมทดลอง คะแนนกลุมควบคุม กอนเรียน หลังเรียน กอนเรียน หลังเรียน

1 62 80 56 69 2 45 74 49 66 3 45 76 68 77 4 47 82 42 67 5 64 85 69 78 6 54 72 49 59 7 62 75 57 69 8 59 71 64 67 9 60 74 55 73 10 72 79 77 63 11 60 72 55 76 12 45 62 50 64 13 63 70 68 72 14 45 66 40 67 15 61 73 66 54 16 52 86 47 57 17 44 62 49 61 18 63 58 58 64 19 54 57 59 68 20 64 74 59 56 21 84 87 79 69 22 46 54 51 59 23 55 57 50 57 24 51 56 56 62

Page 21: ภาคผนวกsoreda.oas.psu.ac.th/files/623_file_Appendix.pdf · 112 การหาคุณภาพของเครื่องมือวิจัย 1. การหาความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา

126

ภาคผนวก ค ตัวอยางเครือ่งมอืที่ใชในการทดลอง

1. แบบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน 2. แบบวัดการรบัรูความสามารถในการเรียนวิชาภาษาไทย 3. แผนการจัดการเรียนรูแบบ KWL Plus

Page 22: ภาคผนวกsoreda.oas.psu.ac.th/files/623_file_Appendix.pdf · 112 การหาคุณภาพของเครื่องมือวิจัย 1. การหาความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา

127

กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖

๑. นิทานแสนสนุกเปนเรื่องราวเกี่ยวกับอะไร ก. นิทานท่ีนักเรียนช้ัน ป. ๖ ชวยกันเขยีนขึน้ ข. การเลานิทานแขงขนักนัของนกัเรียนช้ัน ป. ๖

ค. นิทานของครูประจําช้ัน ป.๖ นําไปเลาให นักเรียนช้ัน ป. ๒-๓ ฟง ง. นิทานของกอง ชมพู และพลอย นําไปเลาให นักเรียนช้ัน ป. ๑-๒ ฟง ๒. ผูท่ีเลานิทานเกี่ยวกับฟาแลบ ฟารองคือใคร ก. ชมพู ข. กอง ค. พลอย ง. ครูประจําช้ัน ป. ๖ ๓. ใครเปนคนใหดวงแกวแกนางเมขลา ก. ราหู ข. รามสูร ค. พระอินทร ง. พญามังกร ๔. . เพราะเหตุใดรามสูรจึงตองการจับตัวนางเมขลา ก. นําไปสงพระอิศวร ข. เพ่ือเอาใจพระอินทร ค. นําไปสงพญามังกร ง. เพ่ือเอาใจพระนารายณ ๕. นิทานเรื่องหญิงแกกับหมูจัดเปนนิทาน ประเภทใด ก. นิทานโกหก ข. นิทานอีสป ค. นิทานลูกโซ ง. นิทานตํานาน

๖. ขอใดกลาวไมถูกตอง ก. ฟาล่ันเกิดจากพญามังกรคําราม ข. ฟาแลบเกิดจากเมขลาขวางดวงแกว ค. ฟารองเกิดจากรามสูรขวางขวาน ง. ฟาผาเกิดจากขวานเพชรตกลงมาท่ีพ้ืนโลก ๗. นักเรียนสามารถนําคณุธรรมขอใดจากนิทาน เรื่องหญิงแกกับหมูไปใชในชีวิตประจําวนั ก. ความฉลาด ข. ความพยายาม ค. การพ่ึงพากัน ง. ความขยัน ๘. ขอใดไมใชประโยชนท่ีเด็กๆ ไดรับจากการฟงนิทาน ก. ไดขอคิด ข. ไดความรู ค. ไดเพ่ือนเพ่ิมขึน้ ง. ไดบําเพ็ญ ประโยชน ๙. ขอใดเปนสํานวนในการเขียนนิทาน ก. บัดนัน้ ข. เม่ือนั้น ค. กาลอดีต ง. กาลครั้งหนึ่ง ๑๐. พอและแมพาภูไปกินเล้ียงในงานอะไร ก. งานแตง ข. งานบวช ค. งานขึน้บานใหม ง. งานโกนจกุ

แบบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน

คําชี้แจง: ๑. แบบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนชุดนี้ วดัผลตามมาตรฐานการเรยีนรู มีจํานวน ๔๐ ขอ เปนแบบเลือกตอบ ๔ ตัวเลือก ๒. ใหนกัเรียนทําทุกขอโดยเลือกคําตอบท่ีถูกตองท่ีสุด แลวเขียนเครื่องหมาย x ลงใน กระดาษคําตอบใหตรงกับตวัเลือกท่ีตองการ

Page 23: ภาคผนวกsoreda.oas.psu.ac.th/files/623_file_Appendix.pdf · 112 การหาคุณภาพของเครื่องมือวิจัย 1. การหาความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา

128

๑๑. การกินเล้ียงท่ีทุกคนตองบรกิารตวัเองเรียกวาอะไร ก. การเล้ียงแบบโตะจีน ข. การเล้ียงแบบบุฟเฟต ค. การเล้ียงแบบกนัเอง ง. การเล้ียงแบบชาวบาน ๑๒. หลังกลับจากงานเล้ียงพ่ีสินปวยดวยโรคใด ก. มะเร็งตับ ข. มะเร็งปอด ค. ดีซาน ง. หลอดเลือดอุดตัน ๑๓. โรคท่ีพ่ีสินเปนมีอาการตามขอใด ก. ออนเพลีย เบ่ืออาหาร คล่ืนไส อาเจียน ข. ปสสาวะสีเขม ตัวเหลือง ตาเหลือง ค. ปวดทองบริเวณชายโครงขวา ง. ถูกทุกขอ ๑๔. ไวรัสตับอักเสบซีทําใหเปนโรคใดได ก. มะเร็งตับ ข. มะเร็งปอด ค. ดีซาน ง. หลอดเลือดอุดตัน ๑๕. ไวรัสตับอักเสบติดตอกันทางใดไมได ก. น้ําลาย ข. เลือด ค. เพศสัมพันธ ง. ลมหายใจ ๑๖. คนท่ีไมใชชอนกลางเปนคนแบบใด ก. เปนคนเรียบงาย ข. เปนคนเห็นแกตวั ค. เปนคนชอบความตืน่เตนเราใจ ง. เปนคนเกยีจคราน ๑๗. “แมกับภู ตกัอาหารอยางละนิด อยางละหนอย” แสดงวาแมกับภูเปนคนอยางไร ก. ตะกละ ข. เห็นแกตัว ค. ขี้อาย ง. มีมารยาท

๑๘. ในการรวมรับประทานอาหารรวมกับผูอ่ืนควรปฏิบัติตามขอใด ก. เคี้ยวอาหารใหละเอียด ข. เลือกอาหารท่ีมีคุณคา ค. ใชชอนกลางตักอาหาร ง. ใชแกวน้ําปะปนกับคนอ่ืน ๑๙. “การเปนลูกผูชายท่ีแทจริง ตองรูจักแยกแยะ ถารูวาอะไรท่ีเปนอันตรายตอตนเองแลว ไมควรเส่ียงเอาชีวิตหรือสุขภาพลงไปพิสูจนเลย” นักเรยีนเห็นดวยกับคํากลาวขางตนหรือไม เพราะเหตุใด ก. เห็นดวย เพราะวาลูกผูชายไมควรเส่ียงชีวิตในทุกเรื่อง ข. เห็นดวย เพราะวาเวลาเจ็บปวย ทําให พอแมเดือดรอน เสียเงินเสียทอง ค. ไมเห็นดวย เพราะวาลูกผูชายตองกลาหาญ แมรูวาส่ิงนั้นเปนอันตรายตอสุขภาพก ็ตองยอม ง. ไมเห็นดวย เพราะวาลูกผูชายตองไม ขี้ขลาดตาขาว ๒๐. อินมีขาวดีอะไรมาบอกเอ้ือง ก. พอแมจะพาไปเท่ียวตางประเทศ ข. จะไดไปทอดกฐินท่ีจังหวัดอุบลราชธาน ี ค. จะไดเดินทางไปเท่ียวชมปาธรรมชาติในภาคเหนือ ง. จะไดไปเท่ียวชายทะเลกับครอบครัวตอนปดภาคเรียน ๒๑. พอแมจะพาอินและเอ้ืองไปท่ีอําเภอใด ก. วารนิชําราบ ข. เกษตรสมบูรณ ค. โขงเจียม ง. เมือง

Page 24: ภาคผนวกsoreda.oas.psu.ac.th/files/623_file_Appendix.pdf · 112 การหาคุณภาพของเครื่องมือวิจัย 1. การหาความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา

129

๒๒. สถานท่ีพอแมพาไปเท่ียวมีความสําคัญอยางไร ก. เปนเมืองท่ีเจริญรุงเรือง ข. มีแหลงทองเท่ียวท่ีสําคัญ ค. มีแหลงประวัติศาสตรท่ีสําคัญ ง. มีธรรมชาติท่ีสวยงาม ๒๓. อักษรของชนชาตใิดท่ีถือวาเกาแกท่ีสุด ก. ไทย ข. ขอม ค. จีน ง. อียิปต ๒๔. “จากผาแตมสูอียิปต” เปนเรื่องเกี่ยวกับอะไร ก. เปรียบเทียบความเกาแกของศิลปวัตถุ และ วัฒนธรรมของไทยกับอียิปต ข. เปรียบเทียบความมีช่ือเสียงของไทยกับอียิปต ค. เปรียบเทียบความสวยงามของไทยกับอียิปต ง. เปรียบเทียบความม่ันคงของไทยกับอียิปต ๒๕. นักทองเท่ียวท่ีดคีวรปฏิบัตตินอยางไร ก. ท้ิงเศษอาหารลงบนถนนไวใหสัตวเรรอนกนิ ข. ปฏิบัติตนตามคําแนะนําของมัคคุเทศก ค. ใชมือสัมผัสวัตถุโบราณตางๆ ท่ีสนใจ ง. เก็บส่ิงท่ีอยูรอบๆ บริเวณท่ีไปทองเท่ียวมาเปนของท่ีระลึก ๒๖. ขาวโอตมีเรื่องตื่นเตนอะไรมาเลาใหเพ่ือนๆ ฟง ก. ไดรับจดหมายจากตางประเทศ ข. ไดรับรางวัลจากคุณแม ค. คุณพอจะพาไปตางประเทศ ง. เพ่ือนชาวตางประเทศจะมาเยือน ๒๗. เพ่ือนของขาวโอตอยูท่ีประเทศใด ก. จีน ข. ฟลิปปนส ค. ญี่ปุน ง. เวียดนาม

๒๘. การเขียนจดหมายแลกเปล่ียน ภาษาอังกฤษเรียกวาอะไร ก. pen letter ข. pen friend ค. pen girl ง. pen boy ๒๙. “กลัวดอกพิกุลจะรวงรึไง ขาวโอต” คําท่ีขีดเสนใตหมายความวาอยางไร ก. ถามคํา ตอบคํา ข. พูดมาก ค. เปนใบ ง. อาการนิ่งไมยอมพูด ๓๐. จดหมายจากตางแดนของขาวโอตเปนจดหมายชนิดใด ก. จดหมายธุรกิจ ข. จดหมายสวนตัว ค. จดหมายกิจธุระ ง. จดหมายราชการ ๓๑. ขอใดเรียงลําดับเหตกุารณไดถูกตอง ๑. ขาวโอตไดรับจดหมายจากเพ่ือนชาวญี่ปุน ๒. ครูพัชรจีะนําโครงการแลกเปล่ียนจดหมายไปปรกึษาผูอํานวยการ ๓. เด็กๆ อยากเขารวมโครงการแลกเปล่ียน จดหมาย ๔. เด็กๆ กังวลใจเรื่องท่ีจะเขยีนลงไปในจดหมาย ก. ๑ ๒ ๓ ๔ ข. ๒ ๓ ๔ ๑ ค. ๑ ๓ ๒ ๔ ง. ๔ ๒ ๑ ๓ ๓๒. การเขียนจดหมายถึงเพ่ือนไมควรปฏิบัติตามขอใด ก. เขียนเลาหลายๆ เรื่อง ข. เขียนเลาเรื่องท่ีสนุกสนาน ค. เขียนเลาเรื่องสารทุกข สุกดิบ ง. เขียนเปนรายงานเชิงวิชาการ

Page 25: ภาคผนวกsoreda.oas.psu.ac.th/files/623_file_Appendix.pdf · 112 การหาคุณภาพของเครื่องมือวิจัย 1. การหาความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา

130

๓๓. จดหมายสารคดตีางจากการเขียนสารคดีอยางไร ก. เลาเรื่องสารทุกขสุกดิบ ข. เขียนจากเคาความจริง ค. มีจุดมุงหมายหลายอยาง ง. เขียนเลาหลายๆ เรื่องแทรกเขาไป ๓๔. คํายอ ป.ล. ทายจดหมาย มาจากคําวาอะไร ก. ปุจฉาลิขิต ข. ปจฉิมลิขติ ค. ปุจฉาเลขา ง. ปจฉิมเลขา ๓๕. การเขียนบทความจะตองใชภาษาอยางไร ก. ใชภาษาถูกตองเหมาะสมกับเรื่อง ข. ไมใชคําท่ีสอเสียด เยาะเยย ถากถาง ค. มีวิธีการนําเสนอท่ีนาสนใจ ง. ถูกท้ังขอ ก ข และ ค ๓๖. สุภาษติสอนหญิงเปนผลงานประพันธของใคร ก. สุนทรภู ข. รัชกาลท่ี ๓ ค. รัชกาลท่ี ๔ ง. นายแกว นายขวัญ ๓๗. “มีสลึงพึงประจบใหครบบาท” คํากลอนนี้สอนในเรื่องใด ก. ใหรูจักการใชจาย ข. ใหรูจกัประหยดั ค. ใหรูจกัหนวยของเงิน ง. ใหรูจกัคาของสินคา

๓๘. ขอใดสอนใหมีความกตัญู ก. จงรักนวลสงวนตัว ข. จะนุงหมดูพอสมศักดิ์สงวน ค. จงเล้ียงทานอยาใหอดระทดใจ ง. อยารีบรอนเรงนักมักไมด ี๓๙. “เปนสาวแสแรรวยสวยสะอาด ก็หมายมาดเหมือนมณีอันมีคา แมนแตกราวรานรอยถอยราคา จักพลอยพาหอมหายจากกายนาง” บทรอยกรองขางตนเปรียบเทียบผูหญิงเหมือนส่ิงใด ก. ความสะอาด ข. ความมีราคา ค. ความหอม ง. ความมีคา ๔๐. ขอใดท่ีผูหญิงไมควรปฏิบัต ิ ก. รักงานของสตร ี ข. คบเฉพาะเพ่ือนท่ีดีเทานั้น ค. เม่ือเหน็ดเหนื่อยก็ไปเท่ียวบานเพ่ือน ง. ทําส่ิงใดควรทําใหตลอด

Page 26: ภาคผนวกsoreda.oas.psu.ac.th/files/623_file_Appendix.pdf · 112 การหาคุณภาพของเครื่องมือวิจัย 1. การหาความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา

131

ช่ือ.....................................................................เลขท่ี................................ช้ันประถมศึกษาปท่ี..........

โรงเรียน............................................อําเภอ..........................จังหวัด...................................... คําชี้แจง 1. แบบวัดฉบับนี้มีท้ังหมด 20 ขอ 2. ใหนักเรยีนอานขอความในแบบวดัการรับรูความสามารถในการเรียนวิชาภาษาไทย

แตละขอ แลวพิจารณาใหสอดคลองกับความรูสึกของนักเรียนมากท่ีสุด โดยทํา เครื่องหมาย ลงในชองวางหลังขอความท่ีกําหนดไว 5 ระดับ ซ่ึงมีเกณฑ ดังนี ้

ระดับความม่ันใจ 5 หมายถึง ม่ันใจมากท่ีสุด ระดับความม่ันใจ 4 หมายถึง ม่ันใจมาก ระดับความม่ันใจ 3 หมายถึง ม่ันใจปานกลาง ระดับความม่ันใจ 2 หมายถึง ม่ันใจนอย ระดับความม่ันใจ 1 หมายถึง ม่ันใจนอยท่ีสุด

ขอ ขอความ ระดับความม่ันใจใน

ความสามารถของตนเอง 5 4 3 2 1

1. ฉันสามารถอานหนังสือไดอยางรวดเรว็ 2. การตคีวามความหมายของคํา สํานวน โวหาร

การเปรียบเทียบเปนส่ิงท่ียากสําหรับฉัน

3. ฉันสามารถจับประเดน็สําคัญจากเรื่องท่ีอานได 4. ฉันไมสามารถแยกขอเท็จจริง ขอคิดเห็นจากเรื่องท่ีอานได 5. ฉันไมเคยเขาใจวัตถุประสงคในการเขยีนของผูแตงจากเรื่องท่ี

ฉันอาน

6. ฉันสามารถนําความรูท่ีใชในการอานไปใชแกปญหา ได 7. ฉันเรียนรูส่ิงใหมๆ ไดจากการอาน 8. ฉันสามารถเลือกหนังสือจากแหลงเรียนรูไดตรงกับความ

ตองการของตนเอง

9. ฉันสามารถเขียนส่ือความหมายไดตามรูปแบบท่ีกําหนด 10. การเขียนเรื่องราวจากจนิตนาการหรือเรื่องราวท่ีสัมพันธกับชีวิต

จริงเปนส่ิงท่ีฉันไมถนดั

แบบวัดการรับรูความสามารถในการเรียนวิชาภาษาไทย

Page 27: ภาคผนวกsoreda.oas.psu.ac.th/files/623_file_Appendix.pdf · 112 การหาคุณภาพของเครื่องมือวิจัย 1. การหาความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา

132

ขอ ขอความ ระดับความม่ันใจใน

ความสามารถของตนเอง 5 4 3 2 1

11. ฉันใชทักษะการเขียนจดบันทึกขอมูลความรู ประสบการณ เหตุการณ และการสังเกตอยางเปนระบบ

12. การทําแผนภาพความคิดเปนส่ิงท่ีซับซอนสําหรับฉัน 13. ฉันอธิบายส่ิงท่ีเรียนรูมาแลวไดดวยคําพูดตนเอง 14. ฉันสามารถบอกประโยชนของส่ิงท่ีเรียนรูมาแลวได 15. ฉันสามารถเลือกใชภาษาไดเหมาะสมกับสถานการณ 16. ฉันเขาจดุประสงคของเรื่องและของผูพูด 17. ฉันสามารถทองจําบทรอยกรองท่ีไพเราะและมีคุณคาทาง

ความคดิ

18. ฉันสามารถนําบทรอยกรองไปใชในการพูด และการเขียน 19. ฉันไมสามารถแตงกาพยและกลอนงายๆได

20. ฉันสามารถเลานิทาน ตํานานพ้ืนบานในทองถ่ินได

Page 28: ภาคผนวกsoreda.oas.psu.ac.th/files/623_file_Appendix.pdf · 112 การหาคุณภาพของเครื่องมือวิจัย 1. การหาความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา

133

แผนการจัดการเรียนรูที ่๑ แผนการจัดการเรียนรูดวยเทคนิค KWL Plus

กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที ่๖ หนวยการเรียนรู: การอานเพ่ือคดิ...พินิจดวยเหตุผล จํานวน ๑๕ ชั่วโมง เร่ือง นิทานแสนสนุก เวลา ๒ ชั่วโมง ********************************************************************************** สาระสําคัญ

นิทาน นอกจากจะใหความบันเทิงแกนกัเรียนแลว ยังใหความรูแกนกัเรียนไดโดยท่ีเขาไมรูตัว หากเขาสามารถอานแลวจับใจความสําคัญ วิเคราะหความ แสดงความคดิเห็น และใชคําในการเขยีนสรุปความจากเรื่องท่ีอานได ตรงตามความหมาย และชัดเจน ผลการเรียนรูที่คาดหวัง

๑. อานนิทานท่ีกําหนดให แลวสามารถจับใจความสําคญั วิเคราะหความและสรุปความจาก เรื่องท่ีอาน

๒. สนทนาโตตอบ แสดงความรู ความคดิเห็น วิเคราะหเรื่องตาง ๆ อยางมีเหตุผล ใชถอยคํา และภาษาไดถูกตองตามหลักการใชภาษา เหมาะสมกับระดับช้ันท่ีเรียน

๓. เลือกใชคําเขียนประโยค เรื่องราวตางๆ เพ่ือส่ือสารไดตรงตามความหมาย จุดประสงคการเรียนรู

๑. จับใจความ วิเคราะหความ และสรุปความจากเรื่องท่ีอานได ๒. จําแนกขอคิดและคณุคาท่ีไดจากการอานได ๓. แสดงความคดิเห็นเชิงโตแยง โนมนาวอยางมีเหตุผล และสรางสรรค ๔. ใชผังมโนทัศน หรือแผนภาพโครงเรื่อง องคประกอบการเขียน ยกราง ตรวจทาน ปรับปรุง

แกไข และเขียนเรื่องใหสมบูรณได ๕. มีมารยาทในการฟง การดู และการพูด ๖. มีความรับผิดชอบ มีวินยัและทํางานรวมกับผูอ่ืนได

สาระการเรียนรู ๑. การอานเชิงวิเคราะห ตีความ สรุปความ

๒. การจับใจความ วิเคราะห และแสดงความคิดเห็นอยางมีวิจารณญาณ

Page 29: ภาคผนวกsoreda.oas.psu.ac.th/files/623_file_Appendix.pdf · 112 การหาคุณภาพของเครื่องมือวิจัย 1. การหาความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา

134

๓. มารยาทการฟง การดู และการพูด ๔. การใชภาษาเหมาะกับบุคคล สถานการณ ๕. การอานนิทาน ๖. การแลกเปล่ียนขอคิดเห็นท่ีไดจากการอาน

กระบวนการเรียนรู

กิจกรรมการเรียนรู บทบาทครู บทบาทนักเรียน ๑. การเตรียมความพรอม และใหความรูพ้ืนฐาน การอาน และการเรียนรูตาม ขั้นตอนของเทคนิค KWL Plus

- ครูช้ีแจงจุดประสงคการเรียนรู ใหนักเรยีนทราบ - ครูทบทวนขัน้ตอนการเรียนรูตามเทคนิค KWL Plus และการเขียนบันทึกลงในตาราง KWL – Chart

- ซักถามส่ิงท่ีตนสงสัย เกี่ยวกับจุดประสงค การเรียนรู - นักเรียนทบทวนความรูเดิม ของตนเองเกี่ยวกับ การปฏิบัติกจิกรรม และ การเขียนบันทึกลงใน ตาราง KWL – Chart

๒. การจดักจิกรรมฝก ความสามารถดานการอาน ๒.๑ ขั้น K (What do I know)

- ครกูระตุนใหนกัเรียนตั้งคําถาม โดยครูคอยชวยเหลือ แนะนํา และตั้งคําถามรวมกับนักเรียน

- นักเรียนชวยกันตอบคําถาม - นักเรียนจําแนกประเภทขอความรูท่ีมีเขียนลงในชอง K ของตาราง KWL – Chart

๒.๒ ขั้น W (What do I want to learn)

- ครูเลานิทานท่ีจะเรียนใหนักเรียนทราบเพียงคราวๆและจับประเด็นสําคญัท่ีมีในนิทานมาถามกระตุนเพ่ือวดัความรูเดิม เชน

Page 30: ภาคผนวกsoreda.oas.psu.ac.th/files/623_file_Appendix.pdf · 112 การหาคุณภาพของเครื่องมือวิจัย 1. การหาความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา

135

กิจกรรมการเรียนรู บทบาทครู บทบาทนักเรียน ๑.ใครชอบฟงหรืออานนิทาน

บาง ๒.นักเรียนคิดวานิทานมีประโยชนกับเราอยางไรบาง ๓.ในชีวติจริงของนักเรียนเคยเจอเหตุการณแบบในนิทานท่ีนักเรียนอานหรือฟงบางหรือไม ๔.นักเรียนคิดวาถานักเรียนเจอเหตุการณเหลานั้นนักเรียนจะแกปญหาอยางไร - ครใูหนักเรยีนอานในใจเรื่อง นิทานแสนสนุก

- นักเรียนชวยกันบอกเกี่ยวกับส่ิงท่ีนักเรียนสงสัยหรือตองการจะเรียนรูจากเรื่องนิทานแสนสนุก - นักเรียนชวยกันรวบรวมและเรียบเรียงคําถามเขียนลงในชอง W ของตาราง KWL – Chart - นักเรียนอานในใจเรื่องท่ีกําหนดใหและบันทึกคําถามหรือคําตอบท่ีไดจากการอาน

๒.๓ ขั้น L1 (What I learned)

- เม่ือนักเรียนอานเรื่องจบแลว กระตุนใหนกัเรียนบอกส่ิงท่ีไดเรียนรูแลวหลังจากการอานเรื่อง นิทานแสนสนุก

- นักเรียนชวยกันตอบคําถามและบอกส่ิงท่ีไดเรียนรูจากเรื่องท่ีอาน

- ครูบันทึกส่ิงท่ีนกัเรียนไดเรียนรูแลวลงในตารางชอง L - ครกูระตุนใหนกัเรียนชวยกัน จัดลําดับเนื้อหาท่ีไดเรียนรูแลว - ครกูระตุนใหนกัเรียนชวยกัน ตรวจสอบความรูท่ีนกัเรียนรูแลว กับส่ิงท่ีนักเรียนตองการรู ท่ีตั้งไวในชองW วาตอบคําถามไดครบทุกขอหรือไม

- นักเรียนบันทึกส่ิงท่ีไดเรียนรูแลวลงในตารางชอง L เปนรายบุคคล - นักเรียนชวยกันจัดลําดับเนื้อหาท่ีไดเรียนรูแลว - นักเรียนชวยกันตรวจสอบ ความรูท่ีไดเรียนรูไปแลว

Page 31: ภาคผนวกsoreda.oas.psu.ac.th/files/623_file_Appendix.pdf · 112 การหาคุณภาพของเครื่องมือวิจัย 1. การหาความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา

136

กิจกรรมการเรียนรู บทบาทครู บทบาทนักเรียน - ครใูหนักเรยีนแยกคําถามท่ี

นักเรียนยังหาคําตอบไมได ไวท่ีสวนทายของตารางชอง W - ครูชวยอธิบายเพ่ิมเติมในขอคําถามท่ีนักเรียนยังไมไดรับคําตอบ

- นักเรียนชวยกันแยกคําถามท่ียังหาคําตอบไมไดแลว บันทึกคําถามท่ียังหา คําตอบไมไดลงในตาราง ชอง W เปนรายบุคคล - นักเรียนจดบันทึกเพ่ิมเติมในสวนของคําถามท่ีตนเองไมเขาใจจากคําอธิบายของครู

๒.๔ ขั้น L2 (Mapping)

- ครใูหนักเรยีนชวยกันวิเคราะหประเด็นสําคัญๆ ของเรื่องนิทานแสนสนุก - ครใูหนักเรยีนชวยกันเรียงลําดับเหตกุารณตั้งแตตนจนจบ โดยออกมาเขยีนลําดับเหตุการณของเรื่องบนกระดานดํา - ครใูหนักเรยีนทําแผนผังความคดิลงในใบงานท่ีแจกให

- นักเรียนนําความรูท่ีไดจาก ขั้น L มาอธิบายเพ่ิมเติม แยกแยะประเด็นสําคัญลงในแผนผังความคดิ - นักเรียนชวยกันเรียงลําดับเหตุการณตั้งแตตนจบจนบนกระดานทีละคน - นักเรียนนําขอมูลท่ีไดจัดประเภทไวมาเขียนเปนแผนผังความคดิ พรอมท้ังอธิบายเพ่ิมเติมในแตละประเดน็

๒.๕ ขั้น L3 (Summarizing)

- ครใูหนักเรยีนชวยกันสรุปความรูท่ีไดจากเรื่องนิทานแสนสนุก - ครูสนทนาถึงเรื่อง “นิทานแสนสนุก” โดยการถามนํา แลวใหนักเรยีนทําใบงานเปนการบาน

- นักเรียนแตละคนชวยกันสรุปปากเปลาเกี่ยวกับความรูท่ีไดจากเรื่องนิทานแสนสนุก - นักเรียนรวมสนทนาและตอบคําถามเพ่ือสรุปบทเรียน แลวทํากิจกรรมใบงานนิทานแสนสนุก

Page 32: ภาคผนวกsoreda.oas.psu.ac.th/files/623_file_Appendix.pdf · 112 การหาคุณภาพของเครื่องมือวิจัย 1. การหาความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา

137

กระบวนการวัดผลประเมินผล วิธีการวัด

๑. การสังเกตพฤตกิรรมการเรียน ๒. การตรวจผลงาน

เคร่ืองมือ ๑. แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางาน

๒. แบบประเมินวิธีการนําเสนอผลงาน ๓. แบบบันทึกการตรวจผลงาน

เกณฑการประเมิน ๑. สังเกตพฤติกรรมการทํางาน ผานเกณฑรอยละ ๗๐ (๑๔ คะแนน) ๒. การนําเสนอผลงาน ผานเกณฑรอยละ ๗๐ (๑๗ คะแนน) ๓. การตรวจผลงาน ผานเกณฑ รอยละ ๗๐ (๑๑ คะแนน)

ส่ือ/แหลงเรียนรู ๑. หนังสือเรียนภาษาพาทีช้ันประถมศึกษาปท่ี ๖ ๒. ใบงาน

Page 33: ภาคผนวกsoreda.oas.psu.ac.th/files/623_file_Appendix.pdf · 112 การหาคุณภาพของเครื่องมือวิจัย 1. การหาความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา

138

ตาราง KWL – Chart เร่ือง “นิทานแสนสนกุ”

ชื่อกลุม................................................................................... สมาชิกในกลุม

๑………………………………………………………………………………………………… ๒……………………………………………………………………………………………… ๓……………………………………………………………………………………………… ๔………………………………………………………………………………………………

K รูอะไรบางเกี่ยวกับ

เร่ือง “นิทานแสนสนุก”

W ตองการรูอะไรอีกบางเกีย่วกบั

เร่ือง “นิทานแสนสนุก”

L อานเร่ือง “นิทานแสนสนุก”

แลวรูอะไรบาง …………………………… …………………………… …………………………… …………………………… …………………………… …………………………… …………………………… …………………………… …………………………… …………………………… …………………………… …………………………… …………………………… …………………………… …………………………… …………………………… …………………………… …………………………… …………………………… ……………………………

…………………………… …………………………… …………………………… …………………………… …………………………… …………………………… …………………………… …………………………… …………………………… …………………………… …………………………… …………………………… …………………………… …………………………… …………………………… …………………………… …………………………… …………………………… …………………………… ……………………………

…………………………… …………………………… …………………………… …………………………… …………………………… …………………………… …………………………… …………………………… …………………………… …………………………… …………………………… …………………………… …………………………… …………………………… …………………………… …………………………… …………………………… …………………………… …………………………… ……………………………

Page 34: ภาคผนวกsoreda.oas.psu.ac.th/files/623_file_Appendix.pdf · 112 การหาคุณภาพของเครื่องมือวิจัย 1. การหาความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา

139

แผนผังความคิดเร่ือง “นิทานแสนสนกุ”

สรุปใจความสําคัญเร่ือง “นิทานแสนสนุก”

............................................................................................................................................................................

............................................................................................................................................................................

............................................................................................................................................................................

............................................................................................................................................................................

............................................................................................................................................................................

.............................................................................................................

Page 35: ภาคผนวกsoreda.oas.psu.ac.th/files/623_file_Appendix.pdf · 112 การหาคุณภาพของเครื่องมือวิจัย 1. การหาความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา

140

แผนผังความคิดเร่ือง “นิทานแสนสนกุ”

สรุปใจความสําคัญเร่ือง “หญิงแกกับหม”ู

..........................................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................................

............................................

Page 36: ภาคผนวกsoreda.oas.psu.ac.th/files/623_file_Appendix.pdf · 112 การหาคุณภาพของเครื่องมือวิจัย 1. การหาความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา

141

แผนผังความคิดเร่ือง “นิทานแสนสนกุ”

สรุปใจความสําคัญเร่ือง “ฟาแลบฟารอง”

.............................................................................................................................................................................

.............................................................................................................................................................................

.............................................................................................................................................................................

.............................................................................................................................................................................

.............................................................................................................................................................................

.............................

Page 37: ภาคผนวกsoreda.oas.psu.ac.th/files/623_file_Appendix.pdf · 112 การหาคุณภาพของเครื่องมือวิจัย 1. การหาความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา

142

“ครั้งหนึ่งนานมาแลว... กาลครั้งหนึ่ง.... มีเรื่องเลาวา.....” กองพึมพําจนทําใหพลอยสงสัยถามวา “กองบนอะไร โกรธกับใครมาหรือเปลา เห็นพูดอยูคนเดียว” “เปลา! ยังมีมิตรไมตรีดีกับเพ่ือนทุกคน ท่ีออกเสียงพึมพําก็เพราะเตรียมพรอมเลานิทานใหนองๆ ฟงไงละ” กองรีบตอบ เกรงพลอยจะเขาใจผิด “เออจริง! พลอยลืมสนิทเลยวา วันเสารนี้เราตองไปจดักิจกรรมบําเพ็ญประโยชน” พลอยพูด แลวหันไปถามชมพูซ่ึงกําลังกมหนากมตาอานหนังสือนิทานกองโต “ชมพูรูไหม ช้ัน ป.๖ ของเรา ตกลงจะไปบําเพ็ญประโยชนท่ีไหน อยูไกลไหม” “ท่ีโรงเรียนบานเชิงดอย อยูใกลๆ โรงเรียนของเรานี่เอง” ชมพูบอก ปนี้นักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี ๖ ตกลงกันวาจะจัดกิจกรรมบําเพ็ญประโยชนใหแกนองๆ ท่ีโรงเรียนบานเชิงดอย ซ่ึงโรงเรยีนเล็กๆ แหงหนึ่งในชุมชน กิจกรรมท่ีจดัไปชวยเดก็ๆ ของโรงเรียนบานเชิงดอยมีอยู ๓ อยาง คือ การเลานิทาน การวาดภาพ และการพับกระดาษเปนรูปตางๆ แตละคนเลือกกิจกรรมท่ีตนเองถนัดไปสอนนอง กอง ชมพู และพลอย เลือกกิจกรรมการเลานิทานเพ่ือเลาใหนองช้ันประถมศึกษาปท่ี ๑-๒ ฟง จึงปรึกษากันวาจะเลือกนิทานอะไรดี เพราะนิทานมีหลายประเภท เชน ตํานานหรือนิทานปรัมปรา นิทานชาดก นิทานอีสป ฯฯลฯ ชมพูบอกวา “ฉันจะเลือกนิทานปรัมปรานะ ฉันอานพอดีเลย เปนตํานานเกี่ยวกับท่ีมาของฟาแลบฟารอง” “ดีจะ เดก็ๆ คงชอบ เพราะเปนเรื่องของธรรมชาติท่ีใกลตวั นองเขาตองเคยเห็นฟาแลบ เคยไดยินฟารองมาแลว” พลอยสนับสนุน “แลวพลอยละ เลือกไดหรือยัง” ชมพูถามเพ่ือนดวยความเปนหวง “พลอยเลือกนิทานแบบลูกโซ ท่ีเหมือนกับยายกะตาปลูกถ่ัวปลูกงาใหหลานเฝา เดก็ๆ คงชอบ เดี๋ยวขอเวลาคนจากหนังสือนิทานพวกนี้กอน วาจะเลือกเรื่องไหนดีท่ีคลายๆ กนั” พลอยบอก กองทําทาคิด แลวพูดวา “ผมนึกออกแลว ผมจะเลาเรื่องส้ันๆ ใหนองฟงดีกวา นองตองชอบแนๆ เลย ตอนแรกผมคิดจะเลานิทานเกี่ยวกับผีๆ เกรงวานองจะกลัว”

นิทานแสนสนุก

Page 38: ภาคผนวกsoreda.oas.psu.ac.th/files/623_file_Appendix.pdf · 112 การหาคุณภาพของเครื่องมือวิจัย 1. การหาความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา

143

ชมพูและพลอยเห็นดวยกับกอง ตางก็ไปจัดเตรียมเรื่องท่ีจะเลาพรอมท้ังมีหุนมือ และรูปภาพประกอบการเลา เม่ือท้ังสามคนเลือกเรื่องไดแลว จึงจดบันทึกลงในกระดาษ แลวผลัดกันซอมเลา ผลัดกันฟงและชวยกันเสริมวา ควรใชบทสนทนาวาอยางไร ใชน้ําเสียงอยางไรจึงจะชวนฟง แลวชวยกันหาอุปกรณมาประกอบการเลาใหนาสนใจยิ่งขึ้น

ตํานานปรัมปราในนิทานพ้ืนบานไทยท่ีชมพูเลือก คือท่ีมาของเรื่องฟาแลบฟารอง มีใจความวา ครั้งหนึ่งนานมาแลว มีพญามังกรตัวหนึ่งมีฤทธ์ิมาก ทองเท่ียวอยูในมหาสมุทร พญามังกรตัวนี้มีดวงแกวซ่ึงมีรัศมีเจิดจาประดับอยูท่ีหัว และมีธิดาช่ือวา นางเมขลา มีรูปรางและใบหนางดงามมาก นางชอบเท่ียว ชอบสนุก มักทองเท่ียว รองเลนเตนรําไปในท่ีตางๆ พญามังกรเปนหวงลูกสาวจึงพาไปถวายตัวเปนนางสนมของพระอินทร และไดถวายดวงแกวของตนใหแกพระอินทรดวย พระอินทรรับดวงแกวไว แลวมอบใหนางเมขลาเปนผูดูแลรักษา นางเมขลาเม่ืออยูกับพระอินทรก็กลัดกลุมท่ีไมไดทองเท่ียว วันหนึ่งนางแอบหนีไปเท่ียวและนําดวงแกวไปดวย นางรายรําอยูระหวางกอนเมฆเหนือฟองคล่ืนท่ัวทองมหาสมุทร พลางโยนดวงแกวเลนอยางสนุกสนานเกิดแสงเปนประกายวูบวาบไมยอมกลับสวรรค เม่ือเปนเชนนี้พระอินทรจึงมอบหนาท่ีใหนางดูแลรักษามหาสมุทร ยังมียักษตนหนึ่งช่ือรามสูร มีขวานเพชรเปนอาวุธ วันหนึง่รามสูรไปเยี่ยมเพ่ือนช่ือราหู พบวาราหูตัวขาดเหลือเพียงครึ่งตัวแตยังไมตาย ราหูเลาวา ตนไดแอบดื่มน้ําอมฤตท่ีพระนารายณชักชวนใหเทวดาท้ังหลายรวมท้ังตนเองมาชวยกวน พระนารายณทราบก็โกรธ ขวางจักรมาถูกตนจึงทําใหรางกายขาดเปนสองทอน รามสูรสงสารเพ่ือนจงึไปขอใหพระอินทรชวย แตเพ่ือเปนการเอาใจพระอินทร จึงคิดจะจับนางเมขลาไปถวายพระอินทร รามสูรพยายามจะจับนางเมขลาใหได แตนางเมขลาก็หลบหลีกไดวองไว พลางโยนดวงแกวลอหลอก แสงของดวงแกวกระทบตาของรามสูรจนพรามัว รามสูรโกรธจึงขวางขวานเพชรไปหมายจะฆานางเมขลาเสีย แตดวงแกวก็คุมครองนางใหหลบหนีไดทุกครั้ง รามสูรก็ติดตามตอสูอยูเชนนี้เรื่อยไป ผูเฒาผูแกมักเลาสูกันฟงวา เวลาฝนตกฟาแลบแปลบปลาบ เปนเพราะประกายจากดวงแกวของนางเมขลา สวนเสียงฟารองนั้นเกิดจากรามสูรขวางขวานเพชรไปท่ีนางเมขลา บางครั้งเม่ือขวานเพชรพลาดไมโดนดวงแกว แลวตกลงมาบนพ้ืนโลก ทําใหเกิดเสียงกึกกองกัมปนาทเปนเสียงฟาผา นิทานท่ีพลอยเลือกเปนนิทานลูกโซ ซ่ึงมีจุดเริ่มตน แลววนกลับมาท่ีเดิม คือเรื่อง หญิงแกกับหมู มีใจความวา... หญิงแกเล้ียงหมู ตอนหมูเขาคอก หมูไมยอมเขาคอก หญิงแกขอใหหมากัดหมู หมาไมยอมกัดหมู หญิงแกขอใหไมตีหมา ไมไมยอมตีหมา หญิงแกขอใหไฟไหมไม ไฟไมยอมไหมไม

Page 39: ภาคผนวกsoreda.oas.psu.ac.th/files/623_file_Appendix.pdf · 112 การหาคุณภาพของเครื่องมือวิจัย 1. การหาความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา

144

หญิงแกขอใหน้ําดับไฟ น้ําไมยอมดับไฟ หญิงแกขอใหวัวกินน้ํา วัวไมยอมกนิน้ํา หญิงแกขอใหคนตวีัว คนไมยอมตีววั หญิงแกขอใหเชือกมัดคอคน เชือกไมยอมมัดคอคน หญิงแกขอใหหนกูัดเชือก หนูไมยอมกัดเชือก หญิงแกขอใหแมวกัดหน ู แมวไมยอมกัดหน ู หญิงแกใหแมวกินนม แมวกินนมแลวจึงไลกดัหน ู หนูจึงจะกัดเชือก เชือกจึงจะมัดคอคน คนจึงจะตีววั วัวจึงจะกนิน้ํา น้ําจึงจะดับไฟ ไฟจึงจะไหมไม ไมจึงจะตีหมา หมาจึงจะกดัหมู หมูจึงยอมเขาคอก นิทานท่ีกองเลือกเปนนิทาน เกี่ยวกับคนหูตึง ทําใหมีปญหาในการส่ือสาร ซ่ึงมีใจความวา... มีเด็กวัดคนหนึ่งเปนคนหูตึง วันหนึ่งสมภารใหไปขอยาสามัญประจําบานมาให เด็กหูตึงคนนั้นฟงไมถนัด นึกวาทานสมภารบอกใหไปขอน้ําปลาและไมไดซักถามใหแน จึงออกเดินไปท่ีหมูบานทันที พบเด็กหญิงหูตึงคนหนึ่งกําลังทอเส่ืออยูหนาบาน จึงเขาไปขอน้ําปลาใหทานสมภาร เด็กหญิงหูตึงก็บอกวา เส่ือของเธอเพ่ิงทอไดสามรอยยี่สิบเสนเทานั้นเอง เด็กวัดคิดวาเด็กหญิงหูตึงมีธุระยุงอยูกับการทอผา จึงเขาไปในครัวและตักน้ําปลามาหมอหนึ่ง แลวก็กลับวัด เด็กหญิงเห็นเด็กวัดถือน้ําปลาไปเชนนั้น ก็วิ่งไปหาแมซ่ึงกําลังซักผา บอกแมใหไปฟองทานสมภารวา ลูกศิษยของทานมาถานถึงเรื่องทอเส่ือ แตกลับเขาไปในครัว ขโมยน้ําปลาวิ่งหนีไป แมเปนคนหูตึงจึงดุลูกวา ลูกยังเด็กอยู ยังไมสมควรคิดถึงเรื่องแตงงาน เม่ือโตพอแลวแมจะชวยจัดการหาให เด็กหญิงก็กลับไปทอเส่ือ สวนแมก็คงซักผาตอไป แมนั่งคิดถึงเรื่องท่ีลูกสาวมาบอกวาอยากจะแตงงาน เห็นวาเรื่องนี้เปนเรื่องสําคัญท่ีจะตองบอกใหสามีรูวา ลูกสาวคิดอยากแตงงาน หลอนจึงวิ่งไปหาสามีซ่ึงกําลังสานตะกราอยู เพราะเกรงวาถาสามีรูภายหลังคงตีลูกสาวแนๆ สามีซ่ึงเปนคนหูตึงเหมือนกัน เม่ือไดยินภรรยาพูดเชนนั้นก็อมยิ้มแลวพูดตอบวา ภรรยาของเขาไมนาจะตองมาบอกวิธีทําเลย เพราะตะกรามันก็ตองทํากลมๆ กระบุงใสขาวตางหากท่ีทําเปนส่ีเหล่ียม

เด็กๆ ท่ีโรงเรียนบานเชิงดอย ตางก็ไดรับความรู ความคิด และความสนุกสนาน ท่ีพวกพ่ีๆ มาจัดกิจกรรมบําเพ็ญประโยชนในครั้งนี้ เด็กๆ อยากใหพ่ีๆ มาอีก พวกเขาจะคอย

Page 40: ภาคผนวกsoreda.oas.psu.ac.th/files/623_file_Appendix.pdf · 112 การหาคุณภาพของเครื่องมือวิจัย 1. การหาความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา

145

คําศัพท คําชี้แจง ใหนักเรียนเขียนคําภาษาถิ่น คําอานภาษาไทย และความหมายของคําศพัทที่กําหนดให

คําภาษาถิน่ คําภาษาไทย คําอาน ความหมาย

145

Page 41: ภาคผนวกsoreda.oas.psu.ac.th/files/623_file_Appendix.pdf · 112 การหาคุณภาพของเครื่องมือวิจัย 1. การหาความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา

118