ในพืชผลทางการเกษตร วันศุกร ที่ 23...

18
1 รายการพิเศษรณรงคฝาวิกฤติเพลี้ย ในพืชผลทางการเกษตร วันศุกร ที23 เมษายน 2553 เวลา 08.00 – 12.00 . สถานีวิทยุ .. เพลี้ยกระโดดสีน้ําตาล (Brown planthopper, BPH)

Upload: others

Post on 09-Jul-2020

4 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: ในพืชผลทางการเกษตร วันศุกร ที่ 23 เมษายน 2553 เวลา 08.00 ...eto.ku.ac.th/neweto/e-book/other/brown.pdf ·

1

รายการพิเศษรณรงคฝาวิกฤติเพลี้ย ในพืชผลทางการเกษตร

วันศุกร ที่ 23 เมษายน 2553 เวลา 08.00 – 12.00 น. ณ สถานีวิทยุ ม.ก.

เพล้ียกระโดดสีนํ้าตาล (Brown planthopper, BPH)

Page 2: ในพืชผลทางการเกษตร วันศุกร ที่ 23 เมษายน 2553 เวลา 08.00 ...eto.ku.ac.th/neweto/e-book/other/brown.pdf ·

2

สารบญั

หนา

ลักษณะท่ัวไป 1 ลักษณะการทําลาย 2 ปจจัยที่มีผลตอการระบาด 3 การบริหารจัดการเพลี้ยกระโดดสีน้ําตาล 4 สารเคมีที่ใชควบคุม 5 รายการพิเศษรณรงคฝาวิกฤติเพลี้ย ในพืชผลทางการเกษตร วันศุกร ท่ี 23 เมษายน 2553 เวลา 08.00 – 12.00 น. 5

Page 3: ในพืชผลทางการเกษตร วันศุกร ที่ 23 เมษายน 2553 เวลา 08.00 ...eto.ku.ac.th/neweto/e-book/other/brown.pdf ·

1

เพลีย้กระโดดสีน้ําตาล (Brown planthopper, BPH )

ลักษณะทั่วไป

เพล้ียกระโดดสีน้ําตาล เปนแมลงจําพวกปากดูด อยูในอันดับ Homoptera วงค Delphacidae มีชื่อวิทยาศาสตรวา Nilaparvata lugens (Stal) ตัวเต็มวัยมีลําตัวสีนํ้าตาลถึงสีน้ําตาลปนดํา มีรูปราง 2 ลักษณะ คือ ชนิดปกยาว (macropterous form) และชนิดปกส้ัน (bracrypterous form) ชนิดมีปกยาวสามารถเคลื่อนยายและอพยพไปในระยะทางใกลและไกล โดยอาศัยกระแสลมชวย ตัวเต็มวัยเพศเมียจะวางไขเปนกลุม สวนใหญวางไขท่ีกาบใบขาว หรือเสนกลางใบ โดยวางไขเปนกลุม เรียงแถวตามแนวตั้งฉากกับกาบใบขาว บริเวณท่ีวางไขจะมีรอยช้ําเปนสีนํ้าตาล ไขมีลักษณะรูปกระสวยโคงคลายกลวยหอม มีสีขาวขุน ตัวออนมี 5 ระยะ ระยะตัวออน 16-17 วัน ตัวเต็มวัยเพศเมียชนิดปกยาวมีขนาด 4-4.5 มิลลิเมตร วางไขประมาณ 100 ฟอง เพศผูมีขนาด 3.5-4 มิลลิเมตร เพศเมียชนิดปกส้ันวางไขประมาณ 300 ฟอง ตัวเต็มวัยมีชีวิตประมาณ 2 สัปดาห ในหนึ่งฤดูปลูกขาวเพลี้ยกระโดดสีน้ําตาลสามารถเพิ่มปริมาณได 2-3 อายุขัย (generation)

ตัวเตม็วัยชนิดปกสัน้และปกยาว ตัวออนเพล้ียกระโดดสีน้าํตาล

Page 4: ในพืชผลทางการเกษตร วันศุกร ที่ 23 เมษายน 2553 เวลา 08.00 ...eto.ku.ac.th/neweto/e-book/other/brown.pdf ·

2 ลักษณะการทําลาย

เพลี้ยกระโดดสีนํ้าตาลทั้งตัวออนและตัวเต็มวัยทําลายขาวโดยการดูดกินน้ําเลี้ยงจากเซลสทอน้ําทออาหารบริเวณโคนตนขาวระดับเหนือผิวน้ํา ทําใหตนขาวมีอาการใบเหลืองแหงลักษณะคลายถูกน้ํารอนลวก แหงตายเปนหยอมๆเรียก “ อาการไหม (hopperburn)” โดยทั่วไปพบอาการไหมในระยะขาวแตกกอถึงระยะออกรวง ซึ่งตรงกับชวงอายุขัยที่ 2-3 (generation) ของเพลี้ยกระโดดสีนํ้าตาลในนาขาว นาขาวท่ีขาดนํ้าตัวออนจะลงมาอยูท่ีบริเวณโคนกอขาวหรือบนพื้นดินที่แฉะมีความชื้น นอกจากน้ีเพลี้ยกระโดดสีน้ําตาล ยังเปนพาหะนําเชื้อไวรัสโรคใบหงิก (rice ragged stunt) มาสูตนขาวทําใหตนขาวมีอาการแคระแกร็น ตนเตี้ย ใบสีเขียว แคบและสั้น ใบแกชากวาปรกติ ปลายใบบิด เปนเกลียว และ ขอบใบแหวงวิ่น

ลักษณะการระบาดรุนแรงในนา

อาการไหม ( hopper burn ) ของตน

Page 5: ในพืชผลทางการเกษตร วันศุกร ที่ 23 เมษายน 2553 เวลา 08.00 ...eto.ku.ac.th/neweto/e-book/other/brown.pdf ·

3 ปจจัยท่ีมีผลตอการระบาด

วิธีการปลูกขาว การปลูกขาวแบบนาหวานนํ้าตมมีปญหาการระบาดมากกวานาดําเพราะนาหวานมีจํานวนตนขาวหนาแนน ทําใหอุณหภูมิและความชื้นในแปลงนาเหมาะสมตอการเจริญ เติบโตของเพลี้ยกระโดดสีน้ําตาล ประกอบกับนาหวานเพลี้ยกระโดดสีนํ้าตาลสามารถทําลายขาวไดอยางตอเนื่อง

การใชปุย การใชปุยอัตราสูง โดยเฉพาะปุยไนโตรเจน ทําใหการเพิ่มจํานวนเพลี้ยกระโดดสีน้ําตาลในนาขาวมีแนวโนมมากขึ้น เนื่องจากปุยไนโตรเจน ทําใหใบขาวเขียว หนาแนน ตนขาวมีสภาพอวบน้ําเหมาะแกการเขาดูดกินและขยายพันธุของเพลี้ยกระโดดสีนํ้าตาล

การควบคุมนํ้าในนาขาว สภาพนาขาวที่มีนํ้าขังในนาตลอดเวลา ทําใหเพลี้ยกระโดดสีน้ําตาลสามารถเพิ่มจํานวนไดมากกวาสภาพท่ีมีการระบายนํ้าในนาออกเปนครั้งคราว เพราะมีความชื้นเหมาะแกการเจริญเติบโตของเพลี้ยกระโดดสีนํ้าตาล

การใชสารฆาแมลง การใชสารฆาแมลงในระยะที่เพลี้ยกระโดดสีน้ําตาลเปนตัวเต็มวัยชนิดปกยาวหรือชวงที่อพยพเขาในนาขาวใหมๆ ( ขาวระยะ 30 วันหลังหวาน ) ศัตรูธรรมชาติจะถูกทําลายและสารฆาแมลงก็ไมสามารถทําลายไขของเพล้ียกระโดดสีน้ําตาลได ทําใหตัวออนท่ีฟกออกจากไขมีโอกาสรอดชีวิตสูง

ศัตรูธรรมชาติท่ีมีบทบาทในการควบคุมประชากรเพล้ียกระโดดสีน้ําตาลไดแก มวนเขียวดูดไข Cyrtorhinus lividipennis (Reuter) เปนตัวห้ําในอันดับ Hemiptera วงค

Miridae เปนตัวห้ําที่สําคัญทําลายไขเพลี้ยกระโดดสีน้ําตาล โดยการดูดกินของเหลวภายในไข มักพบแพรกระจายในภาคกลางเปนสวนใหญและอพยพเขามาพรอมกับเพลี้ยกระโดดสีน้ําตาล ซึ่งถา

ตนขาวที่เปนโรคใบหงิก ( rice ragged stuntX)

Page 6: ในพืชผลทางการเกษตร วันศุกร ที่ 23 เมษายน 2553 เวลา 08.00 ...eto.ku.ac.th/neweto/e-book/other/brown.pdf ·

4 พบมวนชนิดนี้ในนามากกวาเพลี้ยกระโดดสีน้ําตาล 2-3 เทา มวนชนิดนี้สามารถควบคุมการเพิ่มปริมาณของเพลี้ยกระโดดสีนํ้าตาลโดยไมกอใหเกิดความเสียหายแกผลผลิตขาวได

แมงมุมสุนัขปา Lycosa psuedoannulata ( Bosenberg & Strand ) เปนแมงมุมในอันดับ Araneae วงค Lycosidae เปนตัวห้ําที่มีบทบาทมากที่สุดในการควบคุมปริมาณตัวออนและตัวเต็มวัยของเพลี้ยกระโดดสีน้ําตาลในนาขาว เนื่องจากสามารถเคลื่อนยายไปมาในพื้นที่ตางๆ ในนา โดยจะเคลื่อนยายเขาในนาระยะหลังหวานขาวและจะเพิ่มปริมาณสูงในระยะขาวแตกกอ

การบริหารจัดการเพลี้ยกระโดดสีน้ําตาล

1) ปลูกขาวพันธุตานทานเพลี้ยกระโดดสีน้ําตาล เชน สุพรรณบุรี 1 สุพรรณบุรี 2 สุพรรณบุรี 90 สุพรรณบุรี 60 ปทุมธานี 1 พิษณุโลก 2 ชัยนาท 1 และชัยนาท 2 และไมควรปลูกพันธุเดียวติดตอกันเกิน 4 ฤดูปลูก ควรปลูกสลับกันระหวางพันธุตานทานสูงกับพันธุทนทานหรือพันธุออนแอปานกลาง โดยพิจารณาอายุเก็บเกี่ยวใหใกลเคียงกัน เพื่อลดความเสียหายเม่ือเกิดการระบาดรุนแรง 2) ในแหลงที่มีการระบาด และควบคุมระดับน้ําในนาได หลังปกดําหรือหวาน 2-3 สัปดาหจนถึงระยะตั้งทองควบคุมนํ้าในแปลงนาใหพอดินเปยก หรือมีน้ําเร่ียผิวดินนาน 7-10 วัน แลวปลอยขังทิ้งไวใหแหงเองสลับกันไป จะชวยลดการระบาดของเพล้ียกระโดดสีน้ําตาล 3) เม่ือตรวจพบสัดสวนของเพลี้ยกระโดดสีน้ําตาลตัวเต็มวัยตอมวนเขียวดูดไขระหวาง 6 :1- 8 :1 หรือตัวออนระยะ 1-2 เม่ือขาวอายุ 30-45 วัน จํานวนมากกวา 10 ตัวตอตน ใหใชสารฆาแมลง บูโพรเฟซิน (แอปพลอด 10% ดับบลิวพี) อัตรา 25 มิลลิกรัมตอน้ํา 20 ลิตร พนหรือใชสาร อีโทเฟนพรอกซ (ทรีบอน 10% อีซี) อัตรา 20 มิลลิลิตรตอน้ํา 20 ลิตร หรือ บูโพรเฟซิน/ไอโซโปรคารบ (แอป พลอด/มิพซิน 5%/20% ดับบลิวพี) อัตรา 50 กรัมตอนํ้า 20 ลิตร พนเม่ือพบแมลงสวนใหญเปนตัวเต็มวัยจํานวนมากกวา 1 ตัวตอตน ในระยะขาวต้ังทองถึงออกรวงใชสาร อิมิดาโคลฟริด (คอนฟดอร 10% เอสแอล) อัตรา 15 มิลลิลิตรตอน้ํา 20 ลิตร

Page 7: ในพืชผลทางการเกษตร วันศุกร ที่ 23 เมษายน 2553 เวลา 08.00 ...eto.ku.ac.th/neweto/e-book/other/brown.pdf ·

5 4) ไมควรใชสารฆาแมลงที่ทําใหเกิดการเพิ่มระบาดของเพลี้ยกระโดดสีน้ําตาล ( resurgence ) หรือสารกลุมไพรีทรอยดสังเคราะห เชน แอลฟาไซเพอรมิทริน ไซเพอรมิทริน ไซแฮโลทริน เดคาเมทริน เอสเฟนแวเลอเรต เพอรมิทริน ไตรอะโซฟอส ไซยาโนเฟนฟอส ไอโซซาไทออน ไฟริดาเฟนไทออน ควินาลฟอส และ เตตระคลอรวินฟอส เปนตน สารเคมีที่ใชควบคุม

• คารแทป+ไอโซโพรคารบ 5 กิโลกรัม/ไร • อิมิดาโคลพริด 15-30 ซีซี/นํ้า 20 ลิตร • บูโพรเฟซิน+ไอโซโปรคารบ 50 กรัม/นํ้า 20 ลิตร • ไอโซโปรคาร 60กรัม/นํ้า 20 ลิตร • บูโพรเฟซิน 20-30 กรัม/น้ํา 20 ลิตร • อีทิโพรล 40 ซีซี/น้ํา 20 ลิตร

ท่ีมา : www.phetchaburi.doae.go.th/nongyapong/datalink/plearbrown.doc รายการพิเศษรณรงคฝาวิกฤติเพลี้ย ในพืชผลทางการเกษตร วันศุกร ที่ 23 เมษายน 2553 เวลา 08.00 – 12.00 น.

สวัสดีครับทานผูฟงท่ีเคารพ พบกับรายการพิเศษในวันนี้ รณรงคฝาวิกฤติเพลี้ย ในพืชผลทางการเกษตร มีเพลี้ยกระโดดสีน้ําตาลในนาขาว เพลี้ยแปงในมันสําปะหลัง จากสถานการณท่ีเกิดขึ้นในวันนี้ เราก็ไดจัดเปนรายการพิเศษ ซ่ึงถือวาเปนรายการท่ีเชิญนักวิชาการผูรูในวงการเกษตรมาพูดคุยใหทานไดรับฟงกัน รวมทั้งเกษตรที่ประสบความสําเร็จท่ีอยูในพื้นท่ี ทํากับมือ ก็จะไดมาคุยใหทานไดฟงกันดวย เนื่องจากวาวันนี้ตามขาวคราวในพื้นท่ีกวา ลานเกาแสนไร มีแนวโนมวาจะระบาดมากยิ่งขึ้น ในการปองกันที่ถูกวิธี เขาทํากันอยางไร และก็อาจจะทําความเสียหายอยางมากทีเดียวนะครับซึ่งมูลคาเปนเงิน เรียกวาเปนหม่ืนลานอาจจะมีผลกระทบตอการปลูกขาวในฤดูกาลถัดไป อยางมากมายเลยทีเดียวนะครับ สถานการณเพลียดกระโดดสีน้ําตาลในนาขาว เราก็จะไดไปพูดคุยกับวิทยากรท่ีไดกรุณามารวมในวันนี้ จะมีเกษตรกร ต.พระยาบรรลือ อ.ลาดบัวหลวง จ.พระนครศรีอยุธยา

คุณ กาญจมณี ทรัพยพันธุ กรมการขาว อ.วันทนา ศรีรัตนศักด์ิ ก็จะไดมาพูดคุยใหเราฟงไดพบกับนักคีตวิทยาคนสําคัญท่ี

เราติดตามกันอยูนะครับนั่นคือ รศ.โกศล เจริญสม ผูทรงคุณวุฒิของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรจะไดมาคุยใหเราฟงกัน มีจากกรมวิชาการเกษตรนะครับ อ.สุเทพ สหายา (นักคีตวิทยา) จากสํานักวิจัย

Page 8: ในพืชผลทางการเกษตร วันศุกร ที่ 23 เมษายน 2553 เวลา 08.00 ...eto.ku.ac.th/neweto/e-book/other/brown.pdf ·

6 พัฒนาการอาลักขาพืช กรมวิชาการเกษตร ส่ิงท่ีเราขาดไมไดและจําเปนตองมี น่ันก็คือ กรมการขาวซึ่งเปนสวนสําคัญ ทานไดมาพรอมแลวในวันน้ีนะครับ ในสวนของกรมวิชาการเกษตรซึ่ง เราจะตองเดินตามทานมาโดยตลอดเราก็จะไดไปพบกับ คุณ ลาวัลย จิรพงศผูเชี่ยวชาญดานการจัดการศัตรูพืช ซึ่งก็จะไดมาคุยใหเราฟงกัน เราก็พรอมที่จะไปพูดคุยกับเกษตรกรทุกๆทานในวันนี้ ไปพบกับคุณกาญจมณี สวัสดีครับ คุณกาญจมณี: สวัสดีคะ คุณถวิล: วันนี้ก็มาไกลนะครับ คุณ กาญจมณี: ไมเปนไรคะ พรอมท่ีจะใหความรูกับเกษตรทั้งหลาย เพราะนาสงสารมาก (มองดูแลว

จะไดเก่ียวก็ไมเทาไหร มันเยอะมาก) คือ วาพวกเขาทํานา เขายึดติด เขาไมไดเปลี่ยนแปลงวิธีการ อยางท่ีเราเคยเลาในรายการใหอาจารยฟง วาเขาทํานา เขาไมทําโครงสรางของดินใหดี ทํานาเผาฟาง โดยฟางที่เขาเผานะ คือเงิน 500บาท ทั้งน้ัน ตัวปากาญจนเองทํานามา 39 ป กวาจะฝาวิกฤติมาตรงน้ี คือสมัยกอนมันทําแลวมันเหลือ แตตอนหลังๆๆน้ีไมเหลือ หน้ีก็หลายลานทําเยอะ ตอนหลังๆก็มาประสบความสําเร็จได 8 ปแลว คิดใหมทําใหม ทําแบบเดิมแลวไมเหลือ แลวจะทําอยูอีกไดยังไง โดยการทํานาตองไมเผาฟาง โครงสรางดินมันดี เพลี้ยและโรคแมลงจะไมรบกวน ปากาญจนทํา 70 กวาไร เม่ือกอนทํา สามส่ีรอยไร ทําไปขายไป

คุณถวิล : คนสงสัยวา ถาทําแบบน้ี เพลี้ยกระโดดสีนํ้าตาลก็สามารถฝาไปได อยากจะรูผลผลิตเหมือนกัน วาจะไดเทาไหร

คุณกาญจมณี: แลวแต คือผลผลิตไมไดขึ้นอยูกับที่เราทํา มันตองดูหลายๆอยาง ดูพันธุพืช แสงแดด อุณหภูมิ อากาศ น้ํา และอานหนังสือของครูบาอาจารยเยอะ ไมใชเขาไดกันเกวียนหน่ึงเราได 50 ครั้ง ไมใช!!! เขาไดเกวียนหนึ่งเราก็ไดเกวียนหนึ่ง แตเราตองดูตนทุน เราตองบริการการจัดการ ลงทุนเพื่อลดตนทุนใหได ถาเขาไดกันเกวียนหนึ่ง ถาปากาญจนได 90 ถัง ปาจะ Happy มาก แตไมมีทางที่จะเปนไปไดอยางนั้น ถาเขาไดเกวียนหนึ่ง ปาจะตองได 119 -120 ถัง เราไมไดทําแบบเดิม เราตองเปลี่ยนวิธีใหมแลว

คุณถวิล: แนวปากาญจนเปนอยางไรครับ คุณกาญจมณี: ใชวิธียอยสลายตอฟาง ใชนํ้าจุลินทรียทั้งหลาย พอไปใสแลวฟางก็เปอยหมด แลวก็ใช

ย่ําโดยไมเคยไถ 8 ปแลว ใชการยํ่าเอาตรงนั้นก็ทุนไปหลายหมื่นแตโครงสรางดินมันดี คือตองดูดินกอน แตเกษตรกรเขาผลผลิตจากดิน แตทําไมเขาไมดูดิน เวลาคือ ตนทุน พื้นที่ก็คือตนทุน ตรงไหนท่ีจะไดผลผลิต แลวตองทําตรงนั้นเลย จะไมใหเวลาน้ันตองผานไปวันๆ

คุณถวิล: เหตุผลที่เพลี้ยไมระบาดในนาปากาญจน คืออะไร

Page 9: ในพืชผลทางการเกษตร วันศุกร ที่ 23 เมษายน 2553 เวลา 08.00 ...eto.ku.ac.th/neweto/e-book/other/brown.pdf ·

7 คุณกาญจมณี: เพราะดินดี โครงสรางดินดี ถาไม บํา รุงดิน เอาไฟไปเผาฟาง แลวก็ไมพอ

จุลินทรียก็ไมมี โครงสรางดินก็ไมดี แลวเพลี้ยก็เกิดงาย ดินไมแข็งแรง ถาเราสรางโครงดินใหดี ใหธาตุอาหารท่ีถูก ปุยเคมีดินก็ตองการ แตไมตองการมากมาย ปุยท่ีใสครึ่งลูกแตไมหมด ตองทดลองไปเรื่อยๆ โดยปาลงทุน 1 ไรไมเกิน 2,000 บาท ทํานาไมเหน่ือยเลยสบายใจมาก ลุงทวีทําแนวเดียวกับปากาญจน คนเราก็เหมือนกันทุกคน

คุณถวิล: นี่เปนส่ิงที่ปากาญจนเลาใหฟง เราก็คงจะตองถามรายละเอียดกันตอไป วาวิธีการเปนอยางไร วิธีปองกันของปากาญจนไมใชวิธีการกําจัด แตอาจจะกําจัดก็ไดดวย ที่น้ีไปหาอาจารยโกสุม เจริญสุข เรียกวาคลุกคลีในเรื่องนี้ตลอดเลยทีเดียว แลววันนี้เราจะไปถามอาจารยในเรื่องสถานการณตรงนี้ กับส่ิงที่เกษตรกรพูดมาเม่ือสักครูนี้ อาจารยชวยกรุณาใหความรูเบื้องตนกับเราดวยนะครับ

อ.โกศล: เห็นดวยมากๆ และก็ใชเลยครับ ปจจัยพื้นฐานก็คือ เร่ิมจากดิน และดินท่ีดี คือดินที่มีชีวิต และชีวิตทุกอยางในนั้น มันเปนความลงตัวท่ีไมมีปญหา มีสวนรายอยูบาง ก็มีสวนดีมากํากับควบคุมหมด ตั้งแตเชื้อโรคที่เปนรา ที่เปนอันตราย ก็มีราดีๆไปควบคุมไดแลวก็นําขึ้นมาใชจนกระท่ังเปนแมลงรายบางก็มีดีๆตั้งมากตั้งมายกวากันตั้งมากมาย เชน แมลงมุม ท่ีมีมากมาย แมงมุมทุกชนิดกินเพลี้ยกินแมลงในนา และมีตั้งก่ีชนิด ตั้งมากมาย แมงปอตางๆกินเพล้ีย กบ เขียดปาด คางคก ทั้งหลายก็กินเพลี้ย สัตวกินเพลียมากมาย ดวงดินเปนรอยเปนพัน ดวงกนกระดูกเปนรอยเปนพันชนิดมากมายมหาศาล ในสิ่งที่มีอยูแลวเพื่อชวยกันควบคุมแมลงศัตรูนั่นคือ ปจจัยแรกคือ ไมทําลาย ไมไปฆาใหสูญหาย ปจจัยที่ สอง สรางที่อยูท่ีมันเกื้อกูล ใหเขาอยูได ไมเผา ไมใชสารเคมี ที่มากเกินไป จนทําใหสุญเสียผลผลิต

คุณถวิล: ที่วาไมเผานี้ใชเลยไหมครับ!!! อ.โกศล: ใชครับ เพราะเมื่อถูกความรอนก็ตายหมด ดานคุณคาอาหารนั้นมีมากสารพัด มันก็

เหลือแตขี้เถา นั้นก็เปนความศูนยเปลาตั้งมากมายที่วา จาก หารอยเปนหาพัน หา หม่ืน หาแสน หาลานก่ีเทาไหร สิบลานที่เขาเผากันไปแลว ก็เปนตนที่และจุดเริ่มตนท่ีถูกตองเหมาะสมน่ันก็คือตรงน้ี แลวจะเห็นวาในอดีตกาลมาแลวก็ไมมีปญหา แตจากเหตุปจจัยที่ทําใหเปลี่ยนแปลงไปทําใหปญหามันมากขึ้นรุนแรงมากขึ้นและสิ่งหน่ึงท่ีเราเลี่ยงไมไดในวันนี้ก็คือโลกมันรอนขึ้น นั่นคือปจจัยทางธรรมชาติที่มาทําลายเหมือนกัน

คุณถวิล: เนนตรงระบบนิเวศ คืนระบบนิเวศใหแกธรรมชาติ อ.โกศล: ระบบท่ีมันลงตัวและวิถีธรรมชาติ ตนไมก็ยังสมบูรณกวา ระบบที่เราใสจนมันเหี่ยวเฉา

และอยูไมได เพราะมันผิดธรรมชาติจน ไมสามารถสูรอนนั่นคือสภาพท่ีแลงจัดๆ คือ

Page 10: ในพืชผลทางการเกษตร วันศุกร ที่ 23 เมษายน 2553 เวลา 08.00 ...eto.ku.ac.th/neweto/e-book/other/brown.pdf ·

8

สภาพเกษตรที่ใช เคมีมากเกินไปปุยที่มากเกินไปสรุป ตนไมเฉากวาวิถีทางที่เรากําลังพูด จะสดชื่นมากกวากันนั่นคือความยั่งยืนที่จะสัมผัสไดในภาวะหนาแลงนะครับ

คุณถวิล: จากสถานการณตรงนี้ ซึ่งวันนี้น่ีก็ เกษตรไมรับรูเร่ืองราวอะไรมากมายนัก รูแตเพียงวามันเสียหายแลว เกิดขึ้นในสถานการณตรงนี้ อาจารยอยากจะบอกใหทําอยางไรบาง ชวยตัวเองไดอยางไรบางในสถานการณตอไปนี้

อ.โกศล: มันจะทําทันทีทันควันไมได แตถาคอยกลับในส่ิงที่มันควรจะเปนก็จะได เชน ถาเคยเผาก็หยุดเผาซะ ชีวิตท่ีหายไปจะเรียกมาอยางไร ก็ตองใชเวลา จะตองใชคําวาดินท่ีชีวิต ที่เราเห็นดินมันตายสนิท นั่นคือ มันตายต้ังแตดินแลว อะไรจะเกิดได ชีวิต และตนไมตาย สุดทายคุณก็อยูไมได ตายไปดวยตรงน้ัน

คุณถวิล: ไมเชื่อที่บอกวา อยาไปเผาฟาง ยาไปตางๆนานา จริงหรือเปลา คุณกาญจมณี: จริง คุณถวิล: เชิญ อาจารยมันทนา ครับ อ.มันทนา: ที่ปาเลาถูกมาก คือ เราอยากใหชาวนาไทยทําแบบนี้ เพราะเม้ือก้ีปาบอกวาเคยทํานา

มามาก คือดูแลไมได ตองไปใชเคร่ืองมือ ใชวิธีการท่ีมันเปนเทคโนโลยี จริงๆแลวทางวิชาการแนะนําใหเกษตรกรมีการไถกลบ ทับดิน ไมมีการเผาฟางเพราะดินจะเสีย ที่น้ีวิธีการท่ีปากาญจนทําก็คือ ดินมันสมบูรณมันก็จะไดตนขาวที่มีความแข็งแรงและเราก็ไมใสปุยเคมีท่ีมันเกินความจําเปน ทุกวันนี้เกษตรกรสวนใหญที่มีปญหาเรื่องการระบาด มีปญหาเร่ืองเพลี้ย คือมีการใชปุยยูเรียท่ีมากกวาความจําเปน ก็เหมือนคนอวน แตวามีแตไขมันไมแข็งแรงเหมือนคนท่ีแกรง เพราะฉะน้ันถาเรามีการไถกลบดิน ทําอยางนั้นอยางเดียวขอใหเกษตรกรไถกลบ เพื่อฟางยอยสลายหมด คอยปลูกขาว แตปญหาท่ีการระบาดในเขตนาชลประทาน ภาคกลางและเหนือตอนลาง เกิดขึ้นเนื่องจากเกษตรกรจะไมยอมพักนา คือ พออาทิตยหน่ึงก็จะไถปลูกกันแลว เหมือนท่ีปากาญจนวาคือ ดินจะเสียหมด ความอุดมสมบูรณนํามาใชไมพอ และไมมีการฟนฟู เพราะเราตองการพื้นที่ท่ีเยอะ แตเราไมเคยคํานึงถึงตนทุนในการผลิต อันนี้คือ การท่ีเราทําใหดินกลับมาอุดมสมบูรณ เหมือนเด็กท่ีโตมากับอาหารที่อุดมสมบูรณ ก็จะแข็งแรงเพราะฉะน้ันเราไมใสปจจัยอะไร ที่ทําใหตนขาวมันออนแอ โดยการใชปุยเคมีเกินจําเปนและผิดวิธี ใชสารฆาแมลงที่ไมเหมาะมันก็เลยทําใหมีการระบาดของศัตรูขาวโดยเฉพาะเพลี้ยกระโดดสีน้ําตาล มันเปนแมลงท่ีอยูกับภาคกลาง เพราะมีขาวเปนอาหารอยูนิดเดียว เพราะฉะนั้นนาขาวที่มีการระบาดอยางที่อําเภอวา ประมาณ 1.9 ลาน มันจะอยูในแหลงพื้นที่ที่มีการปลูกขาว 3 ฤดู หรือ 2ฤดู ปลูกตอป ในลุมเจาพระยาเขตชลประทาน ที่สมบูรณ นี้คือ บรรจุที่ทําใหเกิดความรุนแรง และขยายไปในพื้นท่ีที่มากเกินกวาเราจะทําอะไรได และจากวิธีของปากาญจนท่ีจะลงไปดูนา

Page 11: ในพืชผลทางการเกษตร วันศุกร ที่ 23 เมษายน 2553 เวลา 08.00 ...eto.ku.ac.th/neweto/e-book/other/brown.pdf ·

9

ตลอดเวลา และลดจาก 300-400 ไร มาเหลือ 70 ไร และถาเกิดเกษตรกรเราทําใหนอย และใหผลผลิตตอไรสูง และตนทุนต่ํา มันจะอยูได เพราะเกษตรอยางปาจะมีอีกเยอะ แตวาสวนท่ีมีความเสียหายมากมายอยางที่อําเภอวา 1.9 ลาน มาจากเกษตรท่ีไมเชื่อ ใชวิธีการเผาฟาง ไมพักดิน สัก1-2 อาทิตย ก็จะทํากันอีกแลว แลวก็จะใชปุยเคมี และใชเมล็ดพันธท่ีสูง ประมาณ 30-40 กิโลกรัม นักวิชาการแนะนําให 20 กก. ที่น้ีตนขาวมาก ความหนาแนนมาก ก็เหมาะกับสภาพแมลงตัวนี้ และเกษตรกรบานเราไมลงนา

คุณถวลิ: ที่น้ีเรามาดูท่ี อ.สุเทพ จากสํานักวิจัยพัฒนาการอาลักขาพืช กรมวิชาการเกษตร นักคีตวิทยาคนหน่ึง

คุณสุเทพ: เห็นดวยกับปากาญจน ตามหลักในการผลิตพืชน้ัน ตองคํานึงถึงปจจัย 2 อยาง คือ 1. พันธุพืชเอง ที่มีผลผลิตสูงและสวนมากที่เราจะแนะนํา คือ พันธุท่ีเราทดสอบแลวมีความตานทานโรคตอแมลงศัตรูพืช และสภาพแวดลอมตางๆ นําไปปลูก แลว ก็จะมีปจจัยที่มีผลตอผลผลิต ก็คือส่ิงแวดลอมที่พูดถึง ส่ิงแวดลอม และส่ิงที่มีชีวิตและไมมีชีวิต คือ เร่ืองดินและนํ้า เร่ืองการใสปุย ซึ่งการไมเผาดินเปนส่ิงที่ดีมาก การเผาฟางนั้นเปนการทําลายดิน ทําใหความอุดมสมบูรฯของดินไมดีแตตนแลว จึงทําใหการปลูกพืช ตนพืชออนแอ และไมแข็งแรง เพราะไมมีธาตุอาหารที่ไมเพียงพอ นอกจากนี้แลวในสวนของสิ่งมีชีวิตก็จะเปนศัตรูพืช และสิ่งมีชีวิตที่มีประโยชน เชน ตัวฮั่น ตัวเบียน เชน กรณีของปากาญจนน่ันก็คือวา คือ ไมใชสารเคมี นั่นเปนหลักที่ถูกตอง เพราะโดยธรรมชาติในนาขาวหลังจากที่เราปลูกไปแลว มันจะมีศัตรูธรรมชาติอยูไมวาสัตวตางๆ โดยเฉพาะศัตรูทางธรรมชาติจะควบคุมมันอยู ไมวาจะเปนตัวฮั่น ตัวเบียน โดยเฉพาะ เพลี้ยกระโดดสีนํ้าตาล หลังจากเพล้ียวางไข ก็จะมีมวลเขียวดูดไขอพยพตามมาดวยและมีการควบคุมซึ่งกันและกัน หลังจากท่ีเพลี้ยกระโดดออกมาเปนตัวออน จะมีตัวเบียนและฮั่นตัวอื่นๆ มาทําลายตัวออน ซึ่งจากการที่ใชสารเคมี ก็จะมีการควบคุมตามธรรมชาติอยูแลว แตหลังจากที่เรามีการวิวัฒนาการของ การปฏิวัติเขียว ที่พยายามเพิ่มผลผลิตใหสูงมากๆ เทาที่จะเปนไปได ก็มีการใชสารเคมี แตการใชสารเคมีในปจจุบันมีท้ังส่ิงท่ีดีและไมดี ผมจะกลาวถึงส่ิงที่ไมดี กอน ในปจจุบันมีการใชสารเคมีที่ไมถูกตอง เพราะวาการใชสารเคมีไปทําลายศัตรูธรรมชาติ โดยเฉพาะสารบางอยางท่ีเราไมแนะนํา อยางกรมวิชาการเกษตรบอกวาไมแนะนําในกรณีท่ีสารไปทําลายศัตรูธรรมชาติโดยเฉาะสารในกลุม ไพลีทอยสังเคราะห ซึ่งมีขอมูลวาไปทําลายศัตรูทางธรรมชาติ และไปกระตุนการวางไขของศัตรูบางชนิด เกิดการระบาดมายิ่งขั้น โดยเฉพาะอยางเพลี้ยกระโดดสีน้ําตาล เชนกรณีสารโพลีทอยด ปจจุบันมีความหลากหลายมาก ทั้งๆท่ีกรมวิชาการเกษตรไมอนุญาตใหขึ้นทะเบียน สารกลุม

Page 12: ในพืชผลทางการเกษตร วันศุกร ที่ 23 เมษายน 2553 เวลา 08.00 ...eto.ku.ac.th/neweto/e-book/other/brown.pdf ·

10

ผลิตภัณฑสังเคราะหในนาขาว นอกจากสารในกลุมนี้แลวยังมีสารกลุมอื่น มากมาย ซึ่งไมแนะนําในนาขาวแตเกษตรเอามาใช นอกจากเพลี้ยกระโดดสีน้ําตาลแลวยังมีหอยเชอรีดวย ซึ่งปจจัยตางๆที่ไปทํานี้ก็คือวา เปนเพราะวาสภาพแวดลอมของการปลูกขาวเปลี่ยนไป ทําใหระบาด จนตองใชสารเคมี ซึ่งบางที สารในสิ่งที่ดีก็มี หลังจากระบาดในระดับหนึ่งสมมติวา เราตั้งระดับเศรษฐกิจที่ 10 ตัวตอกอ ปรากฏวาไมมีแมลงเลย แตเกษตรกรพนไปกอนแลว พอพนแลวก็เรงใหเพลี้ยกระโดดสีน้ําตาล ซึ่งมีอยูเล็กนอยเปนมากขึ้น จนตองใชสารพนท่ีอัตราไมถึงคืออัตราต่ํา จะเรงใหเพลี้ยกระโดดสีน้ําตาลสรางความตานทาน ซึ่งปญหานี้พบมาหลายปแลว และมีขอมูลวาสารเคมีที่เราใชไมสามารถกําจัดเพลี้ยกระโดดสีน้ําตาลได

คุณถวิล: ที่น้ีเราจะไปดูในแงการสงเสริมจริงๆแลวเรื่องของการสงเสริมมีความสําคัญอยางยิ่ง ในการที่วาจะตองชี้ไปทางไหน อ.ลาวัณ วันนี้มาในฐานะตัวแทนของกรมสงเสริมการเกษตร

อ.ลาวัลย: สวัสดีพี่นองชาวเกษตรกรสิ่งที่ทานวิทยากรกรมการขาว ของวิชาการเกษตร จากมหาวิทยาลัย คือ โดยสรุปที่ฟงมานี้ คือในใจของนักสงเสรอมเราอยากไดเกษตรกรอยางปากาญจนเยอะๆ ทั้งหลายทั้งปวงท่ีปากาญจนและทานอื่นที่พูดมาน้ีจริงๆแลวทางกรมสงเสริมฯ มีการถายทอดความรูไป แตเกษตรกรก็คงมีปจจัยที่วา เขา ทําไมถึงไมทําแบบปากาญจน คือจะโดเกษตรกรทั้ง 100เปอรเซ็นต ไมได ตองหันมาท่ีราชการเอง และตองยอมรับวาเม่ือตอนที่เราทําเกษตรใหมๆ ยอนไป ตอนที่ปูยา ตา ยายเราทําเกษตร ไมไดทําแบบพื้นที่ใหญ ปลูกหลายชนิดผสมกันไป เหมือนทฤษฎีในหลวง ท่ีวาทําแบบผสมผสาน แตปจจุบันยอยมา40-*50 ปนี้ มาทําเปนเชิงพาณิชย เพราะฉะนั้นมันกลายเปนพื้นที่ใหญ ระบบนิเวศที่ปากาญจนและ อ.โกศล ซ่ึงการรักษาสมดุลธรรมชาติเห็นชัดคือ ปาไมเผาฟาง

นอกจากจะรักษาความอุดมสมบูรณได ผลคือ ดินอุดม ขาวแข็งแรง การถูกทําลายตางๆก็ทดทาน หรือนอยลง ในขณะเดียวกันถาเราเผาฟาง นอกจากดินตายแลวศัตรูธรรมชาติก็ตายไปดวย ท้ังในดินกับท่ีอยูบนตน ท่ีมันอาศัยเศษฟางอยู ท่ีมันกินศัตรูพืชที่หลงอยูพอเผามันตายตามไปดวย คือส่ิงท่ีเกิดขึ้นและทําใหโลกรอน แตเม่ือเปนเชิงพาณิชยตองเห็นใจเกษตรกร พอปฏิวัติเขียวมาน้ี ท้ังกรมวิชาการเกษตร กรมสงเสริมการเกษตร ส่ิงที่เราแนะนําคือ สารเคมี กวาเราจะเรียนมา ตัวโนนตัวน้ี เชื้อจุลินทรียมีประโยชน อยางปากาญจนพูดถึงเชื้อ บีเวอรเลีย มันมาทีหลังยุคท่ีวาเราไดสงเสริมการใชสารเคมีไปแลว เพราฉะนั้นจึงซึมซับกันมา เราก็ไดสงเสริมใหมีการตั้งหนวยผลิตขยายศัตรูธรรมชาติออกไปใช อันนี้คือส่ิงท่ีเกิดขึ้น เพราะฉะน้ันมัยมาทีหลังกวาเกษตรกรจะปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเปนนักสงเสริม ไมใชของงาย ส่ิงหนึ่งคือ

Page 13: ในพืชผลทางการเกษตร วันศุกร ที่ 23 เมษายน 2553 เวลา 08.00 ...eto.ku.ac.th/neweto/e-book/other/brown.pdf ·

11

ปรับยาก และบางอยาง ความพรอมของราชการบางคร้ังเราตองยอมรับในความจริงที่วามันก็มีการสะดุด อยางเราผลิตเชื้อจุลินทรียเพื่อสงเสริมใหเกษตรกรไปใชและใหเกิดความสมดุล บางครั้งมันไลกันไมทัน ทํางานมาในชีววิธี ประมาณ 30 ป การใช ชีววิธี ไมเนนยาถึง 10 % ของพื้นที่ปลูก แตสิงที่สําคัญคือ เราพยายามสงเสริมใหเกษตรกรมีสวนรวม โดยการจัดตั้งศูนยกําจัดศัตรูพืชชุมชนไป ใหเกษตรกรเรียนรู ใชเปนศูนยสําคัญในการรวมกลุม รูสภาพนิเวศและการจัดการ ถารูระบบนิเวศก็ไมมีสารเคมี เฝาระวัง ดูมันไป เม่ือไหรท่ีศัตรูพืชเกินธรรมชาติ ก็หาวิธีท่ีเหมาะสมมาใช ซึ่งไมใชสารเคมีทันที อาจจะเปนสมุนไพรพื้นบาน กรมสงเสริมฯทํามาตลอด แตส่ิงที่เราตองยอมรับคือ ตองตอสูในการที่ใหเกษตรกรสวนใหญปรับพฤติกรรม ถามวาเทคโนโลยีบานเรามีไหม เรามีคระ เกงดวย โดยเฉพาะในเฉพาะในเรื่องขาว เรามีพรอม สําหรับชาวนาเรา แต เม่ือพูดถึงอัตราการใชเมล็ดพันธุขาว ปกติ 2ถัง/20กิโลกรัม พอไปถามชาวบานวาทําไมใชมาก บอกวา เอาเพื่อไว 3-4 ถัง ถามวาทําไมตองเผื่อ เผื่อนก-หนู –หญาขึ้น

อันน้ีคือส่ิงที่วามันไมใช เด๋ียวน้ีที่เทคโนโลยีที่เขาบอกวา โยนขาวไป บางคนท่ีเขาไปทํา เขาบอกวาบางที ขาวโยน ผลผลิตก็ไดดี ขนาดที่วาไมตองใชจํานวนเมล็ดพันธุมากมาย อันนี้ที่กรมสงเสริมมอง วาเราจะทําไงใหไดเกษตรกรอยางปากาญจน แค 10-20% ก็ดีแลว เราพยายามที่จะปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเขา โดยใชกระบวนการโรงเรียนเกษตรกร และปรับมาใชเปนศูนยจัดการศัตรูพืชชุมชน ในการดําเนินงาน

โดยที่วากระบวนการถานทอดความรูโดยการกระบวนการโรงเรียนเกษตรกร ซึ่ง พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว เม่ือ10 กวาปท่ีแลว ทานเห็นเราทํางานตรงนี้ทาง ทีวีทานใหกรมวัง ออกมาชมเชย คนกรมสงเสริมฯ ที่ใหเกษตรกรทําแบบนั้น เกษตรใน โรงเรียนมีการสํารวจระบบนิเวศ จากระบบนิเวศมีการวิเคราะหวา สถานการณตอนน้ีเปนไง ทําอยางไร มีการพิสูจน วา ถาทําแบบนี้แลว เราจะแกไขโดยการใช การวิเคราะหมาชวย อันนี้ไมใชเดียวๆอยางปากาญจน ซ่ึงปากาญจนศึกษาจากตํารามากมาย ถาเราไดครูปาไปใชในศูนยฯซึ่งเราตองการแบบน้ีมาก ซึ่งจะเปนวิทยากรตอจากเจาหนาที่เราไปชวยกันและขยายๆเยอะๆ เลาใหฟงนิดหน่ึง วา เม่ือปลายปที่แลว ไปที่ จ. สุพรรณบุรี เราไปดูศูนยจัดการศัตรูที่หนองสาหราย ไปโดยไมนัดหมาย เกษตรกรในศูนย มีการตอขยายกัน สมมติศูนย เราตองการ 25 เขาตอกันเปน 20-30 และมีลุงแกคนหนึ่งๆพูดวา ผมทําสมุนไพรในนี้มี 20 ตัว มีการผลิตบิวเวอรเรียเอง ไบโคเดอรมารเอง ซึ่งกรมสงเสริมฯ เองเราตองการลักษณะแบบนี้มากๆ แตเริ่มตนเราตองคอยเปนคอยไป ส่ิงสําคัญคือ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ส่ิงสําคัญของนักสงเสริมการเกษตรเรามั่นใจวาเทคโนฯ บานเราพรอม เกษตรกรตองเชื่อเรา อยาไปใชเมล็ด

Page 14: ในพืชผลทางการเกษตร วันศุกร ที่ 23 เมษายน 2553 เวลา 08.00 ...eto.ku.ac.th/neweto/e-book/other/brown.pdf ·

12

พันธุที่มาก หรือใชไปหมด เพราะที่คุณสุเทพ และคุณ วันทนาพูดมาน้ี ในนาขาวศัตรูธรรมชาติมากมาย เขาใจวามีมากกวา 80 ชนิด เพราะเคยอานมา ถาทานใชสารเคมีตามความจําเปนจริงๆ พวกนี้จะเปนมิตรเรา จะเกิดเปนสมดุลนิเวศ ที่คอยๆปรับขึ้นๆ ซึ่งเราเสียไปนานแลว เพราะการที่เราใชสารเคมีควบคุมศัตรูพืชโดยปาลมปฏิทิน ตอนไปเยี่ยมชาวบาน เขามีปฏิทินเขียนไวขางฝา วันน้ีตัวน้ี คงตองปรับไป

ทั้งผูคาเคมีเกษตร ตัวเกษตรกรและเจาหนาท่ี วิธีการเขาถึงเขา ตองเขาถึงจริงๆในฐานะอยูกับเกษตรกรเปนนักสงเสริม คงขอพูดแคนี้กอนคะ

คุณถวิล: อ.โกศล ครับ อาจารยไดฟงแบบนี้แลว ในระบบสมดุลธรรมชาติท่ีอาจารยทํามาวันน้ี อาจารยตองการใหเกษตรกรทําตามอยางไร เพื่อจะไดใหพนจากการระบาดของเพลี้ยกระโดดสีน้ําตาล

อ.โกศล: ตัวอยางที่ปากาญจนพูดก็เปนความชัดเจนที่มันเห็นผลได เห็นวามีภาพใหเลือกวาท่ีคุณถึงทางตันอยูอยางสุขสบายก็มี คือแนวทางอันนี้ คําอธิบายขางในก็มี เม่ือเราไมฆาเขา เขาก็อยูได เกิดไดเรื่อยๆก็ ได ลุงยศมัส ทําเม่ือ 30-40 ป 80 ชนิด จริงๆ แลวอาจจะมากกวานั้น 800-8000 ชนิด ผมเองก็ทํามา 30-40 ปเหมือนกัน ตัวท่ีเปนประโยชนตอ คือ ผมจะเล่ียงแมลงเพื่อมาใชยาฆาแมลง ภาพท่ีเห็นกับท่ีเปนจริงคนละเรื่องกัน

คุณ ถวิล: จะถามอาจารยวา ตัวดีกับตัวรายอันไหนมากกวา อันน้ีเปนคําถามท่ีมากมาย คุณ โกศล: ตัวรายคือ เพลี้ยกระโดดสีนํ้าตาล ตัวดีมี 1 หนากระดาษ คุณกาญจมณี: ถาม ศัตรูทางธรรมชาติกินเพลี้ยวันละ 10 ตัวจริงไหม อ.โกศล: มากกวานั้นก็มีครับ คุณ ถวิล: ขอบอกผูฟงทางบานไววา วันนี้ถาจะมีคําถามท่ีจะโทรศัพทเขาไดที่ หมายเลข

โทรศัพท 02-9427377 นี้เราก็ไปดูในเร่ืองของ กรมการขาว วาอยากจะไดเกษตรกรแบบนี้จะทําอยางไร ที่นี้ในเรื่องของการระบาด กรมการขาว ก็เปนคนแรกที่จะตองเดือดรอนแทนเกษตรกรอ ที่เกษตรตองเจอปญหาแบบน้ี อยากจะบอกอะไรบางครับ

อ.มันทนา: ก็อยางอาจารยวาวาปากาญจนถือวาเปนชาวนามืออาชีพ ท่ีจริงทั้งกรมการขาวและทางดานหนวยงานสงเสริมหรือกรมวิชาการเอง เรามีตําราต้ังมากมาย อยางที่อาจารยโกศลพูดเม่ือก้ี เร่ืองของศัตรูธรรมชาติ และของทางดานคุณ อาจารยจิรวรรณ ก็มีการไปถายทอด เร่ืองของโรงเรียนเกษตรกร เราตองการเกษตรกรอยางปากาญจน เวลาเราไปพูด เกษตรกรจะบอกวาเราเปนนักวิชาการไมเคยทําที่สุพรรณบุรีบางปลามา มีเกษตรรายหน่ึง ท่ีใชน้ําเหมือนเปนทางเลือกในทางวิชาการ เราไมไดทําเฉพาะสารเคมี มีเร่ืองของสมุนไพร หรือน้ําหมัก ถาเกษตรกรสามารถผลิตเองได นั่นคือทางเลือก แตพอเกษตรกรไปทําลายระบบนิเวศ ไปใชเทคโนโลยีไมถูกทาง ตั้งแต

Page 15: ในพืชผลทางการเกษตร วันศุกร ที่ 23 เมษายน 2553 เวลา 08.00 ...eto.ku.ac.th/neweto/e-book/other/brown.pdf ·

13

เริ่มตน อัตราการหวานโดยใชปุย ใชสารเคมี จนสภาพไมเหมาะ สูญเสียมานาน การจะเปลี่ยนทัศนะคติของเกษตรกร ตองใชเกษตรกรอยางปากาญจนเปนตัวถายทอด

คุณถวิล: คือ ปากาญจนเปนการผสมผสานใชปุยเคมีนอยลง อ.มันทนา: คะ...แทบจะไมใชตามคําแนะนําดวยซํ้า เพราะดินสมบูรณ ก็จะไดตนขาวท่ีดีอยูแลว

ใสปุยนิดหนอย เพียงแคทําตามคําแนะนําของกรมวิชาการ จะไมเกิดปญหาตอเนื่องยาวนานแบบนี้ เรื่องของระบบนิเวศ กรมการขาวกําลังมองเหมือนกันวา การท่ีเราแนะนําไปแตเกษตรกรไมทําตาม และปลูกขาวโดยเปนพืชเด่ียวๆเพื่อตองการขายอยางเดียวในพื้นท่ีทางการคา เห็นไดวา ท้ังกลางและอีสาน ไมมีปญหาเร่ืองแมลงตัวน้ี เพราะภาคกลางและอีสาน สวนใหญปลูกขาวฤดูเดียวมีฤดูนาปรังนอยมาก อยางมากก็ 2ฤดูตอป แตภาคกลาง 5 ฤดูตอ ป และอยากจะไดขาวอายุส้ันน้ีทําใหแมลงชนิดน้ีระบาดรนุแรงและตอเนื่องขึ้นมา และการจัดการที่ไมถูกตองเรื่องของการใชสารและอีกหลายๆอยาง การใชนํ้าหมัก คือ ปลอดภัยตอศัตรูธรรมชาติและสมดุลธรรมชาติ ก็จะคอยๆฟนตัวนั่นเอง นาขาวมีแมลงเปนรอยชนิด แตที่ทํารายขาวมี10ชนิดเทานั้นเอง สวนใหญจะมีประโยชนในชวงขาวนาหลังหวาน หลังปลูก เชน มวลเขียวดูดไขจะเปนตัวที่คอยดูดไขเพลี้ย ได 4-100% แตวาดวยการที่เกษตรกรพอเห็นอะไรบินมาสักอยางในพื้นที่ที่ระบาด เกษตรกรจะเปนแบบนี้ อันหน่ึงที่เกษตรจะทําตามคือ เม่ือเห็นเจาหนึ่งฉีด อีกเจาหนึ่งก็อยูไมได ตองทําตาม คือ เปนตัวท่ีไมทําใหธรรมชาติชวยดูแล แทนท่ีวาตรงนี้จะชวยควบคุมไป 50 % แตตองเสียตรงน้ีไป จึงทําใหการระบาดรุนแรงมากขึ้น ถาทําตามปากาญจนมากเรื่อยๆ คือวา ภาคกลางคงไมนามีปญหา กรมการขาวมีมาตรการคือ สถานการณเริ่มเริ่มตั้งแต ป 2552 ตั้งแตฤดูฝน

ปากาญจน: ตอนน้ีมีการปลูกพืชหลายอยาง ไมวาจะเปนมะนาว ใตตนมะนาวปลูกแตงกวา มะเขือ ถั่วฝกยาวหมุนเวียนไปเร่ือยๆ เพราะตอนน้ีผักก็แพง ปลูกผักพวกนี้ก็เปนกาบํารุงดินเพราะดินดีอะไรก็ดี

อ.ถวิล: กรมพัฒนาที่ดินก็พูดถึงการเตรียมดินท่ีจะเขามาสูการเสวนาในครั้งนี้ วาภาคกลางนั้นจะตองเตรียมดินเพื่อปลูกขาว เพื่อทําใหมีความแข็งแรงและเพลี้ยกระโดดสีน้ําตาลไมมาทําลาย ตองเร่ิมจากตรงนี้ดวย

ปากาญจน: ใช เพราะตองเร่ิมจากดินมากอน เพราะถาเกิดปุยเคมีท่ีมีประสิทธิภาพมากทสุดตองไปไดกับปุยอินทรีย หรือปุยชีวภาพเปนเม็ดก็ได เพื่อที่จะไดไปปลดปลอยปุยท่ีตรึงอยูในดินออกมา เราตองเนนที่ดิน

อ.ถวิล: ปากาณจนมีความคิดวาการทําแบบผสมผสานโดยไมปฏิเสธที่จะใชปุยเคมีเปนถาตุอาหารหลัก โดยไมปฏิเสธทิ้งสักทีเดียว

Page 16: ในพืชผลทางการเกษตร วันศุกร ที่ 23 เมษายน 2553 เวลา 08.00 ...eto.ku.ac.th/neweto/e-book/other/brown.pdf ·

14 ปากาญจน: ใช ของปาจะไมเคมีสุดโตง จะไมอินทรียตกขอบ แตจะใชระบบถาตุท้ัง16 ถาตุ หรือถา

ตุรองถาตุเสริม ซึ่งปจจุบันไมตองการมากก็จริง แตในอดีตมันเปนนานํ้าทวมแตไมไดใช โดยปาศึกษาจาทางหนังสือที่เปนความรูแลวตองคิด ลองทําตาม

นักวิชาการ : ปญหาท่ีเกิดขึ้นตอนนี้ส่ิงนึงคือเกษตรกรไมมีการบํารุงดิน ทําใหดินไมไดพักจุลินทรียท่ีอยูในดินไมไดฟน แลวเม่ือมีการปลูกขาวโดยไมมีการพักดินเลยแต7วัน ในพื้นท่ีที่มีการระบาดก็จะทําใหตนขาวที่ออกมาใหมไมมีรากและทําใหเกิดโรคเพราะมีแกสอยูและเปนสาเหตุนึง แตถาทําตามคําคําแนะนําของทางวิชาการ มีการไถดินอยางนอง1เดือน ใหดินมีการฟนฟู มีการหายใจมีการผลิกหนาดินและทําใหศัตรูธรรมชาติฟนฟูขึ้นมา การระบาดของศัตรูขาวไมวาจะเปนเพลี้ยหรือศตรูชนิดอื่นๆ ก็อาจลดลง มีคําแนะนําจากกรมการขาวในการใชปุย คือใชเม่ือยามจําเปนโดยการใชแผนเทียบสีซึ่งสถาบันขาวนานาชาติ ประเทศฟลิปปนสไดทําและนํามาปรับใช ซึ่งไดมีความรวมมือกับกรมพัฒนาท่ีดินโดยการใชแผนเทียบสีใบขาว เพื่อใหการใชปุยที่มีประสิทธิภาพมากท่ีสุด ตองใชปุยไมตองนับอายุขาวและมีการถายทอดใหเกษตรกรไปใชแลวเพื่อการใชปุยท่ีมีประสิทธิภาพสูงสุดและไมเกิดปญหา เพราะถายิ่งใสปุยมากเกินไปโรคก็ชอบแมลงก็ชอบโดยเฉพาะเพลี้ย เกษตรกรจะใชปุยยูเรียเพราะตองเผื่อปองกันเพลี้ยไฟ ซึ่งสาเหตุนี้เปนสาเหตุที่ทําใหไปสรางความเหมาะสมกับตนขาวและทําใหแมลงเขาไปดูดกินไดงาย การใสปุยยางกูกวิธีและหวานขาวไมมากเกินไปถือเปนวิธีท่ีสามารถทําได 30วันเปนชวงเวลาของแมลงชนิดมีปกเขามาวางไข และอายุโดยเฉลี่ย10- 15 วัน จะตายไปเอง แตวิการปฏิบัติที่ผิดวิธีของเกษตรกรทําใหการระบาดมันเพิ่มขึ้น วิธีการงายๆ คือ ใครที่ตองการปลูกขาวนาปรังรอบ 2 นี้ควรจะหยุด ไมแนะนําใหทําในชวงน้ี ไปเขาฤดูนาปเลย บางท่ี เพราะจะเสี่ยงและไมคุมแตก็ไมใชทั้งหมด ถาบางพื้นที่ มีการบริหารจัดการดีๆก็สามารถทําได สวนอีกอันถาใครจะปลูกขาว กรมการขาวมีการถายทอดเทคโนโลยี คือ วิธีโยนกลา ในการทํานาดํากับนาหวานน้ีนาดําดีกวาเพราะการเกิดโรคและแมลงนอย แตดวยพื้นท่ีที่มาก กับจํานวนแรงงานที่นอยลงทําใหเกษตรกรหันไปหวานขาวมากขึ้น โดยเฉพาะนาหวานนํ้าตม ซึ่งเปนสาเหตุทําใหเพลี้ยกระโดดมีเพิ่มมากขึ้น วิธีการทํานานํ้าตมใชอัตราเมล็ดพันธุท่ีมากมันจึงไปสรางสภาพในนาที่เหมาะสมกับแมลงตัวน้ี เพราะฉะนั้นใครท่ีอยากปลูกขาวดวยวิธีโยนกลา กรมการขาวมีการถายทอดองคความรูใหแลว มีการฝกอบรมเพื่อชวยลดปญหาแทนการปกดํา โดยสามารถติดตอขอความรูเรื่องเทคนิคการโยนกลาไดท่ีศูนยวิจัยขาวภาคกลาง จะชวยลดอัดตราความหนาแนนและระยะหางของตนขาวใหดีขี้น ลดการระบาดของเพลี้ยกระโดดสีน้ําตาล

Page 17: ในพืชผลทางการเกษตร วันศุกร ที่ 23 เมษายน 2553 เวลา 08.00 ...eto.ku.ac.th/neweto/e-book/other/brown.pdf ·

15 อ.ถวิล: คําถามจากเกษตรกร คุณสมหมาย จากจ.ราชบุรี เร่ืองนาหวาน พอหวานขาว

แลวขาวข้ึนแคคร่ึงแปลงจากนั้นยืนตนตาย ตองทําอยางไร ปากาญจน: ตองเอาน้ําจุลินทรียไปใสในดิน ใหเก่ียวขาวกอน หามเผาฟาง นํ้าจุลินทรียท่ีสามารถ

ทําเองไดหรือที่ทางราชการสอนมาไปใสแตตองระวังไมใหหนอนขึ้น เพราะถามีหนอนแสดงวามีเชื้อโรค หรือสาร พด.2 ใสเพื่อยอนสลายฟาง แลวจะดีขึ้น สาเหตุมาจากดินไมดี

อ.สุเทพ: เกษตรกรจะตองเร่ิมต้ังแตมีการจัดการดินท่ีดี การใชพันธุขาวที่ตนทาน ระบบการหวาน และระบบการจัดการที่ดีและยั่งยืน และใชประโยชนจากธรรมชาตจะตองมีการอนุรักษไวและใชอยางเหมาะสมลดปริมาณของการระบาด และหลีกเลี่ยงการการกอใหเกิดการระบาดเพิ่ม เชนการหวานขาว หรือระบบการจัดการอยางถูกตองก็จะมีสวนทําใหพี่นองเกษตรกรทํานาไดอยางยั่งยืนมากขึ้น

อ.ถวิล: ศูนยจดัการศัตรูพืชชุมชนใหประโยชน และประชาชนเขาไปมีสวนรวมอยางไรบาง คุณลาวัลย: มีการใหชาวบานมาเปนสวนรวมคือ โดยใชศูนยเปนตัวขับเคลื่อน ใหชาวบานมา

เรียนรูสถานการณจริง และยังมีมาการสอนใหรูจักการแกไขสถานการในภาคการเกษตร และอนุรักษไวอยางยั่งยืนทา และตองการใหเกษตรกรเขมแข็งเปนมืออาชีพ เนนการใชศตรูธรรมชาติและการอนุรักษศัตรูธรรมชาติ การปองกันไวกอนถือวาดีกวาการแก

นักวิชาการ: ปญหาหาของเพี้ยกระโดดตอนนี้พบการระบาด และกรมการขาวก็จะมรรสนิยมแปลกๆ และกรมการขาวก็มีเมล็ดพันธนํามาแนะนําใหกับเกษตรกร การเปลี่ยนพันธุขาวจะทําใหลดความรุนแรงของการระบาดของเพลี้ยกระโดดสีน้ําตาล เชนขาวพันธุพิษณุโลก และควรเปลี่ยนพันธุขาวทุก 2 ฤดู เพื่อลดการระบาด และอีกมาตรการคือการจัดทํา Wall Room แกปญหาศตรูพืชรวมกับหนวยงานตางๆ แตส่ิงที่อยากไดจริงๆคือระบบการเตือนภัยการเกิดศัตรูพืช แตคงจะตองมีการพัฒนาตอไปในอนาคต และในสวนประเทศไทยเองก็คงไมไดจัดการเพียงแคศัตรูพืชเทานั้น คงตองรวมไปในสวนของเรื่องอื่นๆ เพิ่มมากขึ้น ในสวนของพันธุขาวสําหรับปากาญจนที่เก็บเมล็ดขาวไวปลูกเองน้ันจะดีกวาเกษตรกรที่ไปซื้อขาวจากขางนองตามทองตลาด เพราะนอกจากจะเปนการลดตนทุนแลวยังปองกันโรคท่ีจะตามมาไดอีกดวย เชน กลุมแตนเบียนพรอมทั้งมีการเรียนรูและทําความรูจักของแตนเบียนเพราะแตนเบียนน้ันมีความจําเพาะเจาะจงและมันใจไดวาการใชแตนเบียนในการกําจัดเพลี้ยจึงม่ันใจไดวาปลอดภัย และอยูรวมกันระหวาง 2สวน เปนการรักษาสมดุลทางธรรมชาติและระบบนิเวศ เและถาหากเรามีเกษตรกรท่ีรักในการทําการเกษตรพรอมท้ังเขาใจระบบการทําเกษตรที่ยั่งยืนเหมือนปากาญจนเชนนี้อีกคาดวาในอนาคตนี้ วงการเกษตรคงจะดีขึ้น

Page 18: ในพืชผลทางการเกษตร วันศุกร ที่ 23 เมษายน 2553 เวลา 08.00 ...eto.ku.ac.th/neweto/e-book/other/brown.pdf ·

16

เขาใจกันมากขึ้น เพื่อท่ีจะเขามาชวยเหลือกันในการจักการฝาวิกฤติเพลี้ยในพืชผลทางการเกษตรไปพรอมๆ กัน