ศก พพ กระทรวงการคลัง

Post on 06-Jul-2015

299 Views

Category:

Documents

0 Downloads

Preview:

Click to see full reader

TRANSCRIPT

1

“ เศรษฐกิจพอเพียง” พลเอกเอกชัย ศรีวิลาศ

ผู้อ านวยการ ส านักสันตวิิธีและธรรมาภิบาล

สถาบันพระปกเกล้า

ekkachais@hotmail.com

2

ธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลง

ทุกสิ่งทุกอย่างมีการเปลี่ยนแปลง

การเปลี่ยนแปลงเกิดจาก ปัจจัยภายนอก / ภายใน ทั้งควบคุมได้ / ควบคุมไม่ได ้

การเปลี่ยนแปลงมีลักษณะเป็นวัฎจักร มีทั้งขึ้นและลง เวลาขึ้นอย่าประมาท เวลาขาลงต้องรีบยับยั้ง

ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงมีทั้งด้านวตัถุ/สังคม/สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรม ที่อาจเกิดขึ้นได้รวดเร็ว/รุนแรง และกว้างขวาง

3

สังคมไทยในปัจจุบัน มีความแปลกแยก และเหลื่อมล้้า

บริโภคนิยม ไม่ประหยัดและไม่มกีารอดออม

มุ่งเทศนิยมขาดการไทยนิยม

เข้าสู่วัตถุนิยมมากกว่าธรรมนิยม

ด้าเนินชีวิตแบบหยิบโหย่งแถมขี้โกง ขาดการมุมานะและขาดความซื่อสัตยส์ุจริต

มีความส่้าสอ่น/ใฝ่ต่้า ขาดศักดิ์ศรีและใฝ่ดี)

4

ขาดเป้าหมายทางการเงิน ขาดวินัยในการออม ไม่รู้จักค าว่า “ประหยัด” (ฟุ่มเฟือย) ชอบใช้เงินอนาคต (บัตรเครดิต ฯลฯ) นิยมลัทธิเอาอย่าง (“in – trend”) ชอบเด่นดัง (“จมไม่ลง”) ติดการพนัน ชอบก่อหนี้ (“หนี้นอกระบบ”) เกียจคร้าน อยาก/โลภ (“ไม่สันโดษ”)

สัญญาณของความยากจน

5

ใช้วิธีคิดแบบเดิมๆ

วิธีคิดกระบวนทัศน์แบบ “โง่ จน เจ็บ”

วิธีท้าท้าโครงการ “ ไม่ลม้ ก็เลิก ”

งานของหนว่ยงาน “ ปักป้าย ถ่ายรูป”

งาน Top-down แบบปูพรม “ กล้วยแขกทั้งต้าบล”

วิสัยทัศน์แบบ “เงินเนรมิตได้ทุกอย่าง”

ปรัชญาแบบ “มูลค่ามากอ่นคณุค่า”

“พรุ่งนี้รวย” หลักการแบบ “เงินน้าหน้า ปัญญาตามหลัง”

ปฐมบทของเศรษฐกิจพอเพียง (๒๕๑๗) เศรษฐกิจพอเพียง เกิดจากพระราชด าริในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

ภูมิพลอดุลยเดชมหาราช โดยพระองค์ทรงมีพระราชกระแสรับสั่งในเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงแก่ผู้เข้าเฝา้ถวายพระพรชัยมงคล เนื่องในวันเฉลิมพระชนมพรรษาแต่พระพุทธศักราช ๒๕๑๗

“...คนอื่นจะว่าอย่างไรก็ช่างเขาจะว่าเมืองไทยล้าสมัย ว่าเมืองไทยเชย ว่าเมืองไทยไม่มสีิ่งใหม่แต่เราอยู่ อย่างพอมีพอกิน และขอให้ทุกคนมคีวามปรารถนาที่จะให้เมืองไทยพออยู่พอกิน มคีวามสงบ ช่วยกันรักษาส่วนร่วม ให้อยู่ทีพ่อสมควร ขอย า้พอควร พออยู่พอกิน มคีวามสงบไม่ให้คนอื่นมาแย่งคุณสมบัตินี ไปจากเราได้...”

สนใจความ “อยู่เย็นเป็นสุข” มากกวา่ “มั่งมีศรีสุข” สนใจความ “อยู่เย็นเป็นสุข” มากกวา่ “มั่งมีศรีสุข”

7

เราจะเร่ิมต้นเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงอย่างไร

เริ่มต้นที่ตัวเรา จัดระเบียบชีวิต ปรับเปลี่ยนวิธีคิด ปรับเปลี่ยนวิถีชีวิต

8

พึ่งตนเอง

ท าพอที่จะใช้ ไม่ขอคนอืน่ อยู่ได้ด้วยตนเอง ยืนบนขาตัวเอง

อัตลักษณ์ของเศรษฐกิจพอเพียง

เน้นประโยชนส์ุขของตนและของประชาชนร่วมกัน (พระปฐมบรมราช

โองการ)

ไม่ปฏิเสธเงิน แต่ใช้เงินท างานไม่ใช่เป็นนาย (ไม่ปฏิเสธเมกะโปรเจ็ค)

ค านึงถึงหลักความสมดุลระหว่างความมั่งคั่งทางวัตถุ (material

wealth) คู่กับความมั่นคั่งทางจิตใจ (spiritual wealth)

เป็นระบบเศรษฐกิจที่ให้ความส าคัญกับ “จริยธรรม” ทุกข้ันตอน

เป็นระบบเศรษฐกิจท่ีมองมนุษย์ในฐานะท่ีเป็นมนุษย ์ไม่ใช่แคท่รัพยากร

มนุษย์

10

เศรษฐกิจพอเพียง

เกิดได้ ถ้าใจปรารถนา

11

บอกให้รู้ ท้าให้ดู อยู่ให้เห็น

12

การปฏบิัตตินตามแนวทางเศรษฐกิจแบบพอเพียง

“...ความเป็นอยู่ที่ต้องไม่ฟุ่มเฟ้อ ต้องประหยัดไปในทางที่ถูกต้อง...”

สอดคล้อง สภาพธรรมชาต ิ

ภูมิสังคม

หลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

14

• เน้นการพัฒนาคน • ระเบิดจากข้างใน • ปลุกจิตส านึก • พึ่งตนเองได ้• ความพอเพียง • ขาดทุนคือก าไร • ท างานอย่างมีความสขุ • คุ้มค่ามากกว่าคุ้มทุน • บริการรวมที่จุดเดียว • ปลูกป่าในใจคน • การให ้• รู้ รัก สามัคค ี

หลักการทรงงาน ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

ศึกษาข้อมูลอย่างเป็นระบบ

แก้ปัญหาเริ่มจากจุดเลก็

ค านงึภูมิสังคม

พัฒนาอย่างองค์รวม ครบวงจร /

บูรณาการ

ไม่ติดต ารา ท าใหง้่าย มีล าดับ

ขั้นตอน

มุ่งประโยชน์คนส่วนใหญ่เป็นหลัก

ประหยัด เรยีบง่ายได้ประโยชน์

ใช้ธรรมชาติช่วยธรรมชาติ

การมีส่วนร่วม

ซื่อสัตยส์ุจริต จริงใจต่อกัน

34

15

16

การพัฒนาที่ยั่งยืน

การดีขึ้นของเราต้องไม่ท าให้ผูอ้ื่นเลวลง

การดีขึ้นต้องต่อเนื่องจากปัจจุบันและต้องไม่ท าลาย

อนาคต

17

การพัฒนาสังคมที่ยั่งยืน

การเจริญเติบโต (Growth)

การกระจาย (Distribution)

การส่งผ่านข้ามเวลา (Transfer over Times)

18

เริ่มต้น: ง่ายๆจากแนวพระราชด าริสู่ความพอเพียง

ศึกษาข้อมูลอย่างเป็น

ระบบ

แก้ปัญหาเริ่มจากจุดเล็ก

ทางสายกลาง

ค่อยเป็นค่อยไป

ช้าๆแต่มั่นคง

เท่าไรก็พอดี

• ค้านึงภูมิสังคม • พัฒนาอย่างองค์รวม ครบวงจร / บูรณาการ • ไม่ติดต้ารา ทา้ให้ง่าย มีล้าดบัขั้นตอน • มุ่งประโยชน์คนส่วนใหญ่เป็นหลัก • ประหยัด เรียบง่ายได้ประโยชน ์• ใช้ธรรมชาติชว่ยธรรมชาติ • การมีส่วนร่วม • ซื่อสัตย์สุจริต จริงใจต่อกัน

เน้นการพัฒนาคน ระเบิดจากข้างใน ปลุกจิตส้านกึ พึ่งตนเองได ้ ความพอเพยีง ขาดทุนคือกา้ไร

19

ท้างานอย่างมีความสุข คุ้มค่ามากกว่าคุ้มทุน บริการรวมที่จุดเดียว ปลูกป่าในใจคน การให้ รู้ รัก สามัคค ี

เริ่มต้น: ง่ายๆจากแนวพระราชด าริสู่ความพอเพียง

20

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

ความพอประมาณ (Moderation) ความมีเหตุผล (Reasonableness) การมีภูมิคุ้มกันตนเอง (Self Immunity)

21

เงื่อนไขความรู้

รอบรู้ รอบคอบ

ระมัดระวัง

ใช้เหตุผลวิทยาศาสตร์

เงื่อนไขคุณธรรม

ซื่อสัตย์ สุจริต

ความเพียร

ไม่โลภเกินไป

2 เงื่อนไข

22

ความพอประมาณ

การปฏิบัติตัว

การด าเนินงาน

การผลิต

การพัฒนา

อัตราเติบโตที่มั่นคง

สมดุล ไม่รีบร้อน

ไม่ก้าวกระโดด

ไม่ใหญ่เกนิไป ไม่เล็กเกนิไป

23

ความมีเหตุผล

ศักยภาพที่มีอยู่

ฐานทรัพยากร

สภาพสิ่งแวดล้อม

ความหลากหลายทางชวีภาพ

ภูมิปัญญาท้องถิ่น

เทคโนโลยีที่เหมาะสม

24

การมีภูมิคุ้มกันตนเอง

การมีระบบการผลิตที่

หลากหลาย

ผสมผสาน

กระจายตลาด

กระจายสินค้า

ระบบตรวจสอบป้องกัน

การประกันภัย

ตลาดล่วงหน้า

กองทุนออมทรัพย ์

มีเครือข่ายในการช่วยเหลือ

25

รางวัลความส าเร็จสูงสุดด้านการพัฒนา

มนุษย์นี้ ข้าพระพุทธเจ้าทั้งหลายมีปณิธาน

ที่จะส่งเสริมประสบการณ์และน าแนวทาง

การปฏิบัติในการน าปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียงอันทรงคุณค่าอย่างหาที่สุดมิได้

ของ พระองค์ท่าน มาช่วยจุดประกา

แนวความคิด ในปรัชญาดังกล่าวสู่นานาประเทศต่อไป

ใน โอกาสนี้ข้าพระพุทธเจ้ามีความปลื้มปีติ

องค์การสหประชาชาติทูลเกล้าฯ ถวายรางวัล พร้อมทั งประกาศราชสดุดีเฉลิมพระเกียรต ิ

28 พฤษภาคม 2549

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสู่สากล

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ได้รับการเชิดชูสูงสุดจากองค์การสหประชาชาต ิ(UN)

นายโคฟี อันนนั เลขาธิการองค์การสหประชาชาติ ทูลเกล้าฯถวายรางวัล

The Human Development Lifetime Achievement Award แก่

พระบาทสมเดจ็พระเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ ๒๖ พฤษภาคม ๒๕๔๙

ปาฐกถาวา่ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มีประโยชน์ต่อประเทศไทยและ

นานาประเทศ และสามารถเริ่มได้จากการสร้างภูมิคุ้มกนัในตนเอง สู่

หมู่บา้น และสู่เศรษฐกิจในวงกว้างขึ้นในที่สุด

องค์การสหประชาชาติสนับสนุนให้ประเทศสมาชิก ๑๖๖ ประเทศยึดเปน็

แนวทางสู่การพัฒนาประเทศแบบยั่งยืน

27

พระราชด ารัสพระบาทสมเด็จประเจ้าอยู่หัวฯ จากวารสารชัยพัฒนา ฉบับประจ าเดอืนสิงหาคม ๒๕๔๒

“... เศรษฐกิจพอเพียง เป็นเสมือนรากฐานของชีวิต รากฐานความมั่นคงของแผ่นดิน เปรียบเสมือนเสาเข็มท่ีถกูตอกรองรับบา้นเรือนตัวอาคารไว้นั่นเอง สิ่งก่อสรา้งจะมั่นคงได้ก็อยู่ที่เสาเข็ม แต่คนส่วนมากมองไม่เห็นเสาเข็ม และลืมเสาเข็มเสียด้วยซ าไป...”

28

29

ผู้น ำกำรเปลี่ยนแปลง

( ครู – ศึกษำนิเทศก์ ) เราได้น้าเข้าสู่ชีวิตหรือยัง

แนวคิดเศรษฐกิจ

พอเพียงคือ

รากฐานของชีวิต

30

การซื่อสตัย ์

สุจริตต่อบ้านเมือง สุจริตต่อประชาชน สุจริตต่อหน้าที่

31

พระบรมราโชวาทในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ๒๕๐๖ งานทุกอยา่งท้าด้วยน้้าใจ อย่าเพิ่งทอ้แท้จะหมดก าลังใจ จงตั้งใจให้คิดดี

ผ่อนคลายอุปสรรคต่างๆ ด้วยเหตุผลและหลักวิชา

ท างานด้วยน้ าใจต้องหวังผลงานนั้นเป็นส้าคัญ

32

พระบรมราโชวาทในพิธีพระราชทานปริญญาบัตร ของมหาวิทยาลัยศรีนครินทร์วิโรฒสงขลา การท้างานขึ้นอยู่กับ

ความสามารถในการใช้วิชาการ กับการสัมพันธ์ติดต่อและประสานกับผู้อื่น กระท้าด้วยจิตใจที่ใสสะอาด

ปราศจากอคต ิ

กระท าด้วยความคิดเห็นที่อิสระเป็นกลาง ถูกต้องตามหลกัเหตุผล

33

พระบรมราโชวาทในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร:์๑๙ กรกฎาคม ๒๕๑๖

การท างานให้มคีุณภาพ สมบูรณ์ ต้องท้าความเห็นให้ถูกต้อง ใช้ปัญญาไตร่ตรองให้เหตุผลที่

แท้ วางแผนด้วยหลักวิชา ร่วมมือปรองดองกัน มีความพากเพียรไม่ย่อหย่อน

34

มองแบบองค์รวม เขา้กับภูมิสังคม

ควรศึกษางานและสภาพทั่วไป

ให้ทั่วถึง สภาพการณ์และอุปกรณ์ต่าง ๆ

ไม่เหมือนทีค่าดหมายไว้

สภาพของผู้ท้างานในระยะศึกษากบัผู้ทา้งานในระยะปฏิบัติงาน ดัดแปลงตัวเองให้เข้ากับสภาพ

ในปัจจบุัน

35

มีล าดับขัน้ตอนมุ่งคนส่วนใหญ่

36

แก้ปัญหาจากจุดเล็ก

37

อย่ายึดติดต าราและปริญญา

38

ความสุข

39

ท้างานเพื่ออะไรก็ท้าเพื่อความสุข

ทุกคนต้องการความสุขแต่ว่าถ้าความสุขเป็นของเฉพาะบุคคล ก็เป็นความสุขที่โง ่

40

41

ความสามัคค ี

42

มีความพอเพียงด้วยการอุดรูรั่วของชีวิต

มีเงินเดือนเท่าไร จะต้องใช้ภายในเงินเดือน การท าแชร์

นี้เท่ากับเป็นการกู้เงิน การกู้เงินนี้น ามาใช้ในสิ่งที่ไม่ท า

รายได้นั้นไม่ดี อันนี้เป็นข้อส าคัญ เพราะว่าถ้ากู้เงินและ

ท าให้มีรายได้ ก็เท่ากับจะใช้หนี้ได้ไม่ต้องติดหนี้ ไม่ต้อง

เดือดร้อน ไม่ต้องเสียเกียรติ

(พระราชด ารัสเนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ๔ ธันวาคม ๒๕๔๐)

43

ขาดทุนคือก าไร

44

การมีส่วนร่วม

45

การประยุกต์ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

บันได ๓ ขั้น

เรียนรู้ – ศรัทธา

ประยุกต์ใช ้

กลายเป็นวัฒนธรรม

46

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

ชี ถึงแนวการด้ารงอยู่และปฏิบัติตน

ของประชาชนในทุกระดบั ทั ง

ครอบครัว ชุมชน รัฐ ให้ด้าเนินไป

ในทางสายกลาง

47

มองแบบองค์รวม เขา้กับภูมิสังคม

ควรศึกษางานและสภาพทั่วไป สภาพการณ์และอุปกรณต์่าง ๆ

ไม่เหมอืนทีค่าดหมายไว้

สภาพของผู้ท้างานในระยะศึกษากับผู้ทา้งานในระยะปฏิบัติงาน ดัดแปลงตัวเองให้เข้ากับสภาพ

ในปัจจุบนั

48

มีล าดับขัน้ตอนมุ่งคนส่วนใหญ่

49

การแบ่งปัน

50

ประหยัด เรียบง่ายได้ประโยชน์

ให้ปฏิบัติเพียงครึ่งเดียว

คือไม่ต้องทั้งหมดหรือ

แม้แต่เศษหนึ่งส่วนสี่ก็

พอหมายความว่าถ้าท า

ได้เศษหนึ่งส่วนสี่ของ

ประเทศก็จะพอ นั้นไมไ่ด้

แปลว่าเศษหนึ่งส่วนสี่

ของพื้นที่แต่เศษหนึ่ง

ส่วนสี่ของการกระท า

(พระราชด ารัสเนื่องในโอกาสวัน

เฉลิมพระชนมพรรษา ๔ ธันวาคม

๒๕๔๑)

51

การมีส่วนร่วม

52

การรู้รัก สามัคค ี

53

เราจะเร่ิมต้นเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงอย่างไร

เริ่มจะเริ่มต้นเศรษฐกิจพอเพียงอย่างไร

54

เราจะเร่ิมต้นเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงอย่างไร

55

เราจะเร่ิมต้นเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงอย่างไร

ปรับเปลี่ยนวิธีคิด

56

57

58

59

60

61

ตัวอย่างการประยุกต์ใช้

เศรษฐกิจพอเพียงในระดับบุคคล

62

63

การรู้รัก สามัคค/ีร่วมมือร่วมใจ

64

ไม่สุดโต่ง ไมโ่ลภอย่างมาก คนเราก็อยู่เป็นสุข...

65

คนเราถ้าพอในความต้องการ ก็มีความโลภน้อย เมื่อมีความโลภน้อยก็เบียดเบียนคนอื่นน้อย

66

ไม่มีการแบ่งแยก ความคิดเหน็ปรองดองกันประสานงานกัน

4$4ภูแ

ภูมิปัญญาไทย

top related