3 บทที่ 3 วิศวกรรมระบบ...

Post on 08-Jan-2020

0 Views

Category:

Documents

0 Downloads

Preview:

Click to see full reader

TRANSCRIPT

บทที่ 3 วิศวกรรมระบบ

ระบบ

ระบบ (System) หมายถึง กลุ่มขององค์ประกอบต่างๆ ที่สัมพันธ์ พึ่งพาอาศัยกัน และต้องปฏิสัมพันธ์กันเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ร่วมกันระบบที่นำระบบคอมพิวเตอร์มาสนับสนุนการทำงานหรือ “Computer-based System” โดยมีส่วนประกอบหลักๆ ดังนี้

1. ซอฟต์แวร์ (Software) 2. ฮาร์ดแวร์ (Hardware) 3. บุคลากร (People) 4. ฐานข้อมูล (Database) 5. เอกสาร (Documentation) 6. กระบวนการ (Procedure)

ระบบการขาย

ระบบห้องสมุด

ระบบธนาคาร

ระบบ (ต่อ)

Computer-based System ต้องใช้องค์ความรู้อีกหลายด้านเพิ่มเติม เพื่อกำหนดวิธีการทำงานของระบบให้สามารถบรรลุวัตถุประสงค์อื่นๆ ด้วย บางครั้งเรียกระบบลักษณะดังกล่าวว่า “Socio-technical System”

ตัวอย่าง Baggage Claim

ตัวอย่าง การควบคุมการจราจรทางอากาศ

วิศวกรรมระบบ

วิศวกรรมระบบ (System Engineering) หมายถึง กระบวนการศึกษาและวิเคราะห์ของระบบที่มีความสลับซับซ้อนเพื่อสนับสนุนการทำงานในส่วนของวิศวกรรมซอฟต์แวร์ กิจกรรมของวิศวกรรมระบบ จะถูกดำเนินการไปพร้อมๆ กับกิจกรรมของวิศวกรรมซอฟต์แวร์ มีดังนี้

1. กำหนดวัตถุประสงค์ของระบบ

2. กำหนดขอบเขตของระบบ

3. แบ่งระบบออกเป็นส่วนๆ ตามฟังก์ชันงานหรือคุณสมบัติของ

ระบบ

วิศวกรรมระบบ (ต่อ)

4. พิจารณาความสัมพันธ์ของส่วนประกอบต่างๆ ที่เกี่ยวข้องทั้งหมด

5. กำหนดความสัมพันธ์ของปัจจัยนำเข้า ประมวลผล และผลลัพธ์

6. พิจารณาปัจจัยที่มีส่วนเกี่ยวข้องในระบบ

7. กำหนดความต้องการในส่วนของการดำเนินการและฟังก์ชันงาน ทั้งระบบ

8. สร้างแบบจำลอง (System Model) เพื่อใช้วิเคราะห์และพัฒนาให้สอดคล้องกับแบบจำลองซอฟต์แวร์ที่สร้างข้ึน

9. นำเสนอและแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นกับผู้ที่เกี่ยวข้องกับระบบ

กระบวนการวิศวกรรมระบบ

กำหนดความต้องการ

(Requirement Definition)

ออกแบบระบบ!(System Design)

พัฒนาระบบย่อย!(Sub-system Development)

ผนวกรวมระบบ!(System Integration)

ติดตั้งระบบ!(System Installation)

เปลี่ยนแปลงระบบ!(System Evolution)

ปลดระวาง!(System Decommission)

แสดงกระบวนการวิศวกรรมระบบ (System Engineering Process)

Big Bang

Incremental Integration Process

กระบวนการวิศวกรรมระบบ (ต่อ)

การกำหนดความต้องการ (Requirement Definition)

การวิเคราะห์ภาพรวมของทั้งองค์กร เพื่อกำหนดนิยามความต้องการของระบบให้ชัดเจน ด้วยการกำหนดหน้าที่ว่าระบบควรทำอะไรได้บ้าง

กระบวนการวิศวกรรมระบบ (ต่อ)

การออกแบบระบบ (System Design)

1. แบ่งความต้องการ (Partition Requirement)

2. กำหนดระบบย่อย (Identify Sub-System)

3. กำหนดความต้องการในแต่ระบบย่อย (Assign Requirement)

4. กำหนดฟังก์ชันของแต่ระบบย่อย (Specify Sub-system Functionality)

5. กำหนดส่วนประสานของระบบย่อย (Define Sub-system Interface)

กระบวนการวิศวกรรมระบบ (ต่อ)

การออกแบบระบบ (System Design)

แบ่งส่วนความต้องการ

(Partition Requirement)

กำหนดระบบย่อย

(Identity Sub-system)

กำหนดความต้องการในแต่ละระบบย่อย

(System Integration)

กำหนดฟังก์ชันของแต่ละระบบย่อย

(System Installation)

กำหนดส่วนประสานของระบบย่อย

(Define Sub system Interface)

แสดงกระบวนการออกแบบระบบ

กระบวนการวิศวกรรมระบบ (ต่อ)

การพัฒนาระบบย่อย

เป็นการนำเอาระบบย่อยที่ถูกกำหนดรายละเอียดไว้ในระยะออกแบบ มาสร้าง

ด้วยกระบวนการที่เหมาะสม อาจจะสร้างใหม่หรือนำของเดิมมาใช้ได้

!ผนวกรวมระบบย่อย

ระบบย่อยที่พัฒนาเสร็จแล้ว จะนำมาผนวกรวมเข้าด้วยกันจนเป็นระบบที่

สมบูรณ์ หลังจากรวมระบบแล้ว ทีมงานต้องทำการทดสอบการทำงานของระบบอีก

ครั้ง

✓ Big Bang

✓ Incremental

กระบวนการวิศวกรรมระบบ (ต่อ)

การติดตั้งระบบ

เป็นการนำเอาระบบนำระบบที่พัฒนาเรียบร้อยแล้วมาติดต้ัง เพื่อใช้งานจริง

!การเปลี่ยนแปลงระบบ

ในช่วงการใช้งานระบบ อาจเกิดการเปลี่ยนแปลงต่างๆ อาจต้องการการแก้ไข

ข้อผิดพลาดต่างๆ เช่น การเปลี่ยนแปลงส่ิงแวดล้อม ความต้องการระบบ

!การปลดระวาง

การเลิกใช้งานหลังจากพบว่าระบบไม่สามารถใช้ประโยชน์ได้อีกต่อไป

ระบบกับองค์กร

ภาระหน้าที่!(Task)

โครงสร้าง!(Structure)

วัฒนธรรม!(Culture)

บุคลากร!(People)

เทคโนโลยี!(Technology)

เป้าหมาย

(Goal)

แสดงแบบจำลองของ H.J. Leavitt แสดงความสัมพันธ์เมื่อนำเทคโนโลยีไปใช้ในองค์กร

ระบบกับองค์กร (ต่อ)

การศึกษาองค์ประกอบทั้ง 5 คือ การทำความเข้าใจในคุณลักษณะของแต่ละองค์ประกอบที่มีเป้าหมายร่วมกัน ดังนี้

1. บุคลากร (People)

2. วัฒนธรรม (Culture)

3. เทคโนโลยี (Technology)

4. โครงสร้าง (Structure)

5. ภาระหน้าที่ (Task)

สรุปกระบวนการวิศวกรรมระบบ จะดำเนินการไปพร้อมๆกับกระบวนการวิศวกรรม

ซอฟต์แวร์ โ ดยส่วนใหญ่จะดำเนินการในลักษณะวนซ้ำ เนื่องจากระบบหรือ

ซอฟต์แวร์ที่ผลิตข้ึนเป็นการนำเทคโนโลยีเข้าไปใช้ในองค์กรซ่ึงมีสภาพแวดล้อม

หลายอย่าง ดังนั้นจึงต้องศึกษาถึงผลกระทบที่เกิดข้ึน โ ดยพิจารณาความสัมพันธ์

ทางด้าน บุคลากร วัฒนธรรม ภาระหน้าที่ เทคโนโลยีและโครงสร้างองค์กร

โดยเฉพาะอย่างยิ่งระบบ Socio-technical System ระบบที่การทำงานส่งผลกระ

ทบต่อสภาพแวดล้อมภายนอก

Hint.

ทำไมโปรเจกต์ไม่เคยส่งได้ตรงเวลา ? !

Agile

END

top related