คลื่นเสียง(sound waves)คล นเส ยง คล นเส ยง (sound...

Post on 08-Aug-2020

6 Views

Category:

Documents

0 Downloads

Preview:

Click to see full reader

TRANSCRIPT

คลื่นเสียง(Sound Waves)

คลื่นเสียง

คลื่นเสียง (Sound Waves) เป็นคลื่นตามยาว เมื่อคลื่นเสียงเคลื่อนที่ไปในอากาศ

จะพบวา่การถ่ายทอดพลงังานเสียงของโมเลกุลของอากาศนั้น โมเลกุลเคลื่อนที่กลบัไปกลบัมา

(เกิดการสัน่)

เสียงเกิดจากการสัน่สะเทือนของวตัถุและเรียกวตัถุที่สัน่สะเทือนวา่แหล่งกาํเนิดเสียง

มนุษยจ์ะไดย้นิเสียงที่มาจากแหล่งกาํเนิดเสียงที่สัน่ดว้ยความถี่ประมาณ 20-20,000 เฮิรตซ ์

V = 331+0.6t

เมื่อ V คือ อตัราเร็วเสียงในอากาศหน่วยเมตรต่อวนิาที

t คือ อุณหภูมิอากาศหน่วยองศาเซลเซียส

อตัราเร็วของเสียง

ตารางแสดงอตัราเร็วของเสียงที่อุณหภมูิตา่ง ๆ

อุณหภมูิของอากาศ

(องศาเซลเซียส)

อตัราเรว็เของเสียงสียง

(เมตรต่อวนิาที)

20

100

500

1,000

343

391

631

931

ตารางแสดง อตัราเร็วของเสียงในตวักลางชนิดตา่ง ๆ

ชนิดของตวักลาง อตัราเรว็ของเสียงที่ 20 0C (เมตรต่อวนิาที)

คารบ์อนไดออกไซด์

ออกซิเจน

อากาศ

ไนโตรเจน

เอธิลแอลกอฮอล์

นํ้า

ทองคาํ

เงิน

ทองแดง

เหล็ก

267

329

344

346

1207

1498

1743

2610

3560

5130

ธรรมชาตขิองเสียง

1. ระดบัเสียง (Pitch)

เสียงที่มีความถี่ตํา่กวา่ 20 เฮิรตซ ์ เรียกวา่ อินฟราโซนิก(Infra Sonic)

มนุษยเ์ราไดย้นิเสียงในช่วงความถี่ 20-20,000 เฮิรตซ ์ เรียกวา่ โซนิก(Sonic)

คลื่นที่มีความถี่สูงกวา่ 20,000 เฮิรตซ ์ เรียกวา่ อลัตราโซนิก(Ultra Sonic)

2. คณุภาพเสียง

เสียงจากเครื่องดนตรีต่างๆเล่นโนต้ตวัเดียวกนั แต่เราก็สามารถแยกออกไดว้า่เสียงไหน

เป็นเสียงของเครื่องดนตรีชนิดใด ทั้งนี้ เพราะคณุภาพของเสียง

โดยมากเครื่องดนตรีจะส่งเสียงที่มีหลายๆความถี่ออกมาพรอ้มๆกนั ซึ่งจาํนวนฮารโ์มนิค

หรือแอมพลิจดูของแต่ละฮารโ์มนิคไมเ่ท่ากนั ความถี่แต่ละฮารโ์มนิคที่ปล่อยออกมา

รวมทั้งความถี่มลูฐานจะผสมผสานกนัเป็นเสียงเฉพาะของเครื่องดนตรีชนิดนั้น

3. ความดงัของเสียง

I แทนความเขม้เสียง มีหน่วยเป็นวตัตต์่อตารางเมตร (W/m2)

P แทนกาํลงัของแหล่งกาํเนิดเสียง มีหน่วยเป็นวตัต ์(W)

A แทนพื้นที่ที่เสียงตกกระทบ มีหน่วยเป็นตารางเมตร (m2)

ความเขม้เสียง (Intensity : I)

คืออตัราการถ่ายทอดพลงังานของเสียง ต่อพื้นที่ที่ตั้งฉากกบัทิศการเคลื่อนที่ของเสียง

ความเขม้ของเสียงจะลดลง

เมื่อคลื่นเสียงเคลื่อนที่หา่งออกไป

จากแหล่งกาํเนิดเสียง

ระดบัความเขม้เสียง (Intensity Level)

ระดบัความเขม้เสียง (Intensity Level) เป็นตวัเลขเปรียบเทียบกบัความเขม้เสียงในหน่วย

เดซิเบล (dB)

คือ ระดบัความเขม้เสียง หน่วยเป็นเดซิเบล (decibel , dB)

I0 คือ ความเขม้เสียงตํา่สุดที่มนุษยไ์ดย้นิมีค่า 10-12 วตัตต์่อตารางเมตร

หรือ 0 เดซิเบล

I คือ ความเขม้เสียงที่ระยะใด ๆ (W/m2)

โดยทัว่ไปการกาํหนดมาตรฐานในการบอกระดบัความเขม้ของเสียงจะใชห้น่วยเป็นเบล

โดยมีหลกัวา่ ความเขม้ของเสียงตํา่ที่สุดที่หคูนปกติเริ่มไดย้นิมีค่า 10-12 วตัตต์่อตารางเมตร

มีระดบัความเขม้เสียงเป็น 0 เบล เรียกวา่ ขีดเริ่มของการไดย้นิ

ระดบัความเขม้เสียงในหน่วยเดซิเบลที่มาจากแหลง่กาํเนิดเสียงตา่งๆ กนั

แหล่งกาํเนิดเสียง ระดบัเสียง(หน่วยเดซิเบล)

ขีดเริ่มตน้ของการไดย้นิ

ใบไมไ้หว

เสียงเงียบภายในหอ้ง

เสียงกระซิบ

เสียบเงียบในหอ้งสมุด

การพดูคุย

การจราจรในตวัเมือง

รถไฟใตด้ิน

เสียงหวดูของรถจกัรไอนํ้า

เสียงจรวดหรือยานอวกาศทะยานขึ้นฟ้า

0

10

20

30

40

60

70

90

100

180

สมบตัขิองเสียง

เมื่อคลื่นเสียงเคลื่อนที่ไปกระทบสิ่งกีดขวาง หรือเคลื่อนที่จากตวักลางหนึ่ง ไปยงัอีก

ตวักลางหนึ่งทนัทีทนัใด คลื่นบางส่วนหรือทั้งหมดจะเดง้กลบัเรียกวา่การสะทอ้นเสียง

เสียงสะทอ้นจะดงัที่สุดเมื่อมุมที่รบัเสียงสะทอ้นเท่ากบัมุมตกกระทบ

ของเสียงวตัถุที่มีผิวเรียบจะสะทอ้นเสียงไดด้ีกวา่วตัถุที่มีผิวขรุขระ

การสะทอ้น (Reflection)

ตามปกติเมื่อคลื่นเสียงตกกระทบแกว้ห ู

การสัน่สะเทือนของแกว้หแูละความรูส้ึกที่

เราไดย้นิเสียงจะติดประสาทหอูยูน่าน

ประมาณ 1/10 วนิาที

ดงันั้นเมื่อเราตะโกนใกลห้น้าผา คลื่นเสียง

จากเราจะเคลื่อนที่ไปกระทบหน้าผาแลว้

สะทอ้นกลบั ถา้คลื่นเสียงเดินทางกลบัมาสู่

หเูราชา้กวา่ 1/10 วนิาที

หเูราจะแยกเสียงตะโกนและเสียงสะทอ้น

ออกจากกนัได ้เราเรียกวา่ เกิดเสียงกอ้ง

สมบตัขิองเสียง

เมื่อเสียงเคลื่อนที่จากตวักลางหนึ่งไปยงัอีกตวักลางหนึ่ง ทาํใหอ้ตัราเร็วของเสียง

เปลี่ยนไป และทิศทางการเคลื่อนที่ของเสียงเปลี่ยนไปดว้ย

ถา้มุมหกัเหของเสียงโตกวา่ 90 องศา ทิศทางของคลื่นเสียงจะกลบัเขา้สู่ตวักลางเดิม

เกิดการสะทอ้นกลบัหมด

การเกิดฟ้าแลบโดยไม่ไดย้นิเสียงฟ้าร้อง

การหกัเห (Refraction)

สมบตัขิองเสียง

การเลี้ยวเบน (Diffraction)

เป็นความสามารถของคลื่นเสียงที่จะเดินทางออ้มสิ่งกีดขวางหรือเลี้ยวเบนผ่านช่องวา่งมาได ้

คลื่นเสียงที่มีความถี่และความยาวคลื่นมาก สามารถเดินทางออ้มสิ่งกีดขวางไดเ้ป็นอยา่งดี

ถา้สิ่งกีดขวางมีขนาดใหญ่กวา่ความยาวคลื่นของคลื่นเสียงมาก ๆ คลื่นเสียงก็จะ ออ้มสิ่งกีดขวางไดย้าก

ขึ้น

สมบตัขิองเสียงสมบตัขิองเสียง

เกิดจากแหล่งกาํเนิดเสียงตั้งแต่ 2 แหล่งขึ้นไปเมื่อมารวมกนัอาจทาํใหเ้กิดเสียงดงัขึ้นกวา่เดิมหรือ

ค่อยลงกวา่เดิมก็ได้

การเกิดบีตสข์องคลื่นเสียง 2 คลื่น

คลื่นเสียงที่มีความถี่ต่างกนัเล็กน้อย(ไมเ่กิน 7 เฮิรตซ)์ เมื่อเกิดการแทรกสอด

จะไดย้นิเสียงบีตส ์(Beats)

สมบตัขิองเสียง

การแทรกสอด (Interference)

สมบตัขิองเสียง

ปรากฏการณด์อปเปลอร ์(Doppler Effect)

ปรากฏการณข์องเสียงที่เกิดขึ้น เมื่อแหล่งกาํเนิดเสียงเคลื่อนที่เขา้หาและออกหา่งจากผู้

สงัเกต

ผูส้งัเกตจะไดย้นิเสียงที่ระดบัแตกต่างกนั เป็นปรากฏการณท์ี่มีความสมัพนัธก์บัอตัราเร็วของ

การเคลื่อนที่ของแหล่งกาํเนิดเสียง

กรณีผูส้งัเกตเคลื่อนที่ โดยแหล่งกาํเนิดหยุดนิ่ง

กรณี ผูส้งัเกตหยุดนิ่ง แหล่งกาํเนิดเสียงเคลื่อนที่

ถา้แหล่งกาํเนิดเสียงเคลื่อนที่เขา้หาผูฟ้ังดว้ยความเร็วคงที่ผูฟ้ังจะไดย้นิเสียงที่มีความถี่สูงกวา่

ความถี่ของแหล่งกาํเนิดเสียง

ปรากฏการณท์างเสียง

เรโซแนนซ ์(Resonance) เป็นปรากฏการณท์ี่วตัถุใดๆ ถูกทาํใหส้ัน่ดว้ยความถี่ซึ่งตรงกบัความถี่

ธรรมชาติ (Natural frequency) ของวตัถุนั้น ทาํใหว้ตัถุเกิดการสัน่อยา่งรุนแรง

ปรากฏการณท์างเสียง

ขณะเกิดเรโซแนนซว์ตัถุมีการสัน่สะเทือนรุนแรง เนื่องจากสะสมพลงังานไวม้ากจงึทาํใหเ้กิดเสียงดงัมากขึ้น

มนุษยไ์ดน้ําหลกัการเกิดเรโซแนนซข์องเสียงไปใชใ้นการทาํใหเ้สียงของเครื่องดนตรีบางชนิด เช่น กีตาร ์

ไวโอลิน ซอ เป็นตน้

โดยใหเ้สน้เอ็นพาดไปบนกล่องไมห้รือกล่องโลหะที่ภายในกลวงเมื่อสีหรือดีดจะเกิดเสียงดงัมากขึ้น

ปรากฏการณท์างเสียง

หูและการไดย้นิ

หูสว่นนอก ประกอบดว้ย

- ใบห ูทาํหน้าที่ในการรบัเสียง

- ช่องห ู(Auditory canal) ทาํหน้าที่ในการกาํทอนเสียง (resonance) แลว้ส่งไปยงัเยือ่แกว้ห ู

- เยือ่แกว้ห ู(tympanic membrane) ทาํหน้าที่เป็นเครื่องรบัความดนัเสียง

หูและการไดย้นิ

หูสว่นกลาง ทาํหน้าที่ปรบัคลื่นเสียง

เพื่อใหเ้ขา้ไปกระตุน้หชูั้นใน

โดยการเปลี่ยนพลงังานเสียงจาก

อากาศ

ใหผ้่านช่องหชูั้นกลางเขา้

เป็นการสัน่สะเทือนของของเหลว

กระดกูสามชิ้น (Ossicles) ทาํหน้าที่เปลี่ยนคลื่นเสียงที่มากระทบแกว้หใูหเ้ป็นคลื่นของเหลวขึ้นในหสู่วนใน

หลอดยูสเตเชียน (eustachian) ปกติช่องนี้จะปิด แต่ในขณะเคี้ยวหรือกลืนอาหารท่อนี้จะเปิด อากาศภายใน

ห ูส่วนกลาง จงึสามารถติดต่อกบัภายนอกได ้เป็นการปรบัความดนั 2 ดา้นของเยือ่แกว้หใูหเ้ท่ากนั

ทาํใหก้ารไดย้นิดีขึ้น

หูและการไดย้นิ

หูและการไดย้นิ

หูสว่นใน

ประกอบดว้ย

หลอดครึง่วงกลม 3 หลอด

(semicircular canals)

ซึ่งทาํหน้าที่ควบคุมการสมดุลของร่างกาย

กระดกูรูปหอย (cochlea)

ภายในบรรจุของเหลวมีเยือ่บาซิลาร ์

(basilar)

มีปลายประสาทที่ไวต่อเสียง

เมื่อสญัญาณมาถึงสมอง สมองทาํหน้าที่แปลความเพื่อใหเ้กิดความหมาย การแปลความหมายของสมอง จะ

ทาํใหค้นเราไดร้บัทราบเรื่องต่าง ๆ ไดน้อกจากนี้สมองยงัควบคุมการตอบสนองสิ่งเรา้ซึ่งขึ้นอยูก่บัสภาพ

ต่างๆ ที่แต่ละบุคคลประสบมา เสียงนั้นอาจทาํใหเ้กิดปฏิกิริยาต่าง ๆ ได ้เช่น ทาํใหห้วัใจเตน้แรงทาํให้

รอ้งไห ้หรือหวัเราะ นอกจากนี้ยงัไปกระตุน้ส่วนต่าง ๆ ของสมองเช่น ส่วนความจาํภาพ ส่วนความจาํเสียง

ซึ่งไดส้ะสมไวต้ั้งแต่เกิด ถา้สมองส่วนความจาํเสียงถูกทาํลาย บุคคลนั้นจะไดย้นิแต่เสียงโดยไม่รูค้วามหมาย

หูและการไดย้นิ

ปลายประสาทในหสู่วนใน จะเปลี่ยนพลงังานเสียงไปเป็นพลงังานไฟฟ้า แลว้เคลื่อนที่ไป

ตามเสน้ประสาทรบัเสียงไปยงัศูนยร์บัเสียงในแกนสมองและผ่านศูนยร์บัทอดพลงังาน

ไฟฟ้าหลายจุดในสมองไปจนถึงกลีบสมองเพื่อประมวลขอ้มลูจากประสบการณท์ี่เคยไดย้นิ

มา เพื่อรูค้วามหมายของเสียง ดงันั้นเราจะไดย้นิรบัรูค้วามหมายและสามารถพดูตอบโต้

เขา้ใจไดต้อ้งมีอวยัวะรบัเสียงที่ดีตั้งแต่หสู่วนนอก หสู่วนกลางและหสู่วนใน และยงัตอ้งมี

ศูนยร์บัรูใ้นสมองดีดว้ย ดงันั้นคนหตูึง หรือหหูนวกถา้ไมเ่คยรูค้วามหมายของเสียงเลยจึง

พดูไมไ่ด ้เช่น คนเป็นใบห้รือคนปัญญาอ่อน เป็นตน้

หูและการไดย้นิ

หูและการไดย้นิ

มลพิษทางเสียงที่มีต่อหคูือภาวะที่เสียงดงัเกินไปซึ่งคนเราไม่ตอ้งการที่จะไดย้นิ

สาเหตุและการเกิดมลพิษทางเสียง

1) แหล่งกาํเนิดของเสียงรบกวนประเภทอยูก่บัที่

ไดแ้ก ่ สถานประกอบการต่าง ๆ เช่น โรงภาพยนตร ์ โรงงานอุตสาหกรรม อู่ซ่อมรถยนต ์

2) แหล่งกาํเนิดเสียงรบกวนประเภทเคลื่อนที่

ไดแ้ก ่ เสียงที่เกิดจากยานพาหนะ ทั้งทางบก ทางนํ้า

หูและการไดย้นิ

ผลกระทบของมลพิษทางเสียง- ทาํใหเ้กิดการสูญเสียการไดย้นิ

- ผลกระทบของเสียงทางดา้นจติใจ

- ผลกระทบของเสียงต่อสุขภาพโดยทัว่ไป

- ผลกระทบของเสียงต่อการทาํงาน

- ผลกระทบของเสียงต่อการพดูคุยและการติดต่อสื่อสาร

การสง่เสียงระยะไกลและการบนัทึกเสียง

การบนัทึกเสียงบนแผ่นเสียง

a) เครื่องเขียนเสียง b) เข็มครูดแผ่นดีบุก เกิดรอ่งเสียง

การเปลี่ยนรูปพลงังานเสียงไปเป็นพลงังานไฟฟ้า ทาํใหเ้ราสามารถส่งเสียงไปไดใ้นระยะไกล ๆ

แถบบนัทึกเสียง (Cassette Tape)

ใหเ้สียงผ่านไมโครโฟน เปลี่ยนเป็นพลงังานไฟฟ้าผ่านเครื่องขยายสญัญาณไฟฟ้า เพื่อใหม้ีพลงังานสูงขึ้ น

แลว้ผ่านไปยงัหวับนัทึกเสียงภายในประกอบดว้ยขดลวดพนัรอบวงแหวนเหล็ก

เมื่อกระแสไฟฟ้าไหลผ่านขดลวด จะทาํใหว้งแหวนเหล็กมีอาํนาจเป็น

แมเ่หล็กและเกิดสนามแมเ่หล็กขึ้นในช่องแคบ ๆ ระหวา่งขั้วของวงแหวน

ความเขม้ของสนามแมเ่หล็กจะเปลี่ยนแปลงตามสญัญาณไฟฟ้าของเสียง

เมื่อแถบบนัทึกเสียงเคลื่อนที่ผ่านสนามแมเ่หล็ก

จะทาํใหส้ารแมเ่หล็กบนแถบเกิดการเหนี่ยวนําเป็นแมเ่หล็ก

การบันทกึเสียงและผลติเสียงจากเทป

คอมแพคดิสก ์(Compact Disc)

คอมแพคดิสกท์าํดว้ยอะลูมิเนียมเคลือบผิวดว้ยพลาสติกใส

ผิวหน้าของแผ่นจะมีลกัษณะเป็นหลุมเล็ก ๆ ไมส่มํา่เสมอ จาํนวนมากมาย ซึ่งเกิดจากการ

บนัทึกเสียงดว้ยระบบดิจิตอล

ซึ่งใชย้งิเลเซอรใ์หไ้ปกระทบผิวหน้าของแผ่น

ตามลกัษณะของขอ้มลูที่บนัทึก

เมื่อกระทบกบัขอ้มลูที่บนัทึกลาํแสงจะเกิดการสะทอ้น

และเมื่อแสงสะทอ้นผ่านหลอดไฟโตดีเทคเตอร์

จะถูกแปลงเป็นสญัญาณไฟฟ้า

ซึ่งจะแปลงต่อไปเป็นสญัญาณเสียง

เทคโนโลยเีกี่ยวกบัเสียง

อลัตราโซนิกส ์ คือเสียงที่มีความถี่สูงมากกวา่ 20,000 เฮิรตซ ์

อลัตราโซนิกส ์ดา้นการเดินเรอื โซนาร ์(Sound Navigation Ranging, SONAR) เป็นเครื่องมือที่ใชว้ดัความลึกของใตท้อ้งทะเลลึกหรือวตัถุที่อยูใ่นนํ้า

โดยการส่งคลื่นเสียงเดินผ่านนํ้าทะเลไป ลงกระทบผิวใตท้ะเล มหาสมุทร หรือวตัถุใตน้ํ้าคลื่นเสียงจะ

สะทอ้นเครื่องรบัและเครื่องรบัสามารถคาํนวณระยะทางได้

อลัตราโซนิกสด์า้นการแพทย ์

ใชใ้นการฆ่าเชื้อโรคในภาชนะหรือในอาหารต่าง ๆ เช่น นมสด เพื่อใหป้ลอดจากเชื้อต่าง ๆ

โดยที่รกัษาสารอาหารต่าง ๆ ไวไ้ด้ใชใ้นการตรวจเนื้อเยือ่ในส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย โดยอาศยัการสะทอ้นกลบัของอลัตราโซนิกสแ์ลว้ขยาย

สญัญาณใหป้รากฎภาพบนจอ (ตรวจดูเด็กทารกในครรภม์ารดา เพราะไมม่ีอนัตรายเหมือนการใช้

เอกซเรย์ )

เครื่องยงิอลัตราโซนิกสท์าํลายกอ้นนิ่วในกระเพาะปัสสาวะ หรือในไต แทนการผ่าตดั

การตรวจครรภด์ว้ยอลัตราโซนิกส์

เทคโนโลยเีกี่ยวกบัเสียง

อลัตราโซนิกส์

อลัตราโซนิกสก์บัสิ่งที่มีชีวิต

คา้งคาว ใชอ้ลัตราโซนิกสใ์นการนําทาง(Echo Location) ไดอ้ยา่งมีประสิทธิภาพมากกวา่การใชแ้สง เพราะคา้งคาวสามารถบินในหอ้ง

ที่มีสิ่งกีดขวางมากมายในเวลากลางคืนไดอ้ยา่งคล่องแคล่ว รวดเร็ว โดยไมช่นอะไรเลยแมแ้ต่เสน้ลวดเล็ก ๆ ที่ขึงไวท้ัว่หอ้ง

แต่ในเวลากลางวนัถา้ปิดอวยัวะทาํเสียงหรือปิดหไูว ้คา้งคาวไมส่ามารถบินไดด้ี แมแ้ต่ในหอ้งที่มีสิ่งกีดขวงเพียงเล็กนอ้ย และ

บินชนแมก้ระทัง่ผนังหอ้ง คา้งคาวส่งเสียงอลัตราโซนิกส์ ที่มีความถี่สูงระหวา่ง 10,000 - 20,000 เฮิรตซ์

อลัตราโซนิกส์

อลัตราโซนิกส์

เป็นหอ้งที่มีผนังภายในบุดว้ยวสัดุดูดกลืนเสียงสามารถดูดกลืนเสียงที่มาตกกระทบได้

หมด หรือเกือบหมด ทาํใหป้ราศจากเสียงรบกวนจากภายนอก และเสียงสะทอ้นจาก

ภายในหอ้ง ซึ่งเรียงสภาพนี้วา่สนามไรเ้สียงเสรี

ประโยชน์ของหอ้งไรเ้สียงสะทอ้นใชเ้ป็นหอ้งวดัความถี่ขีดเริ่มในการไดย้นิของห ู

หอ้งไรเ้สียงสะทอ้น

มีผูป้ระดิษฐเ์ครื่องมือเรียกวา่ "เอ็กโคคารด์ิโอสโคป"(Echo-cardioscope)

เพื่อใชต้รวจดูอวยัวะภายในไดส้าํเร็จ เครื่องมือนี้จะส่งเสียงที่มีความถี่สูงเขา้สู่ร่างกาย เสียงที่

สะทอ้นจากอวยัวะภายใน จะถูกนํามาสงัเคราะหเ์กิดเป็นภาพอวยัวะภายในที่มองเห็นไดบ้นจอ

การใชเ้สียงแทนรงัสีเอกซ์

ชุดอุปกรณป์ระกอบดว้ยส่วนที่ทาํหน้าที่รบัสญัญาณเสียงแลว้เปลี่ยนเป็นสญัญาณ

วทิยุ สญัญาณวทิยุดงักล่าวจะถูกส่งไปยงัตวัรบัและตวักระตุน้ที่ฝังอยูใ่นกระดูก

ดา้นหลงัใบห ูซึ่งทาํหน้าที่เปลี่ยนสญัญาณวทิยุใหเ้ป็นสญัญาณไฟฟ้า จากนั้น

สญัญาณไฟฟ้าจะถูกถ่ายทอดไปตามสายไฟเล็ก ๆ ทาํใหค้นหหูนวกสามารถได้

ยนิเสียงต่าง ๆ ไดเ้หมือนคนปกติ

หูคอมพิวเตอร ์

ระบบการตรวจสอบเสียงใชใ้นการเปิดประต ู

เครื่องคอมพิวเตอรจ์ะบนัทึกเสียงของบุคคลหนึ่ง ๆ ไว ้ โดยการบนัทึกคาํพดูที่

เหมาะสมที่สุด 4 ประโยค เมื่อบุคคลนั้นตอ้งการจะผ่านเขา้ไปในที่ลบัเฉพาะ จะตอ้งมีการ

บนัทึกเลขประจาํตวัลงบนบตัรแลว้พดูตามประโยคที่เคยบนัทึกเก็บไวใ้นเครื่อง

คอมพิวเตอร ์ เครื่องคอมพิวเตอรจ์ะใหพ้ดูซํ้าประโยคใดประโยคหนึ่งใน 4 ประโยคนั้น

ถา้เสียงที่พดูออกไปเหมือนกบัเสียงที่บนัทึกเอาไวป้ระตูก็จะเปิดออก

ระบบเสียงในโรงภาพยนตร์

เทคโนโลยทีี่ใชใ้นวงการภาพยนตร ์ มีอยู ่2 ระบบ คือ

ระบบเสียงแบบโมโนโฟนิก(Monophonic sound system )

คือระบบเสียงที่มีช่องทางเสียง (Channel) เพียงช่องเดียวเท่านั้น สาํหรบัการฟัง

ระบบเสียงโมโนโฟนิกจะใชล้าํโพงเพียงตวัเดียว หรือจะมากกวา่ 1 ตวั แต่ทุกตวั

จะใหเ้สียงเดียวกนัทั้งหมด

ระบบเสียงแบบสเตอรโิอโฟนิก( Stereophonic sound system )

เป็นระบบเสียงที่ประกอบดว้ยช่องทางเสียง 2 ช่อง สาํหรบัการฟังจะตอ้งใชล้าํโพง

2 ตวั แต่ละตวัจะใหเ้สียงในแต่ละช่องทาง สาํหรบัระบบ Stereo ในโรงหนัง จะ

ประกอบดว้ยช่องทางเสียง 3 – 4 ช่อง โดยมี 2 ช่อง เป็นสญัญาณเสียงซา้ย -

ขวา และมีสญัญาณเสียง Effect อยูด่า้นหลงั (Surround) และมีสญัญาณเสียงบท

พดู (Dialogue) อยูด่า้นหนา้ เพื่อดึงดูดความสนใจใหอ้ยูบ่ริเวณจอภาพ

SRD : Special Recording Digital

เป็นระบบเสียงดิจิตอล

DTS : Digital Theatre System

เป็นระบบเสียงดิจิตอลที่บนัทึกขอ้มลูลงในแผ่นซีดีรอม

และใชเ้ปิดไปพรอ้มกบัการฉายภาพยนตร ์

SDDS : Sony Dynamic Digital Sound

เป็นระบบเสียงดิจิตอล คิดคน้และพฒันาโดยบริษัทโซนี่

THX : Tomilinson Holmoan Experiment

ระบบเสียงในโรงภาพยนตร์

ระบบเสียงในโรงภาพยนตร์

1. เสียงเกิดขึ้นไดอ้ยา่งไร

2. เสียงกอ้งคืออะไร

3. คุณภาพเสียงหมายถึงอะไร

4. ระดบัความเขม้เสียงวดัไดอ้ยา่งไร

5. SONAR คืออะไร มีประโยชน์ทาํสิ่งใดบา้ง

6. นักศึกษาคิดวา่คลื่นเสียงที่มีความถี่สูง ๆ ทาํใหแ้กว้แตกไดห้รือไม ่จงอธิบาย

7. คลื่นเสียงอินฟราโซนิกส ์(infrasonic) หมายถึงอะไร เกิดมาไดอ้ยา่งไร

8. จงอธิบายหลกัการบนัทึกเสียง และหลกัการทาํงานของแผ่นซีดี

9. เครื่องเสียงระบบโมโนกบัระบบสเตอริโอแตกต่างกนัอยา่งไร

10. จงอธิบายประโยชน์ของอลัตราโซนิกส ์ในดา้นต่อไปนี้

10.1 ดา้นการประมง

10.2 ดา้นการแพทย์

10.3 ดา้นสุขภาพและความงาม

คาํถาม

top related