analysis - kasikornbank.com...3 analysis...

Post on 21-Jan-2020

0 Views

Category:

Documents

0 Downloads

Preview:

Click to see full reader

TRANSCRIPT

Analysis1

ความต้องการเคมีภัณฑ์การเกษตรทั้งปุ๋ยและยาปราบศัตรูพืชในปี 2560 โดยเฉพาะในช่วงครึ่งแรก ของปี ขยายตัวเมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา โดยมีปัจจัยจากทิศทางราคาสินค้าเกษตรที่อยู่ในระดับสูงน�าโดย อ้อยยางพาราและปาล์มน�า้มนัรวมถงึปัจจยัทางด้านปรมิาณน�า้ในเขือ่นหลกัทีอ่ยูใ่นระดบัสงูเมือ่เทยีบกบัปีก่อนท�าให้เกษตรกรมีความมั่นใจและเพิ่มพื้นที่เพาะปลูก ซึ่งน�าโดยข้าว (นาปรัง) ซึ่งมีพ้ืนท่ีเพาะปลูกสูงกว่าเป้าหมายที ่ภาครัฐตั้งไว้พอสมควรผลักดันให้เกษตรกรต้องการเคมีภัณฑ์การเกษตรเพื่อเพิ่มผลผลิตมากขึ้นส�าหรับแนวโน้มความต้องการเคมีภัณฑ์การเกษตรในช่วงครึง่หลงัของปี2560ศนูย์วิจยักสกิรไทยคาดว่าจะถกูชีน้�าโดยพืชเกษตรหลักที่ราคายังคงส่งสัญญาณทรงตัวในระดับสูงอาทิอ้อยโรงงานปาล์มน�้ามันยางพาราอย่างไรก็ดีอาจจ�าเป็นต้องตดิตามทศิทางราคาสินค้าเกษตรในตลาดโลกทัง้ข้าวมนัส�าปะหลงัซึง่ไทยมกีารพึง่พาตลาดส่งออกในสดัส่วนสงูรวมถึงปริมาณฝนท่ีจะตกในช่วงฤดูฝน ที่อาจส่งผลกดดันต่อการใช้เคมีภัณฑ์การเกษตรในช่วงครึ่งหลังของปีได ้

ภาพรวมความต้องการใช้เคมีภัณฑ์การเกษตรปี 2560 ยังโต

ในช่วงครึ่งแรกปี 2560 นี้ ความต้องการใช้เคมีภัณฑ์การเกษตรมีค่อนข้างสูงในหลายพืชเศรษฐกิจทั้งข้าวนาปรังที่เริ่มปลูกในช่วงเดือนพฤศจิกายน 2559(นาปรังรอบแรก) มาจนถึงเดือนมีนาคม(นาปรังรอบสอง) รวมถึงอ้อยปาล์มน�้ามันและยางพาราโดยมีปัจจัยสนับสนุนส�าคัญดังนี้ 1. ปัจจัยด้านราคาพืชเกษตร ในปี 2560 ราคาพืชเกษตรหลายตัวปรับตัวสูงขึ้นตามแรงส่งของปัจจัยความต้องการใช้ในประเทศรวมทัง้ปัจจยัจากตลาดต่างประเทศอาทิอ้อยยางพาราซึง่เป็นแรงจงูใจให้เกษตรกรหันมาใส่ปุ๋ยบ�ารุงดิน รวมถึงการใช้สารเคมีก�าจัดศัตรูพืชเพื่อเพิ่มผลผลิตมากขึ้น อย่างไรก็ตาม ส�าหรับสินค้า บางรายการทั้งข้าวมันส�าปะหลังและข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ที่ราคามีแนวโน้มปรับลดลงนั้นมีผลกระทบต่อพื้นที่ เพาะปลูกไม่มากนัก เน่ืองจากการปรับเปล่ียนไปปลูกพืชชนิดอื่นท่ีได้ราคาดีค่อนข้างมีอุปสรรค จากการขาด องค์ความรู้ทางด้านการผลิตและการมีตลาดรองรับ ท�าให้ความต้องการใช้เคมีภัณฑ์การเกษตรส�าหรับพืชที ่

จับตาเคมีภัณฑ์เกษตร ตลาดนี้มีอนาคต

Analysis2

ราคาปรับลดลงยังมีต่อเน่ือง แต่เกษตรกรอาจปรับลดการใช้เคมีภัณฑ์เฉลี่ยต่อไร่ลงเพ่ือให้สอดคล้องกับรายได้ ที่ชะลอตัวลง 2. ปัจจัยด้านปริมาณน�้า ปริมาณน�้าต้นทุนในเขื่อนที่เป็นตัวชี้วัดถึงความต้องการเพาะปลูกพืชของเกษตรกรในปี2560(ข้อมูลณ1พฤศจิกายน2559ที่เริ่มเข้าการจัดสรรน�้าในฤดูแล้ง)ค่อนข้างสูงเมื่อเทียบกับปีการผลิตก่อนส่งผลให้ภาครัฐสามารถจัดสรรน�้าให้กับภาคการเกษตรได้เพิ่มขึ้นเกษตรกรจึงมีความมั่นใจขยายพื้นที่เพาะปลูกในหลายพืชเกษตรโดยเฉพาะข้าวนาปรังที่เริ่มปลูกในช่วงเดือนพฤศจิกายน2559มีพื้นที่ปลูกทั่วประเทศจนถึงณวันที่10เมษายน2560อยู่ที่11.53ล้านไร่สูงกว่าแผนถึง4.6ล้านไร่ซึ่งส่วนใหญ่ปลูกในพืน้ท่ีลุม่เจ้าพระยาและสูงกว่าพ้ืนทีเ่พาะปลูกข้าวนาปรงัของปีการผลติ2558/2559ซึง่มพีืน้ทีป่ระมาณ5.61ล้านไร่

แผนการจัดสรรน�้าในฤดูแล้ง

ท่ีมา:แผนบริหารจัดการน�้าในช่วงฤดูแล้งกรมชลประทาน

ส�าหรับในช่วงครึ่งหลังของปี2560คาดว่าความต้องการเคมีภัณฑ์การเกษตรจะยังมีแนวโน้มเติบโตต่อเนือ่งเมือ่เทยีบกบัช่วงครึง่แรกของปีจากปัจจยัทางด้านราคาพืชผลเกษตรหลักท้ังอ้อยยางพาราและปาล์มน�า้มนัที่ยังคงทรงตัวในระดับสูง ท�าให้ความต้องการใช้เคมีภัณฑ์การเกษตรเพื่อบ�ารุงต้นพืชมีสูง ประกอบกับปริมาณ น�้าฝนที่คาดว่าจะเพียงพอเหมาะสมต่อการเพาะปลูก โดยเฉพาะข้าวนาปีในปี 2560/61 ซึ่งเป็นพืชที่ครองพ้ืนท่ีเพาะปลูกหลักของเกษตรกรไทย ท�าให้ความต้องการเคมีภัณฑ์การเกษตรจะยังมีต่อเน่ือง อย่างไรก็ตาม ยังคงจ�าเป็นต้องติดตามปัจจัยด้านราคาพืชเกษตรบางรายการอาทิข้าวมันส�าปะหลังและข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ที่อาจกดดันต่อปริมาณการใช้เคมภีณัฑ์การเกษตรเฉลีย่ต่อไร่ทีล่ดลง(กรณทีีร่าคาทรงตวัหรอืปรบัลดลงจากปัจจุบัน)

Analysis3

ผลจากความต้องการเคมีภัณฑ์การเกษตรที่ยังคงมีสูง จึงคาดว่าตลาดเคมีภัณฑ์การเกษตรในปี 2560 จะมีมูลค่าประมาณ 113,433-140,983 ล้านบาท (ค�านวณจากพืชเกษตรหลักที่มีพื้นที่เพาะปลูกสูง 5 รายการได้แก่ข้าวมันส�าปะหลังยางพาราอ้อยและข้าวโพดเลี้ยงสัตว์) เป็นทีน่่าสังเกตว่ามลูค่าตลาดทีสู่งส่งผลให้มผีูป้ระกอบการเคมภัีณฑ์การเกษตรถงึประมาณ1,136ราย(ข้อมูลจ�านวนโรงงานสะสมของกรมโรงงานอุตสาหกรรม) จึงน�ามาซึ่งการแข่งขันท่ีรุนแรง โดยผู้ประกอบการเคมภีณัฑ์การเกษตรรายใหญ่ซึง่มข้ีอได้เปรยีบทางด้านการต่อรองราคาน�าเข้าวัตถดิุบจากต่างประเทศนอกจากนี้การมีตัวแทนจ�าหน่ายจ�านวนมาก รวมถึงการมีงบโฆษณาประชาสัมพันธ์ท่ีสูงท�าให้สินค้าเป็นท่ีรู้จักกว้างขวางท�าให้ผู้ประกอบการรายใหญ่ครองส่วนแบ่งการตลาดรวมกันค่อนข้างสูง ผู้ประกอบการ SMEs จึงต้องหันไป ท�าตลาดเคมีภัณฑ์ส�าหรับพืชเกษตรรองเพื่อลดการแข่งขันรวมถึงการใช้งบประชาสัมพันธ์ลงไปในพื้นที่มากกว่า การใช้งบผ่านสื่อหลักที่มีต้นทุนสูง ส�าหรับในส่วนของผู้ประกอบการร้านค้าเคมีภัณฑ์การเกษตร(Trading)นั้นการแข่งขันมีความรุนแรงเช่นกัน เนื่องจากมีผู้ประกอบการจ�านวนมากกระจายตามจังหวัดต่างๆ ซึ่งรายใหญ่ที่มีสินค้าหลากหลายจะได ้เปรียบ เนื่องจากเกษตรกรในท้องถิ่น มีการเพาะปลูกพืชหลายชนิดทั้งพืชสวน พืชไร่ นาข้าว อีกท้ังยังมี การสลับสับเปลี่ยนการผลิตในแต่ละฤดูตามปัจจัยด้านราคาปริมาณน�้าอย่างไรก็ตามผู้ค้าSMEsอาจสามารถเสริมจุดด้อยทางด้านสต็อกสินค้าที่หลากหลายน้อยกว่าด้วยการใช้ความคล่องตัวด้วยการเจาะเป็นรายพื้นที่และเข้าไปสอบถามความต้องการของเกษตรกรแต่ละแปลงรวมถงึใช้ช่องทางE-Commerceท่ีช่วยให้เข้าถงึเกษตรกรรุ่นใหม่เพื่อเป็นการช่วยลดภาระการสต็อกสินค้าซึ่งถือเป็นต้นทุนและข้อด้อยส�าคัญส�าหรับSME

มูลค่าตลาดปุ๋ยและยาปราบศัตรูพืชจากสินค้าเกษตรส�าคัญปี2560

ท่ีมา:รวบรวมโดยศูนย์วิจัยกสิกรไทย

Analysis4

จับตาโอกาสและความท้าทาย ตลาดเคมีภัณฑ์การเกษตร

ประเทศไทยมกีารผลิตพชืเกษตรหลากหลายชนดิและบางชนดิมส่ีวนแบ่งในตลาดโลกสงูส่งผลให้ความต้องการเคมีภัณฑ์การเกษตรมีมูลค่าสูง อย่างไรก็ตาม ในปี 2560 ยังคงต้องติดตามปัจจัยต่างๆ ที่อาจเป็นทั้งโอกาสและความท้าทายส�าหรับผู้ประกอบการเคมีภัณฑ์การเกษตรซึ่งมีดังนี้

โอกาส

ภาครัฐสนับสนุนฝึกอบรมให้เกษตรกรรุ ่นใหม่น�า

เทคโนโลยีหรือนวัตกรรมและองค์ความรู ้ต ่างๆ

ที่หน ่วยงานภาครัฐมีมาใช ้บริหารจัดการพื้นที่

เกษตรเดิม และพื้นที่ใหม่ เพื่อให้ได้ผลตอบแทน

เพิ่มขึ้นเช่นการปลูกพืชไฮโดรโปนิกส์การปลูกพืชไร่

นาสวนผสม การใช้ข ้อมูลความต้องการตลาด

มาวางแผนการผลิต

- เกิดเกษตรกรรายใหม่ๆ ที่ใช้พ้ืนที่เดิมรวมทั้งพื้นที่

ที่เคยปล่อยว่างเพาะปลูกพืชมากขึ้น

-ผู้ประกอบการอาจจ�าเป็นต้องเพิ่มความหลากหลาย

ของผลิตภัณฑ์อาทิ ปุ ๋ยชีวภาพปุ ๋ยน�้าส�าหรับ

พืชไฮโดรโปนิกส์ เป็นต้น ซึ่ง SMEs ควรให้

ความสนใจเนื่องจากตลาดยังมีการแข่งขันไม่สูง

Analysis5

ความท้าทาย

เกษตรกรบางรายหันมาปลูกพืชต่างชนิดในแต่ละช่วง

เพื่อเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ของดินหรือในช่วงที ่

น�้ามีน้อย

ช่องทางการค้าออนไลน์ได้รับความนิยมมากขึ้น จาก

เกษตรกรรุ ่นใหม่ ปัจจุบันเริ่มมีสินค้าเคมีภัณฑ์

การเกษตรจ�าหน่ายในร้านค้าออนไลน์เพิ่มขึ้น

ประเทศCLMVก�าลังเร่งยกระดับการผลิตพืชเกษตร

อาทิ ข้าว ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์มันส�าปะหลัง อ้อย

ซึ่งท�าโดยเกษตรกรในท้องถิ่น รวมทั้งการร่วมลงทุน

ของนักลงทุนต ่างชาติ เพื่อใช ้ เป ็นฐานการผลิต

และส่งออกไปตลาดต่างประเทศโดยคาดว่าปัญหาภยั

แล้งในปี 2560 ที่ไม่รุนแรงเท่าปีก่อนๆจะท�าให้

เกษตรกรในประเทศเพื่อนบ้านเร่งขยายการผลิตพืช

เกษตรมากขึ้น

ท�าให้เกิดรอบการเพาะปลูกพืชถี่ขึ้นใน1ปีแทนที่จะ

ปล่อยพืน้ท่ีว่างเปล่าเพือ่รอน�า้เพียงอย่างเดยีวเช่นข้าว

ผู ้ค ้ ารายย ่อยที่ เป ็น SMEs สามารถท�าตลาด

ได้มากขึ้น จากการลดข้อจ�ากัดหน้าร้าน พื้นที่สต็อก

สินค้า รวมถึงการจัดส่งและการเข้าถึงกลุ่มเกษตรกร

ประเทศเหล่าน้ียังมีการผลิตปุ๋ย และยาปราบศัตรูพืช

ได้ไม่มากนักต้องน�าเข้าจากต่างประเทศโดยไทยจะมี

ความได้เปรียบทางด้านสินค้าได้มาตรฐาน และมี

ความสะดวกในการจัดส่ง เมื่อเทียบกับจีนซึ่งเป็น

คู่แข่งส�าคัญที่เน้นแข่งขันที่ราคา

ประเทศไทยจ�าเป็นต้องพึ่งพาการน�าเข้าปุ๋ยและยา

ปราบศัตรูพืชซึ่งส่วนใหญ่เป็นสารตั้งต้นเพื่อน�ามา

ผสมเป็นสูตรที่เหมาะสมกับพืชเกษตร

ในป ี 2560 รัฐยั งคงสนับสนุนให ้ เกษตรกร

ปลูกพืชที่ใช้น�้าน้อย และงดการปลูกข้าวนาปรัง

รอบท่ีสอง (ช่วงเดือนมีนาคม) โดยจะไม่ปล่อยน�้า

ส�าหรับท�านาปรังรอบใหม่

ภาครัฐสนับสนุนให้เกษตรกรรวมกลุ่มกันท�าเกษตร

แปลงใหญ่เพือ่ลดต้นทนุและเพิม่ผลผลติโดยปี2559

มี600แปลงรวมพื้นที่ประมาณ1.5ล้านไร่ส่วน

ปี2560ตั้งเป้าเพิ่มอีก900แปลง

ต้นทนุน�าเข้าเคมภีณัฑ์การเกษตรปรบัเพิม่ขึน้ซึง่อาจกดดนั

การใช้ในพชืเกษตรท่ีราคาผนัผวนหรอืปรบัลดลงเช่นข้าว

มันส�าปะหลังข้าวโพด

อาจส ่งผลกระทบต่อความต ้องการใช ้ปุ ๋ยของพื้นที่

ข้าวนาปรังรอบใหม่

เกษตรกรมีอ�านาจต่อรองราคาปัจจัยการผลิตสูงหรืออาจ

รวมกลุ่มกันสั่งซื้อหรือประมูลปุ๋ย และยาปราบศัตรูพืช

จากผู้ผลิต/ผู้น�าเข้าโดยตรง เป็นอุปสรรคต่อผู้ค้า SMEs

ที่จะน�าเสนอสินค้าแข่ง

Analysis6

เมือ่วเิคราะห์จากโอกาสและความท้าทายข้างต้นพบว่าภาพรวมตลาดเคมภีณัฑ์การเกษตรยงัคงมโีอกาสเติบโตจากการเข้าสู่ภาคการผลิตของคนรุ่นใหม่ๆ ที่ใช้พื้นที่ทิ้งร้างของครอบครัว หรือเช่าพื้นที่ของเจ้าของที่ดิน ท่ีไม่ได้ท�าประโยชน์ รวมถึงตลาดประเทศเพื่อนบ้านที่ยังต้องน�าเข้าเคมีภัณฑ์การเกษตร ในขณะที่การปลูกพืช แบบอินทรีย์หรือแบบไฮโดรโปนิกส์แม้ว่าจะเริ่มได้รับความนิยมเพิ่มขึ้นซึ่งอาจส่งผลต่อปริมาณการใช้เคมีภัณฑ์การเกษตรต่อพืน้ทีท่ีล่ดลงแต่อย่างไรกต็ามเคมีภัณฑ์การเกษตรกย็งัคงมคีวามต้องการใช้สูงเน่ืองจากพืชเกษตรอินทรีย์หรือการปลูกแบบไฮโดรโปนิกส์ ยังมีสัดส่วนน้อยเมื่อเทียบกับพื้นที่เกษตรทั้งหมดที่ปลูกเพื่อป้อนตลาดในและต่างประเทศท่ีมีความต้องการสูง อย่างไรก็ตาม ผู้ประกอบการเคมีภัณฑ์การเกษตร โดยเฉพาะ SMEs อาจต้องติดตามกระแสดังกล่าวเพื่อเรียนรู้ตลาดใหม่ๆ ท่ีแม้ยังมีตลาดน้อย แต่ก็มีอัตราเติบโตสูงและยังมี การแข่งขันไม่รุนแรงมากอาทิปุ๋ยน�้าส�าหรับพืชไฮโดรโปนิกส์หรือปุ๋ยชีวภาพขณะเดียวกันก็สามารถใช้ช่องทาง การค้ารูปแบบใหม่เช่นE-Commerceเข้าถึงเกษตรกรรุ่นใหม่ได้อีกด้วย

Tips การท�าธุรกิจเคมีภัณฑ์ปี 2560

เกษตรกรหลายรายหนัมาปลกูพชืหลายชนดิในพืน้ท่ี

เพื่อลดความเสี่ยงด้านราคา จึงต้องใช้เคมีภัณฑ์

การเกษตรที่เหมาะกับพืชเกษตรแต่ละชนิด

กา รขยายตั ว ขอ งแนวคิ ดกา รผลิ ตสิ นค ้ าที่

เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ผู ้ปลูกรวมทั้งผู ้บริโภค

อย่างยัง่ยืน(พ้ืนทีเ่กษตรอนิทรย์ีปี2558มปีระมาณ

2.8 แสนไร่ เพิ่มขึ้นร้อยละ 21 เทียบกับปี 2557)

ผู้ประกอบการ SMEs ท่ีมีพื้นท่ีหรือเงินทุนในการสต็อก

สินค้าจ�ากัดอาจเสียเปรียบ หากเกษตรกรต้องการร้านที่

มีสินค้าครบถ้วนหรือหลากหลายกว่า

ลดการใช้สารเคมีและหันมาใช้สารชีวภาพหรือปุ๋ยจากพืช

หรอืมลูสตัว์ทดแทนโดยปรมิาณน�าเข้าสารชวีภาพปี2559

อยู่ที่137ตันเพิ่มขึ้นจากปี2558ที่น�าเข้าเพียง87ตัน

ซึง่อาจเป็นความท้าทายส�าหรบัผูผ้ลติเคมภีณัฑ์การเกษตร

ประเภทปุย๋เคมีแต่เป็นโอกาสส�าหรบัผลติภณัฑ์ปุย๋อนิทรย์ี

Analysis7

ผู้ผลิตและผู้ค้าเคมีภัณฑ์การเกษตร จ�าเป็นต้องติดตามปัจจัยต่างๆ ที่เป็นท้ังโอกาสและความท้าทายเพื่อวางแผนธุรกิจที่เหมาะสม

และสอดคล้องกับสถานการณ์ซึ่งในปี2560มีหลักส�าคัญดังนี้

• การปรับตัวของผู้ผลิต/น�าเข้า ในปี 2560 ความผันผวนของค่าเงินบาทและเงินดอลลาร์ฯที่อาจส่งผลกระทบต่อต้นทุนการน�าเข้า

ซึ่งในระยะสั้นเงินบาทมีความผันผวนขึ้นกับเงินทุนไหลเข้าออกระยะสั้น ท�าให้เงินบาทอาจปรับแข็งค่าขึ้นได้ในบางช่วง ขณะที่ในระยะถัดไปเงินบาท

มีแนวโน้มอ่อนค่าตามปัจจัยการปรับข้ึนดอกเบ้ียของธนาคารกลางสหรัฐฯดังนั้น ผู้ประกอบการน�าเข้าเคมีภัณฑ์ จ�าเป็นต้องติดตามสถานการณ์

ค่าเงินบาทอย่างต่อเนื่อง เพื่อวางแผนการน�าเข้าสต็อกสินค้าในช่วงที่เงินบาทยังคงส่งสัญญาณแข็งค่า ซึ่งจะเป็นข้อได้เปรียบด้านต้นทุนสินค้าน�าเข้า

•การปรับตัวของผู้ค้าผู้ประกอบการเคมีภัณฑ์การเกษตรส่วนใหญ่จะเป็นผู้ประกอบการขนาดกลางขนาดย่อมหรือSMEsซึ่งมีข้อจ�ากัด

ทางด้านความหลากหลายของสนิค้ารวมทัง้จ�านวนตวัแทนจ�าหน่ายทีน้่อยกว่าเมือ่เทยีบกบัผูค้้ารายใหญ่ดงันัน้ผูป้ระกอบการSMEsจ�าเป็นต้องตดิตาม

สถานการณ ์ด ้ านราคาวัตถุดิบ รวมทั้ งปริมาณความต ้องการ เคมีภัณฑ ์การ เกษตรในแต ่ละช ่ วง ให ้ เหมาะสมกับสถานการณ ์

ซึ่งมีดังนี้

• การสต็อกสินค้า ผู้ค้าควรมีการวางแผนสต็อกสินค้าให้สอดคล้องกับสถานการณ์ อาทิ ควรสั่งซื้อหรือสต็อกสินค้าในช่วงที่เงินบาท

ยังมีแนวโน้มแข็งค่า นอกจากนี้ควรติดตามสภาพภูมิอากาศช่วงที่มีฝนมากหรืออาจมาก่อนก�าหนด (ปีน้ีพายุฤดูร้อนมาค่อนข้างถี่กว่าปีก่อนๆ)

เนื่องจากเกษตรกรมักงดหรือชะลอการใส่ปุ๋ยเพื่อไม่ให้ละลายไปกับน�้าซึ่งผู้ประกอบการควรลดสต็อกสินค้าในช่วงนี้เพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการ

ที่ชะลอตัวหรืออาจจะสต็อกสินค้าให้สอดคล้องกับสภาพอากาศอาทิยาแก้เพลี้ยแป้งรวมทั้งแมลงศัตรูพืชที่มักจะระบาดในช่วงที่อากาศร้อนมากหรือ

ยาแก้เชื้อรา ที่จะระบาดในช่วงหน้าฝน ขณะเดียวกัน ก็ควรมีการติดตามหรือสอบถามเกษตรกรในพื้นท่ีอย่างต่อเนื่อง ถึงแผนการปลูกพืชว่า

เป็นรูปแบบใดเช่น ปลูกพืชชนิดเดียว ปลูกพืชผสมผสาน ปลูกพืชหมุนเวียน เพื่อเลือกประเภทปุ ๋ยที่เหมาะสมกับพืช หรือปลูกพืชอินทรีย์

เพื่อจะได้เพิ่มปุ๋ยชีวภาพหรือปุ๋ยมูลสัตว์เข้ามาเป็นทางเลือก

•การพัฒนาธุรกิจในรูปแบบE-Commerceปัจจุบันลูกหลานเกษตรกรที่มารับช่วงต่อเป็นเกษตรกรรุ่นใหม่และมีระดับการศึกษาที่สูงขึ้น

และเริ่มเข้าถึงรูปแบบการค้าใหม่ๆ โดยเฉพาะช่องทางออนไลน์ ซึ่งมีข้อดีด้านความสะดวกในการสั่งซ้ือ จัดส่ง รวมทั้งราคาจ�าหน่ายที่ต�่ากว่า

สินค้าที่จ�าหน่ายหน้าร้าน ซึ่งปัจจุบันก็มีผู้ประกอบการหลายรายที่ใช้ช่องทางดังกล่าวในการท�าตลาด ทั้งการพัฒนาเว็บไซต์เองหรือการน�าสินค้า

จ�าหน่ายผ่านผูใ้ห้บรกิารขายของรายใหญ่ทีเ่ป็นตวักลางหรอืE-Marketplaceดงันัน้ผูป้ระกอบการควรให้ความสนใจช่องทางจดัจ�าหน่ายนีอ้ย่างจริงจงั

โดยนอกจากเพื่อการติดต่อสั่งซื้อสินค้าแล้ว ยังควรต้องมีการให้ความรู้หรือข้อมูลต่างๆ ท่ีเป็นประโยชน์แก่เกษตรกร อาทิ ความเคล่ือนไหวของราคา

หรอืความต้องการสนิค้าในตลาดทัง้ในและต่างประเทศเพ่ือช่วยวางแผนการผลติรวมถงึข้อมูลการระบาดของโรคพชืและแมลงเพือ่วางแผนการใช้เคมภีณัฑ์

ซึ่งจะช่วยสร้างความสัมพันธ์ที่ดีต่อลูกค้า

Analysis8

บทสรุป

เคมภัีณฑ์การเกษตรเป็นตลาดทีใ่หญ่มมีลูค่าสูงถงึปีละกว่า 1.1-1.4แสนล้านบาท (เฉพาะพชืเกษตรหลกัข้าวข้าวโพดเลี้ยงสัตว์มันส�าปะหลังอ้อยและยางพารา)รวมถึงตลาดส่งออกประเทศในกลุ่มCLMVซึ่งเป็นประเทศเกษตรกรรมเช่นเดียวกับไทย อย่างไรก็ตาม ตลาดน้ีมีหลายปัจจัยที่ส่งผลต่อทิศทางความต้องการ ใช้ทั้งด้านบวกและด้านลบดังนั้นผู้ประกอบการเคมีภัณฑ์การเกษตรที่ประสบความส�าเร็จจ�าเป็นต้องศึกษาและติดตามปัจจัยดังกล่าวอย่างใกล้ชิด โดยเฉพาะผู้ประกอบการ SMEs ซึ่งต้องแข่งขันกับผู้ประกอบการรายใหญ่ท่ี มคีวามพร้อมทางด้านเงินทุนการให้สินเชือ่กบัเกษตรกรและการสตอ็กสินค้าโดยการให้ความส�าคญักบัการเข้าถงึเกษตรกรแบบลงลึก เพื่อทราบถึงความต้องการของเกษตรกรเฉพาะรายในแต่ละช่วงการผลิต ซึ่งจะช่วย สร้างภาพลักษณ์และการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีต่อลูกค้าในระยะยาว

APPENDIXปริมาณและมูลค่าการน�าเข้าปุ๋ยและยาปราบศัตรูพืชของไทย

ท่ีมา:กระทรวงพาณิชย์รวบรวมโดยศูนย์วิจัยกสิกรไทย

หมายเหตุ:ปุ๋ย=พิกัดHS31ยาปราบศัตรูพืช=พิกัดHS3808

Analysis9

พื้นที่เพาะปลูกพืชเกษตรของประเทศในCLMVหน่วย:ล้านไร่

ที่มา:ส�านักงานเศรษฐกิจการเกษตร

ปริมาณและมูลค่าการส่งออกเคมีภัณฑ์การเกษตรของไทยไปยังกลุ่มประเทศCLMVปี2559ปริมาณ:ตัน

มูลค่า:ล้านบาท

ที่มา : กระทรวงพาณิชย์ รวมบรวมโดยศูนย์วิจัยกสิกรไทย

Analysis10

พื้นที่เกษตรอินทรีย์ไทย

หน่วย:ไร่

ที่มา : กรีนเนท

top related