(introduction to economics: 01108101) · (price elasticity of demand) 2) ความย....

Post on 25-Jun-2020

1 Views

Category:

Documents

0 Downloads

Preview:

Click to see full reader

TRANSCRIPT

วิชา เศรษฐศาสตรเบื้องตน

(Introduction to Economics: 01108101)

บทที่ 5 ความยืดหยุนของอุปสงคและอปุทาน

ภาคปลาย ปการศึกษา 2553

รศ.ดร. สนัตยิา เอกอัคร

เอกสารประกอบการบรรยาย

Faculty of Economics

Kasetsart

University

Presenter�
Presentation Notes�
ดก่าหสว่ดากสหวฟ�

2

บทที่ 5 ความยืดหยุนของอุปสงคและอุปทาน

5.3 ความยืดหยุนของอุปทาน

(Elasticity of Supply)

5.1 ความนํา

5.2 ความยืดหยุนของอุปสงค (Elasticity of Demand)

รศ.ดร.สันติยา เอกอัคร ภาควิชาเศรษฐศาสตร fecosye@ku.ac.th

ที่มา:

blog.jess3.com/2007/05/price-ela...and.html

3

บทที่ 5 ความยืดหยุนของอุปสงคและอุปทาน

5.4 การนําเรื่องความยืดหยุนไปใชประโยชน

5.5 สรุปทายบท

รศ.ดร.สันติยา เอกอัคร ภาควิชาเศรษฐศาสตร fecosye@ku.ac.th

4

5.1 ความนํา

เมื่อราคาสินคาชนดิหนึ่งเปลี่ยนแปลง ปริมาณซือ้ของสินคาชนดิ

นัน้มีการเปลี่ยนแปลงไปดวย

เมื่อผูบริโภคมีรายไดเพิ่มขึ้น ผูบริโภคจะซือ้สินคาบางชนิดเปน

อตัราสวนตอรายไดมากขึ้นกวาเมื่อกอน

แตการซื้อสินคาบางชนิดอาจเปนอตัราสวนตอ

รายไดลดลง

รศ.ดร.สันติยา เอกอัคร ภาควิชาเศรษฐศาสตร fecosye@ku.ac.th

Kasetsart

UniversityFaculty of Economics

ถาสังเกตพฤติกรรมบางอยางในระบบเศรษฐกิจ พบวา

5

5.1 ความนํา

เมื่อราคาสินคาชนดิหนึ่งเพิ่มสูงขึ้น ผูบริโภคจะซือ้สินคาอกี

ชนดิหนึ่งซึ่งมีราคาคงที่ในปริมาณที่มากขึ้นกวาเมื่อกอน

รศ.ดร.สันติยา เอกอัคร ภาควิชาเศรษฐศาสตร fecosye@ku.ac.th

Kasetsart

UniversityFaculty of Economics

ถาสังเกตพฤติกรรมบางอยางในระบบเศรษฐกิจ พบวา

บางครั้งเมื่อราคาสินคาชนิดหนึ่งเปลี่ยนแปลง ปริมาณขายของ

สินคาชนิดนั้น ก็เปลี่ยนแปลงไปดวย

6

การเปลี่ยนแปลงอยางหนึ่งเปน “เหตุ” กอใหเกิดการ

เปลี่ยนแปลงอกีอยางหนึ่งเปน “ผล” ตามมา

การเปรียบเทียบอตัราการเปลี่ยนแปลงของ “ผล” ตออตัราการ

เปลี่ยนแปลงของ “เหตุ” นักเศรษฐศาสตรเรียกวา

“ความยดืหยุน”

(Elasticity)

รศ.ดร.สันติยา เอกอัคร ภาควิชาเศรษฐศาสตร fecosye@ku.ac.th

5.1 ความนํา Kasetsart

UniversityFaculty of Economics

จากพฤติกรรมดังกลาว สรุปไดวา

7

การเปรียบเทียบอตัราการเปลี่ยนแปลงของปริมาณซือ้ตออตัรา

การเปลี่ยนแปลงของราคา เรียกวา

“ความยดืหยุนของอุปสงค”

(Elasticity

of Demand)

รศ.ดร.สันติยา เอกอัคร ภาควิชาเศรษฐศาสตร fecosye@ku.ac.th

5.1 ความนํา Kasetsart

UniversityFaculty of Economics

ตัวอยาง เชน.....

8

ความรูเรื่องความยดืหยุน ผูเรียนสามารถนําไปใช

ประโยชนไดหลายประการ

รศ.ดร.สันติยา เอกอัคร ภาควิชาเศรษฐศาสตร fecosye@ku.ac.th

5.1 ความนํา Kasetsart

UniversityFaculty of Economics

ใชประโยชนในชวีิตประจําวัน

แนวทางการวางนโยบายดานภาษี

แนวทางการพยุงราคาสินคาเกษตรไมใหต่าํเกินไป การควบคุมราคาสินคาอุปโภคบริโภคที่จําเปนตอ

คนสวนใหญไมใหสูงเกินไปกวาที่ควรจะเปน

9

5.2.1 ความยดืหยุนของอุปสงค มคีวามหมายดังนี:้

5.2 ความยืดหยุนของอุปสงค (Elasticity of Demand)

(1) หมายถึง อัตราการเปลี่ยนแปลงของปริมาณซื้อ สินคา ชนดิใดชนดิหนึ่ง ตออัตราการเปลี่ยนแปลงของ

ราคาของสินคานั้น

(2) หมายถึง อัตราการเปลี่ยนแปลงของปริมาณซื้อ สินคา ชนดิใดชนดิหนึ่ง ตออัตราการเปลี่ยนแปลงของ

รายไดของผูบริโภค

รศ.ดร.สันติยา เอกอัคร ภาควิชาเศรษฐศาสตร fecosye@ku.ac.th

10

(3)

หมายถึง อัตราการเปลี่ยนแปลงของปริมาณซื้อสินคา ชนดิใดชนดิหนึ่ง ตออัตราการเปลี่ยนแปลงของ

ราคาสินคาที่เกี่ยวของ

5.2.1 ความยดืหยุนของอุปสงค มคีวามหมายดังนี:้

รศ.ดร.สันติยา เอกอัคร ภาควิชาเศรษฐศาสตร fecosye@ku.ac.th

5.2 ความยืดหยุนของอุปสงค Kasetsart

UniversityFaculty of Economics

11

5.2.2

ชนดิของความยืดหยุนของอุปสงค มี 3 ชนดิ ดงันี้

1)

ความยดืหยุนของอุปสงคตอราคา

(Price elasticity of demand)

2)

ความยดืหยุนของอุปสงคตอรายได

(Income elasticity of demand)

รศ.ดร.สันติยา เอกอัคร ภาควิชาเศรษฐศาสตร fecosye@ku.ac.th

5.2 ความยืดหยุนของอุปสงค Kasetsart

UniversityFaculty of Economics

12

3)

ความยดืหยุนไขวของอุปสงค

(Cross elasticity of demand)

หรือ ความยดืหยุนของอุปสงคตอ

ราคาสินคาชนิดอื่นที่เกี่ยวของ

รศ.ดร.สันติยา เอกอัคร ภาควิชาเศรษฐศาสตร fecosye@ku.ac.th

5.2 ความยืดหยุนของอุปสงค Kasetsart

UniversityFaculty of Economics

5.2.2 ชนดิของความยืดหยุนของอุปสงคมี 3 ชนดิ ดังนี้

13

1) ความยดืหยุนของอุปสงคตอราคา คือ

อัตราการเปลี่ยนแปลงของ ปริมาณซื้อ สินคาชนิดใดชนดิ หนึ่ง ตออัตราการเปลี่ยนแปลงของ ราคาสินคาชนิดนัน้

หมายความวา การเปลี่ยนแปลงของราคาเปน “เหตุ” สวนการ

เปลี่ยนแปลงของปริมาณซื้อเปน “ผล”

รศ.ดร.สันติยา เอกอัคร ภาควิชาเศรษฐศาสตร fecosye@ku.ac.th

5.2 ความยืดหยุนของอุปสงค Kasetsart

UniversityFaculty of Economics

อธิบายพอเปนสงัเขปไดดังนี้

14

จากกฎของอุปสงค เมื่อสินคาใดราคาถูกลง ปริมาณซื้อ

สนิคานั้นจะมากขึ้น

ในบางกรณี การเปลี่ยนแปลงของปริมาณซื้อมีอัตราสวน

มากกวาการเปลี่ยนแปลงของราคา

รศ.ดร.สันติยา เอกอัคร ภาควิชาเศรษฐศาสตร fecosye@ku.ac.th

5.2 ความยืดหยุนของอุปสงค Kasetsart

UniversityFaculty of Economics

ในทางตรงกนัขาม เมื่อราคาสูงขึ้น ปริมาณซือ้สินคานั้นจะลดลง

15

ในบางกรณี การเปลี่ยนแปลงของราคา มีอัตราสวน

มากกวา การเปลี่ยนแปลงของปริมาณซื้อ

รศ.ดร.สันติยา เอกอัคร ภาควิชาเศรษฐศาสตร fecosye@ku.ac.th

5.2 ความยืดหยุนของอุปสงค Kasetsart

UniversityFaculty of Economics

สาเหตุที่เปนเชนนั้น มาจาก ความแตกตางกันในเรื่องของ

ความยดืหยุนของอุปสงคตอราคา

ซึ่งมีอยู 5 ชนดิ ดังนี้:

16

ก.

อุปสงคทีไ่มมคีวามยดืหยุนเลย (Perfectly inelastic demand)

ปริมาณซือ้

ราคา

P1

P2

Q10

D

5.2 ความยืดหยุนของอุปสงค Kasetsart

UniversityFaculty of Economics

แมราคาจะสูงหรือต่ําเพียงใด

ปริมาณซื้อคงเดิม

คาความยืดหยุน = 0

เชน ยาเสพติด

เสนอุปสงคตั้งฉาก

กับแกนนอน

รูปที่ 5.1

เสนอุปสงคที่ไมมีความยืดหยุนเลย

17

ก.

อุปสงคทีไ่มมคีวามยดืหยุนเลย (Perfectly inelastic demand)

18

ข.

อุปสงคทีม่คีวามยดืหยุนนอย (Inelastic demand)

ปริมาณซื้อจะเปลี่ยนแปลงเปนอัตราสวนนอยกวาการเปลี่ยนแปลงของราคา

ปริมาณซือ้

ราคา

P1

P0

Q00 Q1

D

D

5.2 ความยืดหยุนของอุปสงค Kasetsart

UniversityFaculty of Economics

คาความยืดหยุน < 1

ไดแก สินคาจําเปน

ในการครองชีพ

เชน ขาวสาร น้ําปลา

เสนอุปสงคคอนขางชัน

รูปที่ 5.2

เสนอุปสงคที่มีความยืดหยุนนอย

Q: สินคาจําเปนในการครองชีพ มีคยย.ของอุปสงคตอราคา อยางไร

19

ค.

อุปสงคทีม่คีวามยดืหยุนคงที่ (Unit elastic demand)

ปริมาณซื้อจะเปลี่ยนแปลงเปนอัตราสวนเดียวกับการเปลี่ยนแปลงของราคา

ปริมาณซือ้

ราคา

P1

P0

Q00 Q1

D

D

5.2 ความยืดหยุนของอุปสงค Kasetsart

UniversityFaculty of Economics

คาความยืดหยุน = 1

ถาราคาลดลง 5 %

ปริมาณซื้อเพิ่มขึ้น 5 %

รูปที่ 5.3

เสนอุปสงคที่มีความยืดหยุนคงที่

20

ค.

อุปสงคทีม่คีวามยดืหยุนคงที่ (Unit elastic demand)

ปริมาณซื้อจะเปลี่ยนแปลงเปนอัตราสวนเดียวกับการเปลี่ยนแปลงของราคา

ที่มา:

www.tynerblain.com/blog/2009/06/01/p...sticity

21

ง.

อุปสงคทีม่คีวามยดืหยุนมาก (Elastic demand)

ปริมาณซื้อจะเปลี่ยนแปลงเปนอัตราสวนมากกวาการเปลี่ยนแปลงของราคา

ปริมาณซือ้

ราคา

P1

P0

Q00 Q1

D

D

5.2 ความยืดหยุนของอุปสงค Kasetsart

UniversityFaculty of Economics

คาความยืดหยุน > 1

ไดแก สินคาฟุมเฟอย

เชน น้ําหอม

เครื่องสําอาง

เสนอุปสงคมีความชันนอย

รูปที่ 5.4

เสนอุปสงคที่มีความยืดหยุนมาก

Q: สินคาฟุมเฟอย มคียย.ของอุปสงคตอราคา อยางไร

22

จ.

อุปสงคทีม่คีวามยดืหยุนมากที่สุด (Perfectly elastic demand) ณ ราคาที่กําหนดหรือต่าํกวา ผูซือ้จะซื้อไมจํากดัจํานวน

ปริมาณซือ้

ราคา

P0

0

D

5.2 ความยืดหยุนของอุปสงค Kasetsart

UniversityFaculty of Economics

คาความยืดหยุน =

เชน โรงสีรับซื้อขาวเปลือก

ทั้งหมด หรือโรงงานยาสูบ

รับซื้อ ใบยาสูบทั้งหมด

เสนอุปสงคขนานแกนนอน

รูปที่ 5.5 เสนอุปสงคที่มีความยืดหยุนมากที่สุด

23

การวัดความยืดหยุนของอุปสงคตอราคา: มี 2 วิธี

(1)

การวัดความยืดหยุน ณ จุดใดจุดหนึ่ง (Point elasticity)

รศ.ดร.สันติยา เอกอัคร ภาควิชาเศรษฐศาสตร fecosye@ku.ac.th

5.2 ความยืดหยุนของอุปสงค Kasetsart

UniversityFaculty of Economics

• ไดคาถูกตองตามทฤษฎีมากกวา

• เพราะเปนการวัดคาการเปลี่ยนแปลงของปริมาณซือ้ตอการเปลี่ยนแปลงของราคาที่นอยที่สุดจนเกือบจะ

ไมมกีารเปลี่ยนแปลงเลย

24

การวัดความยืดหยุนของอุปสงคตอราคา: มี 2 วิธี

(2) การวัดความยืดหยุนระหวางจุด (Arc elasticity)

รศ.ดร.สันติยา เอกอัคร ภาควิชาเศรษฐศาสตร fecosye@ku.ac.th

5.2 ความยืดหยุนของอุปสงค Kasetsart

UniversityFaculty of Economics

• เปนการวัดชวงใดชวงหนึ่งของเสนอุปสงค• คาที่ไดเปนคาเฉลี่ยระหวางสองจุด จึงไมแนนอนเทาวิธีแรก• เปนวิธีที่ใชในทางปฏิบัติ มากกวา วิธีแรก เพราะการเปลี่ยน

แปลงของปริมาณซื้อและราคาเทาที่เปนอยูจริงก็

เปลี่ยนแปลงไปครั้งละไมนอย

25

สูตรการหาความยดืหยุนระหวางจุด :

21

21

21

21

PPPPQQQQ

EP

+−+−

=

โดยที่……..

Ep

คือ ความยืดหยุนของอุปสงคตอราคา

Q1

คือ ปริมาณซื้อกอน ราคาเปลี่ยนแปลง

Q2

คือ ปริมาณซื้อหลัง ราคาเปลี่ยนแปลง

P1

คือ ราคากอน การเปลี่ยนแปลง

P2

คือ ราคาหลัง การเปลี่ยนแปลง

5.2 ความยืดหยุนของอุปสงค Kasetsart

UniversityFaculty of Economics

รศ.ดร.สันติยา เอกอัคร ภาควิชาเศรษฐศาสตร fecosye@ku.ac.th

26

สูตรการหาความยดืหยุนระหวางจุด :

21

21

21

21 *PPPP

QQQQEP −

++−

=

5.2 ความยืดหยุนของอุปสงค Kasetsart

UniversityFaculty of Economics

โดยท

ี Ep

คือ ความยืดหยุนของอุปสงคตอราคา

Q1

คือ ปริมาณซื้อกอน ราคาเปลี่ยนแปลง

Q2

คือ ปริมาณซื้อหลัง ราคาเปลี่ยนแปลง

P1

คือ ราคากอน การเปลี่ยนแปลง

P2

คือ ราคาหลัง การเปลี่ยนแปลง

27

ตัวอยาง เมื่อวานนี้ เงาะราคา กก. ละ 15 บาท ผูบรโิภคซื้อไป 80 กก. วันนี้ เงาะมีราคา กก. ละ 20 บาท ผูบรโิภคซื้อไป 50 กก. จงหาคาอุปสงค

มีคาความยืดหยุนเทาไร และชนิดใด

วิธีทํา Q1

= 80,

Q2

= 50, P1

= 15, P2

= 20

20152015

*50805080

+

+

−=PE EP

= - 1.6

สรุป อุปสงคมีความยืดหยุนมาก เพราะมีคาความยืดหยุน > 1

รศ.ดร.สันติยา เอกอัคร ภาควิชาเศรษฐศาสตร fecosye@ku.ac.th

5.2 ความยืดหยุนของอุปสงค Kasetsart

UniversityFaculty of Economics

28รศ.ดร.สันติยา เอกอัคร ภาควิชาเศรษฐศาสตร fecosye@ku.ac.th

5.2 ความยืดหยุนของอุปสงค Kasetsart

UniversityFaculty of Economics

2) ความยดืหยุนของอุปสงคตอรายได

(Income Elasticity of Demand)

หมายถึง อัตราการเปลี่ยนแปลงของปริมาณซือ้สินคาชนดิใดชนิดหนึ่ง ตออตัราการเปลี่ยนแปลงของรายไดของผูบริโภคโดยกําหนดใหปจจยัอื่นๆ คงที่ (เชน รสนิยม ราคา ปริมาณฯ)

การเปลี่ยนแปลงของรายไดเปน “เหต”ุ สวนการเปลี่ยนแปลง

ของปริมาณซื้อเปน “ผล”

29

สูตรการหาความยดืหยุนตอรายได :

โดยที่ Ei

คือ ความยืดหยุนของอุปสงคตอรายได

Q1

คือ ปริมาณซื้อกอน รายไดเปลี่ยนแปลง

Q2

คือ ปริมาณซื้อหลัง จากรายไดเปลี่ยนแปลง

Y1

คือ รายไดที่ยังไมเปลี่ยนแปลง

Y2

คือ รายไดที่เปลี่ยนแปลงแลว

21

21

21

21 *YYYY

QQQQEi −

++−

=

5.2 ความยืดหยุนของอุปสงค Kasetsart

UniversityFaculty of Economics

30

ตัวอยาง แดงมีรายไดเดือนละ 2,000 บาท ซื้อเสื้อเดือนละ 2 ตัว ถามีรายไดเดือนละ 4,000 บาท เขาซื้อเดือนละ 4 ตัว จงหาคาความยืดหยุนตอรายได

วิธีทํา Q1

= 2, Q2

= 4, Y1

= 2000, Y2

= 4000

000,4000,2000,4000,2

*4242

+

+

−=iE

Ei

= 1

รศ.ดร.สันติยา เอกอัคร ภาควิชาเศรษฐศาสตร fecosye@ku.ac.th

5.2 ความยืดหยุนของอุปสงค Kasetsart

UniversityFaculty of Economics

31

ความหมายของคายดืหยุนของอุปสงคตอรายได เปนดังนี้:

1)

ถา Ei

= 1 แสดงวา เมื่อผูบริโภคมีรายไดเพิ่มขึ้น เขาจะ

ใชรายไดซื้อสินคาชนิดนัน้เปนอตัราสวนเดียวกับเมื่อกอน

2)

ถา Ei

> 1 แสดงวา เมื่อผูบริโภคมีรายไดเพิ่มขึ้น เขาจะ

ใชรายไดซื้อสินคาชนิดนัน้เปนอตัราสวนที่มากกวา เมื่อกอน จัดเปนสินคาฟุมเฟอย (Luxury goods)

5.2 ความยืดหยุนของอุปสงค Kasetsart

UniversityFaculty of Economics

Q: ถาคาความยืดหยุนของอปุสงคตอรายได มากกวา 1 แสดงวา

เมื่อผูบริโภคมีรายไดเพิ่มขึ้น เขาจะ...............................

32

ความหมายของคายดืหยุนของอุปสงคตอรายได (ตอ) :

3)

ถา Ei

< 1 แตยังไมถึง 0 แสดงวา เมื่อผูบริโภคมีรายได

เพิ่มขึ้น เขาจะใชรายไดซื้อสินคาชนิดนัน้เปนอตัราสวน นอยลงกวาเมื่อกอน เปนสินคาจําเปนในการครองชีพ

5.2 ความยืดหยุนของอุปสงค Kasetsart

UniversityFaculty of Economics

4)

ถา Ei

= 0 แสดงวา เมื่อผูบริโภคมีรายไดเพิ่มขึ้น เขาจะ

ซื้อสินคาเปนจํานวนคงที่เทาเดิม เชน ยารักษาโรคที่ผูปวย

จําเปนตองทานไมวารายไดจะเปนเทาใดก็ตาม

33

ความหมายของคายดืหยุนของอุปสงคตอรายได (ตอ):

5)

ถา Ei

< 0

(ติดลบ) เมื่อผูบริโภคมีรายไดเพิ่มขึ้น เขาจะ

ใชรายไดซื้อสินคาเปนจํานวนลดลง เพราะเปน สินคาดอย คุณภาพ (Inferior goods)

รศ.ดร.สันติยา เอกอัคร ภาควิชาเศรษฐศาสตร fecosye@ku.ac.th

5.2 ความยืดหยุนของอุปสงค Kasetsart

UniversityFaculty of Economics

โดยทั่วไปคา Ei มักจะเปนบวก เพราะสินคาสวนมากเปน

สนิคาปกติ (Normal goods) นัน่คือ เมื่อผูบริโภคมีรายได

มากขึ้นแลว มักจะซื้อเพิ่มขึ้น

34

หมายถึง อัตราการเปลี่ยนแปลงของปริมาณซื้อสินคา ชนิดใดชนิดหนึ่ง ตออัตราการเปลี่ยนแปลงของราคาของ สินคาอื่นที่เกี่ยวของ

รศ.ดร.สันติยา เอกอัคร ภาควิชาเศรษฐศาสตร fecosye@ku.ac.th

5.2 ความยืดหยุนของอุปสงค Kasetsart

UniversityFaculty of Economics

3) ความยดืหยุนไขวของอุปสงค

(Cross elasticity of demand)

เปนเรื่องทีเ่กี่ยวกับสินคา 2 ชนิด

35

การเปลี่ยนแปลงของราคาสินคาชนิดที่สองเปน “เหต”ุ สวนปริมาณ

ซือ้สินคาชนดิที่หนึ่งที่เปลี่ยนแปลงไปนัน้เปน “ผล”

รศ.ดร.สันติยา เอกอัคร ภาควิชาเศรษฐศาสตร fecosye@ku.ac.th

5.2 ความยืดหยุนของอุปสงค Kasetsart

UniversityFaculty of Economics

3) ความยดืหยุนไขวของอุปสงค• สมมติใหราคาสินคาชนิดที่หนึ่งคงที่• ราคาสินคาชนิดที่สองเปลี่ยนแปลงเพียงอยางเดียว• ผูบริโภคจะซื้อสนิคาชนดิที่หนึ่งซึ่งมีราคาคงที่นั้นเปลี่ยนแปลงไปอยางไร เมื่อราคาของสินคาชนิดที่สองเปลี่ยนแปลงไป

36รศ.ดร.สันติยา เอกอัคร ภาควิชาเศรษฐศาสตร fecosye@ku.ac.th

5.2 ความยืดหยุนของอุปสงค Kasetsart

UniversityFaculty of Economics

กรณีของสินคาแขงขันกัน (Competitive goods) หรือ

สนิคาที่ใชทดแทนกันได (Substitute goods)

เมื่อ สินคาชนิดที่สองราคาสูงขึ้น ผูบริโภคจะซื้อสนิคาชนดิที่หนึ่งซึ่งมีราคาคงที่ปริมาณมากขึ้น

เรียกวา มีการเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางเดยีวกัน

37

คาความยืดหยุนไขวของอุปสงคเปนบวก:

ถาตัวเลขยิ่งมีคามากยอมแสดงวาเปนสนิคาทดแทนกัน ไดดี

หรือ แขงขันกนัสูง

รศ.ดร.สันติยา เอกอัคร ภาควิชาเศรษฐศาสตร fecosye@ku.ac.th

5.2 ความยืดหยุนของอุปสงค Kasetsart

UniversityFaculty of Economics

เชน เนือ้หมูเปนสินคาชนิดที่สอง มีราคาสูงขึ้น ผูบริโภคจะซือ้เนื้อไกซึง่มีราคาคงที่ในปริมาณที่มากขึ้น

38

เมื่อ สินคาชนดิที่สองราคาสูงขึ้น ปริมาณซือ้จะลดลง ทําให

ผูบริโภคมีอปุสงคตอสนิคาชนิดที่หนึ่งซึ่งมีราคาคงที่ในปริมาณ

ลดลงดวย

5.2 ความยืดหยุนของอุปสงค Kasetsart

UniversityFaculty of Economics

กรณีเปนสนิคาที่ตองใชรวมหรือประกอบกับสนิคาอื่น

(Complementary goods)

เรียกวา มีการเปลี่ยนแปลงในทิศทางตรงกนัขามระหวางราคาสินคาชนิดที่สองและปริมาณสินคาชนิดที่หนึ่ง

Q: ถาราคาสินคาชนิดที่หนึ่งสูงขึ้น แตปริมาณซื้อสินคาชนดิที่สอง

ที่มีราคาคงที่นั้นลดลง แสดงวา สินคาสองประเภทนี้เปน.........

39

เชน คอฟฟเมตกับกาแฟ เมื่อกาแฟมีราคาแพงขึ้น ผูบริโภคซื้อกาแฟ

นอยลง ปริมาณอปุสงคตอคอฟฟเมตลดลงดวย

รศ.ดร.สันติยา เอกอัคร ภาควิชาเศรษฐศาสตร fecosye@ku.ac.th

5.2 ความยืดหยุนของอุปสงค Kasetsart

UniversityFaculty of Economics

คาความยืดหยุนไขวของอุปสงคเปนลบ :

ถาตัวเลขยิ่งมีคามากยอมแสดงวาเปน

สนิคาที่ตองใชรวมกันมาก

40

สูตรการหาความยดืหยุนไขว(ราคาสินคาอื่นที่เกี่ยวของ):

โดยที่ Ec

คือ ความยืดหยุนไขวของอุปสงค

Qa1

คือ ปริมาณซื้อสินคา A เมื่อสินคา B มีราคา Pb1

Qa2

คือ ปริมาณซื้อสินคา A เมื่อสินคา B มรีาคา Pb2

Pb1

คือ ราคาสินคา B กอน เปลี่ยนแปลง

Pb2

คือ ราคาสินคา B หลัง เปลี่ยนแปลง

21

21

21

21 *bb

bb

aa

aaC PP

PPQQQQE

−+

+−

=

5.2 ความยืดหยุนของอุปสงค Kasetsart

UniversityFaculty of Economics

41

ตัวอยาง เนื้อหมูที่ตลาด กก.ละ 45 บาท ซื้อเนื้อวัวสัปดาหละ 200 กก.ถาเนื้อหมูราคา กก.ละ 50 บาท ปริมาณซื้อเนื้อวัวเพิ่มขึ้นเปนสัปดาหละ 300 กก. จงหาคาความยืดหยุนไขวของสินคาทั้งสอง

วิธีทํา Qa1

= 200, Qa2

= 300, Pb1

= 45, Pb2

= 50

50455045

*300200300200

+

+

−=cE Ec

= 3.9

สรุป คา คยย. ของสนิคาทั้งสองเปนบวกมาก เปนสินคาทดแทนกนัไดดี หรือ แขงขันกนัมาก

รศ.ดร.สันติยา เอกอัคร ภาควิชาเศรษฐศาสตร fecosye@ku.ac.th

5.2 ความยืดหยุนของอุปสงค Kasetsart

UniversityFaculty of Economics

42

รายจายทั้งหมด (Total money outlay) ของผูซื้อ หรือ

รายไดทั้งหมด (Total revenue) ของผูขาย หรือ

มูลคาทั้งหมด (Total value) มคีวามสัมพันธกับ

ความยดืหยุนของอุปสงคตอราคาดังตัวเลขในตารางที่ 5.1

5.2 ความยืดหยุนของอุปสงค Kasetsart

UniversityFaculty of Economics

5.2.3 ความยดืหยุนของอุปสงคตอราคากับรายจายทั้งหมดของผูซื้อ

Q: ถาเสนอปุสงคสําหรับสินคาที่ทานขายมีคาความยืดหยุนนอย และ

ทานตองการรายไดเพิ่มมากขึ้น ทานจะทําอยางไร.........

43

ตารางที่ 5.1: ความยืดหยุนของอุปสงคตอราคากับรายจายทั้งหมดของผูซื้อ

ราคาสินคา ปริมาณซือ้

รายจายทั้งหมดของผูซื้อ

(บาท)

ชนิดของความ

ยืดหยุน

(บาท) (ชิน้) หรือ Total money outlay อุปสงคตอราคา

70 20 1,400 Elastic demand

60 25 1,500 Unitary demand

50 30 1,500 Inelastic demand

40 35 1,400

5.2 ความยืดหยุนของอุปสงค Kasetsart

UniversityFaculty of Economics

ผูขายควรขายที่ราคา 60 บาท เพราะไดรายไดมากที่สุดแตเสียเสื้อไปนอยที่สุด

44

5.2.4

ปจจัยที่กําหนดความยดืหยุนของอุปสงค

1)

โอกาสที่ใชสนิคาชนิดอื่นแทน

ถาสินคานั้นสามารถใชของอืน่ทดแทนไดงาย

เมื่อราคาสูงขึ้น ผูบริโภคจะหนัไปซือ้สนิคาอื่นแทน

ความยืดหยุนมีคามาก

รศ.ดร.สันติยา เอกอัคร ภาควิชาเศรษฐศาสตร fecosye@ku.ac.th

5.2 ความยืดหยุนของอุปสงค Kasetsart

UniversityFaculty of Economics

ความยืดหยุนของอุปสงคสําหรับสินคาหรือบริการ จะมากหรือนอยขึ้นอยูกับ

45

5.2.4

ปจจัยที่กําหนดความยดืหยุนของอุปสงค

ถาเปนของราคาแพง(ถูก)มาก มักมคีาความยืดหยุนมาก (นอย)

รศ.ดร.สันติยา เอกอัคร ภาควิชาเศรษฐศาสตร fecosye@ku.ac.th

5.2 ความยืดหยุนของอุปสงค Kasetsart

UniversityFaculty of Economics

• ของที่มีราคาแพง เมื่อราคาลดลงเพียงเล็กนอย ปริมาณซือ้จะเพิ่มขึ้นมาก

• ของที่มีราคาถูก เมื่อราคาลดลง ปริมาณซือ้จะไมเพิ่มขึ้นมาก คาความยืดหยุนนอย

2) ราคาสนิคาชนิดนั้น

46

3) ความทนทานของสินคาชนิดนั้น

5.2.4

ปจจัยที่กําหนดความยืดหยุนของอุปสงค

5.2 ความยืดหยุนของอุปสงค Kasetsart

UniversityFaculty of Economics

• ถาเปนสินคาที่มีความทนทานมาก เมื่อราคาลดลง ปริมาณซือ้ก็ไมเพิ่มขึ้นมากนัก

• ถาเปนของใชสิ้นเปลอืง เมื่อราคาลดลง ปริมาณซือ้จะเพิ่มขึ้นมาก จึงมีคาความยืดหยุนมาก

ในทางตรงกันขาม

รศ.ดร.สันติยา เอกอัคร ภาควิชาเศรษฐศาสตร fecosye@ku.ac.th

47

สินคาที่มีประโยชนมาก อรรถประโยชนเพิ่มจะลดลง

อยางชาๆ มีคาความยืดหยุนมาก

เชน ทองคํา

5.2.4

ปจจัยที่กําหนดความยืดหยุนของอุปสงค

5.2 ความยืดหยุนของอุปสงค Kasetsart

UniversityFaculty of Economics

4)

อรรถประโยชน (Utility)

สินคาที่มีประโยชนนอย อรรถประโยชนเพิ่มจะลดลงอยางรวดเร็ว มีคาความยืดหยุนนอย

เชน โอเลี้ยง

48

• ถาผูบริโภคใชสินคาหรือบริการจนตดิ(ไมตดิ)เปนนิสยั เมื่อราคา เพิ่มขึ้นมากก็ (ไม) จําเปนตองใช จะมีความยืดหยุนนอย(มาก)

• ถาเปนของจําเปน เมื่อราคาสูงขึ้น ก็ยังจําเปนตองซือ้

จะมีคาความยืดหยุนนอย

5.2.4

ปจจัยที่กําหนดความยืดหยุนของอุปสงค

5.2 ความยืดหยุนของอุปสงค Kasetsart

UniversityFaculty of Economics

5) ความเคยชนิตอการใชของนั้น

6) ของจําเปนหรือของฟุมเฟอย

• ถาเปนของไมจาํเปน เมื่อราคาสูงขึ้น ก็ไมจําเปนตองใช ปริมาณซือ้จะลดลงมาก คาความยืดหยุนมาก

49

5.3

ความยดืหยุนของอุปทาน (Elasticity of Supply)

5.3.1

ความยดืหยุนของอุปทาน

หมายถึง อัตราการเปลี่ยนแปลงของปริมาณสินคาชนิดใดชนิดหนึ่ง ตออตัราการเปลี่ยนแปลงของราคาของสินคาชนดินั้น

นัน่คือ การเปลี่ยนแปลงของราคาเปน “เหต”ุการเปลี่ยนแปลงของปริมาณขายเปน “ผล”

รศ.ดร.สันติยา เอกอัคร ภาควิชาเศรษฐศาสตร fecosye@ku.ac.th

50

5.3.2

ชนดิของความยืดหยุนของอุปทาน:

5.3 ความยดืหยุนของอุปทาน

บางกรณีการเปลี่ยนแปลงของปริมาณขายมีอัตราสวนมากกวา

การเปลี่ยนแปลงของราคา

รศ.ดร.สันติยา เอกอัคร ภาควิชาเศรษฐศาสตร fecosye@ku.ac.th

ราคาสินคาลดลง(เพิ่มขึ้น) ปริมาณสินคาชนิดนั้นที่นําออกขายยอมลดลง(เพิ่มขึ้น) ตามไปดวย

ความยืดหยุนของอุปทานมีเพียง ความยืดหยุนของอุปทานตอราคา เทานั้น

ซึ่งสามารถอธิบายโดยความยืดหยุนของอุปทานตอราคาแบบ

ตาง ๆ 5 ชนดิ ดังนี้

Kasetsart

UniversityFaculty of Economics

51

ก. อุปทานที่ไมมคีวามยดืหยุนเลย (Perfectly inelastic supply)

ไมวาราคาจะสูงหรือต่ํา ปริมาณขายเทาเดิม

ปริมาณขาย

ราคา

P1

P2

Q10

S

คาความยืดหยุน = 0

เชน วัตถุโบราณที่ดินในใจกลางเมือง

เสนอุปทานตั้งฉากกับ

แกนนอน

รูปที่ 5.6 เสนอุปทานที่ไมมีความยืดหยุนเลย

5.3 ความยดืหยุนของอุปทาน Kasetsart

UniversityFaculty of Economics

52

2)

อุปทานที่มคีวามยดืหยุนนอย (Inelastic supply) ปริมาณสินคาท

ี่

นําออกขายจะเปลี่ยนแปลงในอัตราสวนที่นอยกวาการเปลี่ยนแปลงของราคา

Q2 Q1

ปริมาณขาย

ราคา

P2

P1

0

S

S คาความยืดหยุน < 1

ไดแก สินคาเกษตรการเพิ่มหรือลดปริมาณ

ผลิตทําไดยาก เสนอุปทานจะชันมาก

รูปที่ 5.7 เสนอุปทานที่มีความยืดหยุนนอย

5.3 ความยดืหยุนของอุปทาน Kasetsart

UniversityFaculty of Economics

Q: สินคาที่มีคยย.ของอปุทานนอย ไดแก..............

53

3)

อุปทานที่มคีวามยดืหยุนคงที่ (Unit elastic supply) ปริมาณ

สินคาที่นําออกขายจะเปลี่ยนแปลงในอัตราสวนเทากับการเปลี่ยนแปลงของราคา

Q1

ปริมาณขาย

ราคา

P2

P1

Q20

S

S

คาความยืดหยุน = 1

เสนอุปทานเปนเสน

ตรงออกจากจุด origin

รูปที่ 5.8 เสนอุปทานที่มีความยืดหยุนคงที่

5.3 ความยดืหยุนของอุปทาน Kasetsart

UniversityFaculty of Economics

54

4)

อุปทานที่มคีวามยดืหยุนมาก (Elastic supply) ปริมาณสินคาที่นํา ออกขายจะเปลี่ยนแปลงในอัตราสวนที่มากกวาการเปลี่ยนแปลงของราคา

ปริมาณขาย

ราคา

P2

P1

Q20 Q1

S

S

คาความยืดหยุน > 1

ไดแก สินคาอุตสาหกรรมที่เปลี่ยนแปลงการผลิตไดเร็ว เสนอุปทานมีความชนันอย

รูปที่ 5.9 เสนอุปทานที่มีความยืดหยุนมาก

5.3 ความยดืหยุนของอุปทาน Kasetsart

UniversityFaculty of Economics

Q: สินคาที่มีคยย.ของอปุทานมาก ไดแก..............

55

5)

อุปทานที่มคีวามยดืหยุนมากที่สดุ (Perfectly elastic supply) ณ ราคาที่กําหนดหรือสูงกวา ผูขายยินดีนําสินคาออกขายไมจํากัดจํานวน

ปริมาณขาย

ราคา

P0

0

S

∞คาความยืดหยุน =

ณ ราคาที่กําหนดหรือสูงกวา ผูขายจะขายไมจํากัดจํานวน

เชน ขาวเปลือก ใบยาสูบเสนอุปทานขนานแกนนอน

รูปที่ 5.10 เสนอุปทานที่มีความยืดหยุนมากที่สุด

5.3 ความยดืหยุนของอุปทาน Kasetsart

UniversityFaculty of Economics

Q: เสื้อผาสําเร็จรูปจัดเปน สินคาที่มีคยย.ของอปุทาน.........

56

สูตรการหาความยืดหยุนของอุปทานระหวางจุด

โดยที่ Es

คือ ความยืดหยุนของอุปทานตอราคา

Q1

คือ ปริมาณขายกอน ราคาเปลี่ยนแปลง

Q2

คือ ปริมาณขายหลัง ราคาเปลี่ยนแปลง

P1

คือ ราคากอน การเปลี่ยนแปลง

P2

คือ ราคาหลัง การเปลี่ยนแปลง

21

21

21

21 *PPPP

QQQQEs −

++−

=

5.3 ความยดืหยุนของอุปทาน Kasetsart

UniversityFaculty of Economics

57

ตัวอยาง : เมื่อวานนี้ สมราคา กก. ละ 20 บาท แมคานําออกขาย 100 กก. วันนี้ สมมีราคาถูกลง กก. ละ 12 บาท นําออกมาขายเพียง 80 กก. จงหาวามีคาความยืดหยุนเทาไร และชนิดใด

วิธีทํา :

Q1

= 100, Q2

= 80, P1

= 20, P2

= 12

12201220

*8010080100

1 −

+

+

−=sE

Es

= 0.44

รศ.ดร.สันติยา เอกอัคร ภาควิชาเศรษฐศาสตร fecosye@ku.ac.th

5.3 ความยดืหยุนของอุปทาน Kasetsart

UniversityFaculty of Economics

58

5.3.3

ปจจัยที่กําหนดความยดืหยุนของอุปทาน

• ถาเปนสนิคาที่ผลติไดยากตองรอฤดกูาล เชน สินคาเกษตร เมื่อ ราคาปรับตัวสูงขึ้น ปริมาณสนิคาเพิ่มขึ้นไมไดเลย

ความยืดหยุนจะมีคานอย

รศ.ดร.สันติยา เอกอัคร ภาควิชาเศรษฐศาสตร fecosye@ku.ac.th

5.3 ความยดืหยุนของอุปทาน Kasetsart

UniversityFaculty of Economics

1) ความยากงายในการผลิตสินคานัน้• ถาสินคาผลติไดงายใชเวลาในการผลิตไมนาน เมื่อราคาปรับตัวสูงขึ้น ปริมาณสินคาจะเพิ่มขึ้นมาก ความยืดหยุนอุปทานจะมีคามาก

59

5.3.3

ปจจัยที่กําหนดความยดืหยุนของอุปทาน

2) ระยะเวลา

5.3 ความยดืหยุนของอุปทาน Kasetsart

UniversityFaculty of Economics

• ถาเปนระยะเวลาที่สั้นมาก เชน หนึ่งวัน เมื่อราคาสูงขึ้นแตปริมาณสนิคามีอยูจํากดั อปุทานจะไมมีความยืดหยุนเลย เสนอปุทานเปนเสนตั้งฉาก

• แตถาเปนระยะเวลาที่ยาวขึ้น เมื่อราคาปรับตัวสูงขึ้น ผูผลติสามารถเพิ่มทุน ขยายการจางแรงงาน

ปริมาณสินคาขยายตัว อุปทานมคีวามยืดหยุนมาก

60

5.3.3

ปจจัยที่กําหนดความยดืหยุนของอุปทาน

5.3 ความยดืหยุนของอุปทาน Kasetsart

UniversityFaculty of Economics

3) สภาพของตลาด• ถาเปนตลาดสินคาประเภทที่มีการเคลื่อนยายไดอยางรวดเร็ว เมื่อราคาสูงขึ้น ปริมาณสินคาเพิ่มขึ้นไดมาก อุปทานจะมีความยืดหยุนมาก

• แตถาเปนตลาดสินคาประเภทที่มีการเคลือ่นยายไดยากมีปญหาและอุปสรรคในการเคลือ่นยาย เมื่อราคาสูงขึ้น

ปริมาณสินคาเพิ่มขึ้นไดนอย อุปทานจะมีความยืดหยุนนอย

61

5.4.1

ใชในชีวิตประจําวัน ความรูความเขาใจเรื่องความยืดหยุนจะ

มีประโยชนตอชีวิตประจําวันหลายประการ เชน

5.4 การนําเรื่องความยดืหยุนไปใชประโยชน

ก)

เมื่อราคาสนิคาเพิ่มหรือลดลงแลว

รศ.ดร.สันติยา เอกอัคร ภาควิชาเศรษฐศาสตร fecosye@ku.ac.th

• รายจายของผูซือ้หรือรายรับของผูขายเปลี่ยนแปลงอยางไร• ผูขายที่จําเปนตองลดราคาเพื่อใหไดรายไดมากที่สุด ควรลดราคา

เฉพาะในชวงที่อุปสงคมีความยืดหยุนมากเทานัน้

• จะทําใหปริมาณซื้อหรือปริมาณขายสินคานั้นเปลี่ยนแปลงอยางไร

62

5.4.1

ใชในชีวิตประจําวัน ความรูความเขาใจเรื่องความยืดหยุนจะ

มีประโยชนตอชีวิตประจําวันหลายประการ เชน

ข) เมื่อรายไดของประชากรเปลี่ยนแปลงไป จะมผีลกระทบ ตอปริมาณขายสินคาอยางไร เชน

รศ.ดร.สันติยา เอกอัคร ภาควิชาเศรษฐศาสตร fecosye@ku.ac.th

• สินคาฟุมเฟอย จะขายไดมากขึ้น เมื่อประชากรมีรายไดเพิ่ม• สินคาดอยคุณภาพ จะขายไดนอยลง เมื่อประชากรมี

รายไดเพิ่ม

5.4 การนําเรื่องความยดืหยุนไปใชประโยชน

63• แรงงานไรฝมือ อปุสงคตอแรงงานมีความยืดหยุนมาก

5.4.1

ใชในชีวติประจําวัน ความรูความเขาใจเรื่องความยืดหยุนจะ

มีประโยชนตอชีวิตประจําวันหลายประการ เชนค)

อํานาจในการตอรองของแรงงาน

ในตลาดแรงงานที่อปุสงคตอแรงงานมีความยืดหยุนนอย จะมีอํานาจในการตอรองสูงกวา แรงงานที่มีอุปสงคตอแรงงานมีความยืดหยุนมาก เชน

• แรงงานมฝีมือ อุปสงคตอแรงงานมีความยืดหยุนนอย

5.4 การนําเรื่องความยดืหยุนไปใชประโยชน

64

ง) ใชการวิเคราะหผลกระทบจากการเพิ่มหรือลดคาเงินตรา

5.4.1

ใชในชีวติประจําวัน ความรูความเขาใจเรื่องความยืดหยุนจะ

มีประโยชนตอชีวิตประจําวันหลายประการ เชน

เชน เมื่อประเทศ ก. ลดคาเงิน สินคาสงออกจากประเทศ ก. จะมรีาคาถูกลง

• การจะขายไดมากขึ้นในตางประเทศ อุปสงคตอสินคาจากประเทศก.

ในตางประเทศตองมีความยืดหยุนมาก

• และ อุปทานของสินคานั้นของประเทศ ก. ตองมีความยืดหยุนมากดวย

5.4 การนําเรื่องความยดืหยุนไปใชประโยชน

65

5.4.2 การวางนโยบาย: ความยืดหยุนของอุปสงคและอุปทาน

สามารถปรับใชกบันโยบายของรัฐบาลหลายกรณี เชน

ก)

ดานภาษี สมมตวิารัฐบาลขึ้นภาษีสินคาในอตัราเทากัน ผลกระทบ ตอราคาสินคาประเภทตางๆ ไมเทากนั

• สินคาที่อุปสงคมีความยืดหยุนมาก (สินคาฟุมเฟอย) ราคาจะปรับตวัสูงขึ้นในขนาดที่ นอยกวา สินคาที่มีความยืดหยุนนอย (สินคาจําเปน)

ดังรูป 5.11

• รัฐบาลที่เขาใจถึงผลกระทบ จะไมขึ้นภาษีสินคาที่มคีวามยืดหยุนนอย เพราะเปนสินคาจําเปนตอการครองชีพกระทบ

ตอผูมรีายไดนอย

5.4 การนําเรื่องความยดืหยุนไปใชประโยชน

66 รูปที่ 5.11 ผลกระทบตอราคาของภาษีสินคา

Q1 Q2 Q0

ราคา

0

P0

P2

P1

ปริมาณ

อัตราภาษีท

ี่

เพิ่มขึ้น S

S

D

D

D/

D/

S/

S/

E0

E2

E1

5.4 การนําเรื่องความยดืหยุนไปใชประโยชน

67

จุดดุลยภาพเริ่มแรกคือ E0 การเก็บภาษีทําใหเสนอุปทานคย.สูงขึ้น

ถาเสนอุปสงคมคียย.นอย เสน D’D’

ถาเสนอุปสงคมคียย.มาก เสน DD

ราคาจะปรับตัวสูงขึ้นเปน P2

ราคาจะปรับตัวสูงขึ้นเปน P1

รศ.ดร.สันติยา เอกอัคร ภาควิชาเศรษฐศาสตร fecosye@ku.ac.th

5.4 การนําเรื่องความยดืหยุนไปใชประโยชน

68

ข)

การพยุงราคาสนิคา (Price support) โดยปกติอุปทาน ของสินคาเกษตรมีความยดืหยุนนอย รัฐบาลจึงตองเขา

พยุงราคาตามรูปที่ 5.12

5.4.2 การวางนโยบาย (ตอ)

รศ.ดร.สันติยา เอกอัคร ภาควิชาเศรษฐศาสตร fecosye@ku.ac.th

5.4 การนําเรื่องความยดืหยุนไปใชประโยชน

69รูปที่ 5.12

การพยุงราคาสินคาเกษตร

ราคา

0

P2

P1

ปริมาณ Q1 Q3Q2

D1

D1

D2

D2S1

S1

S2

S2

E0

5.4 การนําเรื่องความยดืหยุนไปใชประโยชน

Q: ดูแบบฝกหัดขอ 72-76

70

จุดดุลยภาพเริ่มแรกคือ E0

รูปที่ 5.12 แสดงการพยุงราคาสินคาเกษตร

ถารัฐบาลเห็นวาราคาต่ําจนเกินไป

ปรับราคาใหสมเหตุผลที่ P2

เปนราคาที่สมเหตุผล

รัฐบาลใชเปนราคาพยุง

หรือราคาประกัน

เกิดอุปทานสวนเกิน

รัฐบาลตองรับซื้อเอง

แลวนําออกขายทั้งในและตางประเทศ

5.4 การนําเรื่องความยดืหยุนไปใชประโยชน

71

3)

การกําหนดราคาขั้นสูง (Price ceiling) หรือการควบคมุ ราคา โดยปกติมกัจะทํากับสินคาจําเปนในการครองชีพ รัฐบาลจงึ

กําหนดราคาไมใหราคาสูงเกนิไป

เชน ราคาน้ําตาล กก.ละ 12 บาท ก็ประกาศใหขายไมเกนิขายไมเกนิ กกกก..ละละ

88 บาทบาท เปนไปตามรูป 5.13

5.4.2 การวางนโยบาย (ตอ)

รศ.ดร.สันติยา เอกอัคร ภาควิชาเศรษฐศาสตร fecosye@ku.ac.th

5.4 การนําเรื่องความยดืหยุนไปใชประโยชน

72 รูปที่ 5.13 การกําหนดราคาขั้นสูง

ราคา

0

12

8

ปริมาณ 800

D1

D1

D0

D0

S1

S1

S0

S0

1000 1400

E0

5.4 การนําเรื่องความยดืหยุนไปใชประโยชน

Q: ดูแบบฝกหัดขอ 72-76

73

จุดดุลยภาพเริ่มแรกคือ E0 ถารัฐบาลเห็นวาราคา 12 บาทสูงเกินไป

ปรับราคาใหสมเหตุผลที่ 8 บาท

เปนราคาที่สมเหตุผล

รัฐบาลควบคมุราคา

หรือกําหนดราคา

เกิดอุปสงคสวนเกิน

รัฐบาลตองลดอุปสงค หรือเพิ่มอุปทาน

โดยนําเขาจากตางประเทศ

รูปที่ 5.13: แสดงการกําหนดราคาขั้นสูง

5.4 การนําเรื่องความยดืหยุนไปใชประโยชน

74

5.5 สรุปทายบท

ความยดืหยุนของอุปสงคมีหลายชนดิ คือ ความยืดหยุน

ของอปุสงคตอราคา รายได และสินคาอื่นที่เกี่ยวของ(ไขว)

ความยดืหยุนของอุปสงคตอราคา หมายถึง อัตราการ

เปลี่ยนแปลงของปริมาณซือ้ของสินคาชนดิใดชนิดหนึ่ง ตอ อตัราการเปลี่ยนแปลงของราคาสินคาชนิดนั้น

ความยดืหยุนของอุปสงคตอรายได หมายถึง อตัราการ

เปลี่ยนแปลงของปริมาณซือ้ของสินคาชนดิใดชนิดหนึ่ง ตอ

อตัราการเปลี่ยนแปลงของรายไดของผูบริโภค

รศ.ดร.สันติยา เอกอัคร ภาควิชาเศรษฐศาสตร fecosye@ku.ac.th

Kasetsart

UniversityFaculty of Economics

75

ความยดืหยุนไขวของอุปสงค หมายถึง อตัราการเปลี่ยนแปลง

ของปริมาณซื้อของสินคาชนิดใดชนิดหนึ่ง ตอ อตัราการ

เปลี่ยนแปลงของราคาของสินคาอืน่ที่เกี่ยวของ

ปจจัยกําหนดความยดืหยุนของอุปสงค ไดแก

รศ.ดร.สันติยา เอกอัคร ภาควิชาเศรษฐศาสตร fecosye@ku.ac.th

5.5 สรุปทายบท Kasetsart

UniversityFaculty of Economics

ความทนทานของสินคา

สินคานั้นเปนสินคาฟุมเฟอยหรือสินคาจําเปน

สินคานั้นสามารถใชทดแทนสินคาอื่นไดดีเพียงใด หรือเปนสินคาที่ตองใชประกอบกัน

76

ความยดืหยุนของอุปทาน หมายถึง อัตราการเปลี่ยนแปลงของปริมาณสินคาที่ผูขายนําออกขาย ตอ อตัราการเปลี่ยนแปลงของราคาของสนิคานั้น

ในเรื่องอุปทาน มีเพียงความยืดหยุนของอุปทานตอราคาความยืดหยุนของอปุทานตอราคาเทานั้น

ปจจัยกําหนดความยดืหยุนของอุปทาน ไดแก

รศ.ดร.สันติยา เอกอัคร ภาควิชาเศรษฐศาสตร fecosye@ku.ac.th

5.5 สรุปทายบท Kasetsart

UniversityFaculty of Economics

ความยากงายในการผลิตสินคา

ระยะเวลา วาเปน ระยะสั้น หรือ ระยะยาวสภาพของตลาด สินคาเคลื่อนยายไดงายและรวดเร็วเพียงใด

77

การศึกษาเรื่องความยดืหยุนมีประโยชนหลายประการ เชน

5.5 สรุปทายบท Kasetsart

UniversityFaculty of Economics

(1) ทําใหทราบถึงผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงของราคาตอ ปริมาณขายของสินคา ซึ่งมีผลตอรายไดของผูขาย

(2) ทําใหทราบถึงผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงของรายไดของ

ผูบริโภค ตอปริมาณขายของสินคาประเภทตางๆ(3) ทําใหทราบถึงผลกระทบเมื่อรัฐบาลมีการเปลี่ยนแปลง

อตัราภาษี ตอสนิคาประเภทจําเปนและสินคาประเภทฟุมเฟอย แตกตางกันอยางไร

(4) นําไปวิเคราะหผลกระทบจากการลดคาเงิน หรือ การเพิ่ม คาเงิน

78

5.5 สรุปทายบท Kasetsart

UniversityFaculty of Economics

ใหนิสิตทุกคนทําแบบฝกหัด ขอ 56-80

top related