safety electrical green school hand outการใช สายไฟฟ าต อจากจ...

Post on 21-Jan-2020

1 Views

Category:

Documents

0 Downloads

Preview:

Click to see full reader

TRANSCRIPT

1. ความปลอดภัย

ในการทํางานเกี่ยวกับไฟฟ้า

1. หลักความปลอดภัยทั่วไป

หลักความปลอดภัยทัว่ไป

ความปลอดภัย

อุบัติเหตุ

VS

ไม่เกิดความสูญเสีย

เนื่องจากอุบัติเหตุ

ไม่เกิดโรคจากการทํางาน

ความปลอดภัย

อุบัติเหตุ

เหตุการณ์ที่ไม่ได้คาดคิดไว้ก่อน และเมื่อเกิด

ขึ้นแล้วก่อให้เกิดความเสียหายต่อ คน ทรัพย์สิน

ระบบการผลิต โอกาสธุรกิจ

ค่าใช้จ่ายในการป้องกันอุบัติเหตุนั้นน้อยมากเมื่อ

เปรียบเทียบกับค่าใช้จ่ายอย่างอื่น

ความสูญเสีย

คน

ทรัพย์สิน

ขบวนการผลติ

สิ่งแวดล้อม

Loss Causation Model

สาเหตุขณะนั้น

การปฏิบัติ

ตํา่กว่ามาตรฐาน

&

สภาพการณ์

ตํา่กว่ามาตรฐาน

สาเหตุพืน้ฐาน

ปัจจัยคน

ปัจจัยงาน

อุบัตกิารณ์

สัมผสักบั

สสาร

หรือ

พลงังาน

ขาดการควบคุม

ไม่เพยีงพอ

-โปรแกรม

-มาตรฐาน

-ปฏิบัตติาม

มาตรฐาน

ทฤษฏีความสูญเสีย

สาเหตุขณะนั้น

การปฏิบัติ

ตํา่กว่ามาตรฐาน

&

สภาพการณ์

ตํา่กว่ามาตรฐาน

สาเหตุ พืน้ฐาน

ปัจจัยคน

ปัจจัยงาน

ขาดการควบคุม

ไม่เพยีงพอ

-โปรแกรม

-มาตรฐาน

-ปฏิบัตติาม

มาตรฐาน

ควบคุมก่อนการสัมผสั ควบคุมขณะสัมผสั ควบคุมหลงัสัมผสั

2. ความปลอดภัยในการ

ทํางานเกี่ยวกับไฟฟ้า

2.1 นิยามเกี่ยวกับไฟฟ้า ( 1 )

• กระแสไฟฟ้า (Electric Current)

กระแสไฟฟ้า หมายถึง ปริมาณของอิเล็กตรอนซึ่งเคลื่อนทีผ่า่นจุดที่กําหนด ให้ภายในช่วงเวลา 1 วินาที หน่วยวัดกระแสเป็นแอมแปร์ (Ampare)

• แรงดันไฟฟ้า (Electric Voltage)

แรงดันไฟฟ้า หมายถึง แรงเคลื่อนไฟฟา้ตกคร่อม (Potential Voltage Drop)

ซึ่งเป็นความแตกต่างของแรงเคลือ่นไฟฟา้ ระหว่างปลายทั้งสองของตัวนําที่มี กระแสไฟฟ้าไหลผ่าน แรงดันไฟฟ้านี้มีหน่วยเป็นโวลต์ (Volt)

• ความต้านไฟฟ้า (Electric Resistance)

ความต้านทานไฟฟ้า หมายถึง คุณสมบัติของสสารในการต้านทานการไหล ของกระแสไฟฟ้าให้ผ่านตัวมัน ความต้านทานไฟฟ้านี้มีหน่วยเป็น โอห์ม(Ohm)

• ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current หรือ D.C.)

ไฟฟ้ากระแสตรง หมายถึง กระแสไฟฟ้าทีม่ีทศิทางการไหลหรือขั้ว

ของแหล่งจ่ายออกมาอย่างแน่นอน ไม่มีการสลับขั้วบวก ขั้วลบแต่อย่างใด

• ไฟฟ้ากระแสสลับ (Alternating Current หรือ A.C.)

ไฟฟ้ากระแสสลับ หมายถึง กระแสไฟฟ้าทีไ่ด้จากเครื่องกําเนิด

กระแสไฟฟ้า กระแสไฟฟ้ามีการเปลี่ยนทศิทางการไหลอยู่ตลอดเวลา

โดยขั้วหรือประจุทางไฟฟ้าจะสลับบวก-ลบ อยู่ตลอดเวลา

2.1 นิยามเกี่ยวกับไฟฟ้า ( 2 )

2.2 แหล่งกําเนิดพลังงานไฟฟ้า

พลังงานไฟฟ้าที่ได้จากปฏิกิริยาเคมี (พลังงานเคมี)

พลังงานไฟฟ้าที่ได้จากพลังงานแสง

พลังงานไฟฟ้าที่ได้จากพลังงานกล

2.3 อันตรายจากไฟฟา้

1. ไฟฟ้าดูด (Electric Shock)

2. ไฟฟ้าช๊อต/ไฟฟ้าลัดวงจร

(Short Circuit)

2.3 อันตรายจากไฟฟา้

1. ไฟฟ้าดูด (Electric Shock)

ไฟฟ้าดูด คือ การที่มีกระแสไฟฟ้า

ไหลผ่านร่างกาย

ความรุนแรงของอันตรายขึ้นอยู่กับความรุนแรงของอันตรายขึ้นอยู่กับ

• ขนาดของกระแสไฟฟ้า

• ระยะเวลาที่สัมผัส

• เส้นทางที่กระแสไหลผ่าน

• แรงดันไฟฟ้า

• ความต้านทานร่างกาย

• ขนาดของกระแสไฟฟ้า

• ระยะเวลาที่สัมผัส

• เส้นทางที่กระแสไหลผ่าน

• แรงดันไฟฟ้า

• ความต้านทานร่างกาย

คนเราถูกไฟฟ้าดูดไดอ้ยา่งไร?คนเราถูกไฟฟ้าดูดไดอ้ยา่งไร?

• ร่างกายสัมผัสส่วนที่มีไฟฟา้ 2 จุด พร้อมกัน

• 2 จุดมีแรงดันไฟฟ้า ไม่เท่ากัน

• ร่างกายจึงเป็นส่วนหนึ่งของวงจรไฟฟ้า

• ร่างกายสัมผัสส่วนที่มีไฟฟา้ 2 จุด พร้อมกัน

• 2 จุดมีแรงดันไฟฟ้า ไม่เท่ากัน

• ร่างกายจึงเป็นส่วนหนึ่งของวงจรไฟฟ้า

เงื่อนไขของการถูกไฟฟา้ดูด

แหล่งจ่ายไฟ

กระแส

สายไฟฟ้า

จุดไฟออก

จุดไฟเข้า

จุดไฟเข้า

จุดไฟออก

ไฟดูดมีผลตอ่

ร่างกายมนุษย์อย่างไร ?

• ขนาดของกระแสไฟฟ้า/แรงดันไฟฟ้า• ขนาดของกระแสไฟฟ้า/แรงดันไฟฟ้า

ขนาดกระแส อาการ

ไม่ถึง 1 mA 1 – 3 mA

10 mA 30 mA 75 mA

250 mA 4 A เกิน 5 A

ไม่รู้สึกถึงกระแสไหลไฟฟ้า รู้สึกถึงอาการเจ็บ รู้สึกถึงการเกร็งของกล้ามเนื้อ รู้สึกถึงการขัดข้องทางระบบหายใจ รู้สึกถึงการขัดข้องของหัวใจ มีโอกาสถึง 99.5 % ที่หัวใจจะสั่นกระตุก หัวใจอาจหยุดเต้นได้ เนื้อไหม้

การตอบสนองต่อกระแสไฟฟ้าของมนุษย์ (สําหรับบุคคลที่มีน้ําหนัก 68 กิโลกรัม)

Zone of Shock โซนของความรุนแรงจากไฟดูด 50 Hz IEC 479

1 2 3 4

10000

5000

2000

1000

500

200100

50

20

100.1 0.2 0.5 1 2 5 10 20 50 100 2005001000 500010000

a b c1 c2 c3

Body current, mA

1. No reaction effect

2. No harmful physiological effect

3. No organic damage to be expected

4. Pathophysiological effect such as cardiac arrest, breathing arrest

Tim

e, m

sec

กราฟแสดงผลของกระแสไฟฟ้าทีม่ตี่อร่างกายมนุษย์

• สัมผัสโดยตรง (Direct Contact)

• สัมผัสโดยอ้อม (Indirect Contact)

การสัมผัสส่วนที่มีกระแสไฟฟ้า

• สัมผัสโดยตรง (Direct Contact)

การสัมผัสส่วนที่มีกระแสไฟฟ้า

• สัมผัสโดยอ้อม (Indirect Contact)

การสัมผัสส่วนที่มีกระแสไฟฟ้า

การป้องกันอันตราย

จากไฟฟ้าดูด

การป้องกันอันตรายจากไฟดูด

การป้องกันอันตราย

ป้องกันการสัมผัส

โดยตรงและโดยอ้อมร่วมกัน

ป้องกันการสัมผัสโดยตรง ป้องกันการสัมผัสโดยอ้อม

1. การป้องกันกรณีสัมผัสโดยตรง

• หุ้มฉนวนส่วนที่มีไฟ

• ป้องกันโดยใช้สิ่งของกั้น

• ป้องกันโดยใช้รั้วหรือสิ่งกีดขวาง

• ยกให้สูงในระยะที่เอื้อมไม่ถึง

• ใช้อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล

การป้องกันอันตรายจากไฟดูด

2. การป้องกันกรณีสัมผัสโดยอ้อม

• ติดตั้งเครื่องตัดไฟรั่ว

• ใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าชนิดฉนวน 2 ชั้น

• ใช้ระบบไฟฟ้าที่แยกจากกัน

• ต่อลงดินเปลือกหุ้ม

• ใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าที่มีแรงดันต่ําไม่เกิน 50 โวลท์

• ใช้สถานที่ที่ไม่เป็นสื่อไฟฟ้า

การป้องกันอันตรายจากไฟดูด

การต่อลงดินคืออะไร ?

การต่อลงดินคือ

การใช้สายไฟฟ้าต่อจากจุดที่ต้องการ

ต่อลงดินเข้ากับหลักดิน

วิธีต่อลงดินของเครื่องใช้ไฟฟ้า

• เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ต้องต่อลงดิน ต้องเดินสาย

ดินไปต่อลงดินที่เมนสวิตช์

• ที่เครื่องใช้ไฟฟ้า อาจต่อลงดินเพิ่มอีกได้ แต่

จะใช้แทนการเดินสายดินไปที่เมนสวิตช์ ไม่ได้

การต่อสายดนิและสายศูนย์ท ีแ่ผงเมนสวติช์

N G

สายศูนย์และสายดนิต่อถงึกันที่แผงเมนไฟฟ้านีเ้ท่านัน้

และต่อกับหลักดนิหรือแท่งสายดนิ

สายดนิและสายศูนย์ต้องไม่ต่อถงึกัน

อีกที่ไหนในอาคารนีอ้ีก

การต่อลงดิน

การต่อลงดินที่เมนสวิตช์

การต่อเครื่องใช้ไฟฟ้าลงดิน

การต่อลงดินต้องทําให้ถูกต้อง

การต่อที่ถกูตอ้งต่อแบบนี้ไม่ถกูตอ้ง

การเดินสายดิน

ต่างจากต่อลงดินที่เครื่องใช้ไฟฟ้าอย่างไร?

กระแสไหลกลบั

เมื่อเดินสายดิน

กระแสไหลกลบั

การเดินสายดิน

ต่างจากต่อลงดินที่เครื่องใช้ไฟฟ้าอย่างไร?

อะไรบ้างต้องต่อลงดิน

• เปลือกโลหะของอปุกรณ์ไฟฟ้าที่บุคคล อาจสัมผัสได้

• รั้วโลหะ

ยกเว้น

- เครื่องใช้ไฟฟา้ชนิดฉนวน 2 ชั้น

2.3 อันตรายจากไฟฟา้

2. ไฟฟ้าช๊อต/ไฟฟ้าลัดวงจร(Short Circuit)

ไฟฟ้าช๊อต คือ การที่มี จุด 2 จุด

ในวงจรไฟฟ้าซึ่งมีศกัดาไฟฟ้าต่างกัน

มาแตะหรือสัมผัสกัน

สาเหตุของไฟฟ้าช็อต

• ฉนวนไฟฟ้าชํารุด หรือเสื่อมสภาพ

• แรงดันเกินในสายไฟฟ้า

• ตัวนําไฟฟ้าในวงจรเดียวกันสัมผัสกัน

ผลจากไฟฟ้าช็อต

• เครื่องใช้อุปกรณ์ไฟฟ้าชํารุด

• ทรัพย์สินเสียหาย (เพลิงไหม้)

• บุคคลได้รับอันตราย

แนวทางป้องกัน

• เลือกอุปกรณ์และติดตั้งตามมาตรฐาน

• ตรวจสอบอุปกรณ์ไฟฟ้าเป็นประจํา

• ดูแลรักษา ทําความสะอาดเครื่องใช้ไฟฟ้า

• เลือกใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ได้มาตรฐาน

• ใช้อย่างถูกวิธี

เมือ่ทาํงานกบัไฟฟ้าแรงสูง

• ถ้าไม่ดับไฟ

– ต้องอยู่ในระยะะห่างที่เหมาะสม

– ใช้เครื่องมือให้เหมาะสม

– ผู้ปฏิบัติงานต้องได้รับการฝึกฝนและมีประสบการณ์

อันตรายจากไฟฟ้า

การก่อสร้างใกล้สายไฟฟ้า

ไม่เสียบอุปกรณ์ไฟฟ้าหลายเครื่อง

จากเต้ารับเดียวกัน

ไม่ใช้สายเปลือยเสียบในเต้ารับ

อันตรายจากไฟฟ้า

อันตรายจากไฟฟ้า

ติดตั้งเสาอากาศให้มั่นคงแข็งแรง ห่างจากแนวสายไฟ

อันตรายจากไฟฟ้า

ร่างกายเปียกชื้นไม่ควรแตะต้องอุปกรณ์ไฟฟ้า

อันตรายจากไฟฟ้า

การช่วยเหลือผู้ถูกไฟฟ้าดูดเบื้องต้น

การปฐมพยาบาลผู้ถูกไฟฟ้าดูดเบื้องต้น

การปฐมพยาบาล

กรณไีม่หายใจ- ช่วยหายใจทางปาก- ช่วยหายใจทางจมูก

กรณหีวัใจหยุดเตน้

- นวดหวัใจ

ช่วยใหห้ายใจไดส้ะดวก

กรณผีูป้่วยหมดสติ

การดับเพลิงที่เกิดจากไฟฟ้า

การดับเพลิงที่เกิดจากไฟฟ้าลัดวงจร1. ตัดแหล่งจ่ายไฟฟ้าออกถ้าทําได้

2. แจ้งเหตุเพลิงไหม้

3. ใช้เครื่องดับ เพลิง Class C

เชื้อเพลิง

ออ๊กซิเจน

ความรอ้น

“ องค์ประกอบของการเกิดเพลิงไหม้ ”

2. ความปลอดภัย

ในอาคาร

ความปลอดภัยในอาคาร

ด้านอัคคีภัย

ทฤษฏีการเกิดเพลิงไหม้

การเผาไหม้ คอื “ ปฏิกริิยาเคมทีีเ่กดิจากการรวมตวัของไอเชื้อเพลงิกบัอ๊อกซิเจน โดยมคีวามร้อนเป็นตวัช่วย ซึ่งเป็นผลให้เกดิความร้อนและแสงสว่างเกดิขึน้เพยีงพอทีก่่อให้เกดิเปลวไฟและสภาพการเปลีย่นแปลง ”

1. น้ํา2. โฟม

3. ผงเคมีแห้ง

4. ก๊าซเฉื่อย เช่น CO2,N2,Ar5. ฮาลอน/เฮลอน

เครื่องดับเพลิงแบบมือถือ

1.น้ําสะสมกําลังดัน

2.โฟมสะสมกําลังดัน

3.คาร์บอนไดอ๊อกไซด์

4.ผงเคมีสะสมกําลังดัน

5.เฮลอน

-ดบัเพลงิโดยปิดกั้นออกซิเจน, ตดั

ปฏิกริิยาลูกโซ่

- ใช้ดบัเพลงิประเภท A ,B,C

-ผงเคมแีห้งความดนั 195 ปอนด์/

ตารางนิว้

-ฉีดไปทีฐ่านของเพลงิ

-ระยะฉีด 2-4 เมตร

*ฉีดไปทีฐ่านเพลงิ ระยะฉีด 2-4 เมตร

* ดงึสลกัออกจากคนับังคบัหัวฉีด

* จบัปลายสายฉีดสะบดัไป-มา พร้อม

บีบคนับงัคบั(ยกเว้นโฟม)

3

วธิีใช้งานเครื่องดบัเพลงิชนิดผงเคมแีห้ง

1.เข้าหาไฟทางด้านเหนือลม

2.ทดลองฉีดเครื่องดบัเพลงิก่อนทีจ่ะเข้าไปใกล้เพลงิ

3.ฉีดไปทีฐ่านของเพลงิ

4. ถอยออกให้ห่างจากเพลงิก่อนทีส่ารดบัเพลงิจะหมด

ตามหลกัการนี้ สามารถดดัแปลงให้เหมาะสมตามสถานการณ์ การปฏบิัตกิาร

ดบัไฟต้องคาํนึงถงึความปลอดภยั (Safety) เป็นหลกัสําคญัในการเข้าไปดบัเพลงิ

1. ตรวจมาตรวดัแรงดนั

ไม่พร้อมใช้งาน พร้อมใช้งาน

2. ตรวจสอบสภาพภายนอกทัว่ไปของเครื่องดบัเพลงิ

1. คน

2. อุปกรณ์

3. วสัดุ

4. สิ่งแวดล้อม

1. อุปกรณ์ไฟฟ้า (Overload, Short Circuit)

2. การขดัสีของวตัถุ (Friction)

3. การสูบบุหรี่ (Smoking)

4. การตดัเชื่อมและการตดั 5. ฟ้าผ่า

6. ไฟฟ้าสถติย์

(Cutting and Welding)

(Lightning)

(Electrostatic)

7. การลอบวางเพลงิ (Incendiarism)

การอพยพหนีไฟ

การอพยพหนีไฟ

การอพยพหนีไฟ

ความปลอดภัยในอาคาร

ด้านแผ่นดินไหว

ข้อควรปฏิบตัิขณะเกิดแผ่นดินไหว

ก่อนการเกิดแผ่นดินไหว(1)

ข้อควรปฏิบตัิขณะเกิดแผ่นดินไหว

ก่อนการเกิดแผ่นดินไหว(2)

ข้อควรปฏิบตัิเมื่อเกิดแผ่นดินไหว

ระหว่างเกิดแผ่นดินไหว(1)

ข้อควรปฏิบตัิขณะเกิดแผ่นดินไหว

ระหว่างเกิดแผ่นดินไหว(2)

ข้อควรปฏิบตัิขณะเกิดแผ่นดินไหว

ระหว่างเกิดแผ่นดินไหว(3)

ข้อควรปฏิบตัิขณะเกิดแผ่นดินไหว

หลังเกิดแผ่นดินไหว(1)

ข้อควรปฏิบตัิขณะเกิดแผ่นดินไหว

หลังเกิดแผ่นดินไหว(2)

ข้อควรปฏิบตัิขณะเกิดแผ่นดินไหว

หลังเกิดแผ่นดินไหว(3)

3. การจัดการใน

ภาวะวิกฤติ

ด้านอัคคีภัย

ด้านแผ่นดินไหว

ด้านน้ําท่วม

ด้านสารเคมีรั่วไหล

ด้านวินาศกรรม

ด้านรังสีรั่วไหล

ด้านเหตุขัดข้องในกระบวนการผลิตไฟฟ้า(Black Out)

การฝึกซ้อมรับมือกบัภาวะฉุกเฉินภายใน กฟผ.

แผนการจัดการภาวะวกิฤต กฟผ.

คู่มือแนวทางการจัดทําแผนรองรับเหตุฉุกเฉินแผ่นดินไหว

โครงสร้างการจัดการภาวะวิกฤติ กฟผ.คณะกรรมการจดัการสภาวะวกิฤต

กระทรวงพลงังาน

ศนูยจ์ดัการภาวะวกิฤต กฟผ.( CMC Center)

คณะกรรมการจดัการภาวะวกิฤต กฟผ.( Crisis Management Committee CMC )

หอ้ง 411 อาคาร ท.100

-ผูว้า่การ-รองผูว้า่การสายงานทีเ่กดิภาวะวกิฤต-รองผูว้า่การสายงานทีเ่กีย่วขอ้ง-ผูช้ว่ยผูว้า่การสายงานทีเ่กดิภาวะวกิฤต-ผูช้ว่ยผูว้า่การสายงานทีเ่กีย่วขอ้ง-กรรมการและเลขานุการ(อคภ.)-ผูช้ว่ยเลขานุการ (ระดับ 11สายงานทีเ่กีย่ว ขอ้งกบัการเกดิภาวะวกิฤต)

ศนูยจ์ดัการภาวะวกิฤตสายงานทีเ่กดิภาวะวกิฤต(CMT Center)

หอ้ง 411 อาคาร ท.100

คณะทํางานจัดการภาวะวกิฤตของสายงาน (Crisis Management Team,CMT) - กลุม่ระบบสง่ - กลุม่ผลติไฟฟ้า - กลุม่บรหิาร - กลุม่เชือ้เพลงิ

ศนูยอ์ํานวยการภาวะฉุกเฉนิ/ภาวะวกิฤตในพืน้ทีข่องหนว่ยงานในสายงาน

ศนูยส์ือ่สารในภาวะวกิฤต กฟผ.(EGAT CCT Center)

หอ้งประชุม อสอ.(ช ัน้2) อาคาร ท.031

คณะทํางานสือ่สารในภาวะวกิฤต กฟผ.(EGAT Crisis Commnication Team,EGAT-CCT)

-อสอ.

ศนูยส์ือ่สารในภาวะวกิฤตสายงาน(CCT Center)

คณะทํางานสือ่สารในภาวะวกิฤตของสายงาน(Crisis Communication Team,CCT)

-ประชาสมัพันธส์ายงาน

คณะทํางานสนบัสนนุการจดัการภาวะวกิฤต กฟผ.(Crisis Support Team, CST)หอ้ง 203อาคาร ท.100

-ฝ่ายบรกิาร (อบก.)

-ฝ่ายสือ่สารองคก์าร (อสอ.)

-ฝ่ายรักษาความปลอดภัย (อรป.)

-ฝ่ายพัฒนาคณุภาพและความปลอดภัย (อคภ.)

-ฝ่ายกฎหมาย (อกม.)

-ฝ่ายการเงนิ (อกง.)

-ฝ่ายแพทยแ์ละอนามัย (อพอ.)

-ฝ่ายทรัพยากรบคุคล (อทบ.)

-ฝ่ายชมุชนสมัพันธ ์(อชส.)

-ฝ่ายสิง่แวดลอ้ม (อสล.)

-ฝ่ายระบบสือ่สาร (อรส.)

-ฝ่ายพัสดแุละจัดหา (อพจ.)

-ทมีงานของสายงานทีเ่กดิภาวะฉุกเฉนิ / ภาวะวกิฤต

-ทมีงานของสายงานทีเ่กีย่วขอ้งกบัการเกดิภาวะฉุกเฉนิ

/ภาวะวกิฤต

34

2 1

top related