foundation engineering - suranaree university of...

61
วิศวกรรมฐานราก วิศวกรรมฐานราก F F oundation oundation E E ngineering ngineering รองศาสตราจารย รองศาสตราจารย ดร ดร . . สุข สุข สันติสันติหอพิบูลสุข หอพิบูลสุข สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี สุร สุร นารี นารี

Upload: others

Post on 03-Apr-2020

0 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: Foundation Engineering - Suranaree University of Technologyeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter5.pdf · 2010-06-15 · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering

วิศวกรรมฐานรากวิศวกรรมฐานราก

FFoundation oundation EEngineeringngineering

รองศาสตราจารยรองศาสตราจารย ดรดร.. สุขสุขสันติ์สันติ์ หอพิบูลสุขหอพิบูลสุข สาขาวิชาวิศวกรรมโยธาสาขาวิชาวิศวกรรมโยธา

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรสุรนารีนารี

Page 2: Foundation Engineering - Suranaree University of Technologyeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter5.pdf · 2010-06-15 · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering

แรงดนัดนิดานขางแรงดนัดนิดานขาง55 (LATERAL EARTH PRESSURE)(LATERAL EARTH PRESSURE)

Page 3: Foundation Engineering - Suranaree University of Technologyeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter5.pdf · 2010-06-15 · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering

5.1 5.1 บทนําบทนํา

การวิเคราะหและการหาคาแรงดันดานขางของดินเปนสิ่งจําเปนอยางมากสําหรับการออกแบบกําแพง

กันดินและโครงสรางกันดินตางๆ ขนาดและทิศทางของแรงดันดานขางเปนขอมูลที่จําเปนสําหรับการ

ออกแบบกําแพงกันดินหรือโครงสรางกันดินตางๆ ใหมีอัตราสวนปลอดภัยมากเพียงพอ

ความดันดินดานขางมี 3 ประเภท

1) ความดนัดนิที่สภาวะอยูนิ่ง (At rest earth pressure)

2) ความดนัดนิที่สภาวะ Active (Active earth pressure)

3) ความดนัดนิที่สภาวะ Passive (Passive earth pressure)

Page 4: Foundation Engineering - Suranaree University of Technologyeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter5.pdf · 2010-06-15 · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering

5.1 5.1 บทนําบทนํา

ความดนัดนิดานขางในสภาวะ Active

Page 5: Foundation Engineering - Suranaree University of Technologyeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter5.pdf · 2010-06-15 · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering

5.1 5.1 บทนําบทนํา

ความดนัดนิดานขางในสภาวะ Passive

Page 6: Foundation Engineering - Suranaree University of Technologyeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter5.pdf · 2010-06-15 · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering

5.25.2 ความดันดินที่สภาวะอยูนิ่งความดันดินที่สภาวะอยูนิ่ง

ความดันดินที่สภาวะอยูนิ่ง หมายถึง ความดันดานขางที่กระทําตอผนังโครงสรางของดิน โดยที่ผนัง

และมวลดินไมมีการเคลื่อนตัว ความดันดินในกรณีเชนนี้อาจเกิดขึ้นกับมวลดินถมดานหลังกําแพงดินที่มี

ความหนามากและแทบจะไมเกิดการเคลื่อนตัวของกําแพง ดินที่สัมผัสกับกําแพงจะไมเกิดความเครียด

ดานขาง ในกรณีเชนนี้ ความดันดินดานขางจะมีขนาดอยูระหวางความดันดินที่สภาวะ Active และ

Passive

Page 7: Foundation Engineering - Suranaree University of Technologyeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter5.pdf · 2010-06-15 · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering

5.2 5.2 ความดันดินที่สภาวะอยูนิ่งความดันดินที่สภาวะอยูนิ่ง

ความดนัดนิทีค่วามลึก z

พิจารณาความเคนบนชิ้นสวนเล็กๆ ในชั้นดินที่ความลึก z ถามวลดินอยูที่สภาวะอยูนิ่ง (At rest)

แมวามวลดินนี้จะเกิดการทรุดตัวในแนวดิ่งเมื่อมีน้ําหนักกระทํา แตจะไมเกิดการเคลื่อนตัวในแนวนอน

สภาพเชนนี้เปรียบเสมือนดินที่อยูในสภาวะสมดุลดานหลังกําแพงกันดินที่หนาและเรียบและไมมีการเคลื่อน

ตัว

การกระจายความดันดินที่สภาวะอยูนิ่งและความดนัน้ํา

Page 8: Foundation Engineering - Suranaree University of Technologyeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter5.pdf · 2010-06-15 · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering

5.25.2 ความดันดินที่สภาวะอยูนิ่งความดันดินที่สภาวะอยูนิ่ง

ความดันดินประสิทธิผล (Effective lateral earth pressure) ที่ฐานของกําแพงและแรงลัพธ

ประสิทธิผลตอความยาว 1 หนวย สามารถหาไดดังนี้

0 vh Kσ σ=′ ′

0h K Hσ γ=′ ′

0 012P K Hγ=′ ′

เมื่อ σ′h คือความดันประสิทธิผลที่ฐานของกําแพง P0 คือแรงลัพธเนื่องจากความดันดินประสิทธิผล

ที่สภาวะอยูนิ่งตอความยาว 1 หนวย K0 คือสัมประสิทธิ์ของความดันดินที่สภาวะอยูนิ่ง (Coefficient of

earth pressure at rest) γ′ คือหนวยน้ําหนักประสิทธิผล (Submerged unit weight) และ H คือ

ความสูงของกําแพง

Page 9: Foundation Engineering - Suranaree University of Technologyeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter5.pdf · 2010-06-15 · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering

5.25.2 ความดันดินที่สภาวะอยูนิ่งความดันดินที่สภาวะอยูนิ่ง

ความดันดินดานขางรวม (Total lateral earth pressure, σh) ที่กระทําตอกําแพงเทากับผลรวม

ของความดันดินดานขางประสิทธิผล (Effective lateral earth pressure,σ′h) และความดันน้ํา (Pore

pressure, u)

h h uσ σ= +′

0 whP P P= +′

ความเคนรวมที่กระทําตอกําแพงก็จะมีขนาดเพิ่มขึ้นตามความลึกเชนเดียวกัน และแรงดันรวมที่กระทํา

ตอกําแพงก็จะเปนผลรวมของแรงดันเนื่องจากแรงดันประสิทธิผลและแรงดันน้ํา

เมื่อ Ph คือแรงดันดินดานขางรวมที่กระทําตอกําแพง และ Pw คือแรงดันน้ํา

Page 10: Foundation Engineering - Suranaree University of Technologyeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter5.pdf · 2010-06-15 · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering

5.25.2 ความดันดินที่สภาวะอยูนิ่งความดันดินที่สภาวะอยูนิ่ง

คาสัมประสิทธิ์ของความดันดินที่สภาวะอยูนิ่ง (K0) คืออัตราสวนระหวางความดันดินดานขางตอความ

ดันดินในแนวดิ่งในพจนของความเคนประสิทธิผล โดยทั่วไป K0 จะมีคานอยกวา 1.0 สําหรับดินเหนียวอัด

ตัวปกติ ยกเวนในกรณีของดินเหนียวอัดตัวมากกวาปกติ ซึ่งคา K0 อาจมีคาสูงถึงประมาณ 3.0 สําหรับ

ทราย K0 จะมีคาอยูระหวาง 0.4 สําหรับทรายแนน และ 0.5 สําหรับทรายหลวม

การหาคาสัมประสิทธิ์ความดันดินดานขางที่สภาวะอยูนิ่งในสนามกระทําไดยาก Jaky (1944) ได

เสนอสมการสําหรับหาคา K0 ในดินเหนียวอัดตัวปกติ และดินทรายดังนี้

0 1 sinK φ= − ′

Page 11: Foundation Engineering - Suranaree University of Technologyeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter5.pdf · 2010-06-15 · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering

5.25.2 ความดันดินที่สภาวะอยูนิ่งความดันดินที่สภาวะอยูนิ่ง

จากผลการทดสอบของ Brooker and Ireland (1965) คาของ K0 สําหรับดินเหนียวอัดตัวปกติ

สามารถประมาณไดโดยอาศัยดัชนีสภาพพลาสติก (PI) ดังนี้

0 0.4 0.007( )K PI= +

0 0.64 0.001( )K PI= +

0 0 NormallyconsolidatedOCRK K ⎛ ⎞

⎜ ⎟⎜ ⎟⎜ ⎟⎝ ⎠

สําหรับดินเหนียวอัดตัวมากกวาปกติ

เมื่อ OCR คืออัตราสวนการอัดตัวมากกวาปกติ (Overconsolidated ratio)

Page 12: Foundation Engineering - Suranaree University of Technologyeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter5.pdf · 2010-06-15 · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering

5.2 5.2 ความดันดินที่สภาวะอยูนิ่งความดันดินที่สภาวะอยูนิ่ง

ความสัมพนัธระหวาง K0 และ OCR

Dunn et al. (1980) เสนอความสัมพันธระหวาง K0 และอัตราสวนการอัดตัวมากกวาปกติ (OCR)

Page 13: Foundation Engineering - Suranaree University of Technologyeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter5.pdf · 2010-06-15 · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering

5.3 5.3 RANKINE EARTH PRESSURERANKINE EARTH PRESSURE

ทฤษฎีของ Rankine สําหรับหาความดันดินดานขางตั้งอยูบนสมมติฐานหลักสามขอ ดังนี้

1) ไมมีแรงยึดเหนี่ยว (Adhesion) หรือความเสียดทาน (Friction) ระหวางดินกับผนัง (ผนังเรียบ)

2) ความดันดินดานขาง ใชไดเฉพาะกับกําแพงที่ตั้งอยูในแนวดิ่ง การวิบัติของดินถูกสมมติใหเปนการไหล

ของลิ่มตลอดแนวระนาบวิบัติ ซึ่งอยูในรูปของมุมเสียดทานภายในของดิน (Internal friction

angle, φ′)

ระนาบการวิบัตทิี่ถูกสมมติขึ้นตามทฤษฎีของ Rankine (a) Rankine active state (b) Rankine passive state

Page 14: Foundation Engineering - Suranaree University of Technologyeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter5.pdf · 2010-06-15 · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering

5.3 5.3 RANKINE EARTH PRESSURERANKINE EARTH PRESSURE

3) ความดันดินดานขางมีขนาดเพิ่มขึ้นเปนฟงกชันเสนตรงกับความลึก และแรงผลลัพธเนื่องจากความดัน

ดินดานขางถูกสมมติใหกระทําที่ระยะหนึ่งในสามของความสูง ซึ่งวัดจากฐานของกําแพงกันดินถึงระดับ

ดินถม และทิศทางของแรงลัพธนี้ขนานกับผิวของดินถม

3H

3H

ความดนัดนิดานขางสําหรับทฤษฎี Rankine (a) Back side vertical, (b) Back side inclined

Page 15: Foundation Engineering - Suranaree University of Technologyeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter5.pdf · 2010-06-15 · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering

5.3 5.3 RANKINE EARTH PRESSURERANKINE EARTH PRESSURE

สําหรับดินเม็ดหยาบดานหลังกําแพงกันดิน ที่สภาวะเริ่มตน ดินจะอยูในสภาวะอยูนิ่ง (At rest)

สถานะของความเคนประสิทธิผลแสดงไดดังวงกลม a เมื่อกําแพงกันดินเริ่มเคลื่อนตัวออกจากมวลดิน ความ

เคนประสิทธิผลในแนวนอนจะมีคานอยลง ขณะที่ ความเคนประสิทธิผลในแนวดิ่งมีคาประมาณคงที่ ทํา

ใหวงกลมมอรมีขนาดใหญขึ้นเรื่อยๆ ตามการเคลื่อนตัวของกําแพงกันดิน และสัมผัสเสนขอบเขตความ

แข็งแรง (Failure envelope) โดยมีคาความดันดินดานขางประสิทธิผลเทากับ σ′a คาความดันนี้ถูก

นิยามวาเปนความดันประสิทธิผลที่สภาวะ Active ของ Rankine (Rankine effective active

pressure) ระนาบวิบัติที่เกิดขึ้นในมวลดินจะทํามุม 45 + φ′ / 2 องศากับแนวนอน

Page 16: Foundation Engineering - Suranaree University of Technologyeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter5.pdf · 2010-06-15 · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering

5.3 5.3 RANKINE EARTH PRESSURERANKINE EARTH PRESSURE

ความสัมพันธระหวางความเคนหลักใหญและความเคนหลักเล็กประสิทธิผลที่จุดวิบัติคือ

21 3 tan 45 2 tan 452 2cφ φσ σ

⎛ ⎞ ⎛ ⎞⎜ ⎟ ⎜ ⎟⎜ ⎟ ⎜ ⎟⎜ ⎟ ⎜ ⎟⎝ ⎠ ⎝ ⎠

′ ′= °+ + °+′ ′ ′

2tan 45 2 tan 452 2a v cφ φσ σ⎛ ⎞ ⎛ ⎞⎜ ⎟ ⎜ ⎟⎜ ⎟ ⎜ ⎟⎜ ⎟ ⎜ ⎟⎝ ⎠ ⎝ ⎠

′ ′= °− − °−′ ′ ′

2a v a aK c Kσ σ= −′ ′ ′

ความเคนหลักใหญประสิทธิผล (σ′1) เทากับ σ′v และความเคนหลักเล็กประสิทธิผล (σ′3) เทากับ

σ′a

เมื่อ Ka = tan2(45° - φ ′/ 2) เรียกวาสัมประสิทธิ์ความดันดินประสิทธิผลที่สภาวะ Active ของ

Rankine

Page 17: Foundation Engineering - Suranaree University of Technologyeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter5.pdf · 2010-06-15 · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering

5.3 5.3 RANKINE EARTH PRESSURERANKINE EARTH PRESSURE

ถากําแพงกันดินเคลื่อนที่เขาหามวลดิน มวลดินจะเกิดการอัดตัวและมีคาความดันในแนวนอนเพิ่ม

มากขึ้นจนกระทั่งเกิดสภาวะพลาสติก (Plastic state) ที่สภาวะนี้ความดันดินดานขางประสิทธิผลจะมีคา

มากที่สุดซึ่งเทากับความดันดานขางประสิทธิผลที่สภาวะ Passive (σ′p) ในขณะที่ ความดันในแนวดิ่งจะ

มีคาประมาณคงที่2p v p pK c Kσ σ= +′ ′ ′

เมื่อ Kp = tan2(45° + φ′ / 2) เรียกวาสัมประสิทธิ์ความดันดินประสิทธิผลที่สภาวะ Passive

ของ Rankine

Page 18: Foundation Engineering - Suranaree University of Technologyeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter5.pdf · 2010-06-15 · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering

5.3 5.3 RANKINE EARTH PRESSURERANKINE EARTH PRESSURE

สําหรับกรณีของดินเหนียวอิ่มตัวในสภาวะไมระบายน้ํา ความดันดานขางรวม (Total lateral earth

pressure) สามารถคํานวณไดโดยอาศัยขอบเขตความแข็งแรงรวม ซึ่งมุมเสียดทานภายในมีคาเทากับ

ศูนย (φu = 0) ดังนั้น ความดันดินดานขางรวมที่สภาวะ Active และ Passive สามารถคํานวณไดจาก

2a v uSσ σ= −′ ′

2p v uSσ σ= +′ ′

Page 19: Foundation Engineering - Suranaree University of Technologyeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter5.pdf · 2010-06-15 · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering

5.3 5.3 RANKINE EARTH PRESSURERANKINE EARTH PRESSURE

เห็นวาความดันดินประสิทธิผลที่สภาวะ Active และ Passive มีคาเพิ่มขึ้นตามความลึกในฟงกชัน

เสนตรง (Linear function) ถา c′ = 0 การกระจายของความดันดินที่สภาวะ Active จะมีรูปรางเปน

สามเหลี่ยมที่มีจุดยอด (σ′a = 0) อยูที่ผิวดิน แตเมื่อ c′ มีคามากกวา 0 คาของ σ′a จะมีคาเปนลบที่ผิวบน

และมีคาเพิ่มขึ้นจนกระทั่งเปนศูนยที่ความลึก z0 ระยะจากผิวดินจนถึง z0 เรียกวาโซนแรงดึง (Tension

zone) เมื่อ σ′a = 0 จะได

02

a

czKγ′=

aKc2

)z-(H31

o

pKc2

H31H

21

Page 20: Foundation Engineering - Suranaree University of Technologyeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter5.pdf · 2010-06-15 · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering

5.3 5.3 RANKINE EARTH PRESSURERANKINE EARTH PRESSURE

สําหรับดินถมที่เปนดินเหนียวในสภาวะไมระบายน้ํา (φ = 0) โซนแรงดึงสามารถเขียนในรูปของ

พารามิเตอรกําลังรวมไดดังนี้

02 uSz γ=

2 2

2 2cos cos coscoscos cos cosaK β β φβ

β β φ− − ′=+ − ′

2 2

2 2cos cos coscoscos cos cospK β β φβ

β β φ+ − ′=− − ′

สัมประสิทธิ์ความดันดินดานขางเมื่อผิวของดินถมทํามุม β กับแนวนอนสามารถหาไดดังสมการตอไปนี้

Page 21: Foundation Engineering - Suranaree University of Technologyeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter5.pdf · 2010-06-15 · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering

5.45.4 ความดันดนิของความดันดนิของ CoulombCoulomb

ทฤษฎีของ Coulomb สําหรับการหาความดันดินดานขางไดถูกพัฒนาขึ้นกอนทฤษฎีของ Rankine

ซึ่งสามารถใชไดกับกําแพงกันดินที่มีความเสียดทาน ระนาบการวิบัติเริ่มจากฐานของกําแพงกันดิน ตําแหนง

ของแรงลัพธเนื่องจากความดันดินที่สภาวะ Active หาไดจากการลากเสนตรงจากจุดศูนยกลางมวลของลิ่ม

ขนานกับระนาบวิบัติ จุดตัดของเสนตรงนี้กับผนังกําแพงกันดินคือตําแหนงของแรงลัพธ ทิศทางของแรง

ลัพธทํามุม δ กับเสนซึ่งตั้งฉากกับดานหลังของผนัง เมื่อ δ คือมุมเสียดทานระหวางผนังกําแพงและดิน

Page 22: Foundation Engineering - Suranaree University of Technologyeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter5.pdf · 2010-06-15 · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering

5.45.4 ความดันดนิของความดันดนิของ CoulombCoulomb

สมการสําหรับการคํานวณความดันดินดานขางประสิทธิผลของ Coulomb มีดังตอไปนี้

212a aP H Kγ=′

2

2

sin

sin sinsin sin 1

sin sin

aKα φ

φ δ φ βα α β

α δ α β

⎛ ⎞⎜ ⎟⎝ ⎠

⎛ ⎞⎛ ⎞ ⎛ ⎞⎜ ⎟⎜ ⎟ ⎜ ⎟⎜ ⎟⎛ ⎞ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠⎜ ⎟⎜ ⎟ ⎛ ⎞ ⎛ ⎞⎝ ⎠⎜ ⎟⎜ ⎟ ⎜ ⎟⎜ ⎟⎝ ⎠ ⎝ ⎠

⎝ ⎠

+ ′=

+ −′ ′− +

− +

เมื่อ α คือมุมดานหลังกําแพงกันดินที่กระทํากับแนวราบ δ คือมุมเสียดทานระหวางผนังกําแพง

และดิน และ β คือมุมระหวางผิวของดินถมกับแนวราบ

Page 23: Foundation Engineering - Suranaree University of Technologyeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter5.pdf · 2010-06-15 · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering

5.45.4 ความดันดนิของความดันดนิของ CoulombCoulomb

212p pP H Kγ=′ ′

2

2

sin

sin sinsin sin 1

sin sin

pKα φ

φ δ φ βα α δ

α β α β

⎛ ⎞⎜ ⎟⎝ ⎠

⎛ ⎞⎛ ⎞ ⎛ ⎞⎜ ⎟⎜ ⎟ ⎜ ⎟⎜ ⎟⎛ ⎞ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠⎜ ⎟⎜ ⎟ ⎛ ⎞ ⎛ ⎞⎝ ⎠⎜ ⎟⎜ ⎟ ⎜ ⎟⎜ ⎟⎝ ⎠ ⎝ ⎠

⎝ ⎠

− ′=

+ +′ ′+ −

+ +

เนื่องจากทฤษฏีของ Coulomb เปนวิธีที่ใชหาความดันดินดานขางโดยใชสัมประสิทธิ์ความดันดิน

ดานขาง ดังนั้น วิธีการนี้จึงไมสามารถใชกับดินถมที่มีน้ําหนักภายนอกมากระทํา

Page 24: Foundation Engineering - Suranaree University of Technologyeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter5.pdf · 2010-06-15 · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering

5.45.4 ความดันดนิของความดันดนิของ CoulombCoulomb

ทฤษฎีของ Rankine และ Coulomb สมมติวาระนาบวิบัติเปนแนวเสนตรง สมมติฐานนี้มิไดเปน

จริงเสมอไป ที่สภาวะ Active ความดันดินที่คํานวณมีความแตกตางจากความเปนจริงไมมากนัก แตที่

สภาวะ Passive ผลคํานวณมีความแตกตางคอนขางสูง และใหผลคําตอบที่ไมปลอดภัย (ผลคํานวณมีคา

สูงกวาความเปนจริงมาก)

Terzaghi (1954) พบวาที่สภาวะ Active ระนาบวิบัติมีลักษณะเกือบเปนแนวเสนตรง ก็ตอเมื่อมุม

เสียดทานภายในระหวางดินและกําแพงกันดิน (δ) มีคานอยกวา φ′/3 แตอยางไรก็ตาม ระนาบวิบัติที่สภาวะ

Passive จะมีความแตกตางจากสมมติฐานของ Rankine และ Coulomb อยางมาก เมื่อมุม δ มีคา

มากกวาφ′/3

Page 25: Foundation Engineering - Suranaree University of Technologyeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter5.pdf · 2010-06-15 · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering

5.55.5 วิธีกราฟฟกของวิธีกราฟฟกของ Culmann Culmann

วิธีของ Culmann เปนวิธีกราฟฟกที่ใชสรางรูปเหลี่ยมของแรง ซึ่งสามารถใชไดกับดินถมที่เปนดิน

เหนียวและดินทราย ทั้งที่สภาวะ Active และ Passive วิธีนี้สามารถใชไดกับกําแพงกันดินทุกชนิดที่

ตานดินถมที่ถูกกระทําดวยแรงภายนอกและปราศจากแรงภายนอก เนื่องจากวิธีการนี้ตั้งอยูบนพื้นฐานของ

ทฤษฎีความดันดินของ Coulomb ดังนั้นจึงไมเหมาะที่จะนํามาใชในการคํานวณหาความดันดินดานขางที่

สภาวะ Passive

Page 26: Foundation Engineering - Suranaree University of Technologyeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter5.pdf · 2010-06-15 · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering

5.55.5 วิธีกราฟฟกของวิธีกราฟฟกของ Culmann Culmann

ขั้นตอนในการหาความดินดานขางในสภาวะ Active

1) วาดกําแพงกันดิน ดินถม และน้ําหนักบรรทุก

2) จากจุด A (ที่ฐานของกําแพงกันดิน) ลากเสนตรงทํา

มุม φ กับแนวนอน

3) จากจุด A ลากเสนตรงทํามุม θ กับเสน AC โดยที่

มุม θ เทากับผลตางของมุม α (มุมดานหลังของ

กําแพงกันดินกระทํากับแนวนอน) และมุม δ (มุม

เสียดทานระหวางผนังกําแพงและดิน) เสนนี้แสดงได

ดังเสน AD

δδαθ−°=

−=90

°= 90α

Page 27: Foundation Engineering - Suranaree University of Technologyeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter5.pdf · 2010-06-15 · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering

5.55.5 วิธีกราฟฟกของวิธีกราฟฟกของ Culmann Culmann

4) ลากลิ่มวิบัติที่เปนไปได เชน ABC1, ABC2 และ

ABC3 เปนตน

5) คํานวณหาน้ําหนักของแตละลิ่ม (W1, W2, และ W3

เปนตน)

6) สรางสเกลบนเสน AC กําหนดจุด w1, w2 และ w3

สําหรับลิ่มที่หนัก W1, W2 และ W3 ตามลําดับ

7) จากจุด w1, w2 และ w3 ลากเสนตรงขนานกับเสน

AD ตัดกับเสนตรง AC1, AC2 และ AC3 ตามลําดับ

δδαθ−°=

−=90

°= 90α

Page 28: Foundation Engineering - Suranaree University of Technologyeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter5.pdf · 2010-06-15 · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering

5.55.5 วิธีกราฟฟกของวิธีกราฟฟกของ Culmann Culmann

8) ลากเสนโคงตอจุดตัดที่ไดจากขั้นตอนที่ 7) เสนโคงนี้

เรียกวาเสนโคงของ Culmann

9) ลากเสนตรงขนานกับเสน AC สัมผัสกับเสนโคงของ

Culmann

10) ที่จุดสัมผัส (หาไดจากขั้นตอนที่ 9) ลากเสนตรงขนาน

กับเสน AD ตัดกับเสน AC ความยาวของเสนนี้วัด

เทียบกับสเกลบนเสน AC คือแรงดันดินที่สภาวะ

Active และเสนตรงที่ลากจากจุด A ผานจุดสัมผัสนี้

คือระนาบวิบัติ

δδαθ−°=

−=90

°= 90α

Page 29: Foundation Engineering - Suranaree University of Technologyeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter5.pdf · 2010-06-15 · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering

ตัวอยางที่ตัวอยางที่ 5.1 5.1

กําแพงกันดินที่เรียบและหนามากรับดินทรายแนนโดยไมมีการเคลื่อนตัวดานขาง (ที่สภาวะอยูนิ่ง) ดังแสดง

ในรูป จงหา

ก) การกระจายความดันดานขางบนกําแพงกันดิน

ข) แรงดนัรวมที่กระทําตอกําแพงกันดิน

Page 30: Foundation Engineering - Suranaree University of Technologyeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter5.pdf · 2010-06-15 · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering

ตัวอยางที่ตัวอยางที่ 5.1 5.1

วิธีทํา จากสมการ 0 1 sinK φ= − ′

0 1 sin37 0.398K = − °=

ก) การกระจายความดันดานขางบนกําแพงกันดนิ

- ความดนัที่ความลึก 1 เมตร (ที่ระดบัน้าํใตดนิ)

0 vh Kσ σ=′ ′

0.398 18.39 1.00 7.32hσ ⎛ ⎞⎛ ⎞⎜ ⎟⎜ ⎟⎝ ⎠⎝ ⎠

= × =′ กิโลปาสคาล

- ความดนัที่ลึก 2.5 เมตร (ฐานของกําแพงกันดิน)

0.398 18.39 1.00 0.398 18.39 9.81 1.5 12.44hσ ⎛ ⎞⎛ ⎞ ⎛ ⎞⎛ ⎞⎛ ⎞⎜ ⎟⎜ ⎟ ⎜ ⎟⎜ ⎟⎜ ⎟⎝ ⎠⎝ ⎠ ⎝ ⎠⎝ ⎠⎝ ⎠

= × + − =′

12.44 9.81 1.5 27.16hσ ⎛ ⎞⎜ ⎟⎝ ⎠

= + × =

กิโลปาสคาล

กิโลปาสคาล

Page 31: Foundation Engineering - Suranaree University of Technologyeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter5.pdf · 2010-06-15 · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering

ตัวอยางที่ตัวอยางที่ 5.1 5.1

การกระจายความดันดานขางบนกําแพงกันดินแสดงดงัรูป

Page 32: Foundation Engineering - Suranaree University of Technologyeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter5.pdf · 2010-06-15 · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering

ตัวอยางที่ตัวอยางที่ 5.1 5.1

ข) แรงดันรวมที่กระทาํตอกําแพงกันดนิ

กิโลนิวตันตอเมตร

0 whP P P= +′

11 1 2 222 2 2

wh h hh

z zP zσ σ σ γ+′ ′ ′= + +

7.32 1.00 9.81 1.57.32 27.16 1.52 2 2hP⎛ ⎞⎛ ⎞ ⎛ ⎞⎛ ⎞⎜ ⎟⎜ ⎟ ⎜ ⎟⎜ ⎟⎛ ⎞⎝ ⎠⎝ ⎠ ⎝ ⎠⎝ ⎠

⎜ ⎟⎝ ⎠

+= + +

29.52hP =

Page 33: Foundation Engineering - Suranaree University of Technologyeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter5.pdf · 2010-06-15 · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering

ตัวอยางที่ตัวอยางที่ 5.2 5.2

จงหาแรงดันดินที่สภาวะ Active ตอความกวางของกําแพงกันดินดงัรูป โดยใชทฤษฎีของ Rankine

y

Page 34: Foundation Engineering - Suranaree University of Technologyeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter5.pdf · 2010-06-15 · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering

ตัวอยางที่ตัวอยางที่ 5.2 5.2

วิธีทํา จากสมการ 2a v a aK c Kσ σ= −′ ′ ′

2 2 30tan 45 tan 45 0.3332 2aK φ⎛ ⎞ ⎛ ⎞⎜ ⎟ ⎜ ⎟⎜ ⎟ ⎜ ⎟⎜ ⎟⎜ ⎟ ⎝ ⎠⎝ ⎠

°′= °− = °− =

ความดนัและแรงดันดินดานขางประสิทธิผลที่ความลึก 10 เมตร เทากับ

18 10 0.333 59.9aσ = × × =′

1 59.9 10 299.52aP = × × =′ กิโลนิวตันตอเมตร

กิโลปาสคาล

เนื่องจากระดับน้ําใตดินอยูต่ํามาก แรงดันดานขางประสิทธิผลมีคาเทากับแรงดันดานขางรวม และ

กระทําที่ระยะหนึ่งในสามของความสูงของกําแพงกันดิน ( ) = 10/3 = 3.33 เมตร จากฐานของ

กําแพงกันดิน

y

Page 35: Foundation Engineering - Suranaree University of Technologyeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter5.pdf · 2010-06-15 · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering

ตัวอยางที่ตัวอยางที่ 5.3 5.3

จงหาความดันดินที่สภาวะ Active ตอความกวางของกําแพงกันดิน ดังแสดงในรูป และจุดที่แรงลัพธกระทํา

โดยอาศัยสมการของ Rankine

y

Page 36: Foundation Engineering - Suranaree University of Technologyeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter5.pdf · 2010-06-15 · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering

ตัวอยางที่ตัวอยางที่ 5.35.3

วิธีทํา จากสมการ 2 2

2 2cos cos coscoscos cos cosaK β β φβ

β β φ− − ′=+ − ′

2 22 2

cos15 cos 15 cos 30cos15 0.373cos15 cos 15 cos 30aK ⎛ ⎞

⎜ ⎟⎝ ⎠

°− °− °= ° =°+ °− °

21 17.0 9.0 0.373 2572a aP P ⎛ ⎞⎛ ⎞ ⎛ ⎞⎜ ⎟⎜ ⎟ ⎜ ⎟⎝ ⎠⎝ ⎠ ⎝ ⎠

= = =′ กิโลนิวตันตอเมตร

9.1 3.033 3Hy = = =ระยะ เมตรจากฐานของกําแพงกันดนิ

Page 37: Foundation Engineering - Suranaree University of Technologyeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter5.pdf · 2010-06-15 · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering

ตัวอยางที่ตัวอยางที่ 5.45.4

จงหาแรงดันดานขางรวม (Total lateral earth pressure) ตอความกวางของกําแพงกันดิน ดังแสดงใน

รูป โดยใชทฤษฎีของ Rankine

A

H = 6.5 m + h = 6.6 m

h = 0.10 mC

Bβ = 10o

10o

90o 85o

6.5 m

W

P'a

10o

P'a

PaW

γ = 19.0 kN/m3

φ’ = 35o

c’ = 0

Page 38: Foundation Engineering - Suranaree University of Technologyeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter5.pdf · 2010-06-15 · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering

ตัวอยางที่ตัวอยางที่ 5.45.4

วิธีทํา จากรูป tan5 6.5AB°=

6.5 tan5 0.57AB ⎛ ⎞⎜ ⎟⎝ ⎠

= °= เมตร

tan10 0.57BC hAB°= =

0.57 tan10 0.10h ⎛ ⎞⎛ ⎞⎜ ⎟⎜ ⎟⎝ ⎠⎝ ⎠

= ° = เมตร

และ

จากสมการ2 22 2

cos10 cos 10 cos 35cos10 0.282cos10 cos 10 cos 35aK °− °− °= ° =

°+ °− °

21 19.0 6.6 0.282 116.72aP = × × × =′ กิโลนิวตันตอเมตร

Page 39: Foundation Engineering - Suranaree University of Technologyeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter5.pdf · 2010-06-15 · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering

ตัวอยางที่ตัวอยางที่ 5.45.4

วิธีทํา น้ําหนักของดนิและแรงในแนวดิ่งและแนวนอนมคีาดังนี้

กิโลนิวตันตอเมตร1 1 19.0 0.57 6.6 35.72 2W AB Hγ ⎛ ⎞⎛ ⎞⎜ ⎟⎜ ⎟

⎝ ⎠⎝ ⎠= = × × × =

cos 116.7cos10 114.9ahP P β= = °=′

sin 116.7sin10 20.3v aP P β= = °=′

35.7 20.3 56.1vV W P= + = + =∑

114.9hH P= =∑

กิโลนิวตันตอเมตร

กิโลนิวตันตอเมตร

กิโลนิวตันตอเมตร

กิโลนิวตันตอเมตร

แรงดนัดนิที่สภาวะ Active (Pa) เทากับ

2 2 2 256.1 114.9 127.9aP V H⎛ ⎞ ⎛ ⎞ ⎛ ⎞ ⎛ ⎞

⎜ ⎟ ⎜ ⎟ ⎜ ⎟ ⎜ ⎟⎝ ⎠ ⎝ ⎠⎝ ⎠ ⎝ ⎠

= + = + =∑ ∑ กิโลนิวตันตอเมตร

Page 40: Foundation Engineering - Suranaree University of Technologyeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter5.pdf · 2010-06-15 · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering

ตัวอยางที่ตัวอยางที่ 5.55.5

จากรูป มุมเสียดทานระหวางกําแพงกันดินและดินถมมีคาเทากับ 25 องศา จงหาความดันดินที่สภาวะ Active

โดยทฤษฎีของ Coulomb

Page 41: Foundation Engineering - Suranaree University of Technologyeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter5.pdf · 2010-06-15 · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering

ตัวอยางที่ตัวอยางที่ 5.55.5

วิธีทํา จากสมการ 2

2

2

sin

sin sinsin sin 1

sin sin

aKα φ

φ δ φ βα α δ

α δ α β

⎛ ⎞⎜ ⎟⎝ ⎠

⎡ ⎤⎛ ⎞ ⎛ ⎞⎢ ⎥⎜ ⎟ ⎜ ⎟⎢ ⎥⎛ ⎞ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠⎢ ⎥⎜ ⎟ ⎛ ⎞ ⎛ ⎞⎢ ⎥⎝ ⎠⎜ ⎟ ⎜ ⎟⎢ ⎥⎝ ⎠ ⎝ ⎠⎢ ⎥⎣ ⎦

+ ′=

+ −′ ′− +

− +

2

2

2

sin 90 300.296

sin 30 25 sin 30 0sin 90 sin 90 25 1

sin 90 25 sin 90 0

aK⎛ ⎞⎜ ⎟⎝ ⎠

⎡ ⎤⎛ ⎞ ⎛ ⎞⎢ ⎥⎜ ⎟ ⎜ ⎟⎢ ⎥⎛ ⎞ ⎛ ⎞ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠⎢ ⎥⎜ ⎟ ⎜ ⎟ ⎛ ⎞ ⎛ ⎞⎢ ⎥⎝ ⎠ ⎝ ⎠⎜ ⎟ ⎜ ⎟⎢ ⎥⎝ ⎠ ⎝ ⎠⎢ ⎥⎣ ⎦

°+ °= =

°+ ° °+ °° °− ° +

°− ° + °

212a aP H Kγ=′

21 15.0 10 0.296 222.02aP ⎛ ⎞⎛ ⎞ ⎛ ⎞⎜ ⎟⎜ ⎟ ⎜ ⎟⎜ ⎟⎝ ⎠ ⎝ ⎠⎝ ⎠

= =′ กิโลนิวตันตอเมตร

Page 42: Foundation Engineering - Suranaree University of Technologyeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter5.pdf · 2010-06-15 · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering

ตัวอยางที่ตัวอยางที่ 5.65.6

จากรูป มุมเสียดทานระหวางกําแพงและดินถมเทากับ 20 องศา จงหาความดันรวมที่สภาวะ Active ที่กระทํา

ตอกําแพงกันดิน โดยทฤษฎีของ Coulomb

Page 43: Foundation Engineering - Suranaree University of Technologyeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter5.pdf · 2010-06-15 · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering

ตัวอยางที่ตัวอยางที่ 5.65.6

วิธีทํา จากสมการ 2

2

2

sin

sin sinsin sin 1

sin sin

aKα φ

φ δ φ βα α δ

α δ α β

⎛ ⎞⎜ ⎟⎝ ⎠

⎡ ⎤⎛ ⎞ ⎛ ⎞⎢ ⎥⎜ ⎟ ⎜ ⎟⎢ ⎥⎛ ⎞ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠⎢ ⎥⎜ ⎟ ⎛ ⎞ ⎛ ⎞⎢ ⎥⎝ ⎠⎜ ⎟ ⎜ ⎟⎢ ⎥⎝ ⎠ ⎝ ⎠⎢ ⎥⎣ ⎦

+ ′=

+ −′− +

− +

2

2

2

sin 85 350.318

sin 35 20 sin 35 10sin 85 sin 85 20 1

sin 85 20 sin 85 10

aK⎛ ⎞⎜ ⎟⎝ ⎠

⎡ ⎤⎛ ⎞ ⎛ ⎞⎢ ⎥⎜ ⎟ ⎜ ⎟⎢ ⎥⎛ ⎞ ⎛ ⎞ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠⎢ ⎥⎜ ⎟ ⎜ ⎟ ⎛ ⎞ ⎛ ⎞⎢ ⎥⎝ ⎠ ⎝ ⎠⎜ ⎟ ⎜ ⎟⎢ ⎥⎝ ⎠ ⎝ ⎠⎢ ⎥⎣ ⎦

°+ °= =

°+ ° °− °° °− ° +

°− ° °+ °

212a aP H Kγ=′

21 18.0 6.5 0.318 120.92a aP P ⎛ ⎞⎛ ⎞ ⎛ ⎞⎜ ⎟⎜ ⎟ ⎜ ⎟⎜ ⎟⎝ ⎠ ⎝ ⎠⎝ ⎠

= = =′ กิโลนิวตันตอเมตร

Page 44: Foundation Engineering - Suranaree University of Technologyeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter5.pdf · 2010-06-15 · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering

ตัวอยางที่ตัวอยางที่ 5.75.7

จากรูป มุมเสียดทานระหวางกําแพงและดินถมเทากับ 20 องศา จงหาความดันรวมที่สภาวะ Active ที่กระทํา

ตอกําแพงกันดิน โดยทฤษฎีของ Coulomb

ก) กําแพงกันดินเรียบสูง 7 เมตร ตานดินถมซึ่งเปนดนิเมด็หยาบที่มีหนวยน้ําหนักเทากับ 17.0 กิโลนิวตันตอลูกบาศกเมตร และ φ′ = 28°

ข) ระดับของดินถมอยูที่ระดบัเดยีวกับดานบนของกําแพงกันดนิ และวางตัวในแนวราบ

ค) มีน้าํหนักกระจายสม่าํเสมอขนาด 40 กิโลปาสคาล บนดนิถม

Page 45: Foundation Engineering - Suranaree University of Technologyeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter5.pdf · 2010-06-15 · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering

ตัวอยางที่ตัวอยางที่ 5.75.7

วิธีทํา

ก) ความดนัดนิที่สภาวะ Active ที่กระทําตอกําแพงกันดิน

ข) จุดทีแ่รงลัพธกระทําบนกําแพงกันดิน

จงหา

สัมประสิทธิ์ความดนัประสิทธิผลที่สภาวะ Active ของ Rankine มคีาเทากับ

2tan 45 2aK φ⎛ ⎞⎜ ⎟⎜ ⎟⎜ ⎟⎝ ⎠

′= −

2 28tan 45 0.3612aK⎛ ⎞⎜ ⎟⎜ ⎟⎜ ⎟⎝ ⎠

°= − =

ความเคนประสิทธิผลในแนวดิง่ทีผ่ิวดินเทากับ

ความเคนประสิทธิผลในแนวดิง่ที่ระดบัความลึก 7 เมตร จากผิวดนิ เทากับ

40.0v qσ = =′

40 17.0 7.0 159.0vσ ⎛ ⎞⎜ ⎟⎝ ⎠

= + × =′ กิโลปาสคาล

กิโลปาสคาล

Page 46: Foundation Engineering - Suranaree University of Technologyeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter5.pdf · 2010-06-15 · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering

ตัวอยางที่ตัวอยางที่ 5.75.7

ความเคนประสิทธิผลในแนวนอนที่ผวิดินเทากับ

ความเคนประสิทธิผลในแนวนอนที่ระดบัความลึก 7 เมตรจากผิวดนิ เทากับ

แรงดนัดานขางรวมเทากับ

ตาํแหนงของแรงลัพธเทากับ

40.0 0.361 14.44aσ = × =′ กิโลปาสคาล

159.0 0.361 57.40aσ = × =′

1 14.44 57.40 7.0 251.442a aP P ⎛ ⎞⎜ ⎟⎝ ⎠

= = × + × =′

1 714.44 7 3.5 57.40 14.44 7.02 3 2.80251.44y

⎛ ⎞⎛ ⎞ ⎛ ⎞⎜ ⎟⎜ ⎟ ⎜ ⎟⎜ ⎟⎜ ⎟⎝ ⎠ ⎝ ⎠

⎝ ⎠

× × + × + × ×= =

กิโลปาสคาล

กิโลปาสคาล

เมตร

Page 47: Foundation Engineering - Suranaree University of Technologyeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter5.pdf · 2010-06-15 · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering

ตัวอยางที่ตัวอยางที่ 5.85.8

จากรูป จงเขียนไดอะแกรมความดันดินที่สภาวะ Active หลังสิ้นสุดการกอสรางและมีน้ําหนักกระจาย

สม่ําเสมอ 100 กิโลนิวตันตอตารางเมตร กระทําทันที

Page 48: Foundation Engineering - Suranaree University of Technologyeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter5.pdf · 2010-06-15 · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering

ตัวอยางที่ตัวอยางที่ 5.85.8

วิธีทํา เริ่มตนดวยการคํานวณหาสัมประสิทธิ์ความดันดินดานขางของดินทุกชนิด

2 32tan 45 0.3072aK⎛ ⎞⎜ ⎟⎜ ⎟⎜ ⎟⎝ ⎠

°= °− =

2 30tan 45 0.3332aK⎛ ⎞⎜ ⎟⎜ ⎟⎜ ⎟⎝ ⎠

°= °− =

2 25tan 45 0.4062aK⎛ ⎞⎜ ⎟⎜ ⎟⎜ ⎟⎝ ⎠

°= − =

2tan 45 1.000aK ⎛ ⎞⎜ ⎟⎝ ⎠

= ° =

2 40tan 45 0.2172aK⎛ ⎞⎜ ⎟⎜ ⎟⎜ ⎟⎝ ⎠

°= °− =

ทราย 1

ทราย 2

ทราย 3

ดินเหนียว

ทราย 4

Page 49: Foundation Engineering - Suranaree University of Technologyeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter5.pdf · 2010-06-15 · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering

ตัวอยางที่ตัวอยางที่ 5.85.8

2K c Ka a v aσ σ′ ′ ′= −

41.25.00.21781.4194.63 + (19-9.81) × 1.8= 211.2

10.3

37.65.00.21763.8194.68.5+

171.66 + (19 - 9.81) × 2.5= 194.6

8.5-

171.76+

57.010.00.40639.2144.69 + (18.8-9.81) × 3= 171.7

6-

46.010.00.4069.8144.73+

48.200.3339.8136 + (18.5-9.81) × 1= 144.7

3-

45.300.33301362+

41.700.3070100 + (18 × 2) = 1362-

30.700.30701000

(กิโลปาสคาล)

c’

(กิโลปาสคาล)

Kau

(กิโลปาสคาล)σ′v

(กิโลปาสคาล)

ความลึก

(เมตร)

Page 50: Foundation Engineering - Suranaree University of Technologyeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter5.pdf · 2010-06-15 · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering

ตัวอยางที่ตัวอยางที่ 5.85.8

การกระจายความเคนประสิทธิผลในแนวดิ่ง

Page 51: Foundation Engineering - Suranaree University of Technologyeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter5.pdf · 2010-06-15 · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering

ตัวอยางที่ตัวอยางที่ 5.85.8

การกระจายความดันดินดานขางประสิทธิผลในชั้นทรายและความดนัน้าํ

Page 52: Foundation Engineering - Suranaree University of Technologyeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter5.pdf · 2010-06-15 · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering

ตัวอยางที่ตัวอยางที่ 5.85.8

สําหรับความดนัดินที่กระทําตอกําแพงกันดินในชัน้ดินเหนยีวตองคาํนวณในพจนของความเคนรวม ดังนี้

ที่ระดบัความลึก 6.0 เมตร

ความเคนในแนวดิง่รวมเทากับ 171.7 + 39.2 = 210.9 กิโลปาสคาล

ความดนัดนิดานขางรวมเทากับ 210.9 - (2 x 40) = 130.9 กิโลปาสคาล

ที่ระดบัความลึก 8.0 เมตร

ความเคนในแนวดิง่รวมเทากับ 210.9 + 19.0(2.5) = 258.4 กิโลปาสคาล

ความดนัดนิดานขางรวมเทากับ 258.4 - (2 x 40) = 178.4 กิโลปาสคาล

การกระจายความดันดินดานขางรวมในชั้นทราย เกิดจากการรวมกันของความดันดินดานขางประสิทธิผล

และความดันน้ํา สวนการกระจายความดันดินดานขางรวมในชั้นดินเหนียวคํานวณไดโดยตรงในพจนของความ

เคนรวม

Page 53: Foundation Engineering - Suranaree University of Technologyeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter5.pdf · 2010-06-15 · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering

ตัวอยางที่ตัวอยางที่ 5.85.8

2 m

1 m

3 m

2.5 m

1.8 m

30.7 kPa

45.3 kPa41.7kPa 58.0 kPa

55.8 kPa

96.2 kPa

Total lateral earth pressure

130.9 kPa

178.4 kPa101.4 kPa

122.6 kPa

การกระจายความดันดานขางรวม

Page 54: Foundation Engineering - Suranaree University of Technologyeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter5.pdf · 2010-06-15 · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering

ตัวอยางที่ตัวอยางที่ 5.95.9

ถากําแพงกันดินดังแสดงในรูป เคลื่อนตัวออกจากดินถม จงหา

ก) โซนแรงดึง (z0)

ข) แรงดนัดนิดานขางรวมที่สภาวะ Active หลังเกิดรอยแยกเนื่องจากแรงดึง

Page 55: Foundation Engineering - Suranaree University of Technologyeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter5.pdf · 2010-06-15 · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering

ตัวอยางที่ตัวอยางที่ 5.95.9

วิธีทํา 2 26tan 45 0.392aK⎛ ⎞⎜ ⎟⎜ ⎟⎜ ⎟⎝ ⎠

°= °− =

2K c Ka a v aσ σ= −′ ′ ′

24.84100.39016 x 6 = 966

-12.6100.39000

(กิโลปาสคาล)

c′(กิโลปาสคาล)

Kau

(กิโลปาสคาล)

σv′(กิโลปาสคาล)

ความลึก

(เมตร)

Page 56: Foundation Engineering - Suranaree University of Technologyeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter5.pdf · 2010-06-15 · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering

ตัวอยางที่ตัวอยางที่ 5.95.9

ก) โซนแรงดึง (z0)

ข) แรงดนัดนิดานขางรวมที่สภาวะ Active หลังเกิดรอยแยกเนื่องจากแรงดึง

02 2 10 1.98

16 0.39a

czKγ

×′= = =′

1 24.84 6.00 1.98 49.932a aP P ⎛ ⎞⎜ ⎟⎝ ⎠

= = × × − =′ กิโลปาสคาล

เมตร

Page 57: Foundation Engineering - Suranaree University of Technologyeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter5.pdf · 2010-06-15 · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering

ตัวอยางที่ตัวอยางที่ 5.105.10

จากรูป จงใชวิธีกราฟฟกของ Culmann ในการคํานวณหาแรงดันดินที่สภาวะ Active พรอมทั้งหาตําแหนง

ของแรงลัพธ

°= 10β

°85

Page 58: Foundation Engineering - Suranaree University of Technologyeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter5.pdf · 2010-06-15 · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering

ตัวอยางที่ตัวอยางที่ 5.105.10

วิธีทํา เริ่มตนดวยการสมมติระนาบการวิบตัิ ดังแสดงในรูป

°=°−°=

−=

65 2085

δαθ

°= 35φ°= 85α

°90°20

Page 59: Foundation Engineering - Suranaree University of Technologyeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter5.pdf · 2010-06-15 · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering

ตัวอยางที่ตัวอยางที่ 5.105.10

น้ําหนักของแตละลิ่ม

135.9719.09.1751.564

103.0019.06.9501.563

53.7719.05.6601.002

51.1319.05.2251.031

น้ําหนัก

(กน. ตอ ม.)

หนวยน้ําหนักของดนิ

(กน. ตอ ลบ.ม.)

ความสูงตัง้ฉาก

(เมตร)

ความยาวฐาน

(เมตร)

ลิ่ม

Page 60: Foundation Engineering - Suranaree University of Technologyeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter5.pdf · 2010-06-15 · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering

ตัวอยางที่ตัวอยางที่ 5.105.10

จากคาน้ําหนักของแตละลิ่ม วาดเสนโคงของ Culmann แรงลัพธที่กระทําตอกําแพงกันดินที่สภาวะ Active

มคีาเทากับ 74 กิโลนิวตันตอเมตร และระนาบวิบตัแิสดงดังเสนประ

27.95 1.4319.53x= =

69.4 3.5519.53y= =

เมตร

เมตร

Page 61: Foundation Engineering - Suranaree University of Technologyeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter5.pdf · 2010-06-15 · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering

ตัวอยางที่ตัวอยางที่ 5.105.10

x y

69.427.9519.53รวม

1.100.750.215.403.574

10.804.772.075.202.303

50.0021.7515.003.331.452

7.500.682.253.330.301

A

(เมตร3)

A

(เมตร3)

พื้นที่ (A)

(เมตร2)(เมตร)(เมตร)

รูปที่ x y