interpersonal communication - suan sunandha rajabhat university · 2014-10-08 · interpersonal...

27
การสื่อสารระหวางบุคคล “Interpersonal communication”

Upload: others

Post on 15-Jul-2020

1 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: Interpersonal communication - Suan Sunandha Rajabhat University · 2014-10-08 · Interpersonal Needs Theory) วิลเลียม ชูทซ (Schutz, 1966,pp.18-20) อธิบายว

การสื่อสารระหวางบุคคล

“Interpersonal

communication”

Page 2: Interpersonal communication - Suan Sunandha Rajabhat University · 2014-10-08 · Interpersonal Needs Theory) วิลเลียม ชูทซ (Schutz, 1966,pp.18-20) อธิบายว

ความหมาย

กระบวนการสื่อสาร(Interpersonal communication)

กระบวนการสื่อสารซ่ึงบุคคลที่มีความใกลชิดสนิทสนมกันต้ังแต

2 คน (two-person) ขึ้นไป มีปฏิสัมพันธซ่ึงกันและกันอยางตอเนื่อง

ส า ม า ร ถ แ ส ด ง แ ล ะ รั บ รู ป ฏิ กิ ริ ย า ต อ บ ก ลั บ ร ะ ห ว า ง กั น ไ ด

อยางชัดเจนโดยมีวัตถุประสงคเพื่อสรางอิทธิพลใหเกิดขึ้นระหวางกัน

ทั้ง 2 ฝายและเพื่อควบคุมความสัมพันธ ที่เกิดขึ้นระหวางกัน

การสื่อสารระหวางบุคคล

Page 3: Interpersonal communication - Suan Sunandha Rajabhat University · 2014-10-08 · Interpersonal Needs Theory) วิลเลียม ชูทซ (Schutz, 1966,pp.18-20) อธิบายว

ลักษณะของการส่ือสารระหวางบุคคล

1. เปนการสื่อสารที่เกิดขึ้นระหวางบุคคล 2 คน ซ่ึงมีปฏิสัมพันธกันอยางใกลชิด การสื่อสารระหวางบุคคลไมจัดวาการสื่อสารระหวาง

บุคคลทุกกรณีไป ตองพิจารณาลักษณะของปฏิสัมพันธและความสัมพันธระหวางกัน

2. เปนการสื่อสารซ่ึงเนนปฏิสัมพันธแบบเห็นหนาเห็นตากันระหวางคูสื่อสาร

การสื่อสารระหวางบุคคล

two-person Dynamic communication

เปลี่ยนเปลีย่นตามเทคโนโลยีFace-to-face communication

Page 4: Interpersonal communication - Suan Sunandha Rajabhat University · 2014-10-08 · Interpersonal Needs Theory) วิลเลียม ชูทซ (Schutz, 1966,pp.18-20) อธิบายว

3. เปนกระบวนการการสื่อสาร ซ่ึงคูสื่อสารทําหนาที่เปนทั้งผู

สงสารและผูรับสารในเวลาเดียวกันและตอเนื่องกันไปตลอด

กระบวนการ

4. เปนการสื่อสารซ่ึงมีความเปนสวนตัว(personal) และมี

ลักษณะไมเปนทางการ(informal)สูงกวาการสื่อสารแบบอ่ืน

เชน การสื่อสารมวลชน การสื่อสารองคกร

การสื่อสารระหวางบุคคล

Page 5: Interpersonal communication - Suan Sunandha Rajabhat University · 2014-10-08 · Interpersonal Needs Theory) วิลเลียม ชูทซ (Schutz, 1966,pp.18-20) อธิบายว

5. เปนการสื่อสารที่เกิดขึ้นทันทีทันใด ตามสถานการณ

และปริบทของการสื่อสาร

6. เปนการสื่อสารซ่ึงเอ้ือใหเกิดปฏิกิริยาตอบกลับระหวางกันใน

ปริมาณสูงและรวดเร็ว (high and immediate feedback)

7. เปนการสื่อสารที่ไมไดยึดถือรูปแบบ / ไวยากรณที่

เครงครัดชัดเจนเหมือนการสื่อสารประเภทอ่ืน

การสื่อสารระหวางบุคคล

Page 6: Interpersonal communication - Suan Sunandha Rajabhat University · 2014-10-08 · Interpersonal Needs Theory) วิลเลียม ชูทซ (Schutz, 1966,pp.18-20) อธิบายว

วัตถุประสงคของการสื่อสารระหวางบุคคล

1. การสื่อสารระหวางบุคคลคือเครื่องมือสําคัญของมนุษย

ในการสนองความตองการของตนและคนอ่ืน เกิดความเขาใจ

และไดรับการตอบสนอง

2. ชวยใหมนุษยพัฒนาแนวความคิดเกี่ยวกับตนเองและการ

รับรูตนเอง เชน การสื่อสารกับครอบครัว ครูอาจารย ผูรู

3. เปนเครื่องมือสําคัญในการรวบรวมขอมูลขาวสารของ

บุคคลที่มนุษยมีปฏิสัมพันธดวยและขอมูลตาง ๆ ในสังคมแวดลอม

การสื่อสารระหวางบุคคล

Page 7: Interpersonal communication - Suan Sunandha Rajabhat University · 2014-10-08 · Interpersonal Needs Theory) วิลเลียม ชูทซ (Schutz, 1966,pp.18-20) อธิบายว

วัตถุประสงคของการสื่อสารระหวางบุคคล

4. การสื่อสารระหวางบุคคลเปนเครื่องมือในการสรางอิทธิพล

เหนือบุคคลอ่ืน

5. การสื่อสารระหวางบุคคลมีสวนสําคัญในการสรางธํารง

รักษาความสัมพันธที่ดีระหวางกัน

6. การสื่อสารระหวางบุคคลมีสวนสําคัญในการบงบอกและ

การสรางรูปแบบความสัมพันธระหวางคูสื่อสาร เชน สถานะ

ความสัมพันธของคูสื่อสาร

การสื่อสารระหวางบุคคล

Page 8: Interpersonal communication - Suan Sunandha Rajabhat University · 2014-10-08 · Interpersonal Needs Theory) วิลเลียม ชูทซ (Schutz, 1966,pp.18-20) อธิบายว

แนวคิด หนาตางโจฮารี (The Johari Window)

การสื่อสารระหวางบุคคล

โจ เซฟ ลุฟท และ ฮ า รี อิ งแฮม

เจาของทฤษฎีหนาตางโจฮารี

ใชอธิบายถึงระดับของการพัฒนาความสัมพันธและปฏิสัมพันธ

ระหวางบุคคล ระดับการการรับรู

ตนเองและการรับรูของบุคคลอ่ืนที่มี

ตอตน

นิสัย(habits)

ทัศนคติ(attitude)

ความสามารถพิเศษ(talent)

เปนส่ิงที่ไมสามารถรับรูไดดวยตนเอง

บริเวณเปดเผย

Know To Self

บริเวณจุดบอด

Blind area

บริเวณซอนเรน

Hidden areaบริเวณท่ีไมรู

Unknow area

ตนเองไมรู

Not know to selfตนเองรู

know to self

ผูอื่นรู

know to other

ผูอื่นไมรู

not know to others

ช่ือ, อาหาร, ท่ีทํางาน,

ขอมูลสวนตัวบางประเภท

นอนกรน,แสดงสีหนา

แสดงออกไมรูตัว

รูแตไมเปดเผย ความหวัง

ความฝน เปดเผยเม่ือ

ไววางใจมาก

ภาวะจิตใตสํานึกท่ีแอบ

แฝง เราและผูอ่ืนไมรู การ

สื่อสารกับบคุคลอ่ืนทําให

ปรับตัวดีข้ึน

Page 9: Interpersonal communication - Suan Sunandha Rajabhat University · 2014-10-08 · Interpersonal Needs Theory) วิลเลียม ชูทซ (Schutz, 1966,pp.18-20) อธิบายว

การสื่อสารระหวางบุคคล

ปจจัยที่สงผลกระทบตอระดับการเปดเผยตนเอง

1. บุคลิกภาพ(Personality) เปดหรือเก็บตัว

2. การประเมินความเสี่ยงในการเปดเผยตนเอง(Risk Evaluation)

การประเมินความเสียหายจากการเปดเผยขอมูล ความรูสึกใหคูสนทนารับรู

3. ความไววางใจ (Trust) ไวใจสูงเปดเผยมาก

4. ความสมดุลของระดับการเปดเผยตนเองของคูสื่อสาร(Balance) โดย วิลมอท(Wilmot,1987) อธิบายวาบุคคลจะตอบโตความรูสึกที่ตนไดรับในลักษณะที่สมดุล และจะเปดเผยตนเองในระดับเดียวกัน

Page 10: Interpersonal communication - Suan Sunandha Rajabhat University · 2014-10-08 · Interpersonal Needs Theory) วิลเลียม ชูทซ (Schutz, 1966,pp.18-20) อธิบายว

การสื่อสารระหวางบุคคล

ทฤษฎีที่เกีย่วของกับความสัมพันธของมนุษย

ทฤษฎีความตองการระหวางบุคคล(Interpersonal Needs Theory)

วิลเลียม ชูทซ (Schutz, 1966,pp.18-20) อธิบายวา ความ

ตองการพื้นฐานระหวางบุคคล แบงได 3 ประการ

1. ความตองการความรัก (Affection)

2. ความตองการเปนสวนหนึ่งของบุคคลอ่ืน/ความ

ตองการเปนสวนหนึ่งของสังคม (Inclusion)

3. ความตองการควบคุม (Control) ความตองการมี

อิทธิพลเหนือเหตุการณและบุคคลอ่ืนรอบตัว

Page 11: Interpersonal communication - Suan Sunandha Rajabhat University · 2014-10-08 · Interpersonal Needs Theory) วิลเลียม ชูทซ (Schutz, 1966,pp.18-20) อธิบายว

การสื่อสารระหวางบุคคล

ทฤษฎีที่เกีย่วของกับความสัมพันธของมนุษย

ทฤษฎีการแลกเปลี่ยน (Exchange Theory) เนนการศึกษา 2 ทาง

จอหน ดับบลิว ธีโบทและแฮโรลด เอช เคลลี ไดคิดคน

ทฤษฎีการแลกเปลี่ยน เชื่อวาเราสามารถศึกษาความสัมพันธ

ของมนุษยในรูปแบบของการแลกเปลี่ยนระหวางรางวัล

(rewards) / ผลตอบแทนและคาใชจาย(cost) / การลงทุน

ซ่ึงเกิดขึ้นในกระบวนการปฏิสัมพันธระหวางคูสื่อสาร

ความรูสึกวาคุมคาพอใจตอการลงทุนความรูสึก

ความสัมพันธ ขึ้นอยูกับระดับความคาดหวังที่มีตอคูสื่อสาร

ซ่ึงหากนอยกวาที่คาดหวังก็จะตัดความสัมพันธทันที

Page 12: Interpersonal communication - Suan Sunandha Rajabhat University · 2014-10-08 · Interpersonal Needs Theory) วิลเลียม ชูทซ (Schutz, 1966,pp.18-20) อธิบายว

การสื่อสารระหวางบุคคล

ทฤษฎีที่เกีย่วของกับความสัมพันธของมนุษย

ความขัดแยงและการบริหารความขัดแยง (Conflict)

ความหมายของความขัดแยง

ความไมเห็นพองตองกันในเรื่อง ความคิดเห็น

ความสนใจ และจุดมุงหมายระหวางบุคคล 2 ฝายซ่ึงมีความ

เกี่ยวของสัมพันธกันและรับรูวาความแตกตางนั้น เปนสิ่งที่ทําให

เกิดความแตกตางและ ไมสอดคลองกันในประเด็นเหลานั้น

Page 13: Interpersonal communication - Suan Sunandha Rajabhat University · 2014-10-08 · Interpersonal Needs Theory) วิลเลียม ชูทซ (Schutz, 1966,pp.18-20) อธิบายว

สาเหตุของความขัดแยง

1. องคประกอบดานบุคคล/ความแตกตางของบุคคล 1.1 ภูมิหลังที่แตกตางกันในเรื่องเพศ อายุ การศึกษา

ประสบการณและโลกทัศน เปนตน

1.2 แบบฉบับพฤติกรรม / รูปแบบพฤติกรรมที่แตกตาง

กันของแตละคน เกิดจาก

1.2.1 ความแตกตางดานบุคลิกภาพ

1.2.2 ความแตกตางดานจิตวิทยา

การสื่อสารระหวางบุคคล

Page 14: Interpersonal communication - Suan Sunandha Rajabhat University · 2014-10-08 · Interpersonal Needs Theory) วิลเลียม ชูทซ (Schutz, 1966,pp.18-20) อธิบายว

1.3 รูปแบบการรับรูที่แตกตางกันของแตละคน

1.4 ความรูสึกนึกคิด/ทัศนคติที่มีตอสิ่งตาง ๆ รอบตัว

2. ประสิทธิผลของการสื่อสารระหวางบุคคล

3. สถานการณหรือสภาพแวดลอมซ่ึงเอ้ือใหเกิดความขัดแยง

3.1 ความตองการในสิ่งเดียวกัน / ตองการในสิ่งที่มีจํากัด

ไมเพียงพอ

3.2 ความคลุมเครือ / ความไมชัดเจนในบทบาทหนาที่

ของแตละคน

การสื่อสารระหวางบุคคล

Page 15: Interpersonal communication - Suan Sunandha Rajabhat University · 2014-10-08 · Interpersonal Needs Theory) วิลเลียม ชูทซ (Schutz, 1966,pp.18-20) อธิบายว

3.3 ความจําเปนตองพึ่งพาอาศัยบุคคลอ่ืน

3.4 ความจําเปนในการตัดสินใจเลือกทางเลือก /

วิธีแกไขปญหา

3.5 ความขัดแยงที่เกิดจากกฎระเบียบหรือขอบังคับที่

เครงครัด

3.6 ความตองการมติเอกฉันท

การสื่อสารระหวางบุคคล

Page 16: Interpersonal communication - Suan Sunandha Rajabhat University · 2014-10-08 · Interpersonal Needs Theory) วิลเลียม ชูทซ (Schutz, 1966,pp.18-20) อธิบายว

ประโยชนของความขัดแยง

1. ความขัดแยงคือสัญญาณแสดงวาคูสื่อสารมีความ

เกี่ยวของสัมพันธกัน

2. ความขัดแยงทําใหมนุษยตองรวมมือ รวมใจกันในการ

เลือก / หาวิธีแกปญหา

3. ความขัดแยงเปนปจจัยกระตุนใหเกิดความคิดสรางสรรค

การสื่อสารระหวางบุคคล

Page 17: Interpersonal communication - Suan Sunandha Rajabhat University · 2014-10-08 · Interpersonal Needs Theory) วิลเลียม ชูทซ (Schutz, 1966,pp.18-20) อธิบายว

4. ความขัดแยงชวยพัฒนาความรูสึกถึงความเปนพวก

เดียวกันดวยการสรางความใกลชิดและความไววางใจซ่ึงกัน

และกัน

5. การเกิดความขัดแยง ตางฝายที่ขัดแยงกันจะพยายาม

เรียนรูจุดเดนและจุดดอยของกันและกัน

6. ความขัดแยงที่เกิดขึ้น คือโอกาสในการประเมินระดับ

ความมั่นคงและความเหินหางในความสัมพันธระหวางกัน

การสื่อสารระหวางบุคคล

Page 18: Interpersonal communication - Suan Sunandha Rajabhat University · 2014-10-08 · Interpersonal Needs Theory) วิลเลียม ชูทซ (Schutz, 1966,pp.18-20) อธิบายว

การบริหารความขัดแยง

1. การถอนตัวหรือถอยหนี(Withdrawal) วิธีการนี้กอใหเกิด

สถานการณแบบ แพ-แพ (lose-lose situation) เปนการถอนตัว

ทางจิตวิทยาดวยการละเลยไมใสใจกับความขัดแยงที่เกิดขึ้น

ผลเสียของวิธีนี้ คือ ทําใหความสัมพันธ เสื่อมคลายลง

หรือเหินหางมากขึ้น

2. การยอมตาม (Accommodation) คือ การแกปญหาความ

ขัดแยงซ่ึงเนนการลดความเห็นที่แตกตางลง และเนนสิ่งที่มี

ความเห็นสอดคลองกันเพื่อสรางความพึงพอใจใหอีกฝายหนึ่ง

โดยละเลยความตองการของตน วิธีการนี้กอใหเกิดสถานการณ

แบบ ชนะ-แพ (Win – lose situation)

การสื่อสารระหวางบุคคล

Page 19: Interpersonal communication - Suan Sunandha Rajabhat University · 2014-10-08 · Interpersonal Needs Theory) วิลเลียม ชูทซ (Schutz, 1966,pp.18-20) อธิบายว

4. การบังคับหรือการเอาชนะ(Force/Dominating) คือ

การแกไขปญหาความขัดแยงที่เนนการสรางความพึงพอใจ

ใหแกตนเองดวยการคุกคามทางรางกายและจิตใจดวยการ

บังคับขมขู โดยไมใสใจอีกฝายหนึ่งวาจะเปนอยางไร วิธีการนี้

กอใหเกิดสถานการณแบบ ชนะ – แพ (win-lose situation)

5. การรวมมือในการบริหารความขัดแยง(Collaboration)

คือ การบริหารความขัดแยงดวยการแกปญหา อยางเปนระบบ

โดยอาศัยความรวมมือของทุกฝาย วิธีการนี้กอให เกิด

สถานการณแบบชนะ-ชนะ (win-win situation)

การสื่อสารระหวางบุคคล

Page 20: Interpersonal communication - Suan Sunandha Rajabhat University · 2014-10-08 · Interpersonal Needs Theory) วิลเลียม ชูทซ (Schutz, 1966,pp.18-20) อธิบายว

ปจจัยสงเสริมการสื่อสารระหวางบุคคล

การสื่อสารระหวางบุคคล

1. ความดึงดูดใจของคูสื่อสาร (Attractiveness)

1.1 ความดึงดูดในรูปรางหนาตา

(Physical Attractiveness) โดยปกติ

มนุษยจะจะมีความรูสึกดีกับบุคคลที่

มีรูปราง หนาตาดี ซึ่งแตกตางกันไป

ตาม ทรรศนะและคานิยม แมแตใน

สังคมไทย มีคํากลาววา “นารีมีรูป

เปนทรัพย”

Page 21: Interpersonal communication - Suan Sunandha Rajabhat University · 2014-10-08 · Interpersonal Needs Theory) วิลเลียม ชูทซ (Schutz, 1966,pp.18-20) อธิบายว

การสื่อสารระหวางบุคคล

1.1 ความดึงดูดในรูปรางหนาตา (Physical Attractiveness)

Page 22: Interpersonal communication - Suan Sunandha Rajabhat University · 2014-10-08 · Interpersonal Needs Theory) วิลเลียม ชูทซ (Schutz, 1966,pp.18-20) อธิบายว

1.2 ความดึงดูดใจดานบุคลิกภาพ (Personality Attractiveness)

เชน การแตงกาย ยืน เดิน นั่งการวางตัว

ปจจัยสงเสริมการสื่อสารระหวางบุคคล

การสื่อสารระหวางบุคคล

Page 23: Interpersonal communication - Suan Sunandha Rajabhat University · 2014-10-08 · Interpersonal Needs Theory) วิลเลียม ชูทซ (Schutz, 1966,pp.18-20) อธิบายว

2. ความใกลชิดของคูสื่อสาร (Proximity) ความเชื่อมโยง เชน

พักอาศัยอยูดวยกัน เรียนหองเดียวกัน

3. การใหแรงเสริมแกคูสื่อสาร (reinforcement) เชน การ

ชมเชย การใหรางวัล

4. ความคลายคลึงกันของคูสื่อสาร (similarity) เชน เพศ วัย

การศึกษา ศาสนา

5. การเสริมความแตกตางกันของคูสื่อสาร (complementarity)

เชน ความแตกตางชวยทําใหเห็นมุมมองที่กวางขึ้น

ปจจัยสงเสริมการสื่อสารระหวางบุคคล

การสื่อสารระหวางบุคคล

Page 24: Interpersonal communication - Suan Sunandha Rajabhat University · 2014-10-08 · Interpersonal Needs Theory) วิลเลียม ชูทซ (Schutz, 1966,pp.18-20) อธิบายว

คุณลักษณะที่เอ้ือใหเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการ

สื่อสารระหวางบุคคล

1. การเปดเผยตนเองหรือการเปดใจของคูสื่ อสาร หมายถึงพฤติกรรม 3 ประการ คือ

1.1 การเปดเผยตนเองของคูสื่อสารในระดับ

ที่เหมาะสม

1.2 การแสดงปฏิกิริยาตอบกลับที่ชัดเจนและ

สอดคลอง กับความรูสึกนึกคิดซ่ึงเกิดขึ้นจริง

1.3 การแสดงความรับผิดชอบ

การสื่อสารระหวางบุคคล

Page 25: Interpersonal communication - Suan Sunandha Rajabhat University · 2014-10-08 · Interpersonal Needs Theory) วิลเลียม ชูทซ (Schutz, 1966,pp.18-20) อธิบายว

2. ความสามารถในการเอาใจเขามาใสใจเรา (empathy) คือ

ความสามารถในการคาดคะเนความรูสึกนึกคิดของคูสื่อสาร

3. การมีทัศนคติทางบวก (positiveness)

4. การสรางบรรยากาศที่เนนความชวยเหลือและการ

สนับสนุนซ่ึงกันและกัน (supportiveness)

4.1 พยายามใชการบรรยาย/การอธิบายความเปนจริงแทนการประเมิน / วิพากษวิจารณโดยใชอารมณ

4.2 แสดงความจริงใจไมเสแสรง

4.3 แสดงความใสใจและไมแสดงความเมินเฉย กับคู

สื่อสาร

การสื่อสารระหวางบุคคล

Page 26: Interpersonal communication - Suan Sunandha Rajabhat University · 2014-10-08 · Interpersonal Needs Theory) วิลเลียม ชูทซ (Schutz, 1966,pp.18-20) อธิบายว

4.4 สรางความรูสึกถึงความเสมอภาคแทนการสรางความรูสึกวาอยูเหนือบุคคลอ่ืน

4.5 การเปดใจยอมรับความรูสึกนึกคิดของคนอ่ืนแทนการ

ยึดมั่นในความคิดความเชื่อของตนอยางหัวปกหัวปา

5. การหลีกเลี่ยงความคิดวาตนดีกวาหรือดอยกวาคูสื่อสาร

(equality)

6. มีความซ่ือตรงตอกัน (honesty)

การสื่อสารระหวางบุคคล

Page 27: Interpersonal communication - Suan Sunandha Rajabhat University · 2014-10-08 · Interpersonal Needs Theory) วิลเลียม ชูทซ (Schutz, 1966,pp.18-20) อธิบายว

การพัฒนาทักษะในการสื่อสารระหวางบุคคล

1. การขยายโลกทรรศนและประสบการณใหกวางขวางขึ้น

ดวยการเพิ่มพูนความรูใหตนเองอยางสม่ําเสมอ

2. พยายามเสริมสรางและพัฒนาทักษะในการสื่อสารโดย

ใชวัจนภาษา การพูด อาน เขียนและอวัจนภาษา

3. พยายามสรางและธํารงรักษาความสัมพันธที่ดีกับบุคคลอ่ืน เพราะเปนพื้นฐานสําคัญของการอยูรวมกันในสังคม

การสื่อสารระหวางบุคคล