issn 1905-677x วารสารวิิชาการบ ััณ...

136
ปที3 ฉบับที8 กันยายน ธันวาคม 2551 ISSN 1905-677x วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal วารสารราย 4 เดือน ปที3 ฉบับที8 กันยายน ธันวาคม 2551 Volume 3 No. 8 September – December 2008 บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรร บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรร สรรคสรางความรู นําสูสังคม สรรคสรางความรู นําสูสังคม สรรคสรางความรู นําสูสังคม สํานักงานบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค 398 หมูที9 ตําบลนครสวรรคตก .เมือง .นครสวรรค 60000 โทร. 0-5621-9100-29 ตอ 1173-1178 Mobile 08-6592-4099 http://registrar.nsru.ac.th/graduate

Upload: others

Post on 22-Jan-2020

4 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

ISSN 1905-677x

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษาวารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรคมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค

Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal วารสารราย 4 เดือน ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กนัยายน – ธันวาคม 2551

Volume 3 No. 8 September – December 2008

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรคค

สรรคสรางความรู นําสูสังคมสรรคสรางความรู นําสูสังคมสรรคสรางความรู นําสูสังคม

สํานักงานบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค 398 หมูที่ 9 ตําบลนครสวรรคตก อ.เมือง จ.นครสวรรค 60000

โทร. 0-5621-9100-29 ตอ 1173-1178 Mobile 08-6592-4099

http://registrar.nsru.ac.th/graduate

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

บทบรรณาธิการ วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค ฉบับนี้

เปนฉบับท่ี 8 ปท่ี 3 จัดทําข้ึนโดยมีวัตถุประสงคเพื่อเปนส่ือกลางในการเผยแพรบทความทางวิชาการ งานวิจัย และบทความวิทยานิพนธของนักศึกษาและอาจารยมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค และเพื่อเปนเวทีเปดทางวิชาการใหนักวิชาการ ผูทรงคุณวุฒิ และผูสนใจ ไดเผยแพรความรูทางวิชาการ งานวิจัย และผลงานอ่ืน ๆ เพื่อรวมกัน “สรรคสรางความรู นําสูสังคม” สาระในวารสารฉบับนี้ประกอบดวยบทความทางวิชาการ 1 เร่ือง ไดแก “ทฤษฎีวาดวยฐานทรัพยากร:อะไรท่ีสรางความไดเปรียบเชิงการแขงขัน” ยังมีบทความดุษฎีนิพนธ 2 เร่ือง และบทความวิทยานิพนธ 9 เร่ือง จําแนกเปนสาขาวิชาการบริหารการศึกษา 1 เร่ือง สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร 1 เร่ือง สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน 4 เร่ือง สาขาวิชาการสงเสริมสุขภาพ 3 เร่ือง สาขาวิชายุทธศาสตรการพัฒนา 1 เร่ืองและสาขาวิชาคณิตศาสตรศึกษา 1 เร่ือง จําแนกเปนบทความดุษฎีนิพนธและวิทยานิพนธจากภายในสถาบัน7 เร่ือง ตางสถาบัน 3 เร่ือง หวังอยางยิ่งวาวารสารฉบับนี้ จะเปนประโยชนตอผูอานบางตามสมควร หากผูอานจะมีขอเสนอแนะใดในการปรับปรุงวารสารนี้ใหสมบูรณยิ่งข้ึน กองบรรณาธิการขอนอมรับไวดวยความยินดียิ่ง บรรณาธิการ

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

สารบัญ ท่ี บทความวิชาการ หนา 1 ทฤษฎีวาดวยฐานทรัพยากร: อะไรที่สรางความไดเปรียบเชิงการแขงขัน ..................................................

................................................................................. พรสวัสด์ิ มงคลชัยอรัญญา และ นวพร ประสมทอง

1 บทความดุษฎีนิพนธ

2 รูปแบบการพัฒนาสมรรถนะประจําสายงานครูผูสอนในสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ....... มานิตย นาคเมือง 13 3 ยุทธศาสตรการบริหารจัดการความขัดแยงขององคการบริหารสวนตําบลจังหวัดชัยนาท ........................

............................................................................................................................. ชัยวัฒน ทรัพยรวงทอง

27 บทความวิทยานิพนธ

4 การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาสังคมศึกษา และความสามารถในการคิดแกปญหาของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูงปที่ 1 ที่ไดรับการสอนโดยแนวคอนสตรัคติวิซึมกับการสอนตามปกติ .............................................................................................................. พรทิพา พิกุลกล่ิน

39 5 การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และความรับผิดชอบตอการเรียนวิชาสังคมศึกษาของนักเรียน

ช้ันประถม ศึกษาปที่ 6 ที่ไดรับการสอนโดยการเรียนแบบรวมมือดวยวิธีจิกซอว 2 กับการสอนตามปกติ ...................................................................................................................................... สิริรัตน บุตรสิงห

49 6 การพัฒนาชุดการสอนวิชาเคมี เรื่อง ไฟฟาเคมี สําหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปที่ 5 ............................

................................................................................................................................. จุฑามาศ เจตนกสิกิจ

61 7 ผลของการจัดการเรียนการสอนโดยใหผูเรียนสรางองคความรูที่มีตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและเจตคติ

ตอวิชาวิทยาศาสตรของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปที่ 1 ...................................................... กัญญา บุญแตง

71 8 ผลของโปรแกรมการออกกําลังกายการเตนแอโรบิก ที่ใชระยะเวลาตางกันที่มีตอสมรรถภาพทางกาย

นักศึกษาพยาบาลช้ันปที่ 1 วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีสวรรคประชารักษ วิทยาเขตนครสวรรค .......................................................................................................................................... มานพ ศรีชมพู

81 9 ผลของโปรแกรมการสรางแรงจูงใจท่ีมีตอการมารับบริการตรวจเซลลมะเร็งปากมดลูก โรงพยาบาล

สวางอารมณ จังหวัดอุทัยธานี ............................................................................... ศรีนวล แกวนเชิงคา

91 10 ผลของการเตรียมความพรอมหญิงต้ังครรภ ตอการรับรูความสามารถของตนเองและพฤติกรรมการเลี้ยง

ทารกในโรงพยาบาลไพศาลี ............................................................................................... หัทยา ยาลังสี

103 11 แนวทางการมีสวนรวมของประชาชนในการพัฒนาชุมชนขององคการบริหารสวนตําบลหาดอาษา

อําเภอสรรพยา จังหวัดชัยนาท ......................................................................................... นฤมล วาริชา

113 12 การพัฒนาการเรียนรูเรื่องจํานวนเชิงซอน โดยการนําเสนอมโนมติผานกราฟของนักเรียนช้ัน

มัธยมศึกษาปที่ 5 โรงเรียนนวมินทราชูทิศ พายัพ ...................................................... ไอริน ชุมเมืองเย็น

123 13 แนะนําหนังสือ: You and Your Action Research Project ............................................ กองบรรณาธิการ 130

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

คณะกรรมการกลั่นกรอง ตนฉบับบทความทางวิชาการและบทความวิทยานิพนธในวารสารวิชาการบัณฑิตศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค ปท่ี 3 ฉบับท่ี 8 กันยายน – ธันวาคม 2551 ไดรับการตรวจอานและแกไขจากผูทรงคุณวุฒิ ดังรายนามตอไปนี ้ 1. ศาสตราจารย ดร.ชุติมา สัจจานันท มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 2. ศาสตราจารย ดร.สมยศ พลับเท่ียง มหาวิทยาลัยนเรศวร

3. Assoc. Prof. Dr. Michael J. Brody Montana State University, Bozeman

4. รองศาสตราจารย ดร.นิพนธ กินาวงศ มหาวิทยาลัยนเรศวร 5. รองศาสตราจารย ดร.ประจักษ สายแสง มหาวิทยาลัยนเรศวร

6. รองศาสตราจารย ดร.วารีรัตน แกวอุไร มหาวิทยาลัยนเรศวร

7. รองศาสตราจารย ดร.ทวศัีกดิ์ จินดานุรักษ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

8. ผูชวยศาสตราจารย ดร.จักร พันธุชูเพชร มหาวิทยาลัยนเรศวร บทความวิทยานิพนธท่ีนํามาตีพิมพในแตละฉบับ กองบรรณาธิการจะตรวจสอบเปนข้ันแรก แลวจัดใหมีกรรมการภายนอกรวมกล่ันกรอง (Peer Review) และประเมินบทความตามเกณฑและแบบฟอรมท่ีกาํหนด ในลักษณะเปน blind review คือปกปดรายช่ือผูเขียนบทความและผูเกี่ยวของ

ทัศนะ แนวคิด และรูปแบบการนําเสนอบทความในวารสารฉบับนี้ เปนความรับผิดชอบของผูเขียนแตละคน

การนําบทความหรือสวนหนึง่ของบทความไปตีพิมพเผยแพร ใหอางอิงแสดงท่ีมา

ขอมูลเกี่ยวกบัผูเขียนบทความ และการสงบทความตีพิมพ ดูรายละเอียดไดท่ีปกหลังดานใน

กองบรรณาธิการขอสงวนสิทธในการคัดเลือกบทความลงตีพิมพและจะแจงใหเจาของบทความทราบหลังจากผูประเมินอิสระตรวจอานบทความแลว

วารสารนี้บรรจุอยูในฐานขอมูลของศูนยดชันีการอางอิงวารสารไทย (http://tci.trf.or.th) แลว

กําหนดปดรับตนฉบบั

ฉบับท่ีแรกของป (มกราคม-เมษายน) กําหนดออกเดอืนพฤษภาคม ปดรับ 31 มีนาคม

ฉบับท่ีสองของป (พฤษภาคม-สิงหาคม) กําหนดออกเดอืนกันยายน ปดรับ 31 กรกฎาคม

ฉบับท่ีสามของป (กันยายน-ธันวาคม) กําหนดออกเดอืนมกราคมปถัดไป ปดรับ 30 พฤศจิกายน

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

1

ทฤษฎีวาดวยฐานทรัพยากร: อะไรที่สรางความไดเปรียบเชิงการแขงขัน พรสวัสดิ์ มงคลชัยอรัญญา*

นวพร ประสมทอง**

การสรางความไดเปรียบทางการแขงขันขององคการมีบทบาทสําคัญตอการดําเนินการทางธุรกิจในตลาดแขงขัน องคการใดสามารถใชทรัพยากรของตนไดอยางมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลยอมสรางความไดเปรียบท่ีมากกวาคูแขง ซึ่ง Preble และ Hoffman (1994) กลาวย้ําวาองคการสามารถสรางความไดเปรียบเชิงการแขงขัน โดยสรางความไดเปรียบดานราคาถูก (Cost) หรือการสรางความแตกตาง (Differentiation) ของตัวสินคา หรือท้ังสองอยาง (Gilbert & Strebel, 1989; Fahy, 2000). ในขณะท่ีความไดเปรียบของการแขงขันจะประสบความสําเร็จไดนั้น บริษัทตองใชทรัพยากรท่ีมีอยูทําใหเกิดความย่ังยืนโดยใชสวนผสมทางทรัพยากรของบริษัทปดก้ันความสามารถของคูแขงขันไมใหเกิดการลอกเลียนแบบได (Elaine, 1993) ดังน้ันท่ีมาของความสามารถเชิงแขงขันตามทฤษฎีวาดวยฐานทรัพยากร (Resource-based View: RBV) กลาวไดวาทรัพยากร (Resources) และความสามารถ(Capabilities) มีบทบาทท่ีสําคัญในการสรางความไดเปรียบเชิงการแขงขัน แตสําหรับตลาดแขงขันในปจจุบันท่ีมีการเปลี่ยนแปลงของส่ิงแวดลอมทางธุรกิจอยางรวดเร็ว ความสามารถเชิงพลวัตรกําลังเขามามีบทบาทในการสรางความไดเปรียบเชิงแขงขันมากข้ึน ในบทความน้ีจะกลาวถึงปจจัยใดท่ีเปนกําลังสําคัญตอการสรางความไดเปรียบเชิงการแขงขัน (Competitive Advantages) ระหวางทรัพยากร (Resources) และ ความสามารถ (Capabilities) (RBV) หรือมุมมองของความสามารถเชิงพลวัตร (Dynamic Capabilities)

วิวัฒนาการของทฤษฏีวาดวยฐานทรัพยากร : RBV (Resource-based View) มุมมองทรัพยากรจําเพาะตามแบบฉบับนักเศรษฐศาสตรถูกกลาวถึงต้ังแตยุค Chamberlin และ Robinson (1993) (Fahy&Smithee, 1999 ) ในป 1959 Penrose เสนอแนวความคิดดานทรัพยากรขององคกรท่ีสรางโอกาสดานการผลิตท่ีเกิดจากผูใชทรัพยากรท่ีแตกตางกันมากกวาปจจัยภายนอกท่ีเกิดจากการเติบโตของอุปสงคหรือจากการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี (Kor & Mahoney, 2004)ในป1984 Wernerfelt ไดนําเสนอแนวความคิดและทิศทางใหมวา แหลงท่ีมาของความไดเปรียบเชิงการแขงขัน แทนท่ีจะพิจารณาในเชิงของผลิตภัณฑท่ีแตกตางและตนทุนท่ีตํ่า เราควรพิจารณาส่ิงท่ีสําคัญท่ีสุดขององคการคือทรัพยากรภายในองคการ (จุดแข็งและจุดออนขององคการ) ท่ีมุงตอบสนองความเปล่ียนแปลงและความตองการตามสภาพแวดลอมภายนอกองคการ (โอกาสและอุปสรรคขององคการ)

* นักศึกษาปริญญาเอก หลักสูตรบริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยนเรศวร ** อาจารยประจําคณะวิทยาการจัดการมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค นักศึกษาปริญญาเอก หลักสูตรบริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยนเรศวร

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

2

Jay Barney นักวิชาการแหงคาย RBV ไดนําเสนอผลงาน “Firm Resources and Sustained Competitive Advantage” ตีพิมพใน Journal of Management โดยบทความช้ินนี้ถือวาเปนบทความหลักสําคัญของคาย RBV โดย Barney (1991) ไดนําเสนอแนวความคิดในประเด็นของแหลงท่ีมาของความไดเปรียบเชิงการแขงขัน โดยแสดงใหเห็นถึงลักษณะท่ีสําคัญของทรัพยากรเชิงกลยุทธท่ีจําเปนตองมี ไดแก(1) ทรัพยากรน้ันจะตองกอใหเกิดคุณคาข้ึนภายในองคการ (Value) (2) ทรัพยากรน้ันจะตองหายาก (Rarity) (3) ทรัพยากรน้ันจะตองไมสามารถลอกเลียนแบบไดหรือมีตนทุนลอกเลียนแบบสูง (Imitability) และ (4) ความสามารถท่ีทดแทนไมได (Non-substitutable) ( Barney, 1991; Barney&Wright, 1998) หลังจากผลงานของ Barney แลว นักวิชาการสวนใหญก็ไดพยายามศึกษาวิจัยและทดสอบถึงแหลงท่ีมาของความไดเปรียบเชิงการแขงขัน จนเปนท่ียอมรับวาทรัพยากรเชิงกลยุทธเปนแหลงท่ีมาของความไดเปรียบเชิงการแขงขัน แตอยางไรก็ดีไดมีนักวิชาการบางกลุมท่ีสนใจแสวงหาทรัพยากรใหม ๆภายในองคการท่ีนาจะเปนทรัพยากรท่ีกอใหเกิดความไดเปรียบเชิงการแขงขันอยางยั่งยืน ในป 1992 Kogut และ Zander เสนอแนวคิดใหมคือ ทรัพยากรท่ีสําคัญขององคการก็คือองคความรู (Knowledge) ดังน้ันองคการเชิงสังคมจะมีความซับซอนมากกวาองคการเชิงปจเจกบุคคล การคงอยูขององคการจึงไมไดข้ึนอยูกับการคงอยูของปจเจกบุคคล แตการคงอยูขององคการจะข้ึนอยูกับความสามารถในการถายทอดความรูจากรุนสูรุน และองคความรูท่ีไดถูกสะสมและไดมีการถายทอดตอ ๆ กันไป จึงเปนแหลงท่ีมาอันแทจริงของความไดเปรียบเชิงการแขงขัน (Kogut and Zander, 1992; Spender, 1996; Lopez, 2005) ความรูถือวาเปนทรัพยากรท่ีสําคัญในการกําหนดกลยุทธขององคการเน่ืองจากความรูเปนสิ่งท่ียากตอการลอกเลียนแบบและมีความซับซอน ดังน้ันพื้นฐานความรูและความสามารถท่ีแตกตางกันจะเปนตัวกําหนดการสรางความไดเปรียบเชิงการแขงขันและผลประกอบการท่ีเหนือกวา (McEvily & Chakravarthy, 2002). Teece et al (1997) ไดเสนอวาความรูท่ีจะชวยสรางความไดเปรียบเชิงการแขงขันนั้นตองเปนทรัพยากรความรูท่ีไมหยุดน่ิง อันมีบทบาทสําคัญตอการสรางใหม (Renew) และการพัฒนา (Development) ดังน้ันความสามารถเชิงพลวัตรเปนสิ่งท่ีมีบทบาทตอการขยายขีด ความสามารถ ขององคการ (Ordinary capabilities) ใหเกิดการเปลี่ยนแปลงและการพัฒนาท่ีทันตอการเปลี่ยนแปลงของส่ิงแวดลอมท่ีเกิดข้ึนอยางรวดเร็ว

กรอบความคิดทฤษฎีวาดวยฐานทรัพยากร: RVB ( Resource-based View ) RBV กลาวอางถึงกรอบทางทฤษฎีท่ีอธิบายถึงองคการท่ีจะประสบความสําเร็จในการสรางความไดเปรียบเชิงการแขงขันและสามารถกอใหเกิดความย่ังยืน (Eisenhardt & Martin, 2000) โดยอธิบายถึงทรัพยากรภายในองคการเปนเสมือนความสามารถทางกลยุทธขององคการท่ีมีสวนสําคัญในการสรางความความไดเปรียบเชิงการแขงขัน (Lorenzoni and Lipparini, 1999) ซึ่ง Jay Barney นักวิชาการคนสําคัญในคาย RBV ไดใหนิยามความหมายหรือคําจํากัดความของคําวา ความไดเปรียบเชิงการแขงขัน ดังน้ี

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

3

“ผลลัพธท่ีไดจากการดําเนินการทางกลยุทธท่ีสามารถสรางคุณคา (Value-creating Strategy) ใหเหนือกวาคูแขงคือความไดเปรียบเชิงการแขงขัน (Competitive Advantage) โดยคูแขงขันไมสามารถดําเนินการทางกลยุทธแบบเดียวกันไดในชวงเวลาเดียวกัน ดวยเหตุนี้ การไดเปรียบเชิงการแขงขันจะยั่งยืนได ก็ตอเมื่อคูแขงขันไมสามารถลอกเลียนแบบผลลัพธ ผลประโยชน หรือคุณคา อันเนื่องมาจากการใชกลยุทธท่ีองคการไดกําหนดหรือสรางข้ึนมา” (Barney,1991, p. 102) จากการศึกษาของ Barney (1991) พบวา องคการท่ีจะสามารถสรางคุณลักษณะเฉพาะขององคการ :VRIO(N) เพื่อใหเกิดศักยภาพในการไดเปรียบเชิงการแขงขัน ทรัพยากรขององคการตองประกอบดวยคุณลักษณะ 4 ประการ คือ 1. ความมีคุณคา (Valuable Resource) คือ สิ่งท่ีองคการตองใชจุดออนและจุดแข็ง เพื่อแสวงหาประโยชนจากโอกาสและลบลางอุปสรรค (Barney, 1991) ถึงแมวาทรัพยากรสามารถเขาถึงปจจัยแวดลอมไดหลายทางแตถาไมสามารถสรางคุณคาได ศักยภาพทางการไดเปรียบก็ไมเกิดข้ึน (Fahy, 2000) 2. การหาไดยาก (Rare Resource) คือ ความสามารถท่ีหาไดยากท่ีเกิดข้ึนจากคูแขงขันนอยราย (Barney, 1991) ทรัพยากรภายในองคการท่ีมีคุณคาจะถูกทําใหคุณคาลดนอยลงเม่ือคูแขงสวนใหญมีทรัพยากรเหมือนกันและสามารถใชประโยชนเชนเดียวกัน สุดทายก็เปนเพียงแคสรางความเทาเทียมในการแขงขัน (competitive parity) มิใชความไดเปรียบเชิงการแขงขัน (Riordan, 2006) 3. ตนทุนลอกเลียนแบบสูง (Imperfectly Imitable resources) คือ ตนทุนการลอกเลียนแบบท่ีสูงเปนผลทําใหบริษัทอื่นไมสามารถพัฒนาข้ึนไดโดยงาย (Barney, 1991) ถึงแมวาองคการจะเขาสูตลาดเปนรายแรก ๆ พรอมดวยทรัพยากรท่ีหาไดยากแตถาคูแขงสามารถลอกเลียนแบบไดงายความไดเปรียบในการแขงขันจะเกิดข้ึนเพียงช่ัวคราวเทาน้ัน (Riordan, 2006) 4. การทดแทนไมได (Non-substitutable) คือ ความสามารถท่ีทดแทนไมไดจะตองไมมีความสามารถเทียบเคียงทางกลยุทธทดแทนได ความสามารถท่ีทดแทนไมไดจะเปนแหลงท่ีมาของความไดเปรียบเชิงการแขงขัน (Barney, 1991) นอกจากนี้การจัดการองคการ (Organization) ท่ีดีและจําเปนสําหรับการใชทรัพยากรท่ีเหมาะสมจากการสรางโครงสรางการทํางานท่ีอาศัยความรวมมือท่ีเปดโอกาสใหพนักงานมีสวนรวมในการคิดและการกระทํานําไปสูความไดเปรียบเชิงการแขงขันอยางยั่งยืน (sustainable competitive advantage) (Riordan, 2006) ท้ังน้ีการสรางความไดเปรียบเชิงการแขงขัน องคการตองประกอบดวยคุณลักษณะท้ังส่ีประการ ถาขาดอยางใดอยางหน่ึงบงบอกไดถึงความไดเปรียบเชิงการแขงขันอยางยั่งยืนจะไมเกิดข้ึน มันอาจเปนเพียงความเทาเทียมในการแขงขัน(องคการมีแต value และ organizing) หรือความไดเปรียบทางการแขงขันแบบไมถาวร (องคการมี value, rare และ imitation แตขาด organizing) (Riordan, 2006)

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

4

อยางไรก็ตาม ตามแนวคิด RBV เนนย้ําวาการสรางความไดเปรียบเชิงการแขงขันข้ึนอยูกับทรัพยากรอันสําคัญท่ีองคการครอบครองอยูโดยใหความสําคัญท่ี “คุณลักษณะเฉพาะของการสรางคุณคา (value) และ

อุปสรรคตอการทําซํ้า (Barrier to imitation)” (Fahy, 2000: 96) คุณคาของทรัพยากรไมใชแควัตถุดิบท่ีปอนเขาสูการผลิตแตเปนส่ิงท่ีเราตองนําไปใชใหไดผลลัพธ บางครั้งผูผลิตมีทรัพยากรเหมือนๆกันแตจะเช่ือมโยงผสมผสานแตกตางกันไปทําใหผลิตผลท่ีไดออกมาแตกตางกัน การใชทรัพยากรอยางเหมาะสมตองการความสามารถซ่ึงประกอบดวยทักษะและกระบวนการการพัฒนาผลิตภัณฑ มากไปกวาน้ี Clulow และ Barry และ Gersmant (2007) ไดย้ําถึงความสําคัญของการสรางคุณคา (value) โดยองคการตองสรางคุณคาไปสูลูกคา (customer-based ) ดังน้ันการสรางคุณคาบนพ้ืนฐานทางการตลาด(Market based value) จะชวยสรางคุณคาใหกับลูกคาซ่ึงเปนปจจัยหลักของการสรางความไดเปรียบเชิงการแขงขันโดยคุณคาเกิดจากลักษณะเฉพาะของทรัพยากร 3 อยางคือ ความกํากวม(Tacitness) ความซับซอน (Complexity) และ ความเปนเอกลักษณ(Specificity) โดย Priem (2001) กลาวย้ําวาการสรางคุณคาแหงอนาคตของ Barney (1991) เปนเพียงการเขาครอบครองคุณคาท่ีไดจากสินคาท่ีลูกคาใชคุณคาจากสินคาเหลาน้ันซ่ึงมันไมเพียงพอ(capture of value) เราคงตองใหความสําคัญท่ีกระบวนการสรางมูลคาของสินคาน้ันมากกวา (creation of value) ท้ังน้ีแคการสรางคุณคาไปสูลูกคายังไมไดสรางความไดเปรียบเชิงการแขงขัน แตองคการตองสรางอุปสรรคตอการลอกเลียนแบบเพ่ือปองกันคูแขงในตลาดดวย (Fahy&Smithee, 1999) การสรางอุปสรรคตอการลอกเลียนแบบดวยการผสมผสานกันระหวางความเปนหนึ่ง (unique) กับความซับซอน (complexity) โดยหลายบริษัทพยายามจัดการความรูท่ีเปนนัย เพื่อแขงขันกับคูแขงต้ังแตการจัดโครงสรางองคการไปจนถึงการสรางขีดความสามารถทางพลวัตร อยางไรก็ตามการพัฒนาเทคนิคไมใชการสรางความสามารถเปรียบเชนการมีทักษะนั้นยอมแตกตางจากส่ิงท่ีรูวาจะอยางไร (Foss, 1997) มากไปกวาน้ี Wernerfelt (1984) นําคุณลักษณะ VRIO มาสรางอุปสรรคตอการลอกเลียนแบบ พรอมการแสวงหาผลประโยชนผูเขาสูตลาดรายแรก (First Mover Advantage : FMA) อันเปนการสรางอุปสรรคตอคูแขงขัน ไดแก 1.ทางเลือกทรัพยากร (Alternative resources) ท่ีตองสรางและใชใหเหมาะสม 2. ความสามารถดานการผลิตของเครื่องจักร(Machinery capacity) 3. ความจงรักภักดีของลูกคา (Customer loyalty) 4. ประสบการณดานการผลิต (Production experience) 5. ความเปนผูนําดานเทคโนโลยี โดยเนนท่ีทรัพยากรมากกวาตัวสินคา ขณะท่ี Finney et al (2008) กลาววา FMA ท่ีเกิดข้ึนจะสามารถสรางความไดเปรียบเชิงการแขงขันไดตองเกิดจากการผสมผสานกันระหวาง เวลาท่ีเลือกเขาสูตลาด และการจัดการทรัพยากรท่ีเหมาะสม FMA คือ คุณคาของเวลา( value of time ) ท่ีไมเหมือนการเขาสูตลาดรายแรก( first mover to marketplace) แตเปนการเลือกทรัพยากรท่ีตองการ แลวพัฒนาตราสินคา สรางช่ือเสียง เรียนรูนวัตกรรมทางวัฒนธรรม โดยกําหนดพื้นฐานความรูท่ีไดแลวนําไปสูการไดมาซ่ึงสิทธิบัตรท่ีถือครองสิทธิการดําเนินการรายแรก ( Foss, 1997)

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

5

ประเภทของทรัพยากรที่สรางความไดเปรียบเชิงการแขงขัน RBV ขององคการประกอบดวยองคประกอบหลัก 2 ดาน ไดแก (1) ทรัพยากร (Resources) และ (2) ความสามารถ (Capabilities) องคประกอบท้ังสองเปนแหลงของการสรางความไดเปรียบเชิงการแขงขัน(Grant,1996; Eisenhardt & Martin, 2000) จากการศึกษาพบวาการมีทรัพยากร/ความสามารถขององคกร (available resources/capabilities) ท่ีเหมาะสมกับความไดเปรียบเชิงการแขงขัน (Competitive Advantages) เพื่อท่ีจะไดรับผลประกอบการท่ีดีเหนือองคกรอื่นท่ีมีทรัพยากร/ความสามารถขององคกรท่ีไมเหมาะสมกับความไดเปรียบเชิงการแขงขัน (Competitive Advantages) (Kaleka ,2002; Morgan et al., 2004; Conner, 1991) ดังน้ันพ้ืนฐานทรัพยากร(Resource-based view: RBV) ท่ีใชในการกําหนดนโยบายทางธุรกิจของบริษัทโดยมองท่ีแหลงทรัพยากร(resources) และความสามารถ(capabilities) ของบริษัทมีอิทธิพลตอผลประกอบการของบริษัท (Barney, 1996) โดยแหลงทรัพยากร(resources)ท่ีมีอยูจะเปนตัวกําหนดจุดแข็ง(Strengths)และจุดออน(Weaknesses) ของบริษัท (Wernerfelt, 1984) 1. ทรัพยากร (Resources) ทรัพยากรหมายถึงทรัพยากรทางการเงิน เทคโนโลยีและองคการของบริษัท ทรัพยากรเหลาน้ีอาจแบงไดเปนทรัพยากรท่ีมีตัวตน (Tangible resources) ไดแก ท่ีดิน อาคาร โรงงาน เครื่องจักร(Wernerfelt,1984) หรือ ทรัพยากรท่ีไมมีตัวตน (Intangible resources) ไดแก ความเช่ือใจของลูกคา ความสัมพันธระหวางองคการกับลูกคา ตราสินคา ช่ือเสียง สิทธิบัตร เทคโนโลยี (Eisenhardt&Martin, 2000; Wernerfelt, 1984: Clulow&Barry&Gersmant, 2007) และรวมไปถึงทรัพยากรดานบุคคล ทักษะ และความรู (Barney&Wright, 1998) หรือเปนท้ังสองอยาง (Eisenhardt&Martin, 2000) เพื่อการสรางความสามารถดีเดนทรัพยากรของบริษัทจะตองท้ังพิเศษและมีคุณคา ทรัพยากรท่ีพิเศษคือทรัพยากรท่ีบริษัทอื่นไมมี ขณะท่ี Wernerfelt (1984) ไดจําแนกแหลงทรัพยากรออกเปน 4 ประเภทไดแก 1.ทุนทางเครื่องจักร 2.ความภักดีของลูกคา 3.ประสบการณดานการผลิต และ 4. ความเปนผูนําทางดานเทคโนโลยี ในขณะท่ี Grant (1991) ไดจําแนกแหลงทรัพยากรท่ีแตกตางจาก Wernerfelt (1984) แบงทรัพยากรดังกลาวออกเปน 6 ประเภท ไดแก 1. ทรัพยากรดานการเงิน 2. ทรัพยากรดานกายภาพ 3.ทรัพยากรดานบุคลากร 4. ทรัยพากรดานเทคโนโลยี 5. ความมีช่ือเสียง 6. ทรัพยากรดานองคกร Barney (1991) ใหความหมายของทรัพยากรภายในองคกรจะรวมถึงสินทรัพย ความสามารถ กระบวนการขององคกร ขอมูลและความรู ท่ีควบคุมโดยบริษัทและบริษัทสามารถนําทรัพยากรเหลาน้ีมาพัฒนาประสิทธิภาพและประสิทธิผลขององคกรโดยใชผลประโยชนจากความสามารถขององคการท่ีมีอยู 2. ความสามารถขององคกร (Ordinary Capabilities) ความสามารถคือส่ิงท่ีไมมีตัวตน ไมสามารถตีความสามารถเปนมูลคาทางตัวเลขได ดังน้ันความสามารถก็คือการจัดการทรัพยากรซ่ึงเปนกลุมหน่ึงของทางเลือกกลยุทธท่ีเกี่ยวของกับสินทรัพยท่ีมีตัวตนและสินทรัพยท่ีไมมีตัวตน (Finney et al, 2008) ความสามารถประกอบดวยการขับเคลื่อนของกิจวัตร

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

6

ท่ีองคการตองเขาไปเก่ียวของกับความสามารถในการจัดการเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพขององคการ (Miongeon et al, 1998) องคการพยายามท่ีจะใชประโยชนจากทรัพยากรเพื่อการสรางคุณคา สรางความหลากหลาย การหายาก และอุปสรรคตอการลอกเลียนแบบเพ่ือพัฒนาและสรางความไดเปรียบเชิงการแขงขันอยางยั่งยืนผานการสรางความสามารถ (Carpon&Hulland, 1999) แตถาบริษัทตองการสรางขอไดเปรียบทางการแขงขันท่ียั่งยืน(Sustain competitive advantages) และสามารถดําเนินงานท่ีอยู เหนือคูแขงแลวความสามารถเหลาน้ีตองถูกกระทําไดเหนือกวา ดังน้ันความสามารถดีเดนจะเปนความสามารถท่ีพิเศษท่ีทําใหบริษัทมีความแตกตางจากคูแขง Grant (1991) กลาววาความสามารถของบริษัทคืออะไรก็ตามท่ีเปนผลจากการดําเนินการของทีมงานท่ีทํางานดวยกัน ความสามารถเปนเสมือนกระบวนการท่ีตองสรางคุณคาจากกระบวนการ จากการเช่ือมโยงและผสมผสานเพื่อสรางทักษะท่ีหลากหลาย รวมถึงการกําหนดการลดหรือการเพิ่มของทรัพยากรใหเหมาะสมกับการเปลี่ยนแปลง (Eisenhardt&Martin, 2000) ตัวอยางเชนการใชความสัมพันธดานความสามารถดานการเงินควบคูกับการพัฒนาสินคา ตลาดและบุคคลในบริษัทแมคโดนัล ในขณะท่ี Hoffman (2000) ใหความหมายในเทอมของความสามารถแกน (core competencies) อธิบายถึงความสามารถดานกลยุทธ คือการสะสมการเรียนรูภายในองคกรโดยความเขาใจถึงการทํางานรวมกันของฝายตาง ๆ อยางมีประสิทธิภาพ นอกจากน้ี Barney และ Zajac (1994) พบวาบริษัทใดท่ีสามารถเช่ือมโยงความรู (Knowledge) และการเรียนรู (Learning) จากความแตกตางของกระบวนการดานความสามารถจะเปนผลตอการเพ่ิมความสําคัญใหกับความไดเปรียบในการแขงขัน (Competitive advantages) รวมถึงความสามารถทางดานขาวสาร การสรางความสัมพันธระหวางลูกคาและผูจัดหาสิ่งของให(Supplier) นอกจากน้ี Chandler และ Hanks (1994) กลาววา ตัวแปรท่ีมีสวนเกี่ยวของกับผลประกอบการท่ีมีความเส่ียง (Venture performance) ก็คือความสามารถดานทรัพยากรพ้ืนฐานอันมีผลโดยตรงตอกลยุทธความไดเปรียบ (Competitive advantages) โดยจากกรณีศึกษา 2ใน 3 แสดงใหเห็นถึงความสําคัญความสามารถพิเศษ (Specific resource-based capabilities) เนื่องจากสิ่งแวดลอมทางธุรกิจมีการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วและตลอดเวลาสงผลใหความสามารถขององคกรแบบดั้งเดิม (Capabilities) ท่ีมีอยูอาจไมเพียงพอสําหรับการสรางความไดเปรียบเชิงการแขงขัน ความสามารถที่ตองขับเคลื่อนอยูตลอดเวลาเพ่ือตอบสนองการเปลี่ยนแปลงถูกนํามาพิจารณามากข้ึน การสรางความรูใหม ๆ จึงนําไปสูบริบทของความสามารถเชิงพลวัตร (Dynamic Capabilities)

ความสามารถเชิงพลวัตร ( Dynamic Capability) ความสามารถเชิงพลวัตรประกอบดวยกุญแจสําคัญ 2 สวน คือ (1) พลวัตร (Dynamic) หมายถึงความสามารถทางรางกายท่ีกอใหเกิดการสรางความสามารถใหมท่ีสอดคลองกับการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดลอมทางธุรกิจเพื่อตอบสนองนวัตกรรมใหมท่ีถึงเวลาตองเขาสูตลาด (2) ความสามารถ (Capability) หมายถึง บทบาทสําคัญในการจัดการดานกลยุทธใหเหมาะสมดวยการรวมกลุมทรัพยากรใหม (Integration)

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

7

การปรับโครงสรางใหม (Reconfigulation) ท้ังทักษะภายในและภายนอกขององคการใหเขากับความตองการท่ีเปลี่ยนแปลงไปตามการเปลี่ยนแปลงของส่ิงแวดลอมท่ีรวดเร็ว (Teece et al, 1997) RBV อธิบายถึงความสําเร็จในการสรางความไดเปรียบเชิงการแขงขันดวยคุณลักษณะสี่ประการ (VRIN) แตไมสามารถสรางความไดเปรียบเชิงการแขงขันแบบยั่งยืนไดโดยเฉพาะในตลาดท่ีมีการขับเคลื่อนอยูตลอดเวลา (Eisenhardt & Martin, 2000) องคการท่ีสามารถเปลี่ยนแปลงทรัพยากรและความสามารถของตนไดจะทําใหเกิดความสามารถเชิงพลวัตร (Dynamic Capability) โดยเฉพาะในตลาดท่ีมีความแปรปรวน (Teece et al, 1997) Moustaghfir (2008) เสนอวาความสามารถทางพลวัตรเปนสิ่งท่ีมีบทบาทตอการขยายขีด ความสามารถ ขององคการ (Ordinary capabilities) ใหเกิดการเปลี่ยนแปลงและพัฒนานําไปสูผลประกอบการท่ีดีกวาคูแขงขันในระยะยาว ดังน้ันความสามารถเชิงพลวัตรจะมุงเนนท่ีกระบวนการในองคการ โดยมีจุดมุงหมายท่ีจะสรางการพัฒนาและสรางความรูใหมของความสามารถขององคการ สิ่งสําคัญของความสามารถเชิงพลวัตรก็คือ องคการไมเพียงใชความสามารถของตนเทาน้ันเพื่อหาผลประโยชนจากทรัพยากรท่ีตนมี แตองคการตองแขงขันกับการสรางความสามารถใหม ๆ เพื่อพัฒนาองคการของตน (Teece et al, 1997) Nielsen (2006) เสนอวาความสามารถเชิงพลวัตรเปนกระบวนการสรางพ้ืนฐานทรัพยากรอันมี ความรู เปนสิ่งท่ีไหลเขาสูองคการตลอดเวลา และองคการมีหนาท่ีเก็บสะสมความรูไวในคลัง เมื่อองคการมีจุดมุงหมายจะพัฒนาหรือสรางสินคาใหม องคการก็จะหาผลประโยชนจากความรูท่ีสะสมไว มากไปกวาน้ี Prieto และ Revilla (2006) ออกมากลาวย้ําวาไมใชแคความสามารถในการเรียนรูของบริษัทเทาน้ัน แตบริษัทใดท่ีมีแหลงความรู (Knowledge stock) และการไหลเวียนของการเรียนรู (Learning flow)ในระดับสูงยอมสงผลตอผลประกอบการท่ีดี ดังน้ันความสามารถจึงเปนกุญแจสําคัญของบริษัทท่ีจะสรางความไดเปรียบในการแขงขันกับคูแขง นอกจากน้ี Prieto และ Smith (2006) ย้ําวาในระยะยาว การทําการสรางความรูใหมขององคการอยูบนพื้นฐานท้ังการใชประโยชนจากความรูท่ีมีอยูและการคนหาความรูใหมเพื่อการแขงขัน Moustaghfir (2008) กลาววาความสามารถในเชิงแขงขันขององคการข้ึนอยูกับทรัพยสินทางความรู (knowledge assets) ท่ีทําใหเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลจากกระบวนการองคความรูขององคการ ความรูเปนเสมือนทรัพยากรท่ีสนับสนุนความสามารถ กิจกรรมท่ีเกิดข้ึนและเพ่ิมข้ึนจากประสบการณ Nonaka et al.(2000) กลาววา ทรัพยสินทางความรูก็คือทรัพยากรลักษณะจําเพาะขององคการซ่ึงมีความจําเปนตอการสรางคุณคาใหกับองคการ Cavusgil และ Seggie และTalay (2007) เสนอองคประกอบของ ความสามารถเชิงพลวัตรไดแก (1) กระบวนการทางกลยุทธและองคการ (Organization and strategic process) ซึ่งการปรับโครงสรางใหมทางดานทรัพยากรจะถูกสรางข้ึนมาเพ่ือตอบสนองตอการเปลี่ยนแปลงในตลาด โดยกระบวนการ รวมไปถึงการรวมกลุม (Integrating) การสรางโครงสรางใหม (Reconfigulation) การเพ่ิมและการลดทรัพยากรใหเหมาะสมกับการเปลี่ยนแปลงตลาด (Eisenhartdh&Martin,2000) แต Kogut & Zander

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

8

(1992) ใชคําวา combinative capability ท่ีแสดงถึงกระบวนการขององคการท่ีออกแบบและสรางทรัพยากรทางดานความรูและทําใหเกิดการประยุกตใชแบบใหม ๆ (2) การเรียนรู (Learning) สอดคลองกับท่ี Teece et al. (1997) กลาววา การเรียนรูคือ การทําซํ้าและทดสอบวามันเปนไปไดท่ีงานสามารถสรางข้ึนดวยผลลัพธท่ีดีกวาและเร็วกวา แตกตางจาก RBV ท่ีเปนการเรียนรูแบบนิ่ง (static learning) (3) ความเปนมา (Path dependence) บนหนทางวิวัฒนาการขององคการเปนสิ่งท่ีชวยใหองคการเรียนรูความเปนมาต้ังแตอดีต ปจจุบัน และอนาคตของความสามารถเชิงพลวัตรและความไดเปรียบเชิงการแขงขัน (4) ตําแหนงทรัพยสิน (Asset position) เนนย้ําท่ีทรัพยสินทางความรู (knowledge asset) เปนสิ่งท่ียากตอการทําเปนการคา (Cavusgil&Seggie&Talay, 2007) เนื่องจากมันเปนกระบวนการสรางองคความรูท่ีไมสามารถลอกเลียนแบบได โดยมีองคประกอบดังน้ี (1) ความรูจากประสบการณ (Experiential Knowledge Asset) (2) ความรูจากกรอบความคิด (Conceptual Knowledge Asset) หรือ (3) ความรูจากระบบ ( Systematic Knowledge asset) (4) ความรูเชิงกระบวนการ (Routine Knowledge Asset) (Finney et al, 2008) (5) การทําสืบทอดและวิธีปฏิบัติท่ีเปนเลิศ (Replication and Best practice) โดย Teece et al. (1997) อธิบายถึงความสําคัญของการทําสืบทอดหรือการถายโอนของความสามารถจากรุนหนึ่งไปสูอีกรุนหนึ่งโดยอยูบนพื้นฐานของการไดเปรียบเชิงการแขงขัน เมื่อมองถึงตลาดแบบพลวัตร ผูจัดการตองใหความสนใจไปท่ีการสรางส่ิงใหมมากกวาการปองกันแหลงของความไดเปรียบเชิงการแขงขันเนื่องจากไมมีใครท่ีจะสามารถอยูกับทรัพยสิน สินคา ตราสินคา ของตนไดนานเราตองเตรียมวางตําแหนงของความไดเปรียบเชิงการแขงขันท่ีใหม (Daniel&Wilson, 2003) ตัวอยางเชน ในธุรกิจ e-business หรือ กลุมอุตสาหกรรมเทคโนโลยีข้ันสูงตองเปลี่ยนแปลงรูปแบบการบริหารเพ่ือความเขาใจถึงการสรางความไดเปรียบเชิงแขงขันดวยการผสมผสานกับทรัพยากรในการหาหนทางใหมๆ (cap 10) OsterlohและFrost (2000) กลาววา การสรางความไดเปรียบเชิงการแขงขันเปนสินทรัพยท่ีไมมีตัวตนท่ีสําคัญท่ีสุดของทรัพยากรไดแก กฎและวัฒนธรรมขององคการ ความสัมพันธ คานิยม เราเรียกท้ังหมดน้ีวา ทรัพยสินทางความรู Knowledge Asset โดยมองวาความรูเปนสิ่งท่ีสําคัญในการสรางไดเปรียบเชิงการแขงขันและผลประกอบการท่ีสูงกวาคูแขงขันอันประกอบไปดวย (1) ความเปนนัย (Tacitness) (2) ความซับซอน (Complexity) และ(3)คุณลักษณะเฉพาะ(Specific)โดยเฉพาะคุณลักษณะจําเพาะขององคการใหคุณประโยชนแบบยาวนานท่ียากตอการลอกเลียนแบบ (McEvily&Chakravarthy, 2002) ขณะท่ี Bollinger และ Smith (2001) มองกระบวนการการเรียนรูขององคการเปนทรัพยสินทางกลยุทธท่ีประกอบดวย (1) ปจเจกบุคคลมีความสามารถดานความรูเปนปกติวิสัยดังน้ันความรูเปนเสมือนความเขาใจและรับทราบผานระบบการศึกษา การสอบสวน การสังเกต แลวสรางความเปนผูเช่ียวชาญสวนบุคคล โดยกอใหเกิด

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

9

ทักษะ ความชํานาญและการเรียนรูผานจากประสบการณ (Grant, 1991) (2) องคการจะเรียนรูจากคนภายในองคการท่ีรูเรื่องตางๆจากลูกคา กระบวนการ ความผิดพลาด และความสําเร็จแลวนํามาใชรวมกันเพื่อใหเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลท่ีดีตอองคการ

บทสรุป ทฤษฎีวาดวยฐานทรัพยากร (RBV) สามารถสรางความไดเปรียบเชิงแขงขันนั้น จากความไมสมมาตรของทรัพยากร โดยทรัพยากรเหลาน้ีตองมีคุณลักษณะเฉพาะส่ีประการอันไดแก (1) คุณคาของทรัพยากร (Value) (2) การหายาก (Rarity) (3)ไมสามารถลอกเลียนแบบ (Imitability) และ (4) ความสามารถท่ีทดแทนไมได (Non-substitutable) (VRIN) พรอมสรางอุปสรรคตอการลอกเลียนแบบ ดังน้ันฐานทรัพยากรท่ีประกอบดวยทรัพยากรและความสามารถ( Resource & original capability) แสดงใหถึงการรวมกลุม (cluster) ของทรัพยากรและความสามารถเขาดวยกันทําใหเกิดเปนระบบท่ีมีความซับซอน(Complex System) อันกอใหเกิดความไดเปรียบเชิงการแขงขันเฉพาะกลุมอุตสาหกรรมท่ีอยูในตลาดแขงขันท่ีมีความแนนอน (Certainty Market) หรือการเปลี่ยนแปลงท่ีไมมีผลกระทบตอองคการ ดังน้ันทรัพยากรและความสามารถเปรียบเสมือนขุมทรัพยท่ีดี เพียงแตเราหาผูท่ีมีความรูมาออกแบบใหประสบความสําเร็จ ในทางตรงกันขามสําหรับความสามารถเชิงพลวัตร (Dynamic Capability) จะเปนกระบวนการความซับซอน (Complex Process) ท่ีบงบอกถึงการเคล่ือนไหวอยูตลอดเวลาอันเนื่องมาจากการตอบสนองตอการเปลี่ยนแปลงของส่ิงแวดลอมทางธุรกิจท่ีเกิดข้ึนอยางรวดเร็วและตลอดเวลา อันกอใหเกิดความไดเปรียบเชิงการแขงขันในกลุมอุตสาหกรรมท่ีตองตอบสนองตอความเปลี่ยนแปลง อยางเชน ธุรกิจทางเทคโนโลยีหรือธุรกิจอื่น ๆ ท่ีตองควรหันมามองความสามารถเชิงพลวัตรขององคการโดยอาจผสมผสานรวมกับการสรางองคความรูขององคการ ตลาดแขงขันท่ีอยูบนความไมแนนอนมีการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วและตลอดเวลาแคผูออกแบบท่ีมีความรูอาจไมเพียงพอ ผูออกแบบน้ันคงตองมีพรสวรรคเพ่ือรับรูและตอบสนองตอการเปลี่ยนแปลงไดตลอดเวลา

********************

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

10

รายการอางอิง Barney, J.B. (1991). Firm resources and sustained competitive advantage. Journal of Management.

Mar.17(1): 99. Barney, J.B. and Zajac, E.J. (1994). Competitive Organizational Behavior: Toward on organizationally.

Strategic Management Journal. 15:5 Barney, J.B. & Wright, P.M. (1998). On becoming a strategic partner: The role of human resources in

gaining competitive advantage. Human Resource Management. 37(1): 31. Bollinger, A. & Smith, R.D. (2001). Managing organizational knowledge as a strategic asset. Journal of

Knowledge Management. 5(1): 8-18. Carpon, L. & John, H. (1999). Redeployment of brands, sales forces, and general marketing management

expertise following horizontal acquisition: A resource-based view. Journal of Marketing. 63: 41-54.

Cavusgil, E.&Seggie, S.H.&Talay, M.B. (2007). Dynamic capabilities view: Foundations and research agenda. Journal of Marketing Theory and Practice.15(2): 159.

Chandler, G.N., and Hanks, S.H. (1994). Marketing attractiveness, resource-based capabilities, venture strategies, and venture performance. Journal of Business Venturing. Jul 9(4): 331

Clulow,V. & Barry, C. & Gerstman, J. (2007). The resource-based view and value : the customer-based view of the firm. Journal of European Industrial Training. 13 (1): 19-35.

Conner,& Kathleen, R. &Prahalad, C.K. (1996). A resource-based theory of the firm: Knowledge versus opportunism. Organization Science. 7(5): 477-501.

Daniel, E.M. & Wilson, H.N. (2003). The role of dynamic capabilities in e-business transformation. European Journal of Information Systems. 12: 282-296.

Eisenhardt, K.M. & Martin, J.A. (2000). Dynamic Capabilities : What are they?. Strategic Management Journal. 21 (10/11): 1105

Fahy, J. & Smithee,A. (1999). The Strategic Marketing and the Resource Based View of the Firm. Academy of Marketing Science Review. 10

Fahy, J. (2000). The resource-based view of the firm: some stumbling blocks on the road to understanding sustainable competitive advantage. Journal of European Industrial Training. 24: 94-104.

Finney, R.Z et al. (2008). Market pioneers, late movers, and the resource-based view (RBV): A conceptual model. Journal of business Research. 61 (9): 925.

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

11

Foss, N. (1997). The Resource-based View : Original concepts. Resources, firms, and strategies. Grant, R.M. (1991). The resource-based theory of competitive advantage: Implication for strategy.

California Management Review, 33(3), 114 Grant, R.M. (1996). Toward a knowledge-based theory of the firm. Strategic Management Journal.

17(winter): 109-122. Gilbert, X., and Strebel, P. (1989). From Innovation to outpacing. Business Quarterly (1986-1998),

54(1), 19. Preble, J.F., and Hoffman, R.C. (1994). Competitive Advantage through specialty franchising. Journal of

Service Marketing, 2, 5-18 Hoffman, N.P., (2000). An Examination of the “sustainable competitive advantage” concept: Past,

Present, and Future. Academy of Marketing Science Review. 1. Kaleka, A. (2002). Resources and Capabilities driving competitive advantage in export market:

Guidelines for industrial exporters. Industrial Marketing Management. Apr.31(3): 273 Kogut, B. & Zander, U. (1992). Knowledge of the Firm, Combinative Capabilities, and the Replication of

Technology. Organization Science. 3: 383-397 Kor, Y.K. & Mahoney, J.T. (2004). Edith Penrose’s (1959) Contributions to the Resource-based View of

Strategic Management, Journal of Management Studies. 41: 183 Lopez, S.V. (2005). Competitive advantage and strategy formulation: The key role of dynamic

capabilities. Management decision. 43(5/6): 661. Lorenzoni, G. & Lipparini, A. (1999). The leveraging of interfirm relationships as a distinctive

organizational capability: A longitude study. Strategic Management Journal. 20: 318-338. Mahoney, J.T. (2001). A resource-based theory of sustainable rents. Journal of management. 27: 651-

660. McEvily, S.K. & Chakravarthy, B. (2002). The persistence of knowledge-based advantage: An empirical test for product performance and technological knowledge. Chichester. 23(4): 285.

Moustaghfir, K. (2008). The dynamics of knowledge assets and their link with firm performance. Measuring Business Excellence. 12(2): 10-24.

Morgan, N.A., Kaleka, A., and Katsikeas, C.S. (2004). Antecedents of Export venture performance: A theoretical model and empirical assessment. Journal of Marketing. 68(1): 90

Moingeon, B. & Bernard, R. & Emmanuel, M. & Douglas, O.J. (1998). Another look at strategy-structure relationships: the resource-based view. European Management Journal. 16(3): 297-305.

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

12

Nielsen, A.P. (2006). Understanding dynamic capabilities through knowledge management. Journal of Knowledge Management. 10(4): 59-71.

Nonaka,I.&Toyama, R.&Nagata, A. (2000). A firm as a knowledge-creating entity: A new perpective on the theory of the firm. Industrial and Corporate Change. 9(1): 1.

Osterloh, M. & Frost, J. (2000). Motivation in a Knowledge-Based Theory of the Firm. Priem, R.L. (2001). The business-level RBV: Great wall or Berlin wall?. Academy of Management. 26(4): 499.

Prieto, I.M. & Smith, M.E. (2006). Dynamic capabilities and the role of organizational knowledge: an exploration. European Journal of Information Systems. 15: 500-510.

Prieto I.M., and Revilla, E. (2006). Assessing the impact of learning capability on business performance: empirical evidence from Spain. Management Learning. 37(4): 499.

Riordan, C.O. (2006). Using the VRIO framework in practicing firms taking the resource-based view (RBV). Accountancy Ireland.38:3

Teece,D.J. & Pisano, G. & Shuen, A. (1997). Dynamic capabilities and strategic management. Strategic Management Journal. 18(7): 509.

Wernerfelt, B. (1984). A Resource-based view of the firm. Strategic Management Journal. 5: 171-180. ********************

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

13

รูปแบบการพัฒนาสมรรถนะประจําสายงานครูผูสอนในสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน* มานิตย นาคเมือง**

ดร.มานิตย ไชยกิจ, ศ.(พิเศษ) ดร.กาญจนา เงารังสี, ดร.อนุชา กอนพวง***

บทคัดยอ จุดมุงหมายของการวิจัยนี้ เพื่อพัฒนารูปแบบการพัฒนาสมรรถนะประจําสายงานครูผูสอนในสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน การดําเนินการวิจัยมี 4 ข้ันตอนคือ ข้ันตอนที่ 1 การสรางรูปแบบฯ ข้ันตอนที่ 2 การตรวจสอบรูปแบบฯ โดยการสัมภาษณผูเชี่ยวชาญ ข้ันตอนที่ 3 การทดลองใชรูปแบบฯ ในสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน ข้ันตอนที่ 4 การประเมินรูปแบบ ฯ โดยสอบถามความคิดเปนของผูรวมทดลองใชรูปแบบ ฯ ผลการวิจัยพบวา 1. รูปแบบการพัฒนาสมรรถนะประจําสายงานครูผูสอนในสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน แบงออกเปน3 สวน ไดแก สวนที่ 1 สมรรถนะประจําสายงานครูผูสอน มี 5 สมรรถนะ คือ สมรรถนะการจัดการเรียนรู สมรรถนะการพัฒนาผูเรียน สมรรถนะการบริหารจัดการชั้นเรียน สมรรถนะการ วิเคราะห สังเคราะหและวิจัย และสมรรถนะการทํางานรวมกับชุมชน สวนที่ 2 หลักการในการพัฒนาสมรรถนะประจําสายงานครูผูสอน มี 5 หลักการ คือ หลักการมีสวนรวมของผูรับการพัฒนา หลักการเรียนรูของผูใหญ หลักการสนองความตองการของผูรับการพัฒนา หลักการความยืดหยุนนของกระบวนการและวิธีการพัฒนา และหลักการความแตกตางระหวางบุคคล สวนที่ 3 กระบวนการพัฒนาสมรรถนะประจําสายงานครูผูสอน มี 5 ข้ันตอน คือ การสรางความตองการในการพัฒนา การวิเคราะหความตองการในการพัฒนา การวางแผนการพัฒนา การดําเนินการพัฒนา และการประเมินผลการพัฒนา 2. ผลการตรวจสอบรูปแบบการพัฒนาสมรรถนะประจําสายงานครูผูสอนโดยการสัมภาษณผูเชี่ยวชาญ พบวา องคประกอบของสมรรถนะประจําสายงานครูผูสอน มีความเหมาะสมและความเปนไปไดในระดับมาก ดานหลักการในการพัฒนาสมรรถนะประจําสายงานครูผูสอน มีความเหมาะสมและความเปนไปไดในระดับมากเชนเดียวกัน สวนดานกระบวนการพัฒนาสมรรถนะประจําสายงนครูผูสอน มีความเหมาะสมและความเปนไปไดในระดับมากที่สุด 3. ผลการทดลองใชรูปแบบการพัฒนาสมรรถนะประจําสายงานครูผูสอนในสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน พบวา คณะครูผูเขารวมการทดลองใหความสนใจใชรูปแบบมาก และผลการประเมินสมรรถนะประจําสายงานครูผูสอนหลงัการทดลองใชรูปแบบฯ สูงกวาผลการประเมินกอนการใชรูปแบบฯ 4. ผลการประเมินรูปแบบการพัฒนาสมรรถนะครูผูสอนในสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน พบวา ดานความเปนประโยชนอยูในระดบัเปนประโยชนมาก และดานความถูกตองเฉลี่ยอยูในระดบัถกูตองมากที่สุด

คําสําคัญ: สมรรถนะประจําสายงานครูผูสอน / ความเหมาะสม/ ความเปนไปได/ความเปนประโยชน /ความถูกตอง

* ดุษฎีนิพนธการศึกษาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยนเรศวร พ.ศ. 2551 ** ผูอํานวยการโรงเรียนบานสองตาแล อ.ขานุวรลักษบุรี จ.กําแพงเพชร *** คณะกรรมการท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

14

The Functional Competency Development Model of Teacher in Basic School. Manit Nakmuang.

Dr.Manit Chaiyakit, Prof. Dr.Kanjana Ngaorungsri, Dr.Anucha Kornpoung

Abstract The purpose of this research were to develop the functional competency model of teachers in basic education school. The research followed the four-phase procedures: Phase 1 – drafting the functional competency development model of teachers in the basic educational schools. Phase 2 - examinig and inspecting the model of by interviewing the educational experts. Phase 3 – implementing the model with sample teachers in the basic education schools. Phase 4 - evaluating the model by teachers who participated in the model. The findings of the research were as follows: 1. Drafting the model was devided into 3 steps. The first step was to identify 5 function competencies of teachers in the basic educational schools namely (1) to manage learning process (2X to develop the learners (3) to manage the classroom (4) to analyze, to synthesize and to conduct research (5) to handle community relationship. The second step was to identify 5 development principles (1) The participation of teacher to be developed (2) the nature of adult learning (3) need satisfaction of teachers (4) flexibility of development process and method (5) individual differences of teachers. The third step was the process of development (1) to motivate the need of teachers (2) to analyze the need for development (5) to evaluate the development. 2. The examination and inspection of the model by interviewing educational experts revealed that the 5 functional competencies of teachers in the basic education schools were relevant and feasible in the high level. The principles of development were also relevant and feasible in the high level. The development process was relevant and feasible in the highest level. 3. The implementation of the model with the sample teachers revealed that the teachers were interested in the development model. The evaluation of teachers after the implementation was higher than before the implementation. 4. The evaluation of the functional competency development model of teachers in the basic education schools revealed that the usefulness and accuracy of the model were in high level.

Keyword; Functional competencies of teachers, the basic education school

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

15

ความสําคัญและที่มาของปญหา การศึกษาเปนเครื่องมือสําคัญในการพัฒนา คน ใหมีความเจริญงอกงามท้ังรางกาย สติปญญา อารมณ สังคมและคุณธรรมจริยธรรมหรือท่ีรวมเรียกวาใหเปน มนุษยโดยสมบูรณ สมด่ังเจตนารมณแหง พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติพุทธศักราช 2542 ท่ีผานมาแมรัฐจะมุงม่ันทุมเทในการพัฒนาการศึกษาเพื่อใหการศึกษาทําหนาท่ีอยางสมบูรณเพียงใดก็ตาม แตกลับปรากฏวามีดัชนีท่ีบงช้ีวาการศึกษาของประเทศไทยยังไมสามารถทําหนาท่ีในการพัฒนาคนของประเทศสมดังเจตนารมณดังกลาว เชน ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาระดับชาติ (National Education test ; N.T.) และผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพื้นฐาน (O-net) ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 และช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 6 พบวาไมมีช้ันใดเลยท่ีไดคะแนนเฉล่ียเกินกวาครึ่งของคะแนนเต็ม และผลการประเมินคุณภาพภายนอกสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน ของสํานักงานรับรองคุณภาพและประเมินมาตรฐานการศึกษา (สมศ.) ในการประเมินรอบแรก(พ.ศ. 2544 – 2548) พบวา มีสถานศึกษาท่ีมีผลการประเมินอยูในระดับพอใชและระดับปรับปรุง จํานวน 17,433 โรงเรียน หรือคิดเปนรอยละ 65.58 ของโรงเรียนท่ีไดรับการประเมินท้ังหมด และผลการประเมินมาตรฐานดานครู พบวา ดานความสามารถของครูในการจัดการเรียนการสอนโดยเฉพาะการสอนโดยยึดผูเรียนเปนสําคัญรอยละ 69.90 อยูในระดับพอใชและระดับตองปรับปรุง (สํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา : 2550) รวมท้ังผลการวิจัยของ นภดล กรรณิกา (2548 :1) ท่ีศึกษาสภาพปญหาของเด็กและเยาวชนไทยจํานวน 13,674,958 คน พบวา ติดสุรา จํานวน 5,921,257 คน ติดบุหรี่ จํานวน 2,023,893 คน ติดการพนัน เฉพาะนักศึกษาในกรุงเทพฯ จํานวน 101,306 คน มีเพศสัมพันธกอนวัยอันควรและมีแนวโนมไปสูการขายบริการทางเพศ 472,575 คน ติดสารเสพติด ใชยาบา จํานวน 561,823 คน และหนีเรียนเปนประจํา 208,6527 คน จากขอมูลดังกลาวสะทอนใหเห็นวาการจัดการศึกษาท่ีผานมาไมสามารถพัฒนาสติปญญาของผูเรียนใหอยูในระดับท่ีตองการได ระบบบริหารจัดการและการจัดการเรียนการสอนยังไมมีคุณภาพเทาท่ีควร รวมท้ังผลผลิตของระบบการศึกษาคือพฤติกรรมผูเรียนยังมีปญหาอีกมากมาย ปจจัยท่ีสงผลตอการพัฒนาคุณภาพการศึกษามีหลายประการท้ังงบประมาณ วัสดุอุปกรณ การบริหารจัดการและท่ีสําคัญท่ีสุดคือครูและบุคลากรทางการศึกษาดังท่ี รุง แกวแดง (2543.หนา 124) กลาววา การปฏิรูปการศึกษาไมมีวันสําเร็จ หากไมมีการปฏิรูปครูและบุคลากรทางการศึกษา และโกวิท ประวาลพฤกษ (2542. หนา 91) กลาวไวเชนกันวาความสามารถของครูเปนตัวแปรสําคัญท่ีจะนําไปทํานายหรือคาดหมายคุณภาพของนักเรียนไดโดยตรง ครูท่ีมีความสามารถสูงยอมชํานาญในการจัดกิจกรรมใหนักเรียนลงมือกระทํา อันนําไปสูผลการเรียนท่ีแทจริง แตถาครูมีความสามารถต่ํา ก็เปนแตเพียงผูบอกความรู นักเรียนก็เกิด แตความรูความจํา มีนิสัยในการทองจํา คอยฟงคําบอกจากครู ตัดสินใจเองไมเปน นําไปสูคุณภาพประชากรท่ีไมเปนผูผลิตผลงาน นอกจากน้ี ประสาร มาลากุล ณ อยุธยา และคณะ(ม.ป.ป. หนา 5) ก็ไดกลาวไวสอดคลองกันวา การจัดการศึกษาใหแกเยาวชนจะมีคุณภาพเพียงใดน้ัน ปจจัยท่ีสําคัญอยางหนึ่งก็คือ คุณภาพการสอนของครู ถาหากครูมีความรูความสามารถในการจัดการเรียนการสอนเปนอยางดี

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

16

เยาวชนก็ยอมจะไดรับการศึกษาอยางมีคุณภาพ กลาวอีกนัยหนึ่งก็คือ หากครูมีสมรรถภาพในการปฏิบัติงานก็ยอมจะสามารถใหการศึกษาแกเยาวชนอยางมีคุณภาพ ในอดีตผูท่ีเปนครูจะไดรับ การยอมรับนับถือ และยกยองจากสังคมใหเปนปูชนียบุคลในฐานะท่ีเปนผูประสิทธิประสาทวิชาและทรงไวซึ่งความดีงาม แตในปจจุบันในภาวะท่ีสังคมมีความสลับซับซอนภาพลักษณของครูทางสังคมตกตํ่าลง อันเนื่องมาจากหลายสาเหตุ ท้ังปญหาเรื่องความรูความสามารถ ภาระหน้ีสิน คุณธรรมจริยธรรมและความประพฤติผิดทางเพศกับศิษย สวนดุสิตโพล (2548) ไดสํารวจดัชนีช้ีวัดความเช่ือมั่นครูป 2548 พบวา จุดดอยของครูไทยในสายตาประชาชนป 2548 คือ อันดับที่ 1 ครูมีจิตสํานึกนอยลง ขาดคุณธรรม ศีลธรรมจรรยาบรรณ อันดับที่ 2 มีเงินเดือนนอย/ใชจายไมประหยัด/เปนหนี้สิน รายรับไมพอกับรายจาย อันดับที่ 3ไมใหความสําคัญกับเด็ก/ไมใหอภัย/ไมยุติธรรมเทาท่ีควร อันดับที่ 4 ขาดการพัฒนาความรู ความสามารถ และขาดความคิดสรางสรรคซึ่งสอดคลองกับ มนตรี จุฬาวัฒนฑล (2545 หนา 30) ท่ีไดทําการวิจัยเรื่อง นโยบายการผลิตและพัฒนาครู ผลการวิจัยพบวา ลักษณะปญหาท่ีพบในการผลิตและพัฒนาครู คือ ขาดคนท่ีมีความสามารถมาเรียนครูและ ปญหาเกี่ยวกับการขาดระบบพัฒนาครูท่ีมีประสิทธิภาพ คือในการพัฒนาครูมักจะใชวิธีการประชุมสัมมนาแบบเขมท่ีใชเวลา 3-5 วันโดยใหครูท้ิงหองเรียนมาเขารับการพัฒนา ขอมูลดังกลาวสะทอนใหเห็นวา แมหลายฝายพยายามพัฒนาการศึกษาเพ่ือใหเปนเครื่องมือในการพัฒนาพลเมืองใหมีคุณภาพเพียงใดก็ตาม แตคุณภาพการศึกษาของประเทศไทยยังอยูในระดับท่ีไมเปนไปตามท่ีทุกฝายมุงหวัง โดยปจจัยหนึ่งท่ีสงผลตอคุณภาพการศึกษาโดยตรงคือคุณภาพของครูผูสอน ท่ีท้ังจากการสํารวจความคิดเห็นของประชาชนจากสํานักตาง ๆ การวิจัยและความเห็นของนักวิชาการ มีความเห็นตรงกันวาปจจุบัน ครูมีความรูความสามารถ คุณธรรม และจริยธรรมตํ่า อันเปนผลมาจากกระบวนการผลิตของสถาบันผลิตครูและการพัฒนาของหนวยงานตนสั ง กัดของครูผู สอน กระทรวงศึกษาธิการและหนวยงานตาง ๆ ไดพยายามอยางยิ่งท่ีจะยกระดับวิชาชีพครูใหเปนวิชาชีพช้ันสูง เชนมีการตราพระราชบัญญัติเงินเดือนและเงินประจําตําแหนงขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 2547 ซึ่งเปนครั้งแรกท่ีขาราชการครูมีกฎหมายเงินเดือนเปนของตนเอง โดยไมตองใชบัญชีเงินเดือนรวมกับขาราชการพลเรือน รวมท้ังการยกยองเชิดชูเกียรติครู เชน ครูตนแบบ ครูแหงชาติ และครูตนแบบการปฏิรูปการศึกษาเปนตน เพื่อเปนส่ิงจูงใจใหครูมีการพัฒนาตนเองใหมีคุณภาพเพื่อเปนกําลังสําคัญในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของชาติ รวมท้ังบทบัญญัติในรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540 พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 พระราชบัญญัติระเบียบขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2547 พระราชบัญญัติสภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2547 ยุทธศาสตรการพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน ใหมีการจัดระบบพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา โดยมุงหวังวาเม่ือครูและบุคลากรทางการศึกษาไดรับการพัฒนาจนมีความรู ความสามารถ ทักษะและคุณธรรมแลวยอมเปนพลังสําคัญในการพัฒนาคุณภาพการเรียนรูของนักเรียนใหสูงข้ึน

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

17

ผูวิจัยในฐานะเปนผูบริหารสถานศึกษาสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานซ่ึงมีหนาท่ีโดยตรงในการพัฒนาบุคลากรรวมท้ังการประเมินเพื่อใหครูมีหรือเลื่อนวิทยฐานะพิจารณาเห็นวาท้ังสมรรถนะหลักและสมรรถนะประจําสายงานของครูผูสอนยอมสงผลตอการปฏิบัติหนาท่ีของขาราชการครูดังกลาว แตสมรรถนะประจําสายงานจะสงผลตอผูเรียนโดยตรง หากสถานศึกษามีการพัฒนาสมรรถนะประจําสายงานของขาราชการครูกลุมน้ีดวยรูปแบบท่ีมีประสิทธิ์ภาพและประสิทธิผล ยอมสงผลตอการพัฒนาคุณภาพผูเรียนโดยตรงและในขณะเดียวกันขาราชการครูดังกลาวยังมีโอกาสผานการประเมินเพ่ือเลื่อนวิทยฐานะใหสูงข้ึนดวย ดวยเหตุแหงความสําคัญของครูในฐานะท่ีเปนปจจัยหลักของการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและปญหาในเรื่องคุณภาพของครู รวมท้ังเหตุผลเกี่ยวกับการประเมินเพื่อเลื่อนวิทยฐานะของขาราชการครู ดังกลาว ผูวิจัยจึงมีความสนใจท่ีจะศึกษาและสรางรูปแบบการพัฒนาสมรรถนะประจําสายงานของครูผูสอนในสถานศึกษาข้ันพื้นฐานท่ีเหมาะสมสอดคลองกับความตองการของครูและสถานศึกษาเพ่ือใหครูสามารถพัฒนาคุณภาพของนักเรียนใหมีคุณภาพตามความคาดหวังของ ทุกฝายตอไป

จุดมุงหมายของการวิจัย การวิจัยครั้งน้ีมีจุดมุงหมายเพ่ือพัฒนารูปแบบการพัฒนาสมรรถนะประจําสายงานของครูผูสอนในสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน โดยมีจุดมุงหมายเฉพาะดังน้ี 1. เพ่ือสรางรูปแบบการพัฒนาสมรรถนะประจําสายงานของครูผูสอนในสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน 2. เพ่ือตรวจสอบรูปแบบการพัฒนาสมรรถนะประจําสายงานของครูผูสอนในสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน 3. เพ่ือทดลองใชรูปแบบการพัฒนาสมรรถนะประจําสายงานของครูผูสอนในสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน 4. เพ่ือประเมินรูปแบบการพัฒนาสมรรถนะประจําสายงานครูผูสอนในสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน

กรอบแนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวของ ผูวิจัยไดศึกษาเอกสาร ตํารา วารสารและงานวิจัยท่ีเกี่ยวของกับครูผูสอน การพัฒนาบุคลากร การพัฒนาครูผูสอน สมรรถนะของครูผูสอน รูปแบบและการพัฒนารูปแบบเพื่อกําหนดเปนกรอบแนวคิดในการวิจัยดังรายละเอียดตอไปนี้ 1. กรอบสมรรถนะประจําสายงานครูผูสอน ใชสมรรถนะของสํานักงานคณะกรรมการขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา (ก.ค.ศ.) สมรรถนะของสถาบันพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา (ส.ค.บ.ศ.) และสมรรถนะของสํานักงานมาตรฐานวิชาชีพ สํานักงานเลขาธิการคุรุสภา ซึ่งผูวิจัยไดนํามาสังเคราะหรวมกันซึ่งประกอบดวย 5 สมรรถนะคือสมรรถนะการจัดการเรียนรู สมรรถนะการพัฒนาผูเรียน สมรรถนะการบริหารจัดการช้ันเรียน สมรรถนะการวิเคราะห สังเคราะหและการวิจัย และสมรรถนะการทํางานรวมกับชุมชน มาเปนกรอบในการวิจัยครั้งน้ี

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

18

2. กรอบการพัฒนาสมรรถนะครูผูสอนของสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน 2.1 สังเคราะหแนวคิด ของเทรเซย (Tracey, 1984) .โรสซาไรนด แอล โรกอฟฟ(Rosalind L. Rogff, 1987), แนดเลอร แอล (Nadler L, 1989), ชูเลอร เบนเทลและยังบลัด(Schuler, Bentell and Youngblood, 1989), รอทเวลล และคาซานาส (Rothwell and Kasanas, 1991)โกลดสไตน(Goldstein,1993) ควินและคณะ (Quin, et al,1996),แคสเตอรและจุง (Caster and Young, 2000) ไดกระบวนการพัฒนาประกอบดวย 4 ข้ันตอน คือ 1) การวิเคราะหหาความตองการจําเปนในการพัฒนา 2) การวางแผนพัฒนา ซึ่งประกอบดวย สมรรถนะท่ีตองพัฒนา เปาหมายในการพัฒนา เนื้อหาท่ีตองพัฒนา และวิธีการพัฒนา 3) การดําเนินการพัฒนา 4) การประเมินผลการพัฒนา 3. กรอบการสรางและพัฒนารูปแบบ ตามแนวคิดของวิลเลอร (Willer, 1967) ไอซเนอร (Eisner, 1976) ฮูเซ็นและโพสเตร็ทไวท (Husen and Postlethwaith, 1994) และสมาน อัศวภูมิ(2537) ไดสาระสําคัญในการสรางและพัฒนารูปแบบการพัฒนาครูผูสอนของสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน 4 ข้ันคือ 1) ข้ันศึกษาทฤษฎีเกี่ยวกับ สมรรถนะครูผูสอน และกระบวนการพัฒนาครู ผูสอน 2) ข้ันสรางรูปแบบพัฒนาสมรรถนะประจําสายงานครูผูสอนในสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน 3) ข้ันตรวจสอบความเหมาะสมของรูปแบบฯและ 4) ข้ันประเมินรูปแบบการพัฒนาครูผูสอนในสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน

ระเบียบวิธีวิจัย การวิจัยครั้งน้ีใชระเบียบวิธีวิจัยและพัฒนา 4 ข้ันตอน คือ ข้ันตอนท่ี 1 การสรางรูปแบบการพัฒนาสมรรถนะประจําสายงานของครูผูสอนฯ ข้ันตอนท่ี 2 การตรวจสอบรูปแบบการพัฒนาสมรรถนะประจําสายงานครูผูสอนฯ ข้ันตอนท่ี 3 การทดลองใชรูปแบบการพัฒนาสมรรถนะประจําสายงานครูผูสอนฯ ข้ันตอนท่ี 4 การประเมินรูปแบบการพัฒนาสมรรถนะประจําสายงานครูผูสอนฯ ประชากรและกลุมตัวอยาง ในการวิจัยครั้งน้ี มีประชากรและกลุมตัวอยางในแตละข้ันตอนของการวิจัยท่ีเกี่ยวของดังน้ี ข้ันตอนท่ี 2 การตรวจสอบรูปแบบ ผูใหขอมูลคือ ผูเช่ียวชาญ จํานวน 7 คน ประกอบดวย ผูอํานวยการหรือรองผูอํานวยสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ท่ีรับผิดชอบการพัฒนาครูและบุคลากร จํานวน 2 คน ผูบริหารสถานศึกษา จํานวน 2 คน นักวิชาการผูสอนในสถาบันอุดมศึกษาท่ีสอนวิชาการพัฒนาครูและบุคลากร จํานวน 2 คน นักวิชาการดานการวัดผลและวิจัย จํานวน 1 คน ข้ันตอนท่ี 3 การทดลองใชรูปแบบ ฯ ผูใหขอมูลไดแก ผูบริหารและคณะครูในโรงเรียนท่ีรวมทดลองใชรูปแบบฯ ข้ันตอนท่ี 4 การประเมินรูปแบบ ฯผูใหขอมูลไดแก ผูบริหารและคณะครูในโรงเรียนท่ีรวมทดลองใชรูปแบบฯ

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

19

เคร่ืองมือที่ใชในการวิจัย ข้ันตอนท่ี 1 การสรางสมรรถนะประจําสายงาน เครื่องมือท่ีใชเปน ตารางการสังเคราะห,การสรางกระบวนการพัฒนาฯ เครื่องมือเปนตารางสังเคราะห ข้ันตอนท่ี 2 การตรวจสอบรูปแบบฯ โดยการสัมภาษณผูเช่ียวชาญ เครื่องมือท่ีใชเปนคูมือการสัมภาษณผูเช่ียวชาญ ข้ันตอนท่ี 3 การทดลองใชรูปแบบฯ เครื่องมือท่ีใชเปนแบบประเมินสมรรถนะประจําสายงานครูผูสอน กอนและหลังการทดลองฯ ข้ันตอนท่ี 4 การประเมินรูปแบบฯ เครื่องมือท่ีใชเปนแบบประเมินรูปแบบการพัฒนาสมรรถนะประจําสายงานครูผูสอนในสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน การเก็บรวบรวมขอมูล ข้ันตอนท่ี 1 ผูวิจัยดําเนินการวิธีการวิเคราะห สังเคราะหจากเอกสาร ตํารา วารสารและสัมภาษณผูบริหารและผูเกี่ยวของกับการพัฒนาบุคลากรในโรงเรียนเทพศาลาประชาสรร ดวยตนเอง ข้ันตอนท่ี 2 ผูวิจัยจัดสงคูมือการสัมภาษณผูเช่ียวชาญลวงหนาไมนอยกวาหน่ึงสัปดาหและดําเนินการสัมภาษณผูเช่ียวชาญดวยตนเอง ข้ันตอนท่ี 3 ผูวิจัยนําแบบประเมินเก็บรวบรวมขอมูลจากผูรับการพัฒนา ผูอํานวยการโรงเรียนและเพื่อนรวมงานดวยตนเองท้ังกอนและหลังการพัฒนา ข้ันตอนท่ี 4 ผูวิจัยนําแบบประเมินรูปแบบ ฯ เก็บรวบรวมขอมูลจากคณะครูในโรงเรียนท่ีรวมทดลองใชรูปแบบดวยตนเอง การวิเคราะหขอมูลและสถิติทีใ่ช ข้ันตอนท่ี 1 วิเคราะหโดย การวิเคราะหเนื้อหา (Content Analysis) ข้ันตอนท่ี 2 ขอมูลจาการสัมภาษณผูเช่ียวชาญ วิเคราะหโดยใช คาเฉลี่ยเลขคณิต และคาสวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน ข้ันตอนท่ี 3 ขอมูลจากการประเมินสมรรถนะประจําสายงานครูผูสอน วิเคราะหโดยใช คาเฉลี่ยเลขคณิต และคาสวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน ข้ันตอนท่ี 4 ขอมูลจากประเมินรูปแบบ ฯ วิเคราะหโดยใช คาเฉลี่ยเลขคณิต และคาสวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน

สรุปผลการวิจัย การวิจัยครั้งน้ี สามารถสรุปผลการวิจัยดังน้ี

1. รูปแบบการพัฒนาสมรรถนะประจําสายงานครูผูสอนในสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน มีองคประกอบ 3 สวน คือ สวนท่ี 1 สมรรถนะประจําสายงานครูผูสอนในสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน มี 5 สมรรถนะ คือ (1) สมรรถนะการจัดการเรียนรู (2) สมรรถนะการพัฒนาผูเรียน (3) สมรรถนะการ

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

20

บริหารจัดการชั้นเรียน (4) สมรรถนะการวิจัย (5) สมรรถนะการสรางความรวมมือกับชุมชน สวนท่ี 2 หลักการของรูปแบบ ประกอบดวย 5 หลักการ คือ (1) หลักการการมีสวนรวมของผูรับการพัฒนา (2) หลักการการการพัฒนาตองสนองความตองการของผูรับการพัฒนาและสอดคลองกับนโยบายของหนวยงานท่ีเกี่ยวของ (3) หลักการความยืดหยุนของกระบวนการและวิธีการพัฒนาท่ีหลากหลาย (4) หลักการการเรียนเรียนรูของผูใหญ (5) หลักการความแตกตางระหวางบุคคล สวนท่ี 3 กระบวนการการพัฒนาสมรรถนะครูผูสอนประกอบดวย 5 ข้ันตอน คือ ข้ันตอนท่ี 1 การสรางความตองการในการพัฒนาสมรรถนะ ข้ันตอนท่ี 2 การวิเคราะหความตองการในการพัฒนาสมรรถนะ ข้ันตอนท่ี 3 การวางแผนพัฒนาสมรรถนะ ข้ันตอนท่ี 4 การดําเนินการพัฒนาสมรรถนะ ข้ันตอนท่ี 5 การประเมินผลการพัฒนาสมรรถนะ ดังแสดงในแผนภาพท่ี 1

แผนภาพท่ี 1 แสดงความสัมพันธขององคประกอบของรูปแบบการพัฒนาสมรรถนะประจาํสายงานครูผูสอนในสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน

รูปแบบการพัฒนาสมรรถนะประจําสายงานครูผูสอนในสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน

สวนที่ 2 หลักการของรูปแบบ

สวนที่ 3 กระบวนการพัฒนาสมรรถนะประจําสายงานครูผูสอน

ขอมูลยอนกลับ

สวนที่ 1 สมรรถนะประจําสายงานครูผูสอน

ข้ันตอนที่ 1 การสรางความตองการในการพัฒนา - สรางความตระหนัก - ความรู ความเขาใจ

ข้ันตอนที่ 2 การวิเคราะหความตองการในการพัฒนา - การประเมินสมรรถนะ - จัดทําขอมูลสมรรถนะ - จัดลําดับความจําเปนในการพัฒนา

ข้ันตอนที่4 การดําเนินการพัฒนา ข้ันตอนที ่3 การวางแผนพัฒนา - จัดทํารายละเอียดการพัฒนา - จัดทําแผนพัฒนาสมรรถนะรายบุคคล - จัดทําคํารับรองการพัฒนาสมรรถนะ - จัดทําแผนพัฒนา ร.ร.

ข้ันตอนที่ 5 การประเมินการพัฒนา - การประเมินสมรรถนะ - จัดทําขอมูลสมรรถนะ - รายงานการพัฒนาสมรรถนะ

รูปแบบการพฒันาสมรรถนะ การจัดการเรียนรู

รูปแบบการพฒันาสมรรถนะ การพัฒนาผูเรียน

รูปแบบการพฒันาสมรรถนะ การบริหารจัดการชัน้เรียน

รูปแบบการพฒันาสมรรถนะ การวิจัย

รูปแบบการพฒันาสมรรถนะ การทํางานรวมกับชุมชน

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

21

2. ผลการตรวจสอบรูปแบบการพัฒนาสมรรถนะประจําสายงานครูผูสอนในสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน การตรวจสอบรูปแบบการพัฒนาสมรรถนะประจําสายงานครูผูสอนในสถานศึกษา พบวา

1. องคประกอบโดยรวมของรูปแบบฯ พบวา มีความเหมาะสมเฉลี่ยอยูในระดับเหมาะสมมาก และมีความเปนไปไดเฉลี่ยอยูในระดับเปนไปไดมาก 2. การตรวจสอบรายละเอียดขององคประกอบ พบวา สวนท่ี 1 สมรรถนะประจําสายงานครูผูสอน มีความเหมาะสมเฉล่ียอยูในระดับเหมาะสมมาก และมีความเปนไปไดเฉลี่ยอยูในระดับเปนไปไดมาก สวนท่ี 2 หลักการการพัฒนาสมรรถนะประจําสายงาน มีความเหมาะสมเฉลี่ยอยูในระดับเหมาะสมมาก และมีความเปนไปไดเฉลี่ยอยูในระดับเปนไปไดมาก สวนท่ี 3 กระบวนการพัฒนาสมรรถนะประจําสายงานครูผูสอน ข้ันตอนท่ี 1 การสรางความตองการในการพัฒนาสมรรถนะ และ ข้ันตอนท่ี 2 การวิเคราะหความตองการในการพัฒนาสมรรถนะครูผูสอน พบวามีความเหมาะสมเฉลี่ยอยูในระดับเหมาะสมมากท่ีสุด และมีความเปนไปไดเฉลี่ยอยูในระดับเปนไปไดมากท่ีสุด ท้ังสองข้ันตอน สวนข้ันตอนท่ี 3 การวางแผนการพัฒนาสมรรถนะครูผูสอน พบวามีความเหมาะสมเฉล่ียอยูในระดับเหมาะสมมาก และมีความเปนไปไดเฉลี่ยอยูในระดับ เปนไปไดมาก และในข้ันตอนท่ี 4 การดําเนินการพัฒนาสมรรถนะครูผูสอน พบวา (1) สมรรถนะการจัดการเรียนรู พบวามีความเหมาะสมเฉล่ียอยูในระดับเหมาะสมมาก และมีความเปนไปไดเฉลี่ยอยูในระดับ เปนไปไดมาก (2) สมรรถนะการพัฒนาผูเรียน พบวามีความเหมาะสมเฉลี่ยอยูในระดับเหมาะสมมาก และ มีความเปนไปไดเฉลี่ยอยูในระดับ เปนไปไดมาก (3) สมรรถนะการบริหารจัดการช้ันเรียน พบวามีความเหมาะสมเฉลี่ยอยูในระดับเหมาะสมมาก และ มีความเปนไปไดเฉลี่ยอยูในระดับ เปนไปไดมาก (4) สมรรถนะการวิจัย พบวามีความเหมาะสมเฉลี่ยอยูในระดับเหมาะสมมากท่ีสุด และมีความเปนไปไดเฉลี่ยอยูในระดับ เปนไปไดมาก และ (5) สมรรถนะการทํางานรวมกับชุมชน พบวามีความเหมาะสมเฉลี่ยอยูในระดับมาก และมีความเปนไปไดเฉลี่ยอยูในระดับมากท่ีสุด สวนในข้ันตอนท่ี 5 การประเมินผลการพัฒนาสมรรถนะครูผูสอนพบวามีความเหมาะสมเฉลี่ยอยูในระดับเหมาะสมมากท่ีสุด และ มีความเปนไปไดเฉลี่ยอยูในระดับ เปนไปไดมากท่ีสุด สวนท่ี 4 แนวทางการจัดกิจกรรมการพัฒนาตามรูปแบบ พบวามีความเหมาะสมเฉลี่ยอยูในระดับเหมาะสมมาก และมีความเปนไปไดเฉลี่ยอยูในระดับเปนไปไดมาก 3. ผลการทดลองใชรูปแบบการพัฒนาสมรรถนะประจําสายงานครูผูสอนในสถานศึกษา ผูวิจัยนํารูปแบบท่ีผานการตรวจสอบโดยผูเช่ียวชาญไปทดลองใชในสถานศึกษาท่ีเขารวมทดลองผลการทดลอง พบวา ในทุกข้ันตอนไดรับความสนใจและการรวมกิจกรรมการพัฒนาดวยความเต็มใจและทําใหผลการประเมินสมรรถนะประจําสายงานครูผูสอนท่ีประเมินหลังการเขารวมทดลองสูงกวาผลการประเมินกอนการพัฒนา

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

22

4. ผลการประเมินรูปแบบการพัฒนาสมรรถนะประจําสายงานครูผูสอนในสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน ผลการประเมินรูปแบบการพัฒนาสมรรถนะประจําสายงานครูผูสอนในสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน พบวาดานความเปนประโยชนเฉลี่ยอยูในระดับ เปนประโยชนมาก เมื่อพิจารณารายดานพบวา ดานท่ีมีความเปนประโยชนสูงสุดอยูในระดับเปนประโยชนมากไดแก สมรรถนะการจัดการเรียนรู รองลงมาไดแกดานการวิเคราะหความตองการพัฒนา และดานองคประกอบของรูปแบบฯ ตํ่าสุดอยูในระดับเปนประโยชนปานกลาง และสมรรถนะการพัฒนาผูเรียนตํ่าสุดอยูในระดับเปนประโยชนปานกลาง

ดานความถูกตองเฉลี่ยอยูในระดับถูกตองมาก เมื่อพิจารณารายดานพบวา ดานท่ีมีความถูกตองสูงสุด ไดแก ดานการดําเนินการพัฒนาอยูในระดับถูกตองมาก รองลงมา ไดแก ดานการประเมินผลการพัฒนาอยูในระดับถูกตองมาก และดานการสรางความตองการในการพัฒนามีความถูกตองตํ่าสุดอยูในระดับถูกตองปานกลาง รองลงมาไดแกดาน สมรรถนะการพัฒนาผูเรียนอยูในระดับถูกตองปานกลาง

อภิปรายผลการวิจัย จากผลการวิจัย การสรางรูปแบบการพัฒนาสมรรถนะประจําสายงานของครูผูสอนในสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน ดังท่ีนําเสนอแลวนั้น มีประเด็นสําคัญท่ีควรนํามาอภิปราย 3 สวนดังน้ี 1) สมรรถนะประจําสายงานของครูผูสอน 2) หลักการพัฒนาสมรรถนะของครูผูสอน 3) กระบวนการพัฒนาสมรรถนะครูผูสอน ซึ่งผูวิจัยจะไดอภิปรายในแตละสวนโดยละเอียด ดังตอไปนี้ 1.สมรรถนะประจําสายงานครูผูสอน จากการสรางสมรรถนะประจําสายงานครูผูสอนในสถานเพื่อกําหนดเปนเนื้อหาของการพัฒนาของรูปแบบการพัฒนาครูผูสอนน้ัน ผูวิจัยไดนําสมรรถนะครูของหนวยงานท่ีมีหนาท่ีในการกําหนดมาตรฐานและพัฒนาครู 3 หนวยงานไดแก 1.สํานักงานคณะกรรมการขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา (ก.ค.ศ.) 2. สถาบันพัฒนาครู คณาจารยและบุคลากรทางการศึกษา (สค.บศ.) และ 3.สํานักงานเลขาธิการคุรุสภา มาสังเคราะหรวมกัน จึงไดสมรรถนะครูท่ีมีความครอบคลุมสมรรถนะของครูท่ีควรจะมี ผลการสังเคราะหไดสมรรถนะครู 5 สมรรถนะ แตละสมรรถนะประกอบดวยตัวบงช้ี ซึ่งเม่ือนําสมรรถนะและตัวบงช้ีท่ีไดมาพิจารณาโดยละเอียดแลวพบวา มีความคลายคลึงกับมาตรฐานตําแหนงของครูผูสอนท่ีกําหนดหนาท่ีท่ีตองปฏิบัติ เชนมาตรฐานตําแหนงครูผูชวย ดังตอไปนี้ หนาท่ีความรับผิดชอบ ปฏิบัติหนาท่ีหลักเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอน การสงเสริมการเรียนรู การพัฒนาผูเรียน ปฏิบัติงานทางวิชาการของสถานศึกษา พัฒนาตนเองและวิชาชีพ ประสานความรวมมือกับผูปกครอง บุคคลในชุมชนและสถานประกอบการเพ่ือรวมกันพัฒนาผูเรียน การบริการสังคมดานวิชาการ และปฏิบัติหนาท่ีอื่นตามท่ีไดรับมอบหมาย

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

23

ลักษณะงานท่ีปฏิบัติ 1) ปฏิบัติงานเก่ียวกับการจัดการเรียนการสอน และสงเสริมการเรียนรูของผูเรียน ดวยวิธีการท่ีหลากหลาย โดยเนนผูเรียนเปนสําคัญ 2) จัดอบรมสั่งสอนและจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาผูเรียนใหมีคุณลักษณะท่ีพึงประสงค 3) ปฏิบัติงานวิชาการของสถานศึกษา 4) ปฏิบัติงานเกี่ยวกับการจัดระบบดูแลชวยเหลือนักเรียน 5) ประสานความรวมมือกับผูปรกครองและบุคคลในชุมชนเพ่ือรวมกันพัฒนาผูเรียนตามศักยภาพ 6) ทํานุบํารุง สงเสริมศิลปวัฒนธรรม แหลงเรียนรู และภูมิปญญาทองถิ่น 7) ศึกษา วิเคราะห วิจัย และประเมินพัฒนาการของผูเรียนเพื่อนํามาพัฒนาการเรียนการสอนใหมีประสิทธิภาพยิ่งข้ึน 8) ปฏิบัติงานอื่นตามท่ีไดรับมอบหมาย ความสอดคลองระหวางมาตรฐานตําแหนง หนาท่ีความรับผิดชอบ กับสมรรถนะประจําสายงานครูผูสอนท่ีไดจากการสังเคราะหเพื่อเปนเนื้อหาของการพัฒนาของรูปแบบดังกลาว การพัฒนาสมรรถนะประจําสายงานจึงเสมือนเปนการพัฒนาการปฏิบัติหนาท่ีความรับผิดชอบของครูใหสามารถพัฒนาผูเรียนท้ังในทุกดาน ท้ังดานสติปญญา ดานรางกาย คุณธรรมความรับผิดชอบและดานสังคมโดยวิธีการท่ีหลากหลายและแสวงหาความรวมมือจากทุกฝายท้ังผูปกครอง องคกรชุมชน เอกชนในการรวมกันพัฒนาผูเรียนดงกลาว 2. หลักการพัฒนาสมรรถนะ จากผลการวิจัยไดหลักการในการพัฒนาซ่ึงเปนกรอบในการกําหนดกระบวนการ ข้ันตอนและวิธีการพัฒนาสมรรถนะ 5 หลักการ ไดแก 1) หลักการการมีสวนรวมของผูรับการพัฒนา 2) หลักการการเรียนรูของผูใหญ 3) หลักการความตองการของผูรับการพัฒนาและสอดคลองกับนโยบายของโรงเรียน 4) หลักการความยืดหยุนของกระบวนและความหลากหลายของวิธีการพัฒนาและ 5) หลักการความแตกตางระหวางบุคคล นั้นสอดคลองกับการจัดกิจกรรมการเรียนรูท่ัวไปเนื่องจากการพัฒนาสมรรถนะของครูนั้นเปนการเรียนรูอยางหน่ึงซ่ึงจะตองกําหนดเนื้อหา กระบวนการและวิธีการพัฒนาจึงมีความจําเปนตองกําหนดกรอบหรือขอบเขตการของการพัฒนา เพื่อมิใหมีการกําหนดกิจกรรมใดท่ีผิดเพ้ียนจากกรอบท่ีกําหนด ซึ่งแตละหลักการมีขออภิปรายดังน้ี 2.1 หลักการการมีสวนรวมในการพัฒนา เนื่องจากการมีสวนรวมมีความสําคัญและจําเปนอยางมากในดําเนินการในทุก ๆ ประการโดยเฉพาะการทํางานรวมกันเพราะมีผลในทางจิตวิทยาเปนอยางยิ่ง กลาวคือผูท่ีเขามามีสวนรวมยอมเกิดความภาคภูมิใจท่ีไดเปนสวนหนึ่งของการดําเนินการ ความคิดเห็นถูกรับฟงและนําไปปฏิบัติและท่ีสําคัญผูท่ีมีสวนรวมจะมีความรูสึกเปนเจาของกิจกรรมหรือการดําเนินการน้ัน ๆ ความรูสึกเปนเจาของจะเปนพลังในการขับใหการดําเนินการน้ัน ๆ ประสบความสําเร็จสูงสุด การพัฒนาครูในอดีตท่ีผานมาสวนใหญเกิดข้ึน

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

24

เพราะเปนความตองการของหนวยงานตนสังกัดหรือผูมีอํานาจเปนผูกําหนดข้ึนจึงขาดการมีสวนรวมในการของผูรับการพัฒนา ผูรับการพัฒนาจึงเปนแตเพียงสวนหนึ่งของการพัฒนาท่ีปฏิบัติตามคําส่ังใหกระทําหรือไมกระทําตามกิจกรรมท่ีถูกกําหนดไวแลวลวงหนา ดังน้ันการพัฒนาครูท่ีผานมาจึงเปนปญหาหน่ึงของการบริหารบุคลากรตลอดมาซ่ึงสอดคลองกับผลการวิจัยของ มนตรี จุฬาวัฒนดล (2543) ท่ีพบวา ปญหาการพัฒนาครูคือ การพัฒนาท่ีไมตรงกับความตองการของครู และขาดการมีสวนรวมของครูและทําใหครูตองท้ิงหองเรียนมาเขารับการพัฒนาครั้งละหลาย ๆ วัน ปญหาดังกลาวทําใหการพัฒนาครูท่ีผานมาไมประสบผลสําเร็จตามท่ีคาดหวัง ในการวิจัยครั้งน้ีผูวิจัยจึงกําหนดหลักการการมีสวนรวมของผูรับการพัฒนาเปนหลักการสําคัญเพื่อใหครูผูเขารวมพัฒนามีสวนรวมคิด รวมดําเนินการในการกําหนดกิจกรรม วิธีการพัฒนาและใหมีความรูสึกเปนเจาของการพัฒนาน้ัน ๆ ซึ่งสอดคลองกับ อุบลวรรณ สงเสริม (2545) ท่ีระบุวาครูตนแบบสวนใหญสนใจพัฒนาตนเองโดยการหาความรูเพิ่มเติมและพัฒนาการจัดกิจกรรมของตนเอง และเพื่อนครู รวมท้ังผูบริหารของโรงเรียนก็จะสนใจท่ีจะรวมมือสนับสนุนและสงเสริมการทํางานของครูตนแบบดวย ขอคนพบประการหน่ึงในการนํารูปแบบการพัฒนาสมรรถนะครูไปทดลองใชในโรงเรียนบานสองตาแล ซึ่งเปนโรงเรียนท่ีรวมทดลองใชรูปแบบฯ โดยเปดโอกาสใหครูไดมีสวนรวมในกิจกรรมทุกข้ันตอนน้ัน พบวาคณะครูจะใหความรวมมือในการดําเนินการอยางดียิ่งและรับผิดชอบในส่ิงท่ีกลุมของตนมอบหมายใหปฏิบัติ ถึงแมวาจะมีงานอื่นตองรับผิดชอบมากอยูแลวก็ตาม 2.2 หลักการเรยีนรูของผูใหญ เนื่องจากการพัฒนาสมรรถนะครูผูสอนเปนการจัดการการพัฒนาเพ่ือใหครูมีความรู ทักษะจนสามารถแสดงออกถึงผลการปฏิบัติงานท่ีโดดเดน ซึ่งเปนพัฒนาการเรียนรูใหกับครูซึ่งเปนผูอยูในวัยผูใหญ จึงมีความจําเปนตองนําแนวคิดและทฤษฎีการเรียนรูสําหรับผูใหญมากําหนดเปนหลักการในการจัดกิจกรรมเพื่อใหการพัฒนาเกิดประสิทธิภาพสูงสุดในอันท่ีจะทําใหครูมีสมรรถนะสูงข้ึนซ่ึงหลักในการจัดการเรียนรูสําหรับผูใหญนั้นมีนักวิชาการเสนอไวหลายทาน ซึ่งพอสรุปได ดังน้ี 1) ตองสรางแรงจูงใจในการพัฒนาใหเกิดข้ึนในการดําเนินการพัฒนา 2) ตองมีการสรางและเตรียมความพรอมในการเรียนรู 3) เปดโอกาสใหผูรับการพัฒนามีสวนรวมในการพัฒนาใหมากท่ีสุด 4) จัดกิจกรรมใหมีการปฏิสัมพันธกันระหวางผูเขารับการพัฒนาดวยกันดวยกิจกรรมท่ีเหมาะสม 5) ใหทราบความกาวหนาในพัฒนาการของตนเองเปนระยะ ในการทดลองใชรูปแบบการพัฒนาสมรรถนะประจําสายงานครูผูสอนในโรงเรียนท่ีรวมทดลองน้ี ผูวิจัยสังเกตเห็นความแตกตางระหวางการฝกอบรมท่ัวไปกับการพัฒนาสมรรถนะในครั้งน้ี คือ คณะครูจะรวมกิจกรรมการพัฒนาอยางมีความสุข ไมรูสึกกดดันแตมีความพยายามศึกษาในเรื่องท่ีตนและกลุมกําหนดข้ึน ซึ่งอาจเปนเพราะในการพัฒนาครั้งน้ีไดนําหลักการเรียนรูสําหรับผูใหญมาใชอยางเครงครัด

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

25

3. กระบวนการพัฒนา กระบวนการพัฒนาสมรรถนะซึ่งเปนข้ันตอนและวิธีการพัฒนาสมรรถนะในการวิจัยครั้งน้ีประกอบดวย 5 ข้ันตอน คือ 1) การสรางความตองการในการพัฒนา 2) การวิเคราะหความตองการในการพัฒนา 3) การวางแผนพัฒนา 4) การดําเนินการพัฒนา และ 5) การประเมินผลการพัฒนา ซึ่งสามารถอภิปรายผลไดดังน้ี 3.1 การสรางความตองการในการพัฒนา เนื่องจากการพัฒนาสมรรถนะครูครั้งน้ีเปนการเรียนรูแบบหนึ่งและเปนการเรียนรูสําหรับครูท่ีอยูในวัยผูใหญ เพื่อใหการจัดกิจกรรมการเรียนรูท่ีมีประสิทธิภาพสูงสุดจึงนําหลักการเรียนรูสําหรับผูใหญมาใช ซึ่งกําหนดไวประการหน่ึงคือ ผูใหญจะเรียนรูไดดีเมื่อเกิดความตองการท่ีจะเรียนรู ดังน้ีผูวิจัยจึงนําหลักการดังกลาวมากําหนดเปนข้ันตอนการสรางความตองการในการพัฒนาโดยมีกิจกรรมการใหความรูความเขาใจในเรื่องความจําเปนในการพัฒนา ประโยชนท่ีจะไดรับจากการพัฒนา เพื่อใหเกิดความความตระหนักและความตองการในการพัฒนา ซึ่งจะทําใหการพัฒนาเกิดประสิทธิภาพสูงสุด ซึ่งสอดคลองกับทฤษฎีการเรียนรูของ Constructionist ของ papert ท่ีกลาววา การเรียนรูของบุคคลจะเกิดข้ึนไดดีนั้น บุคคลน้ันจะตองมีความสนใจตองการท่ีจะเรียนรูและตองลงมือกระทําดวยตนเอง นอกจากน้ี ผลการวิจัยของ มนตรี จุฬาวัฒนดล (2543) พบวา การพัฒนาครูเกิดจากการกําหนดจากหนวยงานตนสังกัดและผูบริหารระดับสูงไมไดเกิดจากความตองการในการพัฒนาของครูผูรับการพัฒนา จึงทําใหการพัฒนาไมเปนไปตามจุดมุงหมายท่ีกําหนดไว ดังน้ีเพื่อใหการพัฒนาครูตามรูปแบบน้ีเกิดประสิทธิภาพสูงสุดผูวิจัยจึงกําหนดใหมีการสรางความตองการในการพัฒนา เปนข้ันตอนแรกของรูปแบบดังกลาว

ขอเสนอแนะ ขอเสนอแนะเชิงการบริหาร

ในการนํารูปแบบการพัฒนาสมรรถนะประจาํสายงานครูผูสอนในสถานศึกษาข้ันพื้นฐานไปใชนั้น มีขอควรปฏิบัติดังน้ี 1. ควรศึกษารูปแบบ ฯ ใหมีความรูและเขาใจถึงโครงสรางและหลักการและวิธีการในแตละข้ันตอน 2. ควรมีการปฏิบัติตามข้ันตอนของรูปแบบอยางครบถวน ไมควรขามข้ันตอนเพราะจะสงผลตอการพัฒนาในข้ันตอไป 3. ควรนําหลักการของรูปแบบมาใชอยางครบถวนเชน หลักการมีสวนรวมของผูรับการพัฒนาเพราะจะกอใหเกิดความรวมมืออยางจริงจัง เปนตน ขอเสนอแนะเชิงการวิจัย ควรมีการศึกษาวิจัยเพื่อสรางรปูแบบการพัฒนาครูในดานอื่นท่ีจะสงผลตอการปฏิบัติหนาครูไดอยางมีประสิทธิภาพ เชน การพัฒนาความรับผิดชอบหรือสํานึกตอความเปนครู ความรักเมตตาตอศิษย เปนตน

********************

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

26

บรรณานุกรม ชูชัย สมิทธิไกร. (2542). การฝกอบรมบุคลากรในองคการ. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพแหงจุฬาลงกรณ

มหาวิทยาลัย. ชูศรี พุทธเจริญ. (2542). บทบาทผูบริหารโรงเรียนในการพัฒนาจรรยาบรรณครูในสังกัดเทศบาล.

วิทยานิพนธ ศษ.ม., มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. นฤมล บุลนิม.(2542) การพัฒนาครูในภาวะการทํางานปกติ. วารสารวิทยาจารย กรุงเทพมหานคร: ไทย

วัฒนาพานิช. นิภา พงศวิรัตน. (2547). การเปรียบเทียบสมรรถนะการบริหารโดยใชโรงเรียนเปนฐานของโรงเรียน

มัธยมศึกษาในกรุงเทพมหานคร. ปริญญานิพนธ กศ.ด. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542, ราชกิจจานุเบกษา เลมท่ี 116,ตอนท่ี 74 ก (19 สิงหาคม 2542) : 15.

สมาน อัศวภูมิ. (2537) การพัฒนารูปแบบการบริหารการประถมศึกษาระดับจังหวัด. วิทยานิพนธ ปริญญาดุษฎีบัณฑิต จุฬาลงกรณมหาวิยาลัย.

อุบลวรรณ สงเสริม. (2545). ระดับการปฏิบัติงานของครูตนแบบภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภายหลังไดรับการคัดเลือกตามเกณฑของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ. วิทยานิพนธ กศ.ม., มหาวิทยาลัยขอนแกน.

Eisner, E. W.(1976). Education connoisseurship and criticism : Their form and function in Education evaluation . The Journal of aesthetic education. 10, 3 – 4 (July – oct) : 135 – 150.

Husen, T., and Postlethwaite, N.T., (1994). The international encyclopedia of education (2 ed.).Vol. 10. (pp. 6127 – 6132) New York : Pergamon Press.

********************

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

27

ยุทธศาสตรการบริหารจัดการความขัดแยงขององคการบริหารสวนตําบลจังหวัดชัยนาท* ชัยวัฒน ทรัพยรวงทอง**

ศ.ดร. ไพบูลย ชางเรียน***

บทคัดยอ การวิจัยครั้งน้ีมีวัตถุประสงคเพ่ือ 1. ศึกษายุทธศาสตรการบริหารจัดการความขัดแยงขององคการบริหารสวนตําบลในปจจุบัน 2. เพ่ือศึกษาปญหาและอุปสรรคในการบริหารจัดการความขัดแยงขององคการบริหารสวนตําบล และ 3. เพ่ือนําเสนอยุทธศาสตรการบริหารจัดการความขัดแยงขององคการบริหารสวนตําบล กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัยครั้งน้ี สําหรับการศึกษาในสวนแรกที่เปนการวิจัยเชิงคุณภาพ ประกอบดวย นักวิชาการ ผูกํากับนโยบาย กรรมการบริหาร สมาชิก พนักงานและลูกจางขององคการบริหารสวนตําบล จํานวน 29 คน และในสวนที่สองเปนการทดสอบยุทธศาสตรที่ไดกับกลุมตัวอยางที่เปนพนักงาน เจาหนาที่ ลูกจาง คณะผูบริหารและสมาชิกองคการบริหารสวนตําบล จังหวัดชัยนาทจํานวน 154 คน ที่ไดมาจากการสุมอยางงาย เครื่องมือที่ใชในการวิจัย ไดแก 1) การศึกษาคนควาเอกสาร (Documentary Study) 2) แนวทางการสัมภาษณเชิงลึก (In - depth Interview) 3) แบบสอบถามชนิดมาตราสวนประมาณคา 5 ระดับ จํานวน 17 ขอ มีคาความเที่ยงเทากับ .89 วิเคราะหขอมูลโดยการหา 2) สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล คือ คารอยละ คาเฉล่ีย คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะหความสัมพันธของตัวแปรอิสระที่ผลตอตัวแปรตาม โดยใชเทคนิคสมการพหุคูณ (Multiple Regression Analysis : MRA) การวิเคราะหสหสัมพันธพหุคูณ (Multiple Regression) ผลการศึกษาพบวา 1. ยุทธศาสตรการบริหารจัดการความขัดแยงขององคการบริหารสวนตําบลในปจจุบันมีความเหมาะสมและสอดคลองกับการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม 2. การบริหารจัดการความขัดแยงขององคการบริหารสวนตําบลประสบปญหาดานการปฏิบัติตามนโยบายที่ถูกกําหนดจากสวนกลาง 3. ยุทธศาสตรการบริหารจัดการความขัดแยงขององคการบริหารสวนตําบลมีความเหมาะสมท่ีรัฐจะกําหนดเปนนโยบายและสงเสริมการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหมในการบริหารจัดการความขัดแยงขององคการบริหารสวนตําบล โดยแบงเปน 3 ระดับ คือ ปองกันความขัดแยง แกไขความขัดแยง ฟนฟูไมใหเกิดความขัดแยง ซึ่งผูวิจัยใหช่ือวา “ธรรมจริยา”

คําสําคัญ: ยุทธศาสตรการบริหารจัดการความขัดแยง/องคการบริหารสวนตําบล *

* ดุษฎีนิพนธรัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต พ.ศ. 2551 ** สมาชิกสภาผูแทนราษฎรจังหวัดชัยนาท *** ศาสตราจารยประจําหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต (อาจารยท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ)

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

28

The Strategy of Conflict Management of Sub-district Administrative Organizations, Chainat Province.

Chaiwat Subroungthong

Prof. Dr. Phaibul Changrien

Abstract The purposes of this research were to study the problems and obstacles of conflict management in sub - district administrative organizations and to study conflict management strategy at the present. The scope of the research focused only on case study in Nong Saeng and Noen Kham sub-district administrative organizations, Chai Nat Province. Both cases were regarded as successful and fully accomplished, and received the reward from the Ministry of Interior for good governance management. The samples were the people who worked in sub-district administrative organization only (the leader, highly qualified people, committee, the member of council, governor, officer, and employer of Nong Saeng and Noen Kham sub - district administrative organizations). The following 3 methods were used to conduct the research: Documentary Study, In - depth Interview, Structured Questionnaire. The results showed that this conflict management strategy is suitable for the government to assign the policy and to support the new tendency of the conflict management strategy in 3 levels: to prevent, to rectify, and to eliminate the conflict. It is able to develop the limitations for conflict management strategy in sub-district administrative organizations, Chai Nat Province. The researcher named the 3 levels as “morality”.

Keywords: Strategy of Conflict Management/ Sub-district Administrative Organizations

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

29

ความสําคัญและที่มาของปญหา องคการบริหารสวนตําบลมีบุคคลท่ีเกี่ยวของหลายสวน เชน สมาชิก พนักงานเจาหนาท่ี ผูบริหาร ประชาชน ประกอบกับความแตกตางในสาขาอาชีพ ความรูความสามารถและวัฒนธรรมขนบธรรมเนียมประเพณี คานิยม ฉะน้ันการท่ีจะทําใหการปฏิบัติงานในองคการบริหารสวนตําบลเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล สนองตอบตอปฏิบัติหนาท่ีอยางแทจริงจะตองไดรับความรวมมือรวมใจจาก สมาชิก บุคลากร ผูบริหาร ประชาชนในพ้ืนท่ีเขามามีสวนรวมในการตรวจสอบและติดตามการปฏิบัติหนาท่ี รัฐไดพยายามพัฒนาปรับปรุงระบบงานขององคการบริหารสวนตําบลและติดตามการบริหารงานทุกระดับ และประชาชนในพ้ืนท่ีเปนคณะกรรมการรวมบางอยางน้ันก็เกิดปญหาเก่ียวกับการปฏิบัติงานในดานตาง ๆ ดังน้ันการศึกษาวิจัย “ยุทธศาสตรการบริหารจัดการความขัดแยงองคการบริหารสวนตําบลของจังหวัดชัยนาท” จึงเปนการแสวงหายุทธศาสตรการบริหารจัดการความขัดแยงขององคการท่ีเหมาะสมท่ีจะเปนประโยชนตอการบริหารงานในองคการบริหารสวนตําบลเปนอยางมาก

จุดมุงหมายของการวิจัย 1. เพ่ือศึกษายุทธศาสตรการบริหารจัดการความขัดแยงขององคการบริหารสวนตําบลในปจจุบัน 2. เพ่ือศึกษาปญหาและอุปสรรคในการบริหารจัดการความขัดแยงขององคการบริหารสวนตําบล 3. เพ่ือนําเสนอยุทธศาสตรการบริหารจัดการความขัดแยงขององคการบริหารสวนตําบล

กรอบแนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวของ ผูวิจัยศึกษาเอกสารและงานวิจัยท่ีเกี่ยวของ นํามาเปนกรอบความคิดในการวิจัย สรุปไดดังน้ี - แนวคิดพ้ืนฐานและทัศนะท่ีสําคัญเกี่ยวกับการบริหารและการจัดการ ดังท่ี คูนตซ แฮรโรลด (Koontz. Harold, 1968) ใหความหมายวา การบริหาร คือ การดําเนินงานใหบรรลุวัตถุประสงคท่ีกําหนดไว โดยอาศัยปจจัยท้ังหลายไดแก คน (Man) เงิน (Money) วัตถุสิ่งของ (Materials) เปนอุปกรณในการปฏิบัติงาน ปเตอร เอฟ ดรักเกอร (Peter F. Drucker. 1970) ใหความหมาย การบริหาร คือ ศิลปะในการทํางานใหบรรลุเปาหมายรวมกับผูอื่น โดยอาศัยคนอื่นเปนผูทําภายในสภาพองคการน้ัน ๆ และ วิรัช วิรัชนิภาวรรณ (2549) ใหความหมายวา การบริหาร หมายถึง การดําเนินงาน หรือการปฏิบัติงานใดๆ ของหนวยงานของรัฐ หรือ เจาหนาท่ีของรัฐ ท่ีเกี่ยวของกับ คน สิ่งของ และหนวยงาน โดยครอบคลุมเรื่องตางๆ เชน (1) การบริหารคน (Man) (2) การบริหารเงิน (Money) (3) การบริหารวัสดุอุปกรณ (Material) (4) การบริหารงานท่ัวไป (Management) และ (5) การบริหารจริยธรรม (Morality) - แนวคิดเก่ียวกับองคการ และการจัดองคการของรอบบินสและคูลเตอร (Robbins and Coulter. 2002) ใหความหมายวา องคการ หมายถึง เปนการจัดบุคคลเพ่ือใหบรรลุจุดมุงหมายเฉพาะอยาง หรือเปนระบบการจัดการท่ีออกแบบและดําเนินงานใหบรรลุวัตถุประสงคเฉพาะอยาง (Bateman and Snell. 1999)หรือเปนกลุมของบุคคลท่ีทํางานรวมกันเพื่อบรรลุเปาหมายเดียวกัน โครงสรางประกอบดวย องคการแบบ

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

30

ดั้งเดิม (Traditional organizations) และองคการแบบใหม (New organization) และวิรัช วิรัชนิภาวรรณ (2548) กลาววา จัดการ (manage) นิยมใชในภาคเอกชนหรือภาคธุรกิจซึ่งมีวัตถุประสงคในการจัดต้ังเพ่ือมุงแสวงหากําไร (profits) หรือกําไรสูงสุด (maximum profits) สําหรับผลประโยชนท่ีจะตกแกสาธารณะถือเปนวัตถุประสงครองหรือเปนผลพลอยได (by product) การจัดการ เปนกระบวนการหรือกระบวนการจัดการเกิดไดจากหลายแนวคิด เชน โพสคอรบ (POSDCORB) เกิดจากแนวคิดของ กูลิค ลูเทอร (Gulick Luther) และ เออรวิค ลินดอล (Urwick Lyndall) ประกอบดวยข้ันตอนการจัดการ 7 ประการ ไดแก การวางแผน (Planning) การจัดองคการ (Organizing) การจัดการคน (Staffing) การอํานวยการ (Directing) การประสานงาน (Coordinating) การรายงาน (Reporting) และการงบประมาณ (Budgeting) ขณะท่ีกระบวนการจัดการตามแนวคิดของ เฮ็นรี ฟาโยล (Henry Fayol) ประกอบดวย 5 ประการ ไดแก การวางแผน (Planning) การจัดองคการ (Organizing) การบังคับการ (Commanding) การประสานงาน (Coordinating) และการควบคุมงาน (Controlling) หรือรวมเรียกวา พอคค (POCCC) - แนวคิดเก่ียวกับความขัดแยง ดังท่ี โอเวน (Owen. 1991) กลาววา ธรรมชาติของความขัดแยง ในทฤษฎีการบริหารแบบดั้งเดิมมองวาความขัดแยงท่ีปรากฏชัดเจนน้ัน เกิดจากความลมเหลวภายในองคการ มีอคติ ลําเอียงมีการควบคุมดวยโครงสรางท่ีมั่นคงแข็งแรง แตขณะเดียวกันก็สามารถใชใหเปนประโยชนได เชอรเมอรฮอรน, ฮันท และออสบอรน (Schemerhorn. Hunt and Osborn. 2000) กลาววา ธรรมชาติของความขัดแยง เกิดข้ึนไดทุกเวลาระหวางสองฝายท่ีไมสามารถตกลงกันได จากกรณีศึกษาพบวาผูบริหารและคณะตองทําใหคนมีความสุขไปพรอมกับความขัดแยง ความเปลี่ยนแปลงกับความขัดแยงเปนของคูกัน - กระบวนการและกลไกลสงเสริมสันติวิธี ดังท่ี โคทม อารียา (2546) ไดกลาววา ความขัดแยงระดับบุคคลเปนเรื่องในดานจิตวิทยา และความเช่ือ ความศรัทธา ความขัดแยงระดับองคกร เปนเรื่องในดานวิทยาการบริหารจัดการ ความขัดแยงระดับประเทศ เปนเรื่องในดานสังคมวิทยาการเมืองการเมือง และกฎหมาย ระหวางประเทศจึงจําเปนตองศึกษาเรื่องสันติวิธีอยางจริงจัง เพราะเปนเรื่องสําคัญท่ีสงผลตอความสงบสุขของบุคคลและสังคม - การสงเสริมสันติวิธีเปนเรื่องใกลตัว ดังท่ี โคทม อารียา (2546) ไดกลาววา กระบวนการสงเสริมสันติวิธีสามารถเผยแพร นโยบายการจัดการความขัดแยงดวยสันติวิธี อยางกวางขวางได ดังน้ี 1. ศึกษาและปาวารนาตนวาจะยึดม่ันในสันติวิธี และเริ่มตน ในระดับบุคคลและระดับองคกร 2. ศึกษากรณีความขัดแยงระดับประเทศ สรางกระแสความคิดใหใชกระบวนการสันติวิธีอยางจริงจังเริ่มจากรับฟงความคิดเห็นซ่ึงกันและกัน การแสวงหาการคลี่คลายปญหาสูการชนะ-ชนะดวยกัน การคัดคานความรุนแรงไมวาจากฝายหน่ึงฝายใด เปนตน 3. เรียกรองใหมีการจัดต้ังองคกรอิสระมหาชน หรือองคกรก่ึงรัฐ ท่ีมีภารกิจสงเสริมสันติวิธีโดยเฉพาะ

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

31

- แนวคิดเก่ียวกับยุทธศาสตร มารไคส (Markides. 1999) ใหความหมาย ยุทธศาสตร (Strategy) คือ การเลือกตําแหนง (Position) ของการวางแผน บนหลักเปาหมาย และจะทําอยางไรใหมีประสิทธิภาพมากท่ีสุด - หลักธรรมจริยา พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ภูมิพลอดุลยเดช พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวรัชกาลปจจุบันของประเทศไทย พระองคไดทรงใชพระราชธรรมจริยาในการยุติวิกฤตการณของประเทศหลายตอหลายครั้ง (ปรีชา วัชราภัย. 2550) คือ 1. เปนตัวของตนเอง การกํากับตัวเองใหมีเสรีภาพทางความคิดสามารถหลุดพนจากแรงกดดันจากผูอื่น มีเสรีภาพท่ีจะคิดบนพ้ืนฐานขอมูลเหตุและผล มีจุดยืนหรือคานิยมท่ีตนเองเช่ือท่ีสุจริต และเสรีภาพในการท่ีจะตัดสินใจ 2. โปรงใส มีความเห็นถูกตอง แสดงความคิดเห็นหรือการปฏิบัติอยางตรงไปตรงมาโดยปราศจากส่ิงแวดลอมท่ีลอใจ 3. เคารพผูอื่น โดยเปนตัวของตัวเองไมบีบค้ันเบียดเบียนกระทําในส่ิงท่ีเปนโทษกับผูอื่น 4. มีความยุติธรรม เลือกตัดสินใจในการกระจายภาระและประโยชนตามความสามารถดวยความเหมาะสม 5. ยึดหลักผลประโยชนของสวนรวมและสังคมเปนสิ่งสําคัญสุด เสียสละทําใจใหเผื่อแผกวางขวาง ไมละโมบโลภ ไมเพงเล็งเอาแตจะได 6. ไมพูดเท็จ โกหกหลอกลวง เหลวไหลเพอเจอ หยาบคาย สอเสียด ยุยงสรางความแตกแยก พูดแตคําสุภาพนุมนวลควรฟงสงเสริมสามัคคีและท่ีสมาน กลาวแตคําสัตย พูดแตคําจริง มีเหตุมีผลมีสารประโยชนถูกกาลเทศะไมจงใจพูดใหผิดจากความจริงเพราะเห็นแกผลประโยชนใด ๆ 7. ไมประพฤติผิดลวงละเมิดในของรักของหวงแหนของผูอื่นไมขมเหงจิตใจ หรือทําลายลบหลูเกียรติและวงศตระกูลของกัน 8. ไมผูกพยาบาทอาฆาต ไมผูกใจแคนคิดรายมุงเบียดเบียน หรือเพงมองใหแงท่ีจะทําลาย ต้ังความปรารถนาดี แผไมตรี มุงใหเกิดประโยชนสุขแกกัน 9. การมีสวนรวม ของคนกลุมตาง ๆ ในการตัดสินใจรวมกัน 10. ความรับผิดชอบ เปนความรับผิดชอบตอตนเอง สังคม ประชาชน และประเทศชาติ

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

32

ระเบียบวิธีวิจัย การวิจัยครั้งน้ีเปนการคนหายุทธศาสตรการบริหารจัดการความขัดแยงขององคการบริหารสวนตําบลจังหวัดชัยนาท มีรายละเอียดดังน้ี ประชากรและกลุมตัวอยาง สวนแรกเปนการวิจัยเชิงคุณภาพผูวิจัยไดกําหนดผูใหขอมูลสําคัญ (Key Informants) คือ บุคคลซ่ึงมีหนาท่ีรับผิดชอบ หรือภารกิจท่ีเกี่ยวของกับองคการบริหารสวนตําบล ประกอบดวย นักวิชาการ ผูกํากับนโยบาย กรรมการบริหาร สมาชิก พนักงานและลูกจางขององคการบริหารสวนตําบล จํานวน 29 คน สวนท่ีสองเปนการวิจัยเชิงปริมาณเพ่ือทดสอบยุทธศาสตรท่ีไดจากกลุมตัวอยางท่ีเปนพนักงาน เจาหนาท่ี ลูกจาง คณะผูบริหารและสมาชิกองคการบริหารสวนตําบล จังหวัดชัยนาทจํานวน 154 คน เคร่ืองมือที่ใชในการวิจัย 1) การวิจัยเชิงเชิงคุณภาพเปนการศึกษาคนควาเอกสาร และแบบสัมภาษณเชิงลึก 2) การวิจัยเชิงปริมาณเปนแบบสอบถามชนิดมีโครงสราง การวิเคราะหขอมูล 1) ผูวิจัยไดนําขอมูลท้ังหมดมาดําเนินการตรวจสอบแบบสามเสาดานขอมูล (Data Triangulation) หลังจากน้ันนําทําการจัดกลุม เรียบเรียงขอมูล จัดลําดับตามเน้ือหาที่ตองการศึกษา วิเคราะหขอมูลโดยการวิเคราะหใหไดยุทธศาสตรการบริหารจัดการความขัดแยงขององคการบริหารสวนตําบลโดยประยุกตใชขอมูลท่ีรวบรวมมาไดผนวกรวมกับแนวคิด ทฤษฎีในดานการบริหารจัดการความขัดแยง ตลอดจนงานวิจัยท่ีเกี่ยวของ 2) สถิติท่ีใชในการวิเคราะหขอมูล คือ คารอยละ คาเฉลี่ย คาเบ่ียงเบนมาตรฐาน การวิเคราะหความสัมพันธของตัวแปรอิสระท่ีผลตอตัวแปรตาม โดยใชเทคนิคสมการพหุคูณ (Multiple Regression Analysis : MRA) การวิเคราะห Multiple Regression

สรุปผลการวิจัย ผลการวิจัยครั้งน้ีพบวา 1. การบริหารจัดการความขัดแยงขององคการบริหารสวนตําบลจังหวัดชัยนาทมีการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาลและเปนไปตามหลักทฤษฎีการบริหารจัดการเมื่อเกิดความขัดแยงผูบริหารและสมาชิกและผูท่ีเกี่ยวของเลือกใชวิธีการเจรจาโดยสันติหรือโดยการต้ังตัวแทนท่ีเปนคนกลางเขาไกลเกลี่ยรวมถงึการนําเขาท่ีประชุมองคการบริหารสวนตําบลเพื่อทําความเขาใจตอกันทุกฝายโดยระบบพื้นฐานของประชาธิปไตยมีการจัดการแบงหนาท่ีความรับผิดชอบท่ีชัดเจน ซึ่งผูปฏิบัติงานมีความเขาใจบทบาท หนาท่ีและมีความรับผิดชอบในการปฏิบัติงานในหนาท่ีของตนและมีการติดตามผลการดําเนินงานโดยผูปฏิบัติงานตองรายงานผลปฏิบัติงานและมีการประเมินผลการดําเนินงาน ตลอดจนปญหาอุปสรรคในการปฏิบัติงานตอผูบริหาร

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

33

2. สภาพปญหาและปริมาณปญหาความขัดแยงท่ีเกิดข้ึนกับผูท่ีเกี่ยวของกับองคการบริหารสวนตําบล พบวา ปญหาความขัดแยงท่ีเกิดข้ึนมีปริมาณนอยมาก จนถึงเกือบไมมีความขัดแยงท่ีเกิดข้ึนเลยในองคการบริหารสวนตําบล ซึ่งปญหาท่ีพบจากการวิจัย ไดแก 1) ผูบริหารและท่ีผูเกี่ยวขององคการบริหารสวนตําบล บางคนมีคานิยมในการทํางานเพ่ือมุงประโยชนสวนตนมากกวาสวนรวม ซึ่งอาจเปนการสรางความขัดแยงในการปฏิบัติหนาท่ีได และนําไปสูการขาดความสามัคคีหากสามารถดําเนินการเพื่อการไมแตกแยกอันจะกอทําใหเกิดการพัฒนาความเจริญไดดียิ่งข้ึนและสงเสริมการทํากิจกรรมรวมกันของสมาชิกองคการบริหารสวนตําบลและประชาชนไดเขาไปมีสวนรวมในการบริหารจัดการและการทํากิจกรรมรวมกันขององคการบริหารสวนตําบล ทําใหเกิดความรักความสามัคคีเกิดข้ึนในหมูขณะเพิ่มยิ่งข้ึน 2) ผูบริหารและท่ีผูเกี่ยวขององคการบริหารสวนตําบลสวนใหญมีความรูความเขาใจในบทบาทหนาท่ีความรับผิดชอบ ตอกฎระเบียบและขอบังคับเปนอยางดีและใชกฎระเบียบและขอบังคับการมีสวนรวมในการบริหารจัดการปญหาความขัดแยงขององคการ โดยยึดหลักแบบประนีประนอมและความรวมมือเปนสําคัญ และยึดหลักประโยชนสวนรวม แตยังมีบางสวนท่ีไมเขาใจในบทบาทหนาท่ีและความรับผิดชอบตอสวนรวม หากมีการสรางจิตสํานึกและการยอมรับฟงความคิดเห็นซึ่งกันและกันจะทํามีบรรยากาศในการทํางานและดําเนินงานไดอยางมีความสุขยิ่งข้ึน 3) ผูบริหารสวนใหญมีภาวะผูนํา ใชหลักบริหารแบบประสานงาน ทําความเขาใจในการท่ีจะขับเคล่ือนการบริหารองคการบริหารสวนตําบลปฏิบัติหนาท่ีโดยมีผลประโยชนของสวนรวมเปนหลักดวยความบริสุทธิ์ใจ หากสรางผูบริหารทุกคนใหมีภาวะผูนํา และนําหลักการบริหารแบบธรรมาภิบาลโดยเฉพาะในเรื่องความโปรงใสและการมีสวนรวมจะสงผลตอการบริหารจัดการไดอยางเต็มประสิทธิภาพ จากขอมูลเชิงปริมาณในการสอบถามระดับความคิดเห็นการบริหารจัดการความขัดแยงขององคการบริหารสวนตําบล มีผูตอบแบบสอบถามท้ังส้ิน 154 คน เปนประชาชนจํานวน 78 คน คิดเปนรอยละ 50.65 รองลงมาไดแกขาราชการการเมือง เจาหนาท่ีและพนักงานจํานวน 49 คน 19 คน 8 คน คิดเปนรอยละ 31.82, 12.34 และ 5.19 ตามลําดับ การมีสวนรวมในการทํางานขององคการบริหารสวนตําบลของผูตอบแบบสอบถามสวนใหญมีสวนรวม 4 – 10 ป รอยละ 47.40 รองลงมาไดแก 1 – 3 ป มากกวา 10 ป และนอยกวา 1 ป คิดเปนรอยละ 22.73, 20.78 และ 9.09 ตามลําดับ สรุปผลการวิเคราะหไดดังตอไปนี้ ระดับปองกันปญหาความขัดแยง แสดงใหเห็นวายุทธศาสตรการบริหารจัดความขัดแยงขององคการบริหารสวนตําบลจังหวัดชัยนาท มีระดับความสําคัญอยูในระดับมากท่ีสุด (คาเฉล่ีย4.21 – 5.00 หมายถึง ระดับความสําคัญมากท่ีสุด) โดยมีคาเฉล่ียเทากับ 4.548 คาเบ่ียงเบนมาตรฐานเทากับ .201เมื่อพิจารณาแตละขอคําถามพบวาทุกขอคําถามมีระดับความสําคัญมากท่ีสุด ดังน้ี บริหารงานเปนทีม มีคาเฉลี่ย เทากับ 4.727 คาเบ่ียงเบนมาตรฐาน เทากับ .446 สรางการเรียนรูการบริหารจัดการความขัดแยงชุมชนทองถิ่น มีคาเฉลี่ย เทากับ 4.623 คาเบ่ียงเบนมาตรฐาน เทากับ .524 จัดใหสมาชิกและผูท่ีปฏิบัติงานกระทํากิจกรรมรวมกันอยูเปนประจํา มีคาเฉลี่ย เทากับ 4.558 คาเบ่ียงเบนมาตรฐาน เทากับ .498 สรางจริยธรรม

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

34

และคุณธรรมในการปฏิบัติงานมีคาเฉล่ีย เทากับ 4.506 คาเบ่ียงเบนมาตรฐาน เทากับ .501 ปรับปรุงระบบบริหารจัดการภาครัฐใหเอื้อตอการบริหารจัดการความขัดแยง มีคาเฉลี่ย เทากับ 4.324 คาเบ่ียงเบนมาตรฐาน เทากับ .522 ระดับแกไขปญหาความขัดแยง แสดงใหเห็นวายุทธศาสตรการบริหารจัดความขัดแยงขององคการบริหารสวนตําบลจังหวัดชัยนาท มีระดับความสําคัญอยูในระดับมากท่ีสุด (คาเฉล่ีย4.21 – 5.00 หมายถึง ระดับความสําคัญมากท่ีสุด) โดยมีคาเฉล่ียเทากับ 4.558 คาเบ่ียงเบนมาตรฐานเทากับ .271 เมื่อพิจารณาแตละขอคําถามพบวาทุกขอคําถามมีระดับความสําคัญมากท่ีสุด ดังน้ี ใหความยุติธรรมกับสมาชิกและผูท่ีปฏิบัติงาน มีคาเฉลี่ย เทากับ 4.701 คาเบ่ียงเบนมาตรฐาน เทากับ .500 การพัฒนาการบริหารจัดการความขัดแยงแบบมีสวนรวมและสรางความเขมแข็งใหกับกระบวนการประชาสังคมมีคาเฉลี่ย เทากับ 4.675 คาเบ่ียงเบนมาตรฐาน เทากับ .509 สรางการเรียนรูการบริหารจัดการความขัดแยงชุมชนทองถิ่น มีคาเฉล่ีย เทากับ 4.590 คาเบ่ียงเบนมาตรฐาน เทากับ .493 สรางจริยธรรมและคุณธรรมในการปฏิบัติงาน มีคาเฉล่ีย เทากับ 4.415 คาเบ่ียงเบนมาตรฐาน เทากับ .494 จัดใหสมาชิกและผูท่ีปฏิบัติงานไดกระทํากิจกรรมรวมกันมีคาเฉลี่ย เทากับ 4.409 คาเบ่ียงเบนมาตรฐาน เทากับ .543 ระดับระดับฟนฟูไมใหเกิดความขัดแยง แสดงใหเห็นวายุทธศาสตรการบริหารจัดการความขัดแยงขององคการบริหารสวนตําบลจังหวัดชัยนาท มีระดับความสําคัญอยูในระดับมากท่ีสุด (คาเฉลี่ย 4.21 – 5.00 หมายถึง ระดับความสําคัญมากท่ีสุด) โดยมีคาเฉลี่ยเทากับ 4.559คาเบ่ียงเบนมาตรฐานเทากับ .272 เมื่อพิจารณาแตละขอคําถามพบวาทุกขอคําถามมีระดับความสําคัญมากท่ีสุด ดังน้ี การพัฒนาการบริหารจัดการความขัดแยงแบบมีสวนรวมและสรางความเขมแข็งใหกับกระบวนการประชาสังคมมีคาเฉลี่ย เทากับ 4.909 คาเบ่ียงเบนมาตรฐาน เทากับ .310 ใหความยุติธรรมกับสมาชิกและผูท่ีปฏิบัติงานมีคาเฉล่ีย เทากับ 4.655 คาเบ่ียงเบนมาตรฐาน เทากับ .476 สรางการเรียนรูการบริหารจัดการความขัดแยงชุมชนทองถิ่นมีคาเฉลี่ย เทากับ 4.435 คาเบ่ียงเบนมาตรฐาน เทากับ .497 สรางจริยธรรมและคุณธรรมในการปฏิบัติงาน มีคาเฉลี่ย เทากับ 4.422 คาเบ่ียงเบนมาตรฐาน เทากับ .495 จัดใหสมาชิกและผูท่ีปฏิบัติงานไดกระทํากิจกรรมรวมกันมีคาเฉลี่ย เทากับ 4.376 คาเบ่ียงเบนมาตรฐาน เทากับ .486 การวิเคราะหความสัมพันธของตัวแปรอิสระท่ีผลตอตัวแปรตาม โดยใชเทคนิคสมการพหุคูณ (Multiple Regression Analysis: MRA) ซึ่งความสัมพันธระหวางปจจัยท้ังหมดกับยุทธศาสตรการบริหารจัดการความขัดแยงขององคการบริหารสวนตําบล มีความสัมพันธกันในทิศทางเดียวกันกับคา R2 มีคา 0.092 แสดงอิทธิพลของปจจัยท้ังหมดท่ีวัดไดเปนรอยละ 9.2 สวนท่ีเหลืออีกรอยละ 91.8 เปนอิทธิพลจากปจจัยอื่นๆ ท่ีไมไดอยูในการศึกษาวิจัยในครั้งน้ี และคา Durbin – Watson มีคาเทากับ 2.121 มีคาใกล 2.5 แสดงวา ตัวแปรมีความสัมพันธดีในทางบวก ประสิทธิผลของการบริหารจัดการความขัดแยงขององคการบริหารสวนตําบล โดยมีคาคงท่ีเทากับ 2.013 และจากผลการวิเคราะห จะเห็นไดวา ตัวแปรดานการแกไข มีน้ําหนักมากท่ีสุด คือ .454 รองลงมาคือ ตัวแปรดานการฟนฟู มีน้ําหนัก เทากับ -.237 ตัวแปรดานการปองกัน มีน้ําหนักเทากับ -.479

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

35

ตามลําดับ โดยตัวแปรดังกลาวขางตนมีความสัมพันธไปในทิศทางเดียวกัน หมายความวา หากตัวแปรท้ังหมดน้ี มีมากข้ึนจะกอใหเกิดทัศนะของประชาชนจังหวัดชัยนาทตอประสิทธิผลของการบริหารจัดการความขัดแยงขององคการบริหารสวนตําบลในระดับท่ีมากข้ึนดวย ผูวิจัยขอนําเสนอยุทธศาสตรการบริหารจัดการความขัดแยงขององคการบริหารสวนตําบลจังหวัดชัยนาทตามกรอบแนวคิดของการวิจัย ดังน้ี ยุทธศาสตรการบริหารจัดการความขัดแยงขององคการบริหารสวนตําบลจังหวัดชัยนาท ตองอาศัยความพรอมในดานตาง ๆ ใหสัมฤทธิ์ผลตามกรอบแนวคิดในการวิจัย โดยตองมีการบูรณาการภารกิจตางๆ เพื่อใหบรรลุผลสําเร็จ โดยผูวิจัยไดคนพบแนวทางยุทธศาสตรการบริหารจัดความขัดแยงขององคการบริหารสวนตําบลจังหวัดชัยนาท ใน 3 ระดับ คือ 1. ระดับปองกันปญหาความขัดแยง 1) จัดใหสมาชิกและผูท่ีปฏิบัติงานกระทํากิจกรรมรวมกันอยูเปนประจํา 2) สรางการเรียนรูการบริหารจัดการความขัดแยงชุมชนทองถิ่น 3) ปรับปรุงระบบบริหารจัดการภาครัฐใหเอื้อตอการบริหารจัดการความขัดแยง 4) บริหารงานเปนทีม 5) สรางจริยธรรมและคุณธรรมในการปฏิบัติงาน 2. ระดับแกไขปญหาความขัดแยง 1) ปรับปรุงระบบบริหารจัดการภาครัฐใหเอื้อตอการสนับสนุนสงเสริมการบริหารจัดท่ีมีผลกระทบตอการบริหารจัดความขัดแยง 2) บริหารจัดการความขัดแยงอยางเปนระบบ 3) บริหารจัดการความขัดแยงภายใตการมีสวนรวมของชุมชนทองถิ่น 4) จัดใหสมาชิกและผูท่ีปฏิบัติงานมีสวนรวมในการบริหารและกระทํากิจกรรมรวมกัน 5) สรางจริยธรรมและคุณธรรมในการปฏิบัติงาน 3. ระดับฟนฟูไมใหเกิดความขัดแยง 1) สรางการเรียนรูการบริหารจัดการความขัดแยงชุมชนทองถิ่น 2) การพัฒนาการบริหารจัดการความขัดแยงแบบมีสวนรวมและสรางความเขมแข็งใหกับกระบวนการประชาสังคม 3) จัดใหสมาชิกและผูท่ีปฏิบัติงานไดกระทํากิจกรรมรวมกัน 4) ใหความยุติธรรมกับสมาชิกและผูท่ีปฏิบัติงาน 5) สรางจริยธรรมและคุณธรรมในการปฏิบัติงาน

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

36

ปองกัน

แกไข ฟนฟู

ยุทธศาสตรการบริหารจัดความขัดแยงขององคการบริหารสวนตําบล จังหวดัชัยนาท

ขอเสนอแนะ 1. ขอเสนอแนะเพ่ือการนําไปใช การบริหารจัดการความขัดแยงขององคการบริหารสวนตําบลในจังหวัดชัยนาทเพ่ือจัดการความขัดแยงใหหมดไป ควรดําเนินตามยุทธศาสตรการบริหารจัดการความขัดแยงขององคการบริหารสวนตําบลในจังหวัดชัยนาท โดยมีขอเสนอแนะสําหรับการปรับปรุง ดังตอไปนี้ 1. ควรมีการอบรม สมาชิก ผูบริหาร พนักงานและผูท่ีเก่ียวของกับองคการบริหารสวนตําบลกอนเขาปฏิบัติหนาท่ีเพื่อใหมีความรูความเขาใจในบทบาทหนาท่ีของของตนเองและทักษะอื่นท่ีเก่ียวของตอการปฏิบัติงานท่ีมีประสิทธิภาพ 2. ควรใหความรูแกประชาชนถึงบทบาทและอํานาจหนาท่ีขององคการบริหารสวนตําบลอยางตอเน่ือง 3. องคการบริหารสวนตําบลควรเปดโอกาสใหประชาชนไดแสดงความคิดเห็น รับฟงความคิดเห็นและการมีสวนรวมในการจัดการขององคการบริหารสวนตําบล โดยมีการประชุมเพ่ือทําความเขาใจขอบขายของความรวมมือซ่ึงกันและกัน 4. องคการบริหารสวนตําบล ควรดําเนินกิจกรรมการสงเสริมและการมีสวนรวมตอการจัดการองคการบริหารสวนตําบลดวยความโปรงใส 5. ควรมีมาตรการในการติดตามและประเมินผลกิจกรรมท่ีเกี่ยวกับการบริหารงานองคการบริหารสวนตําบลท่ีมีตอประชาชนในทองถิ่นขององคการบริหารสวนตําบล ท้ังในบทบาทท่ีคาดหวังและบทบาทท่ีเปนจริงขององคการบริหารสวนตําบล 6. รัฐบาลควรใหความสนใจการบริหารจัดการความขัดแยงเพ่ิมข้ึนพรอมๆกับการใหความสนใจกับการพัฒนา เพราะหาก องคการมีปญหาความขัดแยงแลวโอกาสท่ีจะใหองคการเกิดการพัฒนานั้น

แกไข

ฟนฟู

ปองกัน

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

37

เปนไปไมไดเลย ดังน้ันการท่ีองคการใดจะพัฒนาการทํางานใหเกิดประสิทธิภาพเรื่องแรกท่ีจะตองทําคือการบริหารจัดการไมใหองคการเกิดความขัดแยงกอนในเบ้ืองตน โดยการจัดการอบรมเรียนรูเกี่ยวกับความขัดแยงและการรับรูเกี่ยวกับการบริหารจัดการองคการบริหารสวนตําบลและอํานาจหนาท่ีความรับผิดชอบของผูท่ีเกี่ยวของกับองคการบริหารสวนตําบล 7. รัฐบาลควรท่ีจะสนับสนุนงบประมาณแกองคการบริหารสวนตําบลใหมากยิ่งข้ึนเพื่อการสงเสริมอาชีพใหประชาชนมีรายไดเพิ่มข้ึนเพื่อความเปนอยูท่ีสะดวกสบายดังคําท่ีกลาววา คุณภาพชีวิตความเปนอยูท่ีดีความขัดแยงตางๆ ก็จะไมเกิดข้ึนในองคการบริหารสวนตําบล 2. ขอเสนอแนะทางวิชาการ เพ่ือใหองคการบริหารสวนตําบลจังหวัดชัยนาทไดพัฒนาตอไป ควรจะไดมีการศึกษาการเสริมสรางศักยภาพองคการบริหารสวนตําบลจังหวัดชัยนาท โดยการศึกษาเกี่ยวกับ 1. การกระจายอํานาจการบริหารจัดการขององคการบริหารสวนตําบลโดยประชาชนมีสวนรวมในการแสดงความคิดเห็นและไดบริหารจัดการทองถิ่นตนเองอยางแทจริง 2. การบริหารการคลังขององคการบริหารสวนตําบลท่ีเหมาะสมกับสถานะขององคการบริหารสวนตําบลและสอดคลองกับความตองการของประชาชนในทองถิ่น เพื่อใหมีงบประมาณท่ีเพียงพอกับการพัฒนาแกไขปญหาของทองถิ่น 3. ขอเสนอแนะอื่น ๆ 1. รัฐบาลควรตองกระจายอํานาจใหประชาชนไดบริหารจัดการทองถิ่นตนเองอยางแทจริงแกองคการบริหารสวนตําบลท้ังน้ีเพื่อการบริหารจัดการและพัฒนาทองถิ่นใหเปนไปตามความตองการของประชาชนในทองถิ่นนั้นๆ โดยเฉพาะการลดปญหาความขัดแยงของประชาชน 2. รัฐบาลควรตองจัดงบประมาณสนับสนุนใหแกองคการบริหารสวนตําบลใหเพียงพอกับการพัฒนาแกไขปญหาดาน เศรษฐกิจ สังคม การเมืองท้ังน้ีเพื่อใหประชาชนในทองถิ่นนั้นๆมีงบประมาณที่เพียงพอกับการพัฒนาแกไขปญหาของตนเองและทองถิ่น

********************

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

38

รายการอางอิง ชูวงศ ฉายะบุตร. (2539). การปกครองทองถ่ินไทย. กรุงเทพมหานคร : พิฒเณศ พริ้นต้ิง ซ็นเตอร. ประเวศ วะสี. (2541). ทําสันติวิธีใหเปนนโยบาย ในสันติวิธี : ยุทธศาสตรชาติเพื่อความมั่นคง. สถาบัน

ยุทธศาสตร สํานักงาน สภาความม่ันคงแหงชาติ กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

เสริมศักดิ์ วิศาลาภรณ. (2540). ความขัดแยงการบริหารเพื่อความสรางสรรค. (พิมพครั้งท่ี 2). กรุงเทพมหานคร : ตนออ.

Joyce E. Bono and et.al. (2002). The Role of Personality in Task and Relationship Conflict [Abstract]. Journal of Personality.

Brown L. David (1983). Managing Conflict at Organizational Interfaces. Menlo park, California : Addison Wesley publishing company.

********************

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

39

การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาสังคมศึกษา และความสามารถใน การคิดแกปญหาของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปท่ี 1

ท่ีไดรับการสอนโดยแนวคอนสตรัคติวิซึมกับการสอนตามปกติ* พรทิพา พิกุลกล่ิน**

รศ.ดร.พนมพร เผาเจริญ***

บทคัดยอ การวิจัยครั้งน้ี มีจุดมุงหมายเพ่ือเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาสังคมศึกษา และความสามารถในการคิดแกปญหาของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูงปที่ 1 ที่ไดรับการสอนโดยแนวคอนสตรัคติวิซึมกับการสอนตามปกติ กลุมตัวยางที่ใชในการวิจัยครั้งน้ี ไดแก นักศึกษาระดับช้ันประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูงปที่ 1 วิทยาลัยอาชีวศึกษานครสวรรค อําเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค จํานวน 60 คน แบงเปนกลุมทดลองจํานวน 30 คน กลุมควบคุม 30 คน ที่ไดมาจากการสุมอยางงาย เครื่องมือที่ใชในการวิจัย ประกอบดวย 1) แผนการสอนโดยแนวคอนตรัคติวิซึม 2) แผนการสอนตามปกติ 3) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ซึ่งเปนแบบปรนัยชนิด 4 ตัวเลือก จํานวน 35 ขอ มีคาความยากงายระหวาง 0.20-0.72 คาอํานาจจําแนกระหวาง 0.20-0.80 คาความเที่ยงมีคาเทากับ 0.71 4) แบบทดสอบวัดความสามารถในการแกปญหา เปนแบบปรนัยชนิด 4 ตัวเลือก จํานวน 20 ขอ มีคาความยากงายระหวาง 0.20-0.80 คาอํานาจจําแนกระหวาง 0.20-0.80 และคาความเที่ยงมีคาเทากับ 0.70 แลวนําขอมูลมาวิเคราะหดวยการทดสอบทีแบบกลุมตัวอยางเปนอิสระจากกัน ผลการวิจัยพบวา 1. นักศึกษาที่ไดรับการสอนโดยแนวคอนสตรัคติวิซึม มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนสูงกวานักศึกษาท่ีไดรับการสอนตามปกติ อยางมนัียสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. นักศึกษาที่ไดรับการสอน โดยแนวคอนสตรัคติวิซึม มีความสามารถในการคิดแกปญหาสูงกวานักศึกษาที่ไดรับการสอนตามปกติ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05

คําสําคัญ : การสอนโดยแนวคอนสตรัคติวิซึม/ การสอนตามปกติ/ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน/ ความสามารถในการคิดแกปญหา

* วิทยานิพนธครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค พ.ศ.2552 ** ครู คศ.2 วิทยาลัยอาชีวศึกษานครสวรรค อาํเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค *** รองศาสตราจารย ประจําคณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฎนครสวรรค (อาจารยท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ)

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

40

A Comparison of Social Learning Achievement and Problem–Solving Of The 1 St Year Diploma Students Learning through

Constructivism and Conventional Instruction. Porntipa Pikunklin

Assoc. Prof. DrPanomporn Puacharearn

Abstract The research purposes were to compare of students’ learning achievement in social studies and problem solving ability of the first year diploma students taught by constructivism and conventional instruction. The samples were 60 first year diploma students of Nakhon Sawan Vocational College in the academic year of 2006 chosen by simple random sampling and divided into the experiment group and the control group. Each group composed of 30 students. The research instruments were 1) two constructivism lesson plans having quality at the high level, 2) two conventional instruction lesson plans for the control group having quality at the high level, 3) learning achievement test composed of 35 items with four choices and the level of discrimination at 0.20 – 0.80, differential difficulty at 0.20 – 0.72 and the reliability at 0.71, and 4) problem solving ability test composed of 20 items with four choices and the , the difficulty at 0.20 – 0.80, discrimination at 0.20 – 0.80 and the reliability at 0.70. The data were analyzed by t-test for the independent samples. The findings were as follows: 1. The students’ learning achievement taught by the constructivism approach was higher than taught by conventional instruction at the significance level of .05. 2. The students taught by constructivism approach had ability to solve the problem higher than the group taught by conventional instruction at the significance level of .05.

Keywords : Constructivism Instruction/ Conventional Instruction/ Learning Achievement/ Problem Solving

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

41

ความสําคัญและที่มาของปญหา ปจจุบันมนุษยมีการพัฒนาเปลี่ยนแปลงในทุกดานเพื่อปรับตัวใหเขากับสภาพแวดลอมทางสังคมและกระบวนการทางการศึกษามีความสําคัญท่ีสุดสําหรับมนุษย ดังน้ันนักวิชาการจึงใชการศึกษาเปนเครื่องมือพัฒนาทรัพยากรมนุษยใหมีประสิทธิภาพ มนุษยสามารถนําความรูไปประกอบอาชีพท่ีเหมาะสมกับความสามารถของตน การศึกษาจึงเขามามีบทบาทสําคัญในการถายทอดประสบการณ ความรูและวัฒนธรรมโดยการปลูกฝงความคิด ความเช่ือ คานิยม ตลอดจนอุดมการณทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม ซึ่งมนุษยจะนําผลท่ีไดจากการศึกษามาเปนองคประกอบในการพัฒนาตนเอง พัฒนาสังคม และประเทศชาติใหเกิดความเจริญตอไป (สมนึก ปฏิปทานนท 2542 : 1) รัฐบาลวางรากฐานการศึกษาของชาติโดยการจัดใหมีแผนพัฒนาการศึกษาแหงชาติฉบับท่ี 8 (พ.ศ. 2540 – 2544) ข้ึน และไดบอกวิธีการจัดการศึกษาของไทยเพ่ือพัฒนาศักยภาพและความสามารถดานตาง ๆ ใหมีประสิทธิภาพ คือการจัดการเรียนการสอนภายในโรงเรียนดวยการสอนวิชาตาง ๆ โดยเฉพาะวิชาสังคมศึกษาท่ีมีเนื้อหามุงพัฒนาทรัพยากรมนุษยท่ีดีใหแกสังคม ดังขอสรุปของนักวิชาการศึกษาทางสังคมศึกษาท่ีสําคัญ ๆ หลายทานเชน ครุก (Krug 1960 : 300 อางถึงใน สมนึก ปฏิปทานนท 2542 : 2) โจนาธาน ซี แมคเลนดอน (Jonathan C. Mclendon 1960 : 4 อางถึงใน สมนึก ปฏิปทานนท 2542 : 2) ไดมีความเห็นท่ีสอดคลองกัน สรุปไดวาวัตถุประสงคท่ีสําคัญของวิชาสังคมศึกษา คือ การฝกอบรมนักเรียนเพื่อเตรียมนักเรียนใหเปน พลเมืองท่ีดีมีประสิทธิภาพ รูจักคิดอยางวิเคราะห วิจารณ พัฒนาเจตคติ คานิยม ท่ีถูกตองเหมาะสมกับสภาพสังคม ตลอดจนรูจักสิทธิและหนาท่ีในฐานะสมาชิกท่ีดีของสังคมประชาธิปไตย วิชาสังคมศึกษาจึงนับไดวามีความสําคัญมากและควรเปนวิชาบังคับท่ีนักเรียนทุกคนตองเรียนเพ่ือท่ีจะไดรับประสบการณข้ันพื้นฐานอันจะเปนประโยชนตอการดํารงชีวิตในสังคมตอไป และจากผลการศึกษาของธนาคารกสิกรไทย (2538 : 29 – 30) ในการสัมมนาระดับชาติ เรื่อง ยุทธศาสตรการศึกษาไทยในยุคโลกาภิวัฒน กลาวถึงความสามารถของเด็กไทยท่ีตองไดรับการแกไขโดยดวนคือ พื้นฐานการเรียนรูโลกแหงอนาคต กระบวนการคิดแกปญหาของผูเรียนอันเนื่องมาจากการจัดการเรียนการสอนท่ียึดครูเปนศูนยกลางการเรียน เนนการใหความรูใหนักเรียนทองจําไมไดฝกใหเด็กเกิดทักษะการคิดแกปญหา จึงสงผลใหนักเรียนมีศักยภาพในทักษะการคิดแกปญหาตํ่า แตสภาพการเรียนวิชาสังคมในสายอาชีพทางหลักสูตรอาชีวศึกษาจะไมใหความสําคัญทางวิชาสามัญเทากับวิชาชีพ อันทําใหนักเรียนนักศึกษาไมใหความสําคัญในการเรียนวิชาสังคมศึกษาไปดวยโดยดูไดจากขอมูลการวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูงปท่ี 1 ท่ีเรียนวิชาสังคมศึกษาในปการศึกษา 2547 จํานวน 820 คน พบวามีระดับคะแนนเฉลี่ยของวิชาสังคมศึกษาโดยเฉลี่ยรอยละ 59.15 และมีความสามารถคิดแกปญหาเพียงรอยละ 53.17 (งานวัดผลและประเมินผล วิทยาลัยอาชีวศึกษานครสวรรค 2547) ซึ่งนับวาตํ่ามากเมื่อเทียบกับวิชาอื่น แสดงใหเห็นถึงปญหาในการจัดการเรียนการสอนวิชาสังคมศึกษาของนักศึกษาในทางสายวิชาชีพ

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

42

ปญหาท่ีเกิดข้ึนไมใชเฉพาะผลจากหลักสูตรอาชีวศึกษาเทาน้ัน ยังมีองคประกอบจากการจัดการเรียนการสอนสังคมศึกษาซึ่งเกิดจากครูผูสอนสอนโดยวิธีการบรรยาย ไมไดสอนใหเด็กคิดแตกลับสอนใหเด็กจดจําเน้ือหาและทองจํา เด็กจึงขาดโอกาสในการฝกการพัฒนาทักษะความคิด การแกปญหา (วรรณทิพา รอดแรงคา. 2540: 29) ครูจึงควรปรับปรุงวิธีการสอนวิชาสังคมศึกษา เพื่อพัฒนาการคิดจึงไมควรเนนเนื้อหาเพียงดานเดียว ควรมุงเนนใหผูเรียนไดรูจักวิธีแสวงหาความรูดวยตนเอง เพื่อใหเกิดความรูดวยวิชาอื่น ๆ และรูจักนําความรูมาใชในการแกปญหาดวยตนเอง การสอนวิชาสังคมศึกษาแนวใหม จึงมีลักษณะบูรณาการความรู ทักษะกระบวนการชวยใหพัฒนาความสามารถในการตัดสินใจเพ่ือแกปญหาท้ังดานสวนตัวและสังคม มุงใหผูเรียนเกิดความรู ความคิด เพราะความคิดเปนสื่อสําคัญท่ีชวยใหมนุษยสืบคนหาความรูดวยตนเองแลวนํามาแกปญหาในชีวิตได จากการศึกษาเอกสารงานวิจัยตลอดจนแนวคิดเก่ียวกับการสอนโดยแนวคอนสตรัคติวิซึม พบวาเปนวิธีสอนรูปแบบหน่ึงท่ีเหมาะสมท่ีจะนํามาจัดประสบการณการเรียนรูใหกับผูเรียนโดยการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนใหผูเรียนมีสวนรวมลงมือกระทํา ทําใหผูเรียนเกิดความสนใจเกิดการเรียนรู ไมเบ่ือหนายตอการเรียนการสอนทําใหผูเรียนมีความรูพัฒนาความสามารถในการตัดสินใจแกปญหา การสอนโดยแนวคอนสตรัคติวิซึมมีแนวคิดหลักวา บุคคลเรียนรูโดยการสรางความรูดวยวิธีตาง ๆ กัน โดยอาศัยประสบการณเดิมโครงสรางทางปญญาท่ีมีอยูเดิม ความสนใจและแรงจูงใจภายในเปนพื้นฐาน โดยท่ีความขัดแยงทางปญญาซ่ึงเกิดจากการท่ีบุคคลเผชิญกับสถานการณท่ีเปนปญหาหรือมีปฏิสัมพันธกับผูอื่น จึงเปนแรงจูงใจใหเกิดการไตรตรองซ่ึงนําไปสูโครงสรางทางปญญาท่ีไดรับการตรวจสอบดวยตนเองหรือผูอื่นวาสามารถแกไขปญหาเฉพาะตาง ๆ ซึ่งอยูในกรอบของโครงสรางน้ันและใชเปนเครื่องมือสําหรับโครงสรางใหมอื่น ๆ ตอไป (สาคร ธรรมศักดิ์ 2541 : 10) จากเหตุผลดังกลาว ผูวิจัยจึงมีความสนใจท่ีจะศึกษาเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และความสามารถในการคิดแกปญหาของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูงปท่ี 1 ท่ีไดรับการสอนโดยแนวคอนสตรัคติวิซึมวิจัยกับการสอนตามปกติวาแตกตางกันอยางไร เพื่อเปนแนวทางในการพัฒนาการสอนใหมีประสิทธิภาพ

จุดมุงหมายของการวิจัย การวิจัยครัง้น้ี ผูวิจัยไดกําหนดจุดมุงหมายของการวิจัยไวดงัน้ี 1. เพ่ือเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาสังคมศึกษาของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูงปท่ี 1 ท่ีไดรับการสอนโดยแนวคอนสตรัคติวิซึม กับนักศึกษาท่ีไดรับการสอนตามปกติ 2. เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการคิดแกปญหาของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูงปท่ี 1 ท่ีไดรับการสอนโดยแนวคอนสตรัคติวิซึม กับนักศึกษาท่ีไดรับการสอนตามปกติ

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

43

สมมติฐานการวิจัย 1. นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูงปท่ี 1 ท่ีไดรับการสอนโดยแนวคอนสตรัคติวิซึมมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาสังคมศึกษาสูงกวานักศึกษาท่ีไดรับการสอนตามปกติ 2. นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูงปท่ี 1 ท่ีไดรับการสอนโดยแนวคอนสตรัคติวิซึมมีความสามารถในการคิดแกปญหาสูงกวานักศึกษาท่ีไดรับการสอนตามปกติ

กรอบแนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวของ ผูวิจัยศึกษาเอกสารและงานวิจยัท่ีเกี่ยวของ นํามาเปนกรอบความคิดในการวิจัยสรุปยอไดดงัน้ี แนวคิดการสอนโดยแนวคอนสตรัคติวิซึมของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ (2540 : 130 – 132) กลาวถึงการเรียนรูตามแนวคอนสตรัคติวิซึม แนวคิดน้ีมีรากฐานจากปรัชญาคอนสตรัคติวิซึม (Constructivism) ท่ีเช่ือวา การเรียนรูเปนกระบวนการท่ีเกิดข้ึนภายในผูเรียน ผูเรียนเปนผูสรางความรูจัก ความสัมพันธระหวางส่ิงท่ีพบเห็นกับความรูความเขาใจท่ีมีอยูเดิม เฉิดศักดิ์ ชุมนุม (2540 : 10) ไดกลาวถึงการสรางความรูแบบคอนสตรัคติวิซึมวา เปนความรูท่ีมนุษยสรางข้ึนมา มีความหมายเฉพาะตัวของบุคคลน้ัน ๆ คนสรางความรูไดเอง โดยนํา ขอมูลจากภายนอกผสมผสานกับสิ่งท่ีรูอยูแลวแตเดิมสรางเปนความรูใหมีความหมายใหมข้ึน พัฒนาการทางสติปญญาจะเกิดข้ึนก็ตอเมื่อมีการปรับตัวเขากับสิ่งแวดลอมใน 2 ลักษณะคือ การผสมผสานหรือการซึมซับ (Assimilation) และการปรับโครงสรางของสติปญญาใหเขากับสิ่งแวดลอม (Accommodation) ทิศนา แขมมณี (2542 : 9 – 11) กลาวถึงแนวคิดการสรรคสรางความรูคอนสตรัคติวิซึม วาความรูเปนสิ่งท่ีมนุษยสร าง ข้ึนดวยตนเอง สามารถเปลี่ ยนแปลงและพัฒนาใหงอกงามข้ึนไปได เรื่ อย ๆ โดยอาศัยกระบวนการพัฒนาโครงสรางความรูภายในของบุคคลและการรับรูสิ่งตาง ๆ รอบตัว พื้นฐานของทฤษฎีแนวคิดคอนสตรัคติวิซึม ท่ีนํามาใชอยูบนพื้นฐานการสรางความรูเกิดข้ึนภายในตนความรูเกิดจากสมองและสติปญญา (Cognitive Constructivism) ของเพียเจต (Piaget) สวน ไวกอทสก้ี (Vygotsky) เนนวาความรูมีแหลงอยูภายนอกสมองคน คืออยูในสังคมเกิดการเรียนรู เมื่อมีปฏิสัมพันธระหวางบุคคลและสภาพแวดลอม (Social Constructivism) การยอมรับและนําแนวคิดคอนสตรัคติวิซึมมาจัดระเบียบในการเรียนการสอนเพียงเพื่ออธิบายถึงวิธีคิด วิธีสรางเน้ือหาความรูใหม ๆ ท่ีผูเรียนเขาใจวิธีคิดของตนเอง จนสามารถนําไปสรางความรูของตนเองได ไมวาจะใชกับการเรียนการสอนวิธีใด ๆ (เอกศักดิ์ ยุกตะนันท. 2542 : 32)

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

44

ระเบียบวิธีวิจัย การวิจัยครั้งน้ี เปนการวิจัยกึ่งทดลอง (quasi experimental research) ใชแบบแผนการวิจัยสองกลุมเปรียบเทียบหลังเรียน แบบ Control–group Posttest Only Deesign โดยมีรายละเอียดการวิจัยโดยสังเขปดังน้ี ประชากรและกลุมตัวอยาง ประชากร ท่ีใชในการวิจัยครั้งน้ีเปนนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูงปท่ี 1 ของวิทยาลัยอาชีวศึกษานครสวรรค อําเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค กลุมตัวอยางท่ีใชในการวิจัยครั้งน้ีเปนนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาช้ันสูงปท่ี 1 วิทยาลัยอาชีวศึกษานครสวรรค อําเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค ท่ีกําลังศึกษาอยูในภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2549 จํานวน 2 หองเรียน 60 คน ซึ่งไดมาโดยวิธีการสุมอยางงาย (Simple random sampling) ตัวแปรที่ศึกษา 1. ตัวแปรจัดกระทํา ไดแก วิธีการสอน จําแนกเปน การสอนโดยแนวคอนสตรัคติวิซึม และการสอนตามปกติ 2. ตัวแปรตาม มี 2 ตัวแปรไดแก (1) ผลสัมฤทธิท์างการเรียนวชิาสังคมศึกษา (2) ความสามารถในการคิดแกปญหา เคร่ืองมือที่ใชในการวิจัย เครื่องมือท่ีใชในการวิจัยครัง้น้ี มี 4 ฉบับ ดังน้ี 1. แผนการสอนโดยแนวคอนสตรัคติวิซึม จํานวน 2 แผน แผนละ 6 คาบ ซึ่งผูเช่ียวชาญประเมินคุณภาพอยูในระดับเหมาะสมมากท่ีสุด มีคาเฉลี่ย 4.52 มีข้ันตอนการสอน 4 ข้ันตอน ดังน้ี ข้ันตอนท่ี 1 ข้ันนําเขาสูบทเรียน ข้ันตอนท่ี 2 ข้ันสํารวจ ข้ันตอนท่ี 3 ข้ันคําอธิบายและคําตอบของปญหา ข้ันตอนท่ี 4 ข้ันนําไปปฏิบัติ 2. แผนการสอนตามปกติ จํานวน 2 แผน แผนละ 6 คาบ ซึ่งผูเช่ียวชาญประเมินคุณภาพอยูในระดับเหมาะสมมาก สอดคลอง มีคาเฉลี่ย 4.11 มีข้ันตอนการสอน 3 ข้ันตอนดังน้ี ข้ันตอนท่ี 1 ข้ันนําเขาสูบทเรียน ข้ันตอนท่ี 2 ข้ันสอน ข้ันตอนท่ี 3 ข้ันสรุป 3. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาสังคมศึกษา ท่ีผูวิจัยสรางข้ึนเปนแบบปรนัยชนิด 4 ตัวเลือก จํานวน 35 ขอ มีคาดัชนีความสอดคลองอยูระหวาง 0.60 – 1.00 คาความยากงายอยูระหวาง 0.20 – 0.72 คาอํานาจจําแนกอยูระหวาง 0.20 – 0.80 และคาความเท่ียงเทากับ 0.71

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

45

4. แบบทดสอบความสามารถในการคิดแกปญหา ท่ีผูวิจัยสรางข้ึนเปนแบบปรนัยชนิด 3 ตัวเลือก จํานวน 20 ขอ มีคาความยากงายอยูระหวาง 0.20 – 0.80 คาอํานาจจําแนกอยูระหวาง 0.20 – 0.80 และคาความเท่ียงเทากับ 0.70 การเก็บรวบรวมขอมูล การเก็บรวบรวมขอมูลการวิจยัดําเนินการตามลําดับดังน้ี 1. ทําการทดสอบกอนเรียนท้ังกลุมทดลองและกลุมควบคุมโดยใชแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาสังคมศึกษา และแบบทดสอบวัดความสามารถในแกปญหา และบันทึกผลคะแนนสอบกอนเรียนเพื่อทําไปวิเคราะหขอมูล 2. ดําเนินการทดลอง โดยผูวิจัยเปนผูสอนเองท้ังกลุมทดลองและกลุมควบคุมใชเนื้อหาเดียวกัน ระยะเวลาเทากัน แตใชวิธีสอนท่ีแตกตางกัน โดยกลุมทดลอง ไดรับการสอนโดยแนวคอนสตรัคติวิซึม และกลุมควบคุม ไดรับการสอนตามปกติ 3. ทดสอบหลังเรียนท้ังสองกลุม โดยใชแบบทดสอบวัดสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาสังคมศึกษา และแบบวัดความสามารถในการแกปญหา 4. ตรวจผลการทดสอบแลวรวบรวมคะแนนทดสอบหลังเรียน และนําคะแนนท่ีไดจากการทดสอบกอนและหลังเรียนมาวิเคราะหดวยวิธีทางสถิติเพื่อทดสอบสมมติฐาน และสรุปผลการวิจัย การวิเคราะหขอมูลและสถิติทีใ่ช ผูวิจัยไดนําขอมูลท่ีไดจากการทดสอบมาวิเคราะหตามจุดมุงหมายการวิจยั ดังน้ี 1. การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาสังคมศึกษาของนักศึกษา ท่ีไดรับการสอนแนวคอนสตรัคติวิซึมกับนักศึกษาท่ีไดรับการสอนตามปกติ โดยการหาคาเฉล่ียของคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาสังคมศึกษา ทดสอบความแปรปรวน ทดสอบความแตกตางของคาเฉลี่ยของคะแนนผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน วิชาสังคมศึกษา ระหวางนักศึกษาท่ีไดรับการสอนโดยแนวคอนสตรัคติวิซึมกับนักศึกษาท่ีไดรับการสอนตามปกติ โดยใชการทดสอบที แบบกลุมตัวอยางเปนอิสระตอกัน (t-test for independent samples) 2. เปรียบเทียบความสามารถในการแกปญหาของนักศึกษาท่ีไดรับการสอนโดยแนวคอนสตรัคติวิซึมกับนักศึกษาท่ีไดรับการสอนตามปกติ โดยการหาคาเฉลี่ยของคะแนนการวัดความสามารถในการแกปญหา ทดสอบความแปรปรวน ทดสอบความแตกตางของคาเฉลี่ยของคะแนนการวัดความสามารถในการแกปญหาระหวางนักศึกษาท่ีไดรับการสอนโดยแนวคอนสตรัคติวิซึมกับนักศึกษาท่ีไดรับการสอนตามปกติโดยใชการทดสอบที แบบกลุมตัวอยางเปนอิสระตอกัน (t – test for Independent Samples)

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

46

สรุปผลการวิจัย ผลการวจิัยครั้งน้ี สามารถสรุปไดดังน้ี 1. นักศึกษาท่ีไดรับการสอนโดยแนวคอนสตรัคติวิซึม มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาสังคมศึกษาสูงกวานักศึกษาท่ีไดรับการสอนตามปกติ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 2. นักศึกษาท่ีไดรับการสอนโดยแนวคอนสตรัคติวิซึม มีความสามารถในการคิดแกปญหาสูงกวานักศึกษาท่ีไดรับการสอนตามปกติ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05

อภิปรายผลการวิจัย จากผลการวจิัยครั้งน้ีสามารถทํามาอภิปรายผล ไดดังน้ี 1. นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูงปท่ี 1 ท่ีไดรับการสอนโดยแนวคอนสตรัคติวิซึม มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาสังคมศึกษาสูงกวานักศึกษาท่ีไดรับการสอนตามปกติอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 ซึ่งเปนไปตามสมมติฐานการวิจัยขอท่ี 1 ซึ่งสอดคลองกับผลการวิจัยของ สาคร ธรรมศักดิ์ (2541 : 77) และ ช่ืนทิพย อารีสมาน (2538 : 77) ท้ังน้ีอาจเนื่องจากเหตุผลดังน้ี การสอนโดยแนวคอนสตรัคติวิซึม เปนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญ ผูเรียนเปนผูปฏิบัติกิจกรรมดวยตนเอง ในการแสวงหาความรูคนควาหาความรูดวยตนเอง แลวนําเอาประสบการณใหมท่ีเกิดจากการศึกษาคนควาหาความรูจากขอเท็จจริงตาง ๆ มาเปนแนวทางในการอภิปรายเพื่อใหเกิดความรูใหม ซึ่งสอดคลองกับแนวคอนสตรัคติวิซึมของเพียเจท เก่ียวกับพัฒนาการทางสติปญญาของผูเรียน เพียเจทจําแนกกระบวนเกี่ยวของกับการพัฒนาการทางสติปญญาและความคิดไว 2 กระบวนการคือ การปรับตัวและการจัดระบบโครงสราง การปรับตัวเปนกระบวนการท่ีบุคคลหาหนทางท่ีจะปรับสภาพความไมสมดุลทางความคิดใหเขากับสิ่งแวดลอมท่ีอยูรอบ ๆ ตัวเรา และเมื่อบุคคลมีปฏิสัมพันธกับสิ่งแวดลอมมีรูปแบบของความคิดเกิดข้ึน ซึ่งเพียเจทเรียกรูปแบบของความคิดท่ีมีการเปลี่ยนแปลงอยูในสมองน้ีวา “Scheme” กระบวนการปรับตัวประกอบดวย กระบวนการสําคัญ 2 ประการคือ การดูดซึม (Assimilation) การปรับขยายโครงสราง (Accommodation) วรรณทิพา รอดแรงคา (2540 : 4-5 อางถึง Ginsburq and Opper. 1969) การสอนโดยแนวคอนสตรัคติวิซึม มีกิจกรรมท่ีเปดโอกาสใหผูเรียนไดรวมกันอภิปรายกลุมยอย แลกเปลี่ยนความรูท่ีไดจากการสืบเสาะหาความรูของแตละคนจากน้ันจึงรวมกันอภิปรายเพื่อระดมความคิด นําเสนอผลงานใหเพ่ือน ๆ ไดรับรูทําใหผูเรียนไดแสดงออกตามความสามารถของแตละคนไดพัฒนาทักษะสมอง เชน การคิด การวิเคราะห การทํางานรวมกันเปนกลุม ทําใหบรรยากาศในหองเรียนสนุกสนานเปนกันเอง ซึ่งสอดคลองกับคํากลาวของเอลเล็น (Allen. 1976 : 371) ท่ีวาการใหนักเรียนมีความรับผิดชอบในการเรียนรู รูจักวิเคราะหตัดสินใจรูจักแสวงหาความรูดวยตนเอง และขณะท่ีนักเรียนเปนกลุมนักเรียนมีโอกาสแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ซึ่งกันและกัน การพูดคุยระหวางเพ่ือนในระดับเดียวกัน มีการส่ือความหมายดวยประโยคท่ีเขาใจงาย ทําใหนักเรียนสามารถส่ือความหมายและเขาใจมากข้ึน

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

47

2. นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรช้ันสูงป ท่ี 1 ท่ีไดรับการสอนโดยแนวคอนสตรัคติวิซึม มีความสามารถในการคิดแกปญหาสูงกวานักศึกษาท่ีไดรับการสอนตามปกติอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05 ซึ่งเปนไปตามสมมติฐานการวิจัยขอท่ี 2 ซึ่งสอดคลองกับการวิจัยของมาลาตี โหมดเขียว (2541) ทิพา ดวงตาเวียง (2547) ท้ังน้ีอาจเปนผลจากเหตุผลดังน้ี นักศึกษาท่ีไดรับการสอนโดยแนวคอนสตรัคติวิซึม มีความสามารถในการคิดแกปญหาสูงกวานักศึกษาท่ีไดรับการสอนตามปกติ เพราะไดรับการฝกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร ในการแสวงหาความรูมีลําดับข้ันตอน 4 ข้ันตอน เปนการสอนท่ีผูเรียนมีอิสระในการคิดเพ่ือใหไดมาซ่ึงองคความรู สามารถคิดอยางมีเหตุมีผล ครูทําหนาท่ีเปนท่ีปรึกษาแกผูเรียนเทาน้ัน การท่ีผูเรียนมีโอกาสทํากิจกรรมและไดรับการฝกฝนอยางสมํ่าเสมอและเรียนรูดวยตนเองอยางเปนระบบ จะสงผลใหผูเรียนมีความสามารถในการคิดแกปญหาไดดีข้ึน การสอนโดยแนวคอนสตรัคติวิซึม มีกิจกรรมท่ีผูเรียนตองศึกษาจากกรณีตัวอยาง โดยนํากรณีตัวอยางมาใหผูเรียนไดเห็นสภาพปญหา มีการใชสื่อหลายประเภท เชน รูปภาพ ทําใหผูเรียนมองเห็นปญหาไดชัดเจนเขาใจปญหาไดดียิ่งข้ึน จึงทําใหมีความสามารถในการคิดแกปญหาสูงข้ึนกวากอนเรียน

ขอเสนอแนะ 1. การสอนโดยแนวคอนสตรัคติวิซึม เปนการสอนท่ีสงเสริมใหผูเรียนเกิดทักษะการแสวงหาความรู เกิดความคิดรวบยอดสงเสริมใหผูเรียนคนควาดวยตนเอง รูจักการตัดสินใจการแกปญหา การอภิปรายรวมกันเพื่อเพิ่มพูนความรูความเขาใจมากยิ่งข้ึน จึงควรมีการแนะนําการสอนโดยแนวคอนสตรัคติวิซึมแกครูผูสอนเพื่อเปนแนวทางในการปรับปรุงการสอนใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งข้ึน 2. การสอนโดยแนวคอนสตรัคติวิซึม เปนการสอนท่ีเนนกระบวนการกลุมและการแกปญหาตามข้ันตอน ครูผูสอนตองใหนักศึกษาฝกกระทําดวยตนเองมากท่ีสุด และควรใหคําแนะนําชวยเหลือเพื่อสงเสริมใหนักศึกษามีทักษะในการปฏิบัติงานไดอยางถูกตอง 3. ครูผูสอนควรสรางความเขาใจกับนักศึกษาใหเห็นความสําคัญ และมีกระบวนการเรียนรูดวยการอธิบายวิธีการเรียนโดยแนวคอนสตรัคติวิซึม และสรางขอตกลงในการอภิปรายแสดงความคิดเห็น การยอมรับฟงความคิดเห็น การใหความรวมมือในการปฏิบัติกิจกรรมกลุมเพ่ือใหการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนมีประสิทธิภาพ

********************

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

48

รายการอางอิง กสิกรไทย, ธนาคาร. (2538). การศึกษาไทยยุคโลกาภิวัตน : สูความกาวหนาและความมั่นคงของชาติใน

ศตวรรษหนา. เอกสารประกอบการสัมมนาระดับชาติ ณ ศูนยการประชุมแหงชาติสิริกิต์ิ. คณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ, สํานักงาน. (2540). โครงการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอน.

กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพคุรุสภา ลาดพราว. งานวัดผลและประเมินผล. (2547). นครสวรรค:วิทยาลัยอาชีวศึกษานครสวรรค. เฉิดศักดิ์ ชุมนุม. (2540). รวมบทความบทเรียน : นวัตกรรมจากโครงการพัฒนาทรัพยากรมนุษย .

กระทรวงศึกษาธิการ. ช่ืนทิพย อารีสมาน. (2545). การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาสังคมศึกษา และการเห็นคุณคาในตนเอง

ของนักเรียนมัธยมศึกษาปที่ 1 ที่เรียนโดยการสอนตามแนวคอนสตรัคติวิซึมกับการสอนดวยสัญญาการเรียน ปริญญานิพนธ กศม. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

ทิศนา แขมมณี. (2542). การจัดการเรียนการสอนโดยยึดผูเรียนเปนศูนยกลาง : โมเดลชิปปา CIPPA MODEL กรุงเทพมหานคร: คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. 27(3).

ทิพา ดวงตาเวียง. (2548) การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาสังคมศึกษา และความสามารถในการแกปญหาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ที่เรียนโดยการสอนตามแนวคอนสตรัคติวิซึมกับการสอนแบบปกติ. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค.

มาลาตี โหมดเขียว. (2541). การศึกษาผลสัมฤทธิ์และความสามารถในการคิดแกปญหาของนักเรียนที่เรียนวิชาสังคมศึกษาโดยการสอนคูมือครู. ปริญญานิพนธการศึกษามหาบัรฑิต. กรุงทพมหานคร: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

วรรณทิพา รอดแรงคา. (2540). คอนสตรัคติวิซึม (Constructivism). กรุงเทพมหานคร: ภาควิชาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.

สมนึก ปฏิปทานนท. (2542). ผลของการเรียนการสอนดวยวิธีสตอรีไลนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาสังคมศึกษา และความสามารถในการคิดวิเคราะห ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนสาธิต จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

สาคร ธรรมศักดิ์. (2541). ผลการสอนตามแนวคอนสตรัคติวิซึม แบบรวมมือที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความสามารถในการคิดแกปญหาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ปริญญานิพนธการศึกษามหาบัณฑิต (การมัธยมศึกษา) กรุงเทพมหานคร: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

เอกศักดิ์ ยุกตะนันท. (2542). การสอนปรัชญาตามแนวการสอนแบบคิดวิชาการวิจารณ และตามแนวทฤษฎีการเรียนรูแบบคอนสตรัคติวิซึม. วารสารสงเสริมประสิทธิภาพการเรียนการสอน ปท่ี 8 ฉบับท่ี 2.

Krug, Edward A. 1960The Secondary School Curriculum. New York: Harper and Brother. ********************

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

49

การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และความรับผิดชอบตอการเรียนวิชาสังคมศึกษา ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี 6 ท่ีไดรับการสอนโดยการเรียนแบบรวมมอื

ดวยวิธีจิกซอว 2 กบัการสอนตามปกติ* สิริรัตน บุตรสิงห**

รศ.ดร.พนมพร เผาเจริญ***

บทคัดยอ การวิจัยครั้งน้ีเปนการวิจัยก่ึงทดลอง มีจุดมุงหมายเพ่ือเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความรับผิดชอบตอการเรียนวิชาสังคมศึกษาของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปที่ 6 ที่ไดรับการสอนโดยการเรียนแบบรวมมือดวยวิธีจิกซอว 2 กับการสอนตามปกติ กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัยครั้งน้ีไดแก นักเรียนช้ันประถมศึกษาปที่ 6 ที่กําลังเรียนอยูในปการศึกษา 2549 จากโรงเรียนอนุบาลลานสัก อําเภอลานสัก จังหวัดอุทัยธานี สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาอุทัยธานี เขต 2 จํานวน 60 คน แบงเปนกลุมทดลอง 30 คน กลุมควบคุม 30 คน ซึ่งไดมาจากการคัดเลือกหองเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ไมแตกตางกัน เครื่องมือวิจัยที่ใชมี 4 ฉบับ ไดแก 1) แผนการจัดการเรียนรูโดยการเรียนแบบรวมมือดวยวิธีจิกซอว 2 2) แผนการจัดการเรียนรูตามปกติ 3) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เปนแบบปรนัยชนิด 4 ตัวเลือก จํานวน 40 ขอ ซึ่งมีคาอํานาจจําแนกอยูระหวาง 0.20 – 0.80 คาความยากงายอยูระหวาง 0.33 – 0.80 และคาความเที่ยงเทากับ 0.85 และ 4) แบบวัดความรับผิดชอบตอการเรียนวิชาสังคมศึกษา จํานวน 20 ขอ ดานเน้ือหาซึ่งมีคาความเช่ือมั่นของแบบสอบถาม ทั้งฉบับเทากับ 0.92 ผลการวิจัยพบวา 1. นักเรียนช้ันประถมศึกษาปที่ 6 ที่ไดรับการสอนโดยการเรียนแบบรวมมือดวยวิธีจิกซอว 2 มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาสังคมศึกษา หลังการทดลองสูงกวานักเรียนที่ไดรับการสอนตามปกติ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. นักเรียนที่ไดรับการสอนท่ีไดรับการสอนโดยการเรียนแบบรวมมือดวยวิธีจิกซอว 2 มีความรับผิดชอบตอการเรียนหลังการทดลองสูงกวานักเรียนที่ไดรับการสอนตามปกติ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05

คําสําคัญ: การสอนโดยการเรียนแบบรวมมือดวยวิธีจิกซอว 2/ การสอนตามปกติ/ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาสังคมศึกษา/ ความรับผิดชอบตอการเรียน *

* วิทยานิพนธครุศาตรมหาบัณฑิต สาขาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค พ.ศ.2552 ** ครู คศ.3 โรงเรียนอนบุาลลานสัก อําเภอลานสัก จังหวัดอุทัยธาน ี*** รองศาสตราจารยประจําคณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค (อาจารยท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ)

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

50

A Comparison of Social Learning Achievement and Responsibility of Prathomsuksa VI Students Through the Cooperative Learning

By Jigsaw 2 Technique and Conventional Instruction.

Sirirat Butsing

Assoc. Prof. Dr.Phanomphorn Phaojarern

Abstract This research were to compare social studies learning achievement and responsibility of Prathomsuksa VI students through the Cooperative Learning with Jigsaw 2 Technique and Conventional Instruction, with those taught by the conventional approach. The sample consisted of 60 Prathomsuksa VI students of Anuban Lansak School, Amphoe Lansak, Uthai Thani province, in the second semester of the academic year 2006. They were devided into two groups: 30 in the experimental group and 30 in the control group. The experriment took 12 hours. The research instruments were 1) the three effective lesson plans using Jigsaw 2 Cooperative Learning Technique, 2) the three effective lesson plans using the conventional approach, 3) the social studies achievement test with discrimination value between 0.20 - 0.80, difficulty value between 0.33 – 0.80 and reliability value of 0.85, and 4) The responsibility and reliability value of 0.92. The statistics used in the data analysis were arithmetic mean, standard deviation. The hypothesis was tested by using the t – test for independent samples. The research findings were as follows: 1. Students taught by using Jigsaw 2 Cooperative Learning Technique attained higher learning achievement than those taught by using conventional approach, significantly at the level of .05. 2. Students taught by using Jigsaw 2 Cooperative Learning Technique had the responsibility ability higher than those taught by using conventional approach significantly at the level of .05.

Keywords: Cooperative Learning/ Jigsaw 2/ Conventional Instruction/ Social Learning Achievement/ Social Learning/ Responsibility

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

51

ความสําคัญและที่มาของปญหา การศึกษาในยุคโลกาภิวัฒนกอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงตอสังคมโลกและมีผลกระทบตอสังคม การศึกษาเปนกระบวนการท่ีชวยใหความกาวหนาและสามารถแกไขปญหาตาง ๆ ในสังคม ซึ่งสอดคลองกับการเปลี่ยนแปลงคุณคาท่ีดีในสังคมไทยบนพ้ืนฐานของความรับผิดชอบตอตนเองและตอสังคม สามารถสรางทุกคนใหเปนคนดี คนเกง พรอมดวยคุณภาพ จริยธรรม มีวินัย มีความรับผิดชอบ สภาพจิตสํานึกท่ีดี สามารถพ่ึงตนเองได มีคุณภาพชีวิตท่ีดี มีความสุขอยูในสภาพแวดลอมท่ีดี เปดโอกาสใหคนไทยทุกคนคิดเปน ทําเปน มีเหตุผล รูเทาทันโลก เพื่อพรอมรับการเปลี่ยนแปลง (สมศักดิ์ นุชมิตร. 2547 : 1) ซึ่งสอดคลองกับพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 มาตรา 6 กลาววา การจัดการศึกษาตองเปนไปเพ่ือพัฒนาคนไทยใหเปนมนุษยท่ีสมบูรณท้ังรางกาย จิตใจ สติปญญา ความรู และคุณธรรม มีจริยธรรม และวัฒนธรรมในการดํารงชีวิต สามารถอยูรวมกับผูอื่นไดอยางมีความสุข และมาตรา 24 การจัดกระบวนการเรียนรูใหสถานศึกษาและหนวยงานท่ีเก่ียวของดําเนินการในการจัดเน้ือหาสาระและกิจกรรมสอดคลองกับความสนใจและความถนัดของผูเรียน โดยคํานึงถึงความแตกตางระหวางบุคคลฝกทักษะกระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ และการประยุกตความรูมาใชเพื่อปองกันและแกไขปญหา จัดกิจกรรมใหผูเรียนไดเรียนรูจากประสบการณจริง ฝกปฏิบัติใหทําได คิดเปน ทําเปน รักการอาน และเกิดการใฝรูอยางตอเนื่อง (ราชกิจจานุเบกษาฉบับกฤษฎีกา. 2542 : 3-10) ดังน้ันในการจัดการเรียนการสอนวิชาสังคมศึกษาทุกคนคุนเคยกับเนื้อหาความรู ทักษะ และเจตคติท่ีจําเปนตอการสรางความเขาใจ เห็นคุณคาและฝกทักษะในวิถีของการเปนผูรู ผูมีทักษะ ผูนําในฐานะสมาชิกของชาติและโลกพรอมรับการเปลี่ยนแปลงท่ีหลากหลาย รูปแบบ อยางชาญฉลาด (รัชนีกร ทองสุขดี. 2544 : 78) หลังจากการใชพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 ครูผูสอนจึงจําเปนตองอาศัยยุทธศาสตรในการพัฒนาการเรียนการสอน การจัดบรรยากาศการเรียนการสอนโดยเปดโอกาสใหนักเรียนมีสวนรวมในการเรียนการสอนมากท่ีสุด และผูเรียนมีบทบาทมากท่ีสุด จึงมีลักษณะผสมผสานดานวิธีการสอนท่ีหลากหลาย บทบาทของครูจึงเปลี่ยนจากครูผูสอน อบรม บอกเลามาเปนผูใหการสนับสนุน ใหคําปรึกษา ใหกําลังใจ (สมชาย เทพแสง. 2543: 67) การเรียนแบบรวมมือ (Cooperative Learning) เปนวิธีการเรียนท่ีจัดสภาพแวดลอมทางการเรียน ผูเรียนไดเรียนรูเปนกลุมเล็กๆ สมาชิกแตละคนมี สวนรวมในการเรียนรู และความสําเร็จของกลุมโดยการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และการแบงปนทรัพยากรการเรียนรูรวมท้ังการเปนกําลังใจแกกันและกัน “ความสําเร็จของแตละคนคือความสําเร็จของกลุม” (สุพล วังสินธ.2543 : 9) และการเรียนแบบรวมมือเปนรูปแบบการสอนท่ีจะชวยพัฒนาดานสติปญญา (Intellectual) และสังคม (Social) ท้ังน้ีเพราะมนุษยเปนสัตวสังคม (Human is social Animal) (สํานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแหงชาติ. 2546 : 35) สามารถใชไดกับการเรียนทุกวิชาและมีประสิทธิผลยิ่งกับกิจกรรมการเรียนรูท่ีมุงพัฒนาผูเรียนในดาน การแกปญหา การกําหนดเปาหมายในการเรียนรู การคิดแบบหลากหลาย การปฏิบัติภารกิจท่ีซับซอน การเนนคุณธรรมจริยธรรม การเสริมสรางประชาธิปไตยในช้ันเรียน ทักษะสังคมการสรางนิสัยความรับผิดชอบรวมกัน และความรวมมือภายในกลุม (วัฒนาพร ระงับทุกข. 2545 : 174)

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

52

รูปแบบการสอนของการเรียนแบบรวมมือมีอยูดวยกันหลายรูปแบบ จะมีจุดเดน จุดดอยท่ีแตกตางกันไป รูปแบบหนึ่งนําไปใชอยางแพรหลาย และเปนท่ียอมรับกันคือ วิธีสอนแบบจิกซอว 2 เปนเทคนิคการสอนท่ีมีสมาชิกในกลุม 4-5 คน เพราะทุกคนเรียนบทเรียนเดียวกัน สมาชิกแตละคน ในกลุมใหความสนใจในหัวขอยอยในบทเรียนตางกัน ใครท่ีสนใจหัวขอเดียวกันจะไปประชุมคนควาและอภิปราย แลวกลับมาท่ีกลุมเดิมของตน สอนเพื่อนในเรื่องท่ีตนเองไปประชุมกับสมาชิกกลุมอื่นมา ผลการสอบของแตละคนเปนคะแนนของกลุม กลุมท่ีทําคะแนนรวมไดดีกวาจะไดรับรางวัล (พิมพันธ เดชะคุปต และพเยาว ยินดีสุข. 2544 : 19) ชวยฝกใหสมาชิกทุกคนมีความรับผิดชอบตอกลุมมากข้ึน และเน่ืองจากสมาชิกแตละคนจะตองกลับมาเลาประสบการณ หรือสิ่งท่ีไดเรียนรูใหสมาชิกคนอื่นในกลุมฟง หากไมสามารถเลาหรือตอบขอสงสัยในหัวขอท่ีไดรับมอบหมายใหไปศึกษาได จะถูกตําหนิจากเพื่อนสมาชิก ครั้งตอไปสมาชิกท่ีถูกตําหนิจากกลุมจะพัฒนาคุณลักษณะตางๆ ท่ีตนบกพรองไดดีข้ึนเพื่อใหเกิดการยอมรับจากกลุม (สมบัติ กาญจนารักพงศ.2547 : 16) ผลจากการประเมินตามสภาพท่ีแทจริงของโรงเรียน ปรากฏวาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของโรงเรียนอนุบาลลานสัก อําเภอลานสัก จังหวัดอุทัยธานี ปการศึกษา 2548 ภาพรวมในวิชาสังคมศึกษาโดยเฉลี่ยรอยละ 70.42 และในระดับช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ไดคะแนนเฉลี่ยรอยละ 67.61 ซึ่งยังไมเปนท่ีนาพอใจ ท้ังน้ีทางโรงเรียนไดกําหนดเกณฑใหแตละวิชา จะตองมีคะแนนตามเปาหมายการศึกษาของโรงเรียนโดยเฉลี่ยไมตํ่ากวารอยละ 70 จากการศึกษางานวิจัยท่ีเกี่ยวของกับการสอนโดยการเรียนแบบรวมมือดวยวิธีจิกซอว 2 พบวา ธนพร ยมรัตน. (2547 : 90) ไดวิจัยเกี่ยวกับผลการจัดการเรียนการสอนแบบรวมมือโดยใชเทคนิคปริศนาความคิดท่ีมีตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและเจตคติตอวิชาสังคมศึกษาของนักเรียน ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 2 พบวานักเรียนท่ีไดรับการจัดการเรียนการสอนแบบรวมมือโดยใชเทคนิคปริศนาความคิดมีคาเฉล่ียของคะแนนหลังเรียนสูงกวานักเรียนท่ีไดรับการจัดการเรียนการสอนแบบปกติ และสมจิตต เขียวเกษม ไดศึกษาเก่ียวกับการศึกษาผลการสอนโดยวิธีการเรียนแบบรวมมือท่ีมีตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาสังคมศึกษา และความคงทนในการเรียนรูของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 3 พบวาคะแนนเฉล่ียหลังเรียนสูงกวากอนเรียนแสดงวาการสอนวิชาสังคมศึกษาโดยวิธีการเรียนแบบรวมมือดวยเทคนิคปริศนาความคิด 2 สามารถพัฒนาผูเรียนไดเปนอยางดี จากเหตุผลดังกลาว ผูวิจัยในฐานะครูผูสอนวิชาสังคมศึกษาในระดับช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 เห็นวาเพื่อใหเปนการพัฒนาการจัดกระบวนการเรียนการสอนใหมีประสิทธิภาพและปลูกฝงผูเรียนใหมีความรับผิดชอบตอการเรียนมากข้ึน วิธีการสอนแบบรวมมือดวยวิธีจิกซอว 2 จึงเปนวิธีสอนท่ีดีอีกวิธีหนึ่ง ดังน้ันผูวิจัยจึงเลือกการสอนแบบรวมมือดวยวิธีจิกซอว 2 ในการสอนในวิชาสังคมศึกษาในสาระภูมิศาสตร เรื่องภูมิภาคตาง ๆ ของประเทศไทย

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

53

จุดมุงหมายของการวิจัย ในการวิจัยครั้งน้ี ผูวิจัยไดกําหนดจุดมุงหมายไวดังน้ี 1. เพ่ือเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาสังคมศึกษาของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ท่ีไดรับการสอนโดยการเรียนแบบรวมมือดวยวิธีจิกซอว 2 กับนักเรียนท่ีไดรับการสอนตามปกติ 2. เพ่ือเปรียบเทียบความรับผิดชอบตอการเรียนวิชาสังคมศึกษาของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ท่ีไดรับการสอนโดยการเรียนแบบรวมมือดวยวิธีจิกซอว 2 กับนักเรียนท่ีไดรับการสอนตามปกติ

สมมุติฐานการวิจัย 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาสังคมศึกษาหลังเรียนของนักเรียนท่ีไดรับการสอนโดยการเรียนแบบรวมมือดวย วิธีจิกซอว 2 สูงกวานักเรียนท่ีไดรับการสอนตามปกติ 2. นักเรียนท่ีไดรับการสอนโดยการเรียนแบบรวมมือดวยวิธีจิกซอว 2 มีความรับผิดชอบสูงกวานักเรียนท่ีไดรับการสอนตามปกติ

กรอบแนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวของ ผูวิจัยไดศึกษาเอกสารและงานวิจัยท่ีเกี่ยวของนํามาเปนกรอบความคิดในการวิจัย สรุปโดยยอไดดงน้ี แนวคิดการเรียนแบบรวมมือดวยวิธีจิกซอว 2 ของ Aronson และ Slavin อางถึงในบัญญัติ ชํานาญกิจ. (2540 :191) กลาววา จิกซอว 2 เปนการแบงผูเรียนออกเปนกลุมตามแนวของ STAD และ TGT โดยจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยมอบหมายงานใหรวมกันศึกษาคนควา ใหมีผูเช่ียวชาญประจํากลุม แลวสมาชิกหมุนเวียนศึกษาแลกเปลี่ยนความรูกับกลุมอื่นๆ นําความรูมาสรุปภายในกลุมเดิมของตน สลาวิน.(Slavin) อางถึงใน นาตยา ปลันธนานนท.(2543 : 18) ไดดัดแปลงวิธีการสอนดวยวิธีจิกซอว 2 มาจากจิกซอว ของ Elliot Aronson. (1978 ) ในการเรียนดวยวิธีจิกซอว 2 ผูเรียนศึกษาหัวขอเดียวกันจะศึกษาจากเอกสารชุดเดียวกันเหมือนกันทุกกลุม พิมพันธ เตชะคุปต, พเยาว ยินดีสุข. (2544 : 20) กลาววา เปนการเรียนการสอนท่ีใชแนวคิดการตอภาพโดยนักเรียนแตละคนจะไดศึกษาเพียงสวนหนึ่งหรือหัวขอยอยของเนื้อหาทั้งหมด วัฒนาพร ระงับทุกข.(2544 :176) กลาววา จิกซอว 2 เปนเทคนิคท่ีพัฒนาเพ่ือสงเสริมความรวมมือ การถายทอดความรูระหวางเพ่ือนในกลุม และสมบัติ กาญจนารักพงศ. (2547 : 12) กลาววาจิกซอว 2 เปนเทคนิคท่ีมีข้ันตอนซับซอน แตเปนเทคนิคท่ีทําใหผูเรียนต่ืนเตน แปลกใหมและสนุกสนานในการทํากิจกรรม แนวทฤษฎีตาขายการปฏิบัติงาน การทํางานเนนกระบวนการกลุมสมาชิกปฏิสัมพันธตอกัน ปรับตัวเขาหากัน ชวยกันทํางานใหบรรลุเปาหมายของกลุม ความรับผิดชอบท่ีตรวจสอบไดจากสมาชิกแตละคน (Individual account ability) สมาชิกในกลุมการเรียนรูทุกคนจะตองมีหนาท่ีรับผิดชอบ และพยายามทํางานท่ีไดรับมอบหมายอยางเต็มความสามารถ ไมมีใครท่ีจะไดรับประโยชนโดยไมทําหนาท่ีของตน วิธีการท่ีสามารถสงเสริมใหทุกคนไดทําหนาท่ีของตนอยางเต็มท่ีมีหลายวิธี เชนการจัดกลุมใหเล็ก เพื่อจะไดมีการเอาใจใสกันและกันไดอยางท่ัวถึง การทดสอบเปนรายบุคคล การสุมเรียกช่ือใหรายงาน ครูสังเกตพฤติกรรม

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

54

ของผูเรียนในกลุม การจัดใหกลุมมีผูสังเกตการณ การใหผูเรียนสอนกันและกัน จากนี้การใชทักษะการปฏิสัมพันธระหวางบุคคล และทักษะการทํางาน กลุมยอย (Interpersonal and small-group skills) นอกจากน้ีการวิเคราะหกระบวนการกลุม (Group processing) เพื่อชวยใหกลุมเกิดการเรียนรูและปรับปรุงการทํางานใหดีข้ึน ครอบคลุม แนวทฤษฎีกลุมสัมพันธ การจัดการเรียนการสอนเนนใหผูเรียนมีโอกาสรวมกิจกรรมกันอยางท่ัวถึง และสามารถนําความรูไปใชในชีวิตประจําวัน ทิศนา แขมมณี.(2545 : 6 - 9) กลาววา ทฤษฎีท่ีเปนพื้นฐานของกลุมสัมพันธมีหลายทฤษฎี ไดแก ทฤษฎีสนาม (Field Theory) ของเคิรท เลวิน. (Kurt Lewin) มีแนวคิดท่ีสําคัญคือโครงสรางของกลุมเกิดจากการรวมกลุมของบุคคลท่ีมีลักษณะแตกตางกัน มีปฏิสัมพันธตอกันในรูปของการกระทํา (act) ความรูสึก (fell) และความคิด (think) การปรับตัวเขาหากันและพยายามชวยกัน เปนอันหนึ่งอันเดียวกัน (choesion) และทําใหเกิดพลังหรือแรงผลักดัน ทฤษฎีปฏิสัมพันธ (Interaction Trory) ของเบลส (Bales) โฮมา (Homan) และไวท (Whyte) แนวคิดคือปฏิสัมพันธในกลุมจะเกิดข้ึนไดตองอาศัยการกระทํากิจกรรมอยางใดอยางหน่ึง (Activity) คือปฏิสัมพันธทางรางกาย วาจา อารมณ จิตใจ ทฤษฎีระบบ(System Theory) แนวคิดท่ีสําคัญคือกลุมมีโครงสรางหรือระบบ กําหนดบทบาทหนาท่ีและการแสดงบทบาทของสมาชิกอันถือวาเปนการลงทุน (Input) อยางใดอยางหน่ึง กระทําไดโดยผานทางระบบสื่อสาร (Communication) ซึ่งเปนเครื่องมือในการแสดงออก ทฤษฎีสังคมมิติ (Sociometric Orientation) ของโมเรโน (Moreno) มีแนวคิด คือขอบเขตการกระทําของกลุมข้ึนอยูกับการตัดสินใจและการแสดงบทบาทของสมาชิกในกลุมท่ีจะปฏิสัมพันธตอกัน (Interpersonal Choice) เครื่องมือก็คือการแสดงบทบาทสมมุติ (role playing) และการใชสังคมมิติ (Sociometric Test) ทฤษฎีจิตวิเคราะห (Psychoanalytic Orientation) ของซิกมันด ฟรอยด (Sigmund Freud) มีแนวคิด คือเมื่อบุคคลอยูรวมกันเปนกลุม จะตองอาศัยกระบวนการจูงใจ (Motivation Process) ซึ่งอาจเปนการใหรางวัล หรือการไดรับผลจากการทํางานในกลุมในการรวมกลุม ทฤษฎีจิตวิทยาท่ัวไป (General Psychology) มีแนวคิดวาการใชหลักจิตวิทยาตางๆ เชน จิตวิทยาการรับรู การเรียนรู ความคิดความเขาใจ การใหแรงจูงใจ ฯลฯ ทฤษฎีบุคลิกภาพของกลุม (Group Syntality Theory) ของแคทแทล(Cattel) อาศัยหลักการจากทฤษฎีการเสริมแรง (Reinforcement Theory) คือกฎแหงผล(Law of Effect) เพื่ออธิบายพฤติกรรมของกลุม ลักษณะของกลุมโดยท่ัวไป ทฤษฎีสัมฤทธิผลของกลุม (A Theory of Group Achievement) สต็อกดิลล (Stogdill) ไดอธิบายไววา สัมฤทธิผลของกลุมท่ัวไปมี 3 ดาน คือการลงทุนของสมาชิก (Member Inputs) โครงสรางและผลสัมฤทธิ์ของกลุม ทฤษฎีพื้นฐานความสัมพันธระหวางบุคคล (Fundamental Interpersonal Relations Orientations) ซุทซ (Schutz) อธิบายไววา สมาชิกกลุมทุกคนมีความตองการท่ีจะเปนสวนหนึ่งของกลุม/หมู/คณะ แนวทฤษฎีแรงจูงใจ อารี พันธมณี.(2540 : 198-200) กลาวถึงหลักในการสรางแรงจูงใจไววา การชมเชยและการตําหนิ จะมีผลตอการเรียนรูของเด็ก การทดสอบบอยครั้งชวยกระตุนใหนักเรียนสนใจการเรียนอยางตอเนื่องและสมํ่าเสมอ ทําใหนักเรียนสนใจในการเรียนมากข้ึน การคนควาหาความรูดวยตนเอง การแนะนําหรือการกําหนดหัวขอท่ีทําใหนักเรียนสนใจ วิธีการท่ีแปลกและใหม เพื่อเราความสนใจ ต้ัง

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

55

รางวัลสําหรับงานท่ีเปนตัวอยาง ช่ือมโยงบทเรียนใหมกับสิ่งท่ีท่ีเคยเรียนรูมากอน เกมและการเลนละคร ศักดิ์ไทย สุรกิจบวร (2545 : 168) กลาววาทฤษฎีการเสริมแรง (Reinforcement Theory) ท่ีนักจิตวิทยาฝายพฤติกรรมนิยมเช่ือวา ผลกรรมของพฤติกรรมท่ีผานมาในอดีตเปนตัวควบคุมพฤติกรรมน้ันในอนาคต ซึ่งในการเสริมแรงแบงเปนการเสริมแรงทางบวก ( )+RS การเสริมแรงทางลบ ( )−RR การลงโทษทางบวก ( )+PS การลงโทษทางลบ ( )−PS

ระเบียบวิธีวิจัย การวิจัยครั้งน้ีเปนการวิจัยกึ่งทดลอง (Quasi - Experimental Research) ใชแผนแบบการวิจัยสองกลุมทดสอบหลังเรียน (Control group posttest only design) โดยมีรายละเอียดการดําเนินการโดยสังเขป ดังน้ี ประชากรและกลุมตัวอยาง ประชากร ท่ีใชในการศึกษาครั้งน้ี ไดแก นักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 โรงเรียนอนุบาลลานสัก อําเภอลานสัก สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาจังหวัดอุทัยธานี เขต 2 กลุมตัวอยาง ท่ีใชในการวิจัยครั้งน้ี ไดแก นักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 โรงเรียนอนุบาลลานสัก อําเภอลานสัก สังกัดสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาอุทัยธานี เขต 2 ภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2549 จํานวน 60 คน โดยแบงเปนกลุมทดลองจํานวน 30 คน และกลุมควบคุม จํานวน 30 คน ซึ่งไดจากการสุมอยางงาย (Simple random sampling) ตัวแปรที่ศึกษา ตัวแปรในการวิจัยครั้งน้ีประกอบดวย 1. ตัวแปรจัดกระทํา ไดแก การสอนโดยการเรียนแบบรวมมือดวยวิธีจิกซอว 2 2. ตัวแปรตามมี 2 ตัวแปร ไดแก ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาสังคมศึกษา และความรับผิดชอบตอการเรียน เคร่ืองมือที่ใชในการวิจัย เครื่องมือท่ีใชในการวิจัยครั้งน้ี มี 4 ฉบับ ดังน้ี 1. แผนการจัดการเรียนการสอนโดยการเรียนแบบรวมมือดวยวิธีจิกซอว 2 จํานวน 3 แผน แผนละ 4 คาบ ซึ่งผูเช่ียวชาญประเมินคุณภาพแลวอยูในระดับเหมาะสมมากท่ีสุด มีคาเฉลี่ย 4.75 แผนการจัดการเรียนการสอนมีข้ันตอนการสอน 5 ข้ันตอน ดังน้ี ข้ันตอนท่ี 1 ข้ันเตรียม ครูกําหนดวัตถุประสงคการเรียนรู และกิจกรรมการจัดการเรียนการสอน จัดแบงเน้ือหาออกเปนหัวขอยอยๆ เทากับจํานวนสมาชิกแตละกลุม และจัดกลุมผูเรียนใหมีความสามารถคละกัน เรียกวากลุมพ้ืนฐาน ข้ันตอนท่ี 2 ข้ันสอน ครูนําเขาสูบทเรียนดวยการใหทุกคนสนทนา ซักถามเกี่ยวกับเนื้อหาในแผนการสอนมอบหมายงานใหสมาชิกแตละคนศึกษาหัวขอท่ีตางกัน ข้ันตอนท่ี 3 ข้ันกิจกรรมกลุม นักเรียนท่ีศึกษาหัวขอเดียวกันจากแตละกลุม ทํางานรวมกัน เรียกวากลุมผูเช่ียวชาญ (Expert groups) นักเรียนจากกลุมผูเช่ียวชาญ (Expert groups) กลับเขากลุมพ้ืนฐาน

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

56

(Home groups) ของตน เพื่อถายทอดความรูใหเพื่อนในกลุมฟงจนครบทุกหัวขอ มีการซักถาม ขอสงสัย ตอบคําถาม และทบทวนใหเขาใจชัดเจน จนแนใจวาสมาชิกแตละคนในกลุม สามารถตอบคําถามแตละขอไดอยางถูกตอง ข้ันตอนท่ี 4 ข้ันทดสอบยอย การทดสอบยอย เปนรายบุคคล หลังจากท่ีนักเรียนแตละกลุมทํางานเสร็จเรียบรอยแลว ครูก็จะทําการทดสอบยอยนักเรียนเปนรายบุคคล โดยใหนักเรียนตางคน ตางทํา ไมชวยแหลือกัน นําคะแนนของสมาชิกในแตละคนในกลุมพ้ืนฐาน (Home groups) มารวมกันหรือหาคาเฉลี่ย ข้ันตอนท่ี 5 ข้ันใหรางวัล กลุมท่ีไดคะแนนสูงสุดจะไดรับรางวัลหรือคําชมเชย 2. แผนการจัดการเรียนการสอนตามปกติ จํานวน 3 แผน แผนละ 4 คาบ ซึ่งผูเช่ียวชาญประเมินคุณภาพแลวอยูในระดับเหมาะสมมากท่ีสุด มีคาเฉลี่ย 4.74 โดยมีข้ันตอนการสอน 3 ข้ันตอน ดังน้ี ข้ันตอนท่ี 1 ข้ันนําเขาสูบทเรียน ข้ันตอนท่ี 2 ข้ันจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ข้ันตอนท่ี 3 ข้ันสรุปบทเรียน 3. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาสังคมศึกษา ท่ีผูวิจัยสรางข้ึน เปนแบบทดสอบปรนัยชนิด 4 ตัวเลือก จํานวน 40 ขอ ซึ่งมีคาดัชนีความสอดคลองต้ังแต 0.60 - 1.00 คาความยากงายอยูระหวาง 0.33 -0.86 และคาอํานาจจําแนกอยูระหวาง 0.10 - 1.00 และคาความเท่ียง 0.92 4. แบบวัดความรับผิดชอบตอการเรียน ท่ีผูวิจัยพัฒนาข้ึน เปนแบบสอบถามชนิดมาตราสวนประมาณคา 5 ระดับ แบงออกเปน 5 ดานดังน้ี ดานความมุงม่ันในการเรียน ดานความต้ังใจในการเรียน ดานความขยันหม่ันเพียร ดานความอดทนจนประสบผลสําเร็จ และดานการตรงตอเวลาในการเรียน ไดนําผลการทดสอบมาหาคาความเท่ียงโดยใชวิธีหาคาสัมประสิทธิ์อัลฟาของครอนบาค (Cronbach’s Alpha Coefficient) ไดคาความเท่ียงของแบบสอบถามท้ังฉบับ (Coefficient Alpha) เทากับ 0.886 การเก็บรวบรวมขอมูล ในการวิจัยครั้งน้ี ผูวิจัยไดดําเนินการ ดังน้ี 1. นําผลคะแนนการสอบกลางภาคท่ีมีกลุมทดลงและกลุมควบคุม มาบันทึกผลไวเปนคะแนนท่ีแสดงใหเห็นวาท้ังสองกลุมมีความสามารถไมแตกตางกันในการวิเคราะหขอมูล 2. ดําเนินการทดลอง โดยผูวิจัยเปนผูดําเนินการสอนเองท้ังกลุมทดลองและกลุมควบคุม ใชเนื้อหาเดียวกันระยะเวลาเทากัน แตใชวิธีสอนท่ีแตกตางกัน คือกลุมทดลองไดรับการสอนโดยการเรียนแบบรวมมือดวยวิธีจิกซอว 2 และกลุมควบคุมไดรับการสอนตามปกติ 3. ทดสอบหลังเรียนท้ังสองกลุม โดยใชแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาสังคมศึกษา และแบบสอบถามวัดความรับผิดชอบตอการเรียนวิชาสังคมศึกษา 4. ตรวจผลการทดสอบและผลการตอบแบบวัดความรับผิดชอบ และนําคะแนนท่ีไดมาวิเคราะหดวยวิธีทางสถิติ เพ่ือทดสอบสมมุติฐาน และสรุปผลการวิจัย

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

57

การวิเคราะหขอมูลและสถิติที่ใช ในการวิเคราะหขอมูลผูวิจัยไดวิเคราะหขอมูลและเลือกใชสถิติ ดังน้ี 1. การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในการเรียนวิชาสังคมศึกษาของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ท่ีไดรับการสอนโดยการเรียนแบบรวมมือดวยวิธีจิกซอว 2 และการสอนตามปกติ โดยการหาคาเฉลี่ยของคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในการเรียนวิชาสังคมศึกษา ทดสอบความแปรปรวน และทดสอบความแตกตางของคาเฉล่ียของคะแนนผลสัมฤทธิ์ใน การเรียนวิชาสังคมศึกษา ระหวางนักเรียนท่ีไดรับการสอนโดยการเรียนแบบรวมมือดวยวิธีจิกซอว 2 กับวิธีสอนตามปกติ โดยการทดสอบคาทีแบบกลุมตัวอยางเปนอิสระตอกัน (t – test for Independent Samples) 2. การเปรียบเทียบความรับผิดชอบตอการเรียนของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ท่ีไดรับการสอนโดยการเรียนแบบรวมมือดวย วิธีจิกซอว 2 และการสอนตามปกติ โดยการหาคาเฉลี่ยของคะแนนการวัดความรับผิดชอบตอการเรียนวิชาสังคมศึกษา ทดสอบความแปรปรวน ทดสอบความแตกตางของคาเฉลี่ยของคะแนนการวัดความรับผิดชอบระหวางนักเรียนท่ีไดรับการสอนโดยการเรียนแบบรวมมือดวยวิธีจิกซอว 2 กับการสอนตามปกติ โดยการทดสอบคาทีกรณีกลุมตัวอยางเปนอิสระตอกัน (t – test for Independent Samples)

สรุปผลการวิจัย ผลการวจิัยครั้งน้ี พบวา 1. นักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ท่ีไดรับการสอนโดยการเรียนแบบรวมมือดวยวิธีจิกซอว 2 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในการเรียนวิชาสังคมศึกษาสูงกวานักเรียนท่ีไดรับการสอนตามปกติอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05 2. นักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ท่ีไดรับการสอนโดยการเรียนแบบรวมมือดวยวิธีจิกซอว 2 มีความรับผิดชอบตอการเรียนสูงกวานักเรียนท่ีไดรับการสอนตามปกติอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05

อภิปรายผลการวิจัย จากผลการวิจัยครั้งน้ีสามารถนํามาอภิปรายผล ไดดังน้ี 1. นักเรียนท่ีไดรับการสอนโดยการเรียนแบบรวมมือดวยวิธีจิกซอว 2 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาสังคมศึกษา หลังการทดลองสูงกวานักเรียนท่ีไดรับการสอนตามปกติ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05 ซึ่งเปนไปตามสมมติฐานท่ีต้ังไว และผลการวิจัยครั้งน้ีสอดคลองกับผลการวิจัยของ นรินท กระพี้แดง(2542) ปยฉัตร ขาวแกว (2542) พรรักษ ศิลกุล (2543) สิริพร ทุเครือ (2544) ธนพร ยมรัตน (2547) และ

สมจิตต เขียวเกษม(2548) ท้ังน้ีอาจเปนผลสืบเนื่องมาจากเหตุผลดังตอไปนี้ 1.1 การสอนโดยการเรียนแบบรวมมือดวยวิธีจิกซอว 2 ลักษณะการเรียนมีการจัดกลุมแบบคละความสามารถ ทํางานรวมกัน มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกัน และชวยเหลือซึ่งกันและกันเพื่อใหตนเองและสมาชิกทุกคนในกลุมประสบผลสําเร็จตามเปาหมายของกลุม ทําใหนักเรียนสนุกสนานสงผลให

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

58

นักเรียนเรียนดียิ่งข้ึน สอดคลองกับหลักการพ้ืนฐานการเรียนแบบรวมมือ ซึ่งจอหนสันและจอหนสัน (Johnson and Johnson. 2002 :1) ท่ีกลาวไววา การเรียนแบบรวมมือเปนการจัดการเรียนการสอนท่ีเนนใหผู เรียนไดรวมมือและชวยเหลือซึ่งกันและกันในการเรียนรู โดยแบงนักเรียนออกเปนกลุมเล็กๆ ประกอบดวยสมาชิกท่ีมีความสามารถแตกตางกัน ทํางานรวมกันเพื่อเปาหมายกลุม สมาชิกมีความรับผิดชอบรวมกันท้ังในสวนตนและสวนรวมมีการฝกและใชทักษะการทํางานกลุมรวมกัน 1.2 การจัดการเรียนการสอนโดยการเรียนแบบรวมมือดวยวิธีจิกซอว 2 เนนใหผูเรียนมีความรับผิดชอบในบทบาทและหนาท่ีท่ีไดรับมอบหมายท้ังในสวนตนและสวนรวมอยางเต็มความสามารถเพ่ือความสําเร็จของตนและของกลุม โดยครูจะเปนผูมอบหมายใหสมาชิกในกลุมยอยแตละกลุมศึกษาเน้ือหาในเอกสารท่ีครูกําหนดให ซึ่งสอดคลองกับจอหนสันและจอหนสัน (Johnson and Johnson. 2002 : 3) ท่ีกลาวไววา ความรับผิดชอบของสมาชิกแตละบุคคลเปนความรับผิดชอบในการเรียนรูของสมาชิกในแตละบุคคล โดยมีการชวยเหลือสงเสริมซ่ึงกันและกันเพื่อใหเกิดความสําเร็จตามเปาหมายของกลุม และจันทรา ตันติพงศานุรักษ.(2543:38) ท่ีกลาวไววาหนาท่ีและความรับผิดชอบของสมาชิกแตละคนในกลุมมีหนาท่ี ท่ีตองรับผิดชอบ และจะตองทํางานท่ีไดรับมอบหมายอยางเต็มความสามารถ 1.3 การเรียนแบบรวมมือดวยวิธีจิกซอว 2 จะไดรับการเสริมแรงโดยครูดวยการใหรางวัลและคําชมเชย หลังจากนักเรียนทํากิจกรรมในแตละบทเรียนเสร็จแลว มีการประเมินความเขาใจในบทเรียนเปนรายบุคคล ซึ่งเปนการเสริมแรงทางบวก และเปนการกระตุนใหนักเรียนพยายามท่ีจะทําคะแนนของตนเอง และของกลุมใหไดมากท่ีสุดเพ่ือท่ีจะไดรับรางวัล 2. เปรียบเทียบความรับผิดชอบตอการเรียน ผลการวิจัย พบวานักเรียนท่ีไดรับการสอนโดยการเรียนแบบรวมมือดวยวิธีจิกซอว 2 มีความรับผิดชอบสูงกวานักเรียนท่ีไดรับการสอนตามปกติ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05 ซึ่งเปนไปตามสมมติฐานท่ีต้ังไว ซึ่งจะพบวาคะแนนอันดับคุณภาพ 5 ระดับ คะแนนความรับผิดชอบตอการเรียนของนักเรียนท่ีไดรับการสอนโดยการเรียนแบบรวมมือดวยวิธีจิกซอว 2 มีคะแนนเฉลี่ย 3.53 ซึ่งสูงกวานักเรียนท่ีไดรับการสอนตามปกติ คะแนนอันดับคุณภาพเฉลี่ย 2.87 อาจเนื่องมาจากเหตุผลดังน้ี คือ 2.1 การเรียนการสอนตามลําดับข้ันตอนการเรียนแบบรวมมือดวยวิธีจิกซอว 2 ในทุกข้ันตอนนักเรียนจะตองมีความรับผิดชอบตอตนเอง ตอเพื่อน และตอหนาท่ี ท่ีตนเองไดรับมอบหมายจากกลุม ซึ่งสอดคลองกับ สุมิตรา สุประดิษฐ ณ อยุธยา (2539 : 99). นักเรียนรูจักหนาท่ีและความรับผิดชอบเปนการสงเสริมการทํางานอยางมีข้ันตอน แบงหนาท่ี บทบาทของนักเรียน สงเสริมการทํางานเปนกลุม และการทํางานดวยตนเอง ซึ่งในการปลูกฝงความรับผิดชอบใหกับเด็ก 2.2 การปฏิบัติกิจกรรม โดยเฉพาะกิจกรรมกลุมในการจัดการเรียนการสอนแบบรวมมือดวยวิธีจิกซอว 2 จะทําใหสมาชิกในกลุมมีความรับผิดชอบตอกลุมรวมกันชวยกันทํางานท่ีไดรับมอบหมายใหสําเร็จ (ดวงหทัย แสงวิริยะ 2544 : 75 : อางอิงจาก Johnson and Johnson. 1987 : Circle of Learning ) และจากท่ีครูสรางแรงจูงใจโดยการวางเง่ือนโดยใหมีการแขงขันจากผลการทดสอบ เมื่อประสบผลสําเร็จ (อารี

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

59

พันธมณี. 2540: 194-196) ซึ่งเปนผลทําใหนักเรียนท่ีไดรับการสอนโดยการเรียนแบบรวมมือดวยวิธีจิกซอว 2 มีคะแนนความรับผิดชอบสูงกวานักเรียนท่ีไดรับการสอนตามปกติ 2.3 ลําดับข้ันการสอนในแผนการสอนแบบรวมมือดวยวิธีจิกซอว 2 เปนการจัดการสอนท่ีคํานึงถึงระบบการเรียนรูของกลุมนักเรียนทุกกลุม (ดวงหทัย แสงวิริยะ. 2544 : 75 : อางอิงจากวิชัย วงษใหญ. 2543 : 4) เมื่อนักเรียนไดเรียนตามความสนใจ ความถนัด ความตองการ และแบบการเรียนรูของตนเองจะสามารถพัฒนาทักษะทางสังคม และจริยธรรมของนักเรียนได นอกจากน้ีนักเรียนยังมีความสุข สนุกสนานกับการเรียน ซึ่งเปนผลใหนักเรียนอยากเรียนรู และทํากิจกรรมตางๆ และมีความรับผิดชอบตอการเรียนมากยิ่งข้ึน

ขอเสนอแนะ 1. ขอเสนอแนะท่ัวไป (1) สําหรับนักเรียนท่ียังไมเคยไดรับการสอนโดยการเรียนแบบรวมมือดวยวิธีจิกซอว 2 กอนทําการสอน ครูผูสอนตองแนะนํา ช้ีแจง วิธีการเรียน และบทบาทหนาท่ีของสมาชิกในกลุมเพ่ือบรรลุตามจุดมุงหมายของการเรียนรู (2) การนําวิธีการเรียนแบบรวมมือดวยวิธีจิกซอว 2 ไปใชครูตองศึกษาหลักการ เปาหมาย ข้ันตอน การจัดกิจกรรมการเรียนรูใหละเอียดทุกข้ันตอนกอน เพื่อใหบรรลุตามเปาหมายและประสบความสําเร็จ (3) ครูผูสอนควรเนนความรวมมือกันทํางานกลุมโดยความรับผิดชอบของสมาชิกแตละคนในกลุมตองไดรับหัวขอท่ีตนเองตองไปศึกษาทุกคนเพ่ือท่ีจะนํามาเสนอตอกลุมของตน (4) ครูผูสอนควรดูแล การนําเสนอของผูเรียนทุกคน คอยชวยเหลือใหคําปรึกษา และแนะนํา (5) ครูผูสอนควรจัดเตรียมส่ือการเรียนรูใหเพียงพอสําหรับผูท่ีรับผิดชอบศึกษาในสวนนั้น ๆ ไดแก บัตรกิจกรรม ใบความรู แบบทดสอบ ครูผูสอนควรใหคําปรึกษา ช้ีแนะหรือแนะนําอยางใกลชิด และใหคําปรึกษาเมื่อมีปญหา (6) ครูผูสอนควรชวยสรุปและเพิ่มเติมความรูเมื่อนักเรียนแตละกลุมนําเสนอเสร็จ และสรุปประมวลความรู 2. ขอเสนอแนะสําหรับการวิจยัครั้งตอไป (1) ควรมีการศึกษาวิจัยเนื้อหาวิชาอื่น ๆ หรือในระดับช้ันอื่น เพื่อใหมีความเขาใจวิธีการสอนน้ี (2) ควรมีการศึกษาวิจัยการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยการเรียนแบบรวมมือดวยวิธีจิกซอว 2 ในวิชาสังคมศึกษาและพัฒนาการดานคุณสมบัติของผูเรียนในดานอื่น ๆ เชน การพัฒนาบุคลิกภาพประชาธิปไตย การพัฒนาบุคลิกภาพการเปนผูนํา ผูตาม ความมีวินัยในตนเอง เจตคติในการเรียน และความคงทนตอการเรียน เปนตน

********************

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

60

รายการอางอิง เกรียงศักดิ์ เจริญวงศศักดิ์. (2539). ลักษณะชีวิตสูความสําเร็จ 2 : บริษัทซัคเซส มีเดียจํากัด. จันทรา ตันติพงศานุรักษ.(2543). การจัดการเรียนรูแบบรวมมือ.วารสารวิชาการ.ศูนยพัฒนาหลักสูตร

กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. ปท่ี 3 ฉบับท่ี 12 ธันวาคม : 37-38. ทิศนา แขมมณี. (2545). รูปแบบการเรียนการสอน ทางเลือกที่หลากหลาย : พิมพครั้งท่ี 1 จุฬาลงกรณ

มหาวิทยาลัย. .(2545).ศาสตรการสอน:องคความรูเพ่ือการจัดกระบวนการเรียนรูที่มีประสิทธิภาพ : สํานักพิมพ

แหงจุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย. ธนพร ยมรัตน. (2547). การจัดการเรียนการสอนแบบรวมมือโดยใชเทคนิคปริศนาความคิดที่มีตอ

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและเจตคติตอวิชาสังคมศึกษาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2. วิทยานิพนธครุศาสตรมหาบัณฑิต : สถาบันราชภัฏนครสวรรค.

วัฒนพร ระงับทุกข.(2545). เทคนิคการจัดการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสําคัญตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พ.ศ.2544, กรุงเทพฯ : พริกหวานกราฟฟค.

วิชาการ.กรม.กระทรวงศึกษาธิการ.(2545). เอกสารประกอบหลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2544 คูมือการจัดการเรียนรู กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม : กรุงเทพฯ.

สมจิต เขียวเกษม. (2548). การศึกษาผลการสอนโดยวิธีการเรียนแบบรวมมือที่มีตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาสังคมศึกษาและความคงทนในการเรียนรู ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3. ปริญญานิพนธ สาขาหลักสูตรและการสอน.มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค.

สมนึก ปฏิปทานนท. (2547). คุณลักษณะของครูสังคมศึกษายุคใหม. วารสารขาราชการครูและบุคคลากรทางการศึกษา. ปท่ี 24 ฉบับท่ี 4 : หนา 33-39.

สมบัติ กาญจนรักพงศ. (2547). นวัตกรรมการศึกษา ชุดที่ 29 เทคนิคการจัดกิจกรรมการเรียนรูที่หลากหลาย : การเรียนแบบรวมมือ. สํานักพิมพธารอักษร จํากัด. เมษายน หนา 9:โรงพิมพชวนพิมพ.

สุมิตรา สุประดิษฐ ณ อยุธยา. (2539). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความรับผิดชอบของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 1 ที่เรียนวิชาสังคมศึกษา โดยใชชุดการเรียนกับการสอนตามคูมือครู. ปริญญานิพนธมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

Johnson,D.W. and R.T. Johnson. (1990). Learning Together and Alone. New Jersey: Prentice Hall. Robert E. Slavin. (1990). Cooperative learning Theory, Research, and practice. New Jersey : Prentice

Hall. ________.(1995).Coopertive Learning Theory : Research and Practice. Massachusetts : A simon &

Schuster. ********************

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

61

การพัฒนาชุดการสอนวิชาเคมี เรื่อง ไฟฟาเคมี สําหรับนักเรยีนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 5* จุฑามาศ เจตนกสิกิจ**

ผศ.ดร.บัญญัติ ชํานาญกิจ***

บทคัดยอ การวิจัยครั้งน้ี มีจุดมุงหมายเพ่ือ 1) พัฒนาชุดการสอนวิชาเคมีใหมีประสิทธิภาพตามเกณฑ 80/80 2) ศึกษาคาดัชนีประสิทธิผลของชุดการสอนวิชาเคมี 3) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมีกอนเรียนและหลังเรียนของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปที่ 5 ที่ไดรับการสอนโดยใชชุดการสอนวิชาเคมี 4) ศึกษาความคงทนในการเรียนรูวิชาเคมีของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปที่ 5 ที่ไดรับการสอนโดยใชชุดการสอนวิชาเคมี 5) เปรียบเทียบจํานวนนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปที่ 5 ที่ไดรับการสอนโดยใชชุดการสอนวิชาเคมีที่มีคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมีผานเกณฑรอยละ 80 ของคะแนนเต็ม กับเกณฑจํานวนรอยละ 60 ของนักเรียนทั้งหมด เครื่องมือที่ใชในการวิจัย ประกอบดวย 1) ชุดการสอนวิชาเคมี เรื่อง ไฟฟาเคมี สําหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปที่ 5 ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ 80/80 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทาการเรียนวิชาเคมี เรื่อง ไฟฟาเคมี เปนแบบทดสอบปรนัยชนิด 4 ตัวเลือก จํานวน 30 ขอ มีคาความยากงายอยูระหวาง 0.42 – 0.79 คาอํานาจจําแนกอยูระหวาง 0.33 – 0.75 และมีคาความเที่ยงเทากับ 0.92 กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัยครั้งน้ีเปนนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปที่ 5/1 โรงเรียนขาณุวิทยา ที่กําลังศึกษาอยูในภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2551 จํานวน 42 คน ผลการวิจัยพบวา 1. ชุดการสอนวิชาเคมีที่พัฒนาขึ้นมีประสิทธิภาพ 87.48/81.43 2. ชุดการสอนวิชาเคมีที่พัฒนาขึ้นมีคาดัชนีประสิทธิผล 0.68 3. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมีของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปที่ 5 ที่ไดรับการสอนโดยใชชุดการสอนหลังเรียนสูงกวากอนเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 4. นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปที่ 5 ที่ไดรับการสอนโดยใชชุดการสอนวิชาเคมีมีความคงทนในการเรียนรูวิชาเคมีอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 5. นักเรียนรอยละ 76 ของนักเรียนทั้งหมด มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมีผานเกณฑรอยละ 80 ของคะแนนเต็ม

คําสําคัญ: ชุดการสอนวิชาเคมี, ไฟฟาเคมี

* วิทยานิพนธครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค พ.ศ.2551 **ครู โรงเรียนขาณุวิทยา อําเภอขาณุวรลักษบุรี จังหวัดกําแพงเพชร ***ผูชวยศาสตราจารยประจําคณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค (อาจารยท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ)

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

62

The Development of Instructional Package in Chemistry on Electrochemistry for Mattayomsuksa 5 students

Juthamas Jadkasikit

Asst.Prof.Dr.Banyat Chamnankit

Abstract The purposes of this study were 1) to develop the instructional package in chemistry to be as effective as the 80/80 criteria, 2) to study the valued effectiveness index of instructional package in chemistry, 3) to compare the achievement in chemistry before and after of Mattayomsuksa 5 students being taught by using the instructional package, 4) to study the learning retention in chemistry of Mattayomsuksa 5 students being taught by using the instructional package, and to compare the number of Mattayomsuksa 5 students being taught by using the instructional package who achieved at 60% with the students who achieved a criteria score of 80%. The research tools comprised of 1) the instructional package in chemistry on Electrochemistry of Mattayomsuksa 5 students with efficiency at 80/80 criterion, and 2) the chemistry achievement test on Electrochemistry with 4 choices and 30 items, the difficulty between 0.42 – 0.79, the discrimination between 0.33 – 0.75 and the reliability at 0.92. The samples in this research were 42 Mattayomsuksa 5/1 students of Khanuwittaya School studying in the first semester of the 2008 academic year. The research findings were: 1. The developed instructional package in chemistry had the efficiency of 87.48/81.43. 2. The developed instructional package in chemistry had the valued effectiveness index of 0.68. 3. The achievement in chemistry of Mattayomsuksa 5 students taught by using the instructional package after was higher than before with statistically significant at the .05 level. 4. Mattayomsuksa 5 students taught by using the instructional package achieved the learning retention in chemistry with statistically significant at the .05 level. 5. 76% of all students who were taught by using the instructional package in chemistry achieved 80% criteria score of the comprehension posttest.

Keywords: instructional package in chemistry/ Electrochemistry

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

63

ความเปนมาและความสําคัญของปญหา วิทยาศาสตรมีบทบาทสําคัญยิ่งในสังคมโลกปจจุบันและอนาคต เพราะวิทยาศาสตรเกี่ยวของกับชีวิตของทุกคน ท้ังในการดํารงชีวิตประจําวันและในงานอาชีพตาง ๆ เครื่องมือเครื่องใชเพื่ออํานวยความสะดวกในชีวิตและในการทํางาน ลวนเปนผลของความรูวิทยาศาสตรผสมผสานกับความคิดสรางสรรคและศาสตรอื่น ๆ วิทยาศาสตรเปนวัฒนธรรมของโลกสมัยใหมซึ่งเปนสังคมแหงความรู (knowledge based society) ทุกคนจึงจําเปน ตองไดรับการพัฒนาใหรูวิทยาศาสตร (scientific literacy for all) เพื่อท่ีจะมีความรูความเขาใจโลกธรรมชาติและเทคโนโลยีท่ีมนุษยสรางสรรคข้ึน และนําความรูไปใชอยางมีเหตุผล สรางสรรค (สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี. 2546 : 1) ดังน้ันกระทรวงศึกษาธิการจึงไดมีนโยบายปรับปรุงหลักสูตรวิทยาศาสตรระดับมัธยม ศึกษาตอนตนและมัธยมศึกษาตอนปลายใหสอดคลองกับการเปลี่ยนแปลงในอนาคต โดยไดปรับปรุงหลักสูตรใหมีความยืดหยุนมากข้ึน มุงเนนกระบวนการเรียนรู ท้ังดานความคิด การปฏิบัติ ในโครงสรางของหลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐานพุทธศักราช 2544 ไดกําหนดใหสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรเปนสาระการเรียนรูหลักในการจัดการเรียนการสอน เพ่ือสรางพ้ืนฐานการคิด และเปนกลยุทธในการแกปญหาและวิกฤติของชาติ (สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี. 2546 : 1 – 4) ถึงแมวาวิทยาศาสตรจะมีความสําคัญดังกลาว แตการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตรในปจจุบันยังไมประสบความสําเร็จเทาท่ีควร ดังจะเห็นไดจากผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพื้นฐาน (O-Net) ชวงช้ันท่ี 4 ปการศึกษา 2550 วิชาวิทยาศาสตร พบวา ในระดับประเทศ มีคะแนนเฉล่ียรอยละ 34.62 ของคะแนนเต็ม และในระดับสถานศึกษา โรงเรียนขาณุวิทยา มีคะแนนเฉลี่ยรอยละ 30.92 ของคะแนนเต็ม (สํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา. 2550 : ไมปรากฏเลขหนา) ซึ่งจะเห็นไดวา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตรของนักเรียนชวงช้ันท่ี 4 โดยภาพรวมยังตํ่ากวาเกณฑมาตรฐาน ท้ังน้ีอาจเนื่องมาจากสาเหตุ คือ ครูไมสามารถจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อใหนักเรียนเกิดการเรียนรูไดตามจุดประสงคของหลักสูตร นักเรียนขาดความกระตือรือรนในการเรียน ขาดกระบวนการในการเสาะแสวงหาความรู และบรรยากาศในช้ันเรียนนาเบ่ือหนาย (ทวีพร ดิษฐสําเริง. 2542 : 28) จากผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพื้นฐาน แสดงใหเห็นวา การจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตรท่ีผานมายังไมบรรลุจุดประสงคท่ีต้ังไว จึงจําเปนตองมีการพัฒนาวิธีการจัดการเรียนการสอนใหหลากหลาย เพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพในการสอน ควรเลือกวิธีการสอนท่ีเนนใหนักเรียนเกิดประสบการณดวยตนเองใหมากท่ีสุด ใหนักเรียนคนควาหาความรูดวยตนเองโดยใชกระบวนการวิทยาศาสตรหลายแบบในการเรียนการสอนแตละครั้ง โดยนักเรียนเปนศูนยกลางในการเรียนการสอน ครูผูสอนตองคํานึงเสมอวา การสอนท่ีมีประสิทธิภาพนั้นยอมมีสวนสัมพันธกับความกาวหนาในการเรียน วิธีสอน และเนื้อหาวิชา (ภพ เลาหไพบูลย. 2542 : 122) นอกจากวิธีการสอนท่ีหลากหลายแลว สิ่งท่ีชวยใหนักเรียนเรียนรูไดตรงตามจุดประสงคหรือจุดมุงหมายคือการนํานวัตกรรมทางการศึกษามาชวยในการเรียนการสอนเพ่ือเพิ่ม

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

64

ประสิทธิภาพการศึกษาใหสูงข้ึน ตลอดจนชวยใหนักเรียนมีคุณภาพเทาเทียมกัน (ชม ภูมิภาค. 2538 : 98) ซึ่งนวัตกรรมทางการศึกษา ไดแก บทเรียนสําเร็จรูป คอมพิวเตอรชวยสอน และชุดการสอน เปนตน ชุดการสอนเปนนวัตกรรมทางการศึกษาอยางหน่ึงท่ีมีลักษณะเปนสื่อประสม ท่ีจัดข้ึนสําหรับหนวยการเรียนตามหัวขอเนื้อหาที่ตองการจะใหนักเรียนไดรับ ชวยใหนักเรียนไดรับความรูอยางมีประสิทธิภาพ ชวยใหผูสอนเกิดความม่ันใจพรอมท่ีจะสอน และชวยใหนักเรียนกับผูสอนมีโอกาสปฏิบัติกิจกรรมรวมกัน เปนกิจกรรมการเรียนการสอนท่ีตอบสนองความแตกตางระหวางบุคคล ซึ่งเปดโอกาสใหนักเรียนมีอิสระในการเรียนตามความสามารถและความสนใจ โดยมีครูคอยแนะนําชวยเหลือ (บุญเกื้อ ควรหาเวช. 2543 : 91 – 93) ทําใหนักเรียนเกิดการเรียนรูวิธีการทํางานเปนข้ันตอน ใชเหตุผลในการวางแผนอยางมีระบบไดอยางเหมาะสมจากบัตรความรู บัตรกิจกรรม แบบฝกหัด และแบบทดสอบ ตลอดจนส่ือตาง ๆ ท่ีครูผูสอนเตรียมไวอยางมีระบบ และนักเรียนสามารถทราบผลการปฏิบัติกิจกรรมนั้น ๆ ไดอยางรวดเร็วไมเกิดความเบ่ือหนายตอการเรียน ทําใหเกิดการเรียนรูท่ีมีประสิทธิภาพ (สุวิทย มูลคํา และ อรทัย มูลคํา. 2545 : 51) จากคุณคาของชุดการสอนดังกลาว ผูวิจัยจึงเช่ือวา ชุดการสอนสามารถสรางความสนใจ และชวยพัฒนาการจัดการเรียนการสอนใหนักเรียนเกิดการเรียนรูไดดวยตนเอง ผูวิจัยจึงสนใจท่ีจะพัฒนาชุดการสอนวิชาเคมี เรื่อง ไฟฟาเคมี ข้ึน และทําการศึกษาผลท่ีเกิดจากการทดลองใชชุดการสอนวิชาเคมีท่ีมีผลตอผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาเคมี และความคงทนในการเรียนรูวิชาเคมี เพื่อนําผลดังกลาวไปใชเปนแนวทางในการปรับปรุงกระบวนการเรียนการสอนวิชาเคมีใหมีประสิทธิภาพมากข้ึน

จุดมุงหมายของการวิจัย การวิจัยครั้งน้ีมีจุดมุงหมายหลักเพื่อพัฒนาชุดการสอนวิชาเคมี เรื่อง ไฟฟาเคมี สําหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 5 โดยมีจุดมุงหมายยอยดังน้ี 1. เพ่ือพัฒนาชุดการสอนวิชาเคมีใหมีประสิทธิภาพตามเกณฑ 80/80 2. เพ่ือศึกษาคาดัชนีประสิทธิผลของชุดการสอนวิชาเคมี 3. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาเคมีกอนเรียนและหลังเรียนของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 5 ท่ีไดรับการสอนโดยใชชุดการสอนวิชาเคมี 4. เพ่ือศึกษาความคงทนในการเรียนรูวิชาเคมีของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 5 ท่ีไดรับการสอนโดยใชชุดการสอนวิชาเคมี 5. เพ่ือเปรียบเทียบจํานวนนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 5 ท่ีไดรับการสอนโดยใชชุดการสอนวิชาเคมีท่ีมีคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมีผานเกณฑรอยละ 80 ของคะแนนเต็ม กับเกณฑจํานวนรอยละ 60 ของนักเรียนท้ังหมด

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

65

สมมติฐานการวิจัย ผูวิจัยต้ังสมมติฐานการวิจัยไวดังน้ี 1. ชุดการสอนวิชาเคมีท่ีพัฒนาข้ึนมีประสิทธิภาพตามเกณฑ 80/80 2. ชุดการสอนวิชาเคมีท่ีพัฒนาข้ึนมีประสิทธิผล 3. นักเรียนท่ีไดรับการสอนโดยใชชุดการสอนวิชาเคมี มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาเคมีหลังเรียนสูงกวากอนเรียน 4. นักเรียนท่ีไดรับการสอนโดยใชชุดการสอนวิชาเคมีมีความคงทนในการเรียนรู 5. นักเรียนท่ีไดรับการสอนโดยใชชุดการสอนวิชาเคมีท่ีมีคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมีผานเกณฑรอยละ 80 ของคะแนนเต็ม จะมีจํานวนไมนอยกวารอยละ 60 ของนักเรียนท้ังหมด

กรอบแนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวของ ผูวิจัยศึกษาเอกสารและงานวิจัยท่ีเกี่ยวของนํามาเปนกรอบความคิดในการวิจัย สรุปยอไดดังน้ี - ความหมายของชุดการสอน (บุญเก้ือ ควรหาเวช. 2543 : 91) ท่ีกลาววา ชุดการสอน หมายถึง สื่อการสอนชนิดหน่ึงซ่ึงเปนชุดของส่ือประสมท่ีจัดข้ึนสําหรับหนวยการเรียนตามหัวขอเนื้อหา และประสบการณของแตละหนวยท่ีตองการจะใหผูเรียนไดรับ โดยจัดเอาไวเปนชุด ๆ บรรจุอยูในซอง กลอง หรือกระเปา สามารถชวยใหผูเรียนไดรับความรูอยางมีประสิทธิภาพ และชวยใหผูสอนมั่นใจในการสอน - แนวคิดและหลักการของชุดการสอนของ (ชัยยงค พรหมวงศ. 2523 : 119 – 120) ท่ีกลาวไว 5 แนวคิด ไดแก แนวคิดท่ี 1 เปนแนวคิดตามหลักจิตวิทยาเกี่ยวกับทฤษฎีความแตกตางระหวางบุคคล แนวคิดท่ี 2 เปนแนวคิดท่ีพยายามท่ีจะเปลี่ยนการเรียนการสอนแบบเดิมท่ียึดครูเปนศูนยกลาง เปนการจัดประสบการณและส่ือประสมท่ีตรงตามเน้ือหาวิชาในรูปของชุดการสอน แนวคิดท่ี 3 เปนแนวคิดท่ีพยายามจะจัดระบบการผลิตและการใชอุปกรณการสอนใหเปนไปในรูปสื่อประสม แนวคิดท่ี 4 เปนแนวคิดท่ีพยายามจะสรางปฏิสัมพันธใหเกิดข้ึนระหวางครูกับนักเรียน นักเรียนกับสภาพแวดลอม โดยนําสื่อการสอนและทฤษฎีกระบวนการกลุมมาใชในการประกอบกิจกรรมรวมกันของนักเรียน แนวคิดท่ี 5 เปนแนวคิดท่ียึดถือหลักวิทยาการเรียนรูมาจัดสภาพการเรียนรู เพื่อใหการเรียนรูมีประสิทธิภาพ โดยการเปดโอกาสใหนักเรียนไดเขารวมในกิจกรรมการเรียนดวยตนเอง ไดรับทราบวาการตัดสินใจหรือการทํางานของตนถูกหรือผิดไดทันที มีการเสริมแรงบวกท่ีทําใหนักเรียนภาคภูมิใจท่ีไดทําถูกหรือคิดถูก - ประโยชนของชุดการสอนของ สุวิทย มูลคํา และ อรทัย มูลคํา (2545 : 57) กลาววา ชุดการสอนชวยสงเสริมการเรียนเปนรายบุคคล โดยผูเรียนสามารถเรียนไดตามความสามารถ ความสนใจ ตามเวลาและโอกาสท่ีเหมาะสมของแตละคน แกปญหาการขาดแคลนครูผูสอน สงเสริมการจัดการศึกษานอกโรงเรียนและการจัดการศึกษาตลอดชีวิต สรางความม่ันใจและชวยลดภาระของผูสอน ผูเรียนสามารถแสวงหาความรูไดดวยตนเอง มีโอกาสฝกการตัดสินใจและการทํางานรวมกับกลุม

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

66

ระเบียบวิธีวิจัย การวิจัยครั้งน้ีเปนการวิจัยเชิงทดลองเบ้ืองตน (Pre-experimental Research) ใชแผนแบบการวิจัยกลุมเดียวสอบกอนเรียนและหลังเรียน (One Group Pretest – posttest Design) โดยมีรายละเอียดการดําเนินการโดยสังเขปดังน้ี ประชากรและกลุมตัวอยาง ประชากรท่ีใชในการวิจัยครั้งน้ีเปนนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 5 โรงเรียนมัธยมศึกษา ในกลุมอําเภอขาณุวรลักษบุรี จังหวัดกําแพงเพชร แผนการเรียนวิทยาศาสตร – คณิตศาสตร ภาคเรียนท่ี 1 ปการศึกษา 2551 จํานวน 3 โรงเรียน จํานวนนักเรียนท้ังหมด 168 คน กลุมตัวอยางท่ีใชในการวิจัยครั้งน้ีเปนนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 5/1 โรงเรียนขาณุวิทยา อําเภอขาณุวรลักษบุรี จังหวัดกําแพงเพชร แผนการเรียนวิทยาศาสตร – คณิตศาสตร ภาคเรียนท่ี 1 ปการศึกษา 2551 จํานวน 42 คน ซึ่งไดมาจากการสุมแบบหลายข้ันตอน (Multistage Random Sampling) ตัวแปรที่ศึกษา 1. ตัวแปรอิสระ ไดแก การสอนโดยใชชุดการสอนวิชาเคมี 2. ตัวแปรตาม มี 2 ตัวแปร ไดแก ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมี และความคงทนในการเรียนรู เคร่ืองมือที่ใชในการวิจัย เครื่องมือท่ีใชในการวิจัยครั้งน้ีมี 2 ฉบับ ไดแก 1. ชุดการสอนวิชาเคมี เรื่อง ไฟฟาเคมี สําหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 5 จํานวน 5 หนวย แบงเปน 9 หนวยยอย แตละหนวยยอยประกอบดวยองคประกอบ 2 สวน คือ สวนท่ี 1 คูมือครู สวนท่ี 2 กิจกรรมสําหรับนักเรียน กําหนดข้ันตอนการสอนโดยใชวิธีการจัดการเรียน การสอนแบบอุปนัย แบงเปน 5 ข้ัน ไดแก ข้ันเตรียม ข้ันสอนหรือข้ันใหตัวอยาง ข้ันเปรียบเทียบและรวบรวมขอมูล ข้ันสรุป และข้ันนําไปใช และนําไปใหผูเช่ียวชาญ 3 คน ตรวจสอบคุณภาพ แลวนําไปทดลองรายบุคคล เพื่อตรวจสอบความถูกตอง เหมาะสมของภาษาท่ีใช หลังจากน้ันนําไปปรับปรุงแกไข แลวนําไปทดลองกลุมเล็ก นําผลท่ีไดมาหาประสิทธิภาพ ผลการวิเคราะหประสิทธิภาพ พบวา ชุดการสอนมีประสิทธิภาพโดยรวม 83.60/85.67 ซึ่งมีประสิทธิภาพสูงกวาเกณฑ 80/80 2. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมี เรื่อง ไฟฟาเคมี เปนแบบทดสอบปรนัยชนิด 4 ตัวเลือก จํานวน 30 ขอ ซึ่งผูวิจัยสรางข้ึนโดยพิจารณาจากจุดประสงคการเรียนรู และเนื้อหาในแตละหนวย และนําไปใหผูเช่ียวชาญตรวจสอบความตรงเชิงเน้ือหา หลังจากน้ันนําไปทดลองกับนักเรียนกลุมตัวอยางในการหาประสิทธิภาพของแบบทดสอบ เพื่อนําคะแนนมาคํานวณหาความยากงายและคาอํานาจจําแนก ไดคาความยากงายอยูระหวาง 0.42 – 0.79 และคาอํานาจจําแนกอยูระหวาง 0.33 – 0.75 นํามาหาคาความเท่ียงโดยใชสูตร KR – 20 ของคูเดอร ริชารดสัน ไดคาความเท่ียงของแบบทดสอบเทากับ 0.92

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

67

การเก็บรวบรวมขอมูล ในการเก็บรวบรวมขอมูลในครั้งน้ีผูวิจัยดําเนินการดังตอไปนี้ 1. วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนเรียน โดยใหนักเรียนทําแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมี เรื่อง ไฟฟาเคมี 2. ดําเนินการทดลองสอน โดยผูวิจัยเปนผูสอนเอง ดวยชุดการสอนวิชาเคมี เรื่อง ไฟฟาเคมี สําหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 5 โดยทําการทดลองเม่ือวันท่ี 6 สิงหาคม 2551 ถึงวันท่ี 3 กันยายน 2551 ใชเวลาในการทดลองจํานวน 5 สัปดาห ๆ ละ 3 คาบ ๆ ละ 50 นาที รวมท้ังส้ิน 14 คาบ 3. เมื่อสิ้นสุดการทดลอง วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน โดยใชแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนฉบับเดียวกับกอนเรียน 4. เมื่อสิ้นสุดการทดลองแลวเปนเวลา 2 สัปดาห ทําการวัดความคงทนในการเรียนรู โดยใชแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนฉบับเดียวกับหลังเรียน

การวิเคราะหขอมูลและสถิติที่ใช 1. หาประสิทธิภาพของชุดการสอน โดยคํานวณจากคะแนนเฉล่ียจากการทําแบบทดสอบประจําหนวยคิดเปนรอยละ ตอ คะแนนเฉลี่ยจากการทําแบบทดสอบหลังเรียนคิดเปนรอยละ (E1/E2) 2. การหาคาดัชนีประสิทธิผลของชุดการสอน โดยคํานวณจากการเปรียบเทียบอัตราสวนผลตางของรอยละของคะแนนเฉล่ียหลังเรียนกับรอยละของคะแนนเฉลี่ยกอนเรียน ตอ ผลตางของรอยละของคะแนนเต็มหลังเรียนกับรอยละของคะแนนเฉลี่ยกอนเรียน 3. เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนเรียนและหลังเรียน ดวยสถิติทดสอบทีแบบกลุมตัวอยางไมเปนอิสระจากกัน (t-test for dependent samples) 4. ศึกษาความคงทนในการเรียนรู ดวยสถิติทดสอบทีแบบกลุมตัวอยางไมเปนอิสระจากกัน (t-test for dependent samples) 5. เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนท่ีไดจากกลุมตัวอยางกับเกณฑคะแนนท่ีคาดหวัง โดยใชการทดสอบแบบสัดสวน

สรุปผลการวิจัย

ผลการวิจัยครั้งน้ีสรุปไดดังน้ี

1. ชุดการสอนวิชาเคมีท่ีพัฒนาข้ึนมีประสิทธิภาพโดยรวม 87.48/81.43 2. ชุดการสอนวิชาเคมีท่ีพัฒนาข้ึนมีคาดัชนีประสิทธิผลเทากับ 0.68 ซึ่งมีคามากกวาเกณฑมาตรฐานท่ีกําหนด 0.5 เปนไปตามสมมติฐานขอท่ี 2 3. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมีของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 5 ท่ีไดรับการสอนโดยใชชุดการสอนหลังเรียนสูงกวากอนเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 ซึ่งเปนไปตามสมมติฐานขอท่ี 3

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

68

4. นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 5 ท่ีไดรับการสอนโดยใชชุดการสอนวิชาเคมีมีความคงทนในการเรียนรูวิชาเคมีอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 ซึ่งเปนไปตามสมมติฐานขอท่ี 4 5. นักเรียนรอยละ 76 ของนักเรียนท้ังหมด มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมีผานเกณฑรอยละ 80 ของคะแนนเต็ม ซึ่งเปนไปตามสมมติฐานขอท่ี 5

อภิปรายผลการวิจัย

จากผลการวิจัยครั้งน้ีสามารถอภิปรายผลการวิจัยไดดังน้ี 1. จากผลการวิจัยท่ีพบวา ชุดการสอนวิชาเคมีท่ีพัฒนาข้ึนมีประสิทธิภาพโดยรวม 87.48/81.43 และผลจากการใชชุดการสอนท่ีผูวิจัยสรางข้ึนมีประสิทธิภาพสูงกวาเกณฑนั้น อาจเนื่องมาจาก ผูวิจัยไดออกแบบสรางและพัฒนาชุดการสอนอยางเปนระบบ ผานการประเมินของผูเช่ียวชาญ หาประสิทธิภาพตามข้ันตอน ซึ่งสอดคลองกับ วิชัย วงษใหญ (2525: 189 – 192) และ บุญเกื้อ ควรหาเวช (2543: 97 – 99) ไดกลาวไววา การสรางชุดการสอนมีกระบวนการ ข้ันตอน จัดไวอยางมีระบบ ผูสรางตองศึกษาและวางแผนดําเนินการอยางละเอียด รวมท้ังการหาประสิทธิภาพชุดการสอน จึงทําใหชุดการสอนมีประสิทธิภาพสูงกวาเกณฑท่ีต้ังไว 2. จากผลการวิจัยท่ีพบวา ชุดการสอนวิชาเคมีท่ีพัฒนาข้ึนมีคาดัชนีประสิทธิผลเทากับ 0.68 ซึ่งมีคามากกวาเกณฑมาตรฐานท่ีกําหนด อาจเนื่องมาจาก ผูวิจัยไดสรางและพัฒนาชุดการสอนโดยมีองคประกอบ 2 สวน คือ สวนท่ี 1 คูมือครู ทําใหผูสอนทราบรายละเอียดตาง ๆ ของชุดการสอน สวนท่ี 2 กิจกรรมสําหรับนักเรียน ประกอบดวย บัตรคําส่ัง บัตรกิจกรรม บัตรความรู บัตรงานและแบบฝกหัด ซึ่งสอดคลองกับ บุญเก้ือ ควรหาเวช (2543 : 95 – 96) และสุวิทย มูลคํา และ อรทัย มูลคํา (2545 : 52) ไดกลาวไววา องคประกอบท่ีสําคัญของชุดการสอนประกอบดวย คูมือครู บัตรคําส่ัง สื่อ และแบบทดสอบ จึงทําใหชุดการสอนมีคาดัชนีประสิทธิผลสูงกวาเกณฑมาตรฐานท่ีกําหนดไว 3. จากผลการวิจัยท่ีพบวา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมีหลังเรียนของนักเรียนท่ีไดรับการสอนโดยใชชุดการสอนหลังเรียนสูงกวากอนเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 อาจเน่ืองมาจาก การเรียนโดยใชชุดการสอน ผู เรียนไดเรียนรูดวยการฝกปฏิบัติดวยตนเองจากสื่อการเรียนการสอนท่ีหลากหลาย ซึ่งไดแก อุปกรณการทดลอง ซึ่งชวยใหผูเรียนถายทอดเนื้อหาและประสบการณท่ีสลับซับซอนใหเปนนามธรรมสูงเขาใจรวดเร็วข้ึน ซีดีและรูปภาพ ชวยใหผูเรียนสนใจในการเรียนมากข้ึน จึงสงผลทําใหผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนท่ีไดรับการสอนโดยใชชุดการสอนหลังเรียนสูงกวากอนเรียน 4. จากผลการวิจัยท่ีพบวา นักเรียนท่ีไดรับการสอนโดยใชชุดการสอนมีความคงทนในการเรียนรูวิชาเคมีอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 อาจเนื่องมาจาก การเรียนโดยใชชุดการสอนเนนใหผูเรียนไดเรียนรูตามความสามารถ ความสนใจ โดยเปดโอกาสใหผูเรียนไดลงมือปฏิบัติกิจกรรมดวยตนเอง และชุดการสอนมีลักษณะเปนชุดการสอนแบบกลุมกิจกรรม โดยแบงกลุมแบบคละความสามารถ และเปดโอกาสใหผูเรียนทํางานรวมกัน ทําใหมีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกัน จึงเกิดความสนุกสนานในการ

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

69

เรียน และสงผลใหคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนผานไป 2 สัปดาหสูงกวาคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน ซึ่งสอดคลองกับ ชัยยงค พรหมวงศ (2523 : 119 – 120) และ บุญเกื้อ ควรหาเวช (2543 : 92 – 94) ไดกลาวไววา แนวคิดและหลักการท่ีนําใชในการสรางชุดการสอน คือการนําหลักจิตวิทยาการเรียนรูเกี่ยวกับทฤษฎีความแตกตางระหวางบุคคล โดยการเรียนการสอนจะตองคํานึงถึงความตองการ ความถนัด และความสนใจของผูเรียนเปนสําคัญ และการสรางปฏิสัมพันธระหวางผูเรียนกับผูเรียน โดยกระบวนการเรียนรูตองนํากระบวนการกลุมสัมพันธมาใชในการเปดโอกาสใหผูเรียนประกอบกิจกรรมรวมกัน จึงทําใหผูเรียนเขาใจและจดจําเนื้อหาไดดียิ่งข้ึน 5. จากผลการวิจัยท่ีพบวา นักเรียนรอยละ 76 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนผานเกณฑ รอยละ 80 ของคะแนนเต็ม อาจเนื่องมาจาก การเรียนโดยใชชุดการสอนผูเรียนไดเรียนรูดวยตนเองตามความสามารถ ปฏิบัติกิจกรรมดวยตนเอง ทราบผลการกระทําของตนเองไดทันที เมื่อผูเรียนไมเขาใจเน้ือหาสวนใด ผูเรียนสามารถยอนกลับไปศึกษาเพ่ิมเติมไดตลอดเวลา ซึ่งทําใหผูเรียนมีความเขาใจในเน้ือหามากข้ึน ซึ่งสอดคลองกับ ชัยยงค พรหมวงศ (2523 : 119 – 120) และ บุญเกื้อ ควรหาเวช (2543 : 92 – 94) ไดกลาวไววา การสรางชุดการสอนโดยยึดถือหลักวิทยาการเรียนรูมาจัดสภาพการเรียนรู โดยการเปดโอกาสใหผูเรียนไดเขารวมในกิจกรรมการเรียนดวยตนเอง ไดรับทราบวาการตัดสินใจหรือการทํางานของตนถูกหรือผิดไดทันที มีการเสริมแรงบวกท่ีทําใหผูเรียนภาคภูมิใจท่ีไดทําถูกหรือคิดถูก อันจะทําใหกระทําพฤติกรรมนั้นซ้ําอีกในอนาคต ไดคอยเรียนรูไปทีละข้ันตอนตามความสามารถและความสนใจของผูเรียนเอง โดยไมตองมีใครบังคับ จึงทําใหนักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงข้ึน

ขอเสนอแนะ จากการวิจัยครั้งน้ี ผูวิจัยมีขอเสนอแนะดังน้ี 1. วิธีการสอนโดยใชชุดการสอน เปนวิธีสอนท่ีใหมสําหรับนักเรียน ในการสอนครั้งแรกตองอธิบายใหนักเรียนเขาใจในวิธีการเรียนโดยใชชุดการสอน เพื่อมิใหเกิดปญหาในการเรียนการสอน 2. ในการเรียน เรื่อง ไฟฟาเคมี นักเรียนตองมีความรูพื้นฐานเก่ียวกับเลขออกซิเดชันและการเขียนสมการเคมี ครูจะตองสอนหรือทบทวนเนื้อหาเก่ียวกับเลขออกซิเดชันและการเขียนสมการเคมีใหกอน 3. กอนทํากิจกรรมการทดลอง ครูผูสอนควรอธิบายการใชอุปกรณตาง ๆ ในการทดลองใหนักเรียนเขาใจกอน เพ่ือมิใหเกิดปญหาในการเรียนการสอน 4. กอนท่ีจะนําชุดการสอนไปใช ครูผูสอนควรศึกษารายละเอียด และข้ันตอนการสอนตาง ๆ ใหเขาใจกอน เพ่ือการเรียนการสอนจะไดมีประสิทธิภาพสูงสุด 5. การใชชุดการสอนนี้ ครูผูสอนควรอบรมความรับผิดชอบ คุณธรรม จริยธรรม และความซ่ือสัตยใหกับนักเรียนกอน เนื่องจากภายในชุดการสอนมีเฉลย 6. ในขณะใชชุดการสอน ครูผูสอนควรจะมีบทบาทใหนอยลง เพื่อใหนักเรียนไดศึกษาดวยตนเอง ใหคําปรึกษาเฉพาะกรณีท่ีนักเรียนมีปญหาเทาน้ัน

********************

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

70

รายการอางอิง ชม ภูมิภาค. (2538). เทคโนโลยีทางการสอน. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสาน

มิตร. ชัยยงค พรหมวงศ. (2523). นวกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษากับการสอนอนุบาล. กรุงเทพมหานคร:

โอเดียนสโตร. ทวีพร ดิษฐสําเริง. (2542, 2 สิงหาคม). “การเรียนการสอนวิทยาศาสตร”. สานปฏิรูป. หนา 28. บุญเกื้อ ควรหาเวช. (2543). นวัตกรรมการศึกษา. พิมพครั้งท่ี 5. กรุงเทพมหานคร: SR Printing. ภพ เลาหไพบูลย. (2542). แนวการสอนวิทยาศาสตร. พิมพครั้งท่ี 3. กรุงเทพมหานคร: ไทยวัฒนาพานิช. สถาบันรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา. (2550). คาสถิติพ้ืนฐานผลการทดสอบทาง

การศึกษาระดับชาติขั้นพ้ืนฐาน (O – NET) ชวงชั้นที่ 4 ปการศึกษา 2550. (ออนไลน). แหลงท่ีมา: http://www.niets.or.th/pdf/group 2550.pdf.

วิชัย วงษใหญ. (2525). พัฒนาหลักสูตรและการสอนมิติใหม. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพรุงเรืองสาสน. สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี. (2546). การจัดสาระการเรียนรูกลุมวิทยาศาสตร

หลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน. มปท. สุวิทย มูลคํา และอรทัย มูลคํา. (2545). 21 วิธีจัดการเรียนรูเพ่ือพัฒนากระบวนการคิด. กรุงเทพมหานคร:

โรงพิมพภาพพิมพ. ********************

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

71

ผลของการจัดการเรียนการสอนโดยใหผูเรียนสรางองคความรูท่ีมีตอ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและเจตคติตอวิชาวิทยาศาสตร

ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 1* กัญญา บุญแตง**

ผศ.ดร.บัญญัติ ชํานาญกิจ และผศ.บังอร เลิศสกุลจินดา ***

การวิจัยครั้งน้ีมีวัตถุประสงคเพ่ือ 1) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตรของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปที่ 1 กอนและหลังที่ไดรับการจัดการเรียนการสอนใหผูเรียนสรางองคความรู 2) เพ่ือเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตรของผูเรียนช้ันมัธยมศึกษาปที่ 1 หลังไดรับการจัดการเรียนการสอนใหผูเรียนสรางองคความรูกับเกณฑ 3) เพ่ือเปรียบเทียบเจตคติตอวิชาวิทยาศาสตรของผูเรียนช้ันมัธยมศึกษาปที่ 1 กอนและหลังที่ไดรับการจัดการเรียนการสอนใหผูเรียนสรางองคความรู 4) เพ่ือเปรียบเทียบเจตคติตอวิชาวิทยาศาสตรของผูเรียนช้ันมัธยมศึกษาปที่ 1 หลังไดรับการจัดการเรียนการสอนใหผูเรียนสรางองคความรูกับเกณฑ กลุมตัวอยางไดแก นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปที่ 1โรงเรียนบานธํามรงค ปการศึกษา 2551 สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษากําแพงเพชรเขต 1 จํานวน 30 คน ใชเวลาในการทดลองสอน 16 ช่ัวโมง เครื่องมือที่ใชในการวิจัย คือ แผนจัดการเรียนรูโดยใหผูเรียนสรางองคความรู แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร เรื่อง สารในชีวิตประจําวัน และแบบวัดเจตคติตอวิชาวิทยาศาสตร ผลการวิจัยพบวา 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตรของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปที่ 1 ที่ไดรับการจัดการเรียนการสอนโดยใหผูเรียนสรางองคความรู หลังเรียนสูงกวากอนเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. นักเรียนที่ไดรับการจัดการเรียนการสอนโดยใหผูเรียนสรางองคความรูมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตรเฉล่ียรอยละ 74.77 ซึ่งสูงกวาเกณฑรอยละ 60 อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. เจตคติตอการเรียนวิชาวิทยาศาสตรของนักเรียนที่ไดรับการจัดการเรียนการสอนโดยใหผูเรียนสรางองคความรู หลังเรยีนสูงกวากอนเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 4. เจตคติตอการเรียนวิชาวิทยาศาสตรของนักเรียนที่ไดรับการจัดการเรียนการสอนโดยใหผูเรียนสรางองคความรู หลังเรียนสูงกวเกณฑระดับดีอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05

คําสําคัญ: ผูเรียนสรางองคความรู/ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร/ เจตคติตอวิชาวิทยาศาสตร

* วิทยานิพนธครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยราชภัฏกําแพงเพชร ** ครู วิทยฐานะครูชํานาญการ โรงเรียนบานโนนโก อาํเภอเมือง จังหวัดกําแพงเพชร *** อาจารยท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

72

The Effects of Self-Constructive Learning on Learning Science Achievement and Attitudes toward Science of Mathayomsuksa 1 Students.

Ganya Boontang

Asst. Prof. Dr. Banyat Chamnankit and Asst. Prof. Bangorn Ledsakunjinda

Abstract The research purposes were to 1) compare the learning science achievement of students before and after instructed by self-constructive learning, 2) to compare the students’ learning science achievement after instructed by self-constructive learnig with criteria, 3) to compare the students’ attitudes toward science before and after instructed by self-constructive learning, and 4) to compare the students’ attitudes toward science with criteria. The sample subjects were 30 students from mathayomsuksa 1 at Ban Tammarong, Kamphaeng Phet. The data was collected from various research instruments: self-constructive learning lesson plans, the learning science achievement test and the attitude toward science test. The research results were as follow: 1. The students’ learning science achievement after instructed by self-constructive learning was statistically higher than before at .05 level of significance. 2. The students’ learning science achievement whose instructed by self-constructive learning was 74.77 percent which was statistically higher than 60% criteria at .05 level of significance. 3. The students’ attitude toward science after instructed by self-constructive learning was statistically higher than before at .05 level of significance. 4. The students’ attitudes toward science whose instructed by self-constructive learning was statistically higher than high criteria at .05 level of significance.

Keywords: Self-Constructive learning/ Learning Science Achievement/ Attitudes toward Science

.

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

73

ความสําคัญและที่มาของปญหา วิทยาศาสตรเขามามีบทบาทกับชีวิตของมนุษย ท้ังในการดํารงชีวิตประจําวันและในงานอาชีพตาง ๆ เครื่องมือเครื่องใชเพื่ออํานวยความสะดวกในชีวิต และการทํางานลวนแตเปนผลของความรูวิทยาศาสตร ผสมผสานกับความคิดสรางสรรคและศาสตรอื่น ๆ ความรูวิทยาศาสตรชวยใหเกิดองคความรูและเขาใจในปรากฏการณธรรมชาติมากมาย มีผลใหเกิดการพัฒนาเทคโนโลยีอยางมาก การจะสงเสริมพัฒนาทางดานวิทยาศาสตร และเทคโนโลยีจะตองอาศัยการวางรากฐานทางการศึกษาท่ีมีคุณภาพ ดังน้ันหลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐานจึงไดกําหนดใหวิทยาศาสตร เปนกลุมสาระการเรียนรูหนึ่งท่ีตองจัดใหผูเรียนโดยมี จุดมุงหมายเพ่ือพัฒนาผูเรียนใหมีความรู ความเขาใจในแนวคิดหลักการทางวิทยาศาสตร มีกระบวนการ สืบเสาะหาความรู มีจิตวิทยาศาสตร สื่อสารส่ิงท่ีเรียนรูและนําความรูไปใชประโยชน นั่นคือใหไดท้ังกระบวนการและองคความรู (สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี. 2546: 4) วิทยาศาสตรมีความสําคัญดังกลาวขางตน แตจากผลการประเมินของกรมวิชาการผูเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 3 ปการศึกษา 2540 ระดับประเทศมีคะแนนเฉลี่ยรอยละในวิชาวิทยาศาสตร 44.30 ระดับเขตการศึกษา 7 มีคะแนนเฉลี่ยรอยละ 44.31 ระดับจังหวัดกําแพงเพชรมีคะแนนเฉลี่ยรอยละ 46.83 ซึ่งอยูในระดับตํ่ากวาเกณฑพอใช จากรายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษากําแพงเพชร เขต 1 และผลการประเมินของสมศ.ในมาตรฐานท่ี 5 ผูเรียนมีความรูและทักษะท่ีจําเปนตามหลักสูตร พบวาผูเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตรอยูในระดับควรปรับปรุง (สํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา. 2547 : 18 -23) สอดคลองกับผลการประเมินคุณภาพการศึกษาระดับชาติ(NT) ของกลุมโรงเรียนไตรตรึงษ พบวาผูเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 3 ปการศึกษา 2548 มีคะแนนเฉลี่ยรอยละในวิชาวิทยาศาสตร 48.00 ซึ่งอยูในระดับตํ่ากวาเกณฑพอใช (สํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษากําแพงเพชร เขต1. 2548 :ไมปรากฎเลขหนา) จากขอมูลจะเห็นไดวา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผูเรียนระดับมัธยมศึกษาปท่ี 3 อยูในระดับท่ีตํ่า ตองไดรับการแกไขอยางเรงดวนต้ังแตระดับมัธยมศึกษาปท่ี 1 ซึ่งเปนระดับข้ันพื้นฐาน สาเหตุหนึ่งท่ีทําใหผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนตํ่าก็คือ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนของครู ซึ่งจะเนนการสอนเน้ือหาเปนสําคัญ ไมไดเนนกระบวนการท่ีจะหาความรู(รุง แกวแดง. 2541 : 109-111) ผูเรียนขาดโอกาสในการคิด ไมไดลงปฏิบัติจริง ทําใหไมเขาใจเน้ือหาท่ีเรียน สงผลใหไมสามารถนําความรูไปประยุกตใช นอกจากนี้สภาพการเรียนการสอนในปจจุบัน มักจะสงเสริมใหผูเรียนมีการแขงขันเปนรายบุคคล จนทําใหเด็กขาดความรวมมือ ไมเคารพสิทธิของผูอื่น ขาดความเอื้อเฟอเผื่อแผ เด็กเกงไมสนใจเด็กออน ไมรูจักทํางานเปนหมูคณะ จะสงผลตอการพัฒนาประเทศชาติในอนาคต (โกวิท ประวาลพฤกษ. 2534: 13) ซึ่งการจัดการเรียนการสอนท่ีมุงเนนกระบวนการและการสรางองคความรูตามแนวคอนสตรัคติวิสต ใหความสําคัญกับความรู ท่ีมีอยูแลวในตัวผู เรียน ความรูจะพัฒนาข้ึนก็ตอเมื่อ ผู เรียนมีปฏิสัมพันธกับเพื่อน ครูและสภาพแวดลอม ผูเรียนจะเปนคนสรางความรูตามประสบการณของตนเอง กระบวนการเรียนรู เกิดจากผูเรียนจะตองลงมือปฏิบัติคนควาดวยวิธีการตาง ๆ จนทําใหผูเรียนเกิดความเขาใจและเกิดการเรียนรู จึง

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

74

สามารถสรางเปนองคความรูของตนเอง และสามารถนําไปใชในสถานการณตาง ๆ ได (รุง แกวแดง. 2541 : 110, สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี. 2546 : 215-227) การนําแนวทางของคอนสตรัคติวิสต มาจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตรท่ีมุงเนนวาการเรียนรูเกิดข้ึนดวยตัวของผูเรียนเอง วิธีการเรียนการสอนท่ีเหมาะสมก็คือ การเรียนรูดวยกระบวนการสืบเสาะหาความรู (Inquiry) ประกอบกับ การเรียนแบบรวมมือรวมใจ(Cooperative Learning) (ชาตรี เกิดธรรม. 2542 : 28-34) เปนกระบวนการแสวงหาความรู จนคนพบคําตอบดวยตนเอง ผูเรียนทํากิจกรรมรวมกันในกลุม มีโอกาสแลกเปลี่ยนความรูกัน และการท่ีแตละคนมีวัยใกลเคียงกันทําใหสื่อสารกันไดเปนอยางดี จะทําใหเกิดการเรียนรูท่ีหลากหลาย นําไปสูการตัดสินใจสรางองคความรู จากความสําคัญและความจําเปนในการพัฒนาการสอนวิทยาศาสตรนั้นคือ การสอนใหผูเรียนรูจักคิด สามารถสรางความรูไดดวยตนเอง มีสวนรวมในกิจกรรมการเรียนรู และสามารถนําความรูไปประยุกตใชในชีวิตประจําวัน ผูวิจัยจึงไดนําการจัดการเรียนรูโดยใหผูเรียนสรางองคความรูมาประยุกตใชในการสอนวิทยาศาสตร เพ่ือศึกษาผลของการจัดการเรียนการสอนโดยใหผูเรียนสรางองคความรูท่ีมีตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร และเจตคติตอวิชาวิทยาศาสตรของผูเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 1

จุดมุงหมายของการวิจัย 1. เพ่ือเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตรของผูเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 1 กอนและหลังท่ีไดรับการจัดการเรียนการสอนใหผูเรียนสรางองคความรู 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตรของผูเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 1 หลังไดรับการจัดการเรียนการสอนใหผูเรียนสรางองคความรู กับเกณฑรอยละ 60 3. เพ่ือเปรียบเทียบเจตคติตอวิชาวิทยาศาสตรของผูเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 1กอนและหลังท่ีไดรับการจัดการเรียนการสอนใหผูเรียนสรางองคความรู 4. เพ่ือเปรียบเทียบเจตคติตอวิชาวิทยาศาสตรของผูเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 1 หลังไดรับการจัดการเรียนการสอนใหผูเรียนสรางองคความรู กับเกณฑระดับดี

สมมติฐานการวิจัย 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตรของผูเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 1 ท่ีไดรับการจัดการเรียนการสอนใหผูเรียนสรางองคความรูหลังเรียนสูงกวากอนเรียน 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตรของผูเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 1 หลังจากไดรับการจัดการเรียนการสอนใหผูเรียนสรางองคความรูสูงกวาเกณฑรอยละ 60 3. เจตคติตอวิชาวิทยาศาสตรของผูเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 1ท่ีไดรับการจัดการเรียนการสอนใหผูเรียนสรางองคความรูหลังเรียนสูงกวากอนเรียน 4. เจตคติตอวิชาวิทยาศาสตรของผูเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 1 หลังจากไดรับการจัดการเรียนการสอนใหผูเรียนสรางองคความรูสูงกวาเกณฑระดับดี

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

75

กรอบแนวคิดและทฤษฏีที่เกีย่วของ ผูวิจัยศึกษาเอกสารและงานวิจัยท่ีเกี่ยวของมาเปนกรอบความคิดในการวิจัย สรุปโดยยอดังน้ี 1. แนวคิด ทฤษฏีที่เกี่ยวของกับการจัดการเรียนการสอนใหผูเรียนสรางองคความรู แนวคิดทฤษฏีของเพียรเจต กลาววา การเรียนรูเกิดจากปฏิสัมพันธระหวางบุคคลกับสิ่งแวดลอมรอบตัว กระบวนการเรียนรูเกิดจากประสบการณเดิมของผูเรียน และแนวคิดทฤษฏีของวีก็อทสก้ี กลาววา การเรียนรูเกิดจากการมีปฏิสัมพันธระหวางบุคคลกับสิ่งแวดลอมทางสังคมและวัฒนธรรม จะเห็นวา แนวคิดของเพียรเจตและวีก็อทสก้ีมีความเห็นตรงกันวา การเรียนรูเกิดจากการมีปฏิสัมพันธ มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกัน จนสามารถเช่ือมโยงความรูเดิมและเกิดการสรางความรูใหมข้ึนมา 2. การนําแนวทางของคอนสตรัคติวิสตมาจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร เนนวาการเรียนรูเกิดข้ึนดวยตัวของผูเรียนเอง วิธีการเรียนการสอนท่ีเหมาะสมก็คือการเรียนรูดวยกระบวนการสืบเสาะหาความรู(Inquiry) เปนการแสวงหาความรูและคนพบคําตอบดวยตนเอง มีครูผูสอนเปนผูเราความสนใจ กระตุนใหเกิดความสงสัย คิดหาคําตอบ ชวยจัดสถานการณ อํานวยความสะดวก จัดกิจกรรม จนผูเรียนไดคนพบความคิดรวบยอด ประกอบกับ การเรียนแบบรวมมือรวมใจ(Cooperative Learning) ซึ่งเปนกระบวนการเรียนรูท่ีผูเรียนทํากิจกรรมรวมกันในกลุม มีโอกาสแลกเปลี่ยนความรูกับเพื่อน และการท่ีแตละคนมีวัยใกลเคียงกัน ทําใหสื่อสารกันไดเปนอยางดีทําใหเกิดการเรียนรูท่ีหลากหลาย นําไปสูการตัดสินใจสรางองคความรู(สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 2546 : 224)

ระเบียบวิธีวิจัย การวิจัยครั้งน้ีเปนการวิจัยเชิงทดลองเบ้ืองตน(Pre- Experimental Research) แบบกลุมเดียวทดสอบกอนและหลัง(One Group Pretest Posttest Design)โดยมีรายละเอียดการดําเนินการพอสังเขปดังน้ี ประชากรและกลุมตัวอยาง ประชากรในการวิจัยครั้งน้ีไดแก ผูเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 1 สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษากําแพงเพชร เขต 1 กลุมตัวอยางในการวิจัยครั้งน้ีไดแก ผูเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 1โรงเรียนบานธํามรงค สํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษากําแพงเพชร เขต 1 จํานวน 30 คน เคร่ืองมือที่ใชในการวิจัย เครื่องมือท่ีใชในการวิจัยมี 3 ฉบับดังน้ี 1. แผนการจัดการเรียนรูวิชาวิทยาศาสตร ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 1 โดยใหผูเรียนสรางองคความรู จํานวน 5 แผน มีคุณภาพเหมาะสมมาก มีคาเฉลี่ย 4.26 สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน 0.46 ข้ันตอนการสอนมี 5 ข้ัน ดังน้ี 1) ข้ันตรวจสอบความรูเดิม 2) ข้ันสรางความรู 3) ข้ันแลกเปลี่ยนความรู 4) ข้ันสรุปจัดระเบียบความรู 5) ข้ันประยุกตใชความรู

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

76

2. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร จํานวน 1 ฉบับ เปนแบบปรนัย 4 ตัวเลือก จํานวน 30 ขอ ซึ่งมีคาดัชนีความสอดคลองระหวางขอสอบกับจุดประสงคการเรียนรูอยูระหวาง 0.80 – 1.00 คาความยากงายอยูระหวาง 0.20 – 0.73 คาอํานาจจําแนกอยูระหวาง 0.20 – 0.47 และคาความเช่ือม่ัน 0.76 3. แบบวัดเจตคติตอวิชาวิทยาศาสตร จํานวน 1 ฉบับ เปนแบบวัดเทคนิค Likert ท่ีมีมาตราสวนประมาณคา 5 ระดับ จํานวน 20 ขอ มีคาความเช่ือมั่น 0.88 การเก็บรวบรวมขอมูล ผูวิจัยไดดําเนินเก็บรวบรวมขอมูล ดังน้ี 1. ทดสอบกอนเรียน(Pretest) กับผูเรียนดวยแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตรและแบบวัดเจตคติตอวิชาวิทยาศาสตร นํามาตรวจใหคะแนนและบันทึกไวเปนคะแนนการสอบกอนเรียน 2. ดําเนินการทดลองสอนตามแผนการจัดการเรียนการสอนใหผูเรียนสรางองคความรู เปนเวลา 4 สัปดาห ใชเวลาสอน 16 ช่ัวโมง 3. เมื่อเสร็จสิ้นการทดลองสอนแลว ทําการทดสอบหลังเรียน(Posttest) ดวยแบบทดสอบฉบับเดิม นํามาตรวจใหคะแนน บันทึกผลไวเปนคะแนนหลังเรียน นํามาวิเคราะหขอมูลโดยใชวิธีการทางสถิติ เพื่อทดสอบสมมติฐานและสรุปผลการวิจัย การวิเคราะหขอมูลและสถิติที่ใช 1. เปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตรของผูเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 1 กอนและหลังท่ีไดรับการจัดการเรียนการสอนใหผูเรียนสรางองคความรู โดยการทดสอบคาที (t-test for dependent samples) ปรากฏผลดังแสดงในตาราง

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน n X S.D. t กอนเรียน 30 13.60 1.94

25.52 * หลังเรยีน 30 22.43 2.86

*มีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ.05 ( t(29,.05) =1.70) 2. เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตรของผูเรียน ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 1 หลัง ไดรับการจัดการเรียนการสอนใหผูเรียนสรางองคความรู ผานเกณฑคาเฉลี่ยรอยละ 60 ของคะแนนเต็ม โดยการทดสอบคาที (t-test for one sample) ปรากฏผลดังแสดงในตาราง

จํานวนผูเรยีน ท้ังหมด(คน)

คะแนนของแบบทดสอบหลังเรียน คะแนนผานเกณฑรอยละ60(คะแนน)

t คะแนนเต็ม

(คะแนน) X S.D. คะแนนเฉลี่ย

คิดเปนรอยละ 30 30 22.43 2.86 74.77 18 8.48*

*มีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ.05 ( t(29,.05) =1.70)

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

77

3. เปรียบเทียบเจตคติตอวิชาวิทยาศาสตรของผูเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 1 กอนและหลังท่ีไดรับการจัดการเรยีนการสอนใหผูเรียนสรางองคความรู โดยการทดสอบคาที (t-test for dependent samples) ปรากฏผลดังแสดงในตาราง

เจตคติตอวิชาวิทยาศาสตร n X S.D. t กอนเรียน 30 2.98 0.22

27.06* หลังเรยีน 30 3.93 0.27

*มีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ.05 ( t(29,.05) =1.70) 4. เปรียบเทียบเจตคติตอวิชาวิทยาศาสตรของผูเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 1 หลังไดรับการจัดการเรียนการสอนใหผูเรียนสรางองคความรู กับเกณฑ 3.51 ซึ่งอยูในระดับดี โดยการทดสอบคาที (t-test for one sample) ปรากฏผลดังแสดงในตาราง

จํานวนผูเรยีน ท้ังหมด

(คน)

คะแนนเจตคติตอวิชาวิทยาศาสตรหลังเรียน คะแนน ผานเกณฑ

t คะแนนเต็ม

(คะแนน)

X

S.D. 30 5 3.93 0.27 3.51 8.31*

*มีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ.05( t(29,.05) =1.70)

สรุปผลการวิจัย ผลการวิจัยครั้งน้ีพบวา 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตรหลังเรียนของผูเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 1 ท่ีไดรับการจัดการเรียนการสอนโดยใหผูเรียนสรางองคความรู สูงกวากอนเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 2. ผูเรียนท่ีไดรับการจัดการเรียนการสอนโดยใหผูเรียนสรางองคความรู มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตรเฉลี่ยรอยละ 74.77 และสูงกวาเกณฑรอยละ 60 อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 3. เจตคติตอการเรียนวิชาวิทยาศาสตรหลังเรียนของผูเรียนท่ีไดรับการจัดการเรียนการสอนโดยใหผูเรียนสรางองคความรู สูงกวากอนเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 4. เจตคติตอการเรียนวิชาวิทยาศาสตรหลังเรียนของผูเรียนท่ีไดรับการจัดการเรียนการสอนโดยใหผูเรียนสรางองคความรู สูงกวาเกณฑระดับดีอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05

อภิปรายผลการวิจัย จากผลการวิจัยครั้งน้ีสามารถนํามาอภิปรายผลได ดังน้ี 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตรหลังเรียนของผูเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 1 ท่ีไดรับการจัดการเรียนการสอนโดยใหผูเรียนสรางองคความรู สูงกวากอนเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 ซึ่งเปนไปตามสมมติฐานขอท่ี 1 แสดงใหเห็นวา การจัดการเรียนการสอนตามข้ันตอนท่ีผูวิจัยสังเคราะหข้ึน ทําใหผูเรียนเกิดการเรียนรูโดยมีพื้นฐานมาจากความรูเดิม ใชวิธีการทางวิทยาศาสตร ไดแก การกําหนด

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

78

ปญหา การต้ังสมมติฐาน การเก็บรวบรวมขอมูลหรือการทดลอง และการสรุปผลการทดลอง จนทําใหผูเรียนเกิดความเขาใจและเกิดการเรียนรู สามารถสรางองคความรูของตนเองได (สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี. 2546 : 219) สงผลใหคะแนนเฉลี่ยของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผูเรียนสูงข้ึน สอดคลองกับงานวิจัยของประวีณา นิลนวล (2541 : บทคัดยอ) และวรรณดี จันทรวงศ (2547 : บทคัดยอ) ผลการวิจัยเปนไปทํานองเดียวกันคือชวยพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผูเรียนใหสูงข้ึน 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตรหลังเรียนของผูเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 1 ท่ีไดรับการจัดการเรียนการสอนโดยใหผูเรียนสรางองคความรู จากการทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของผูเรียนจํานวน 30 คนซ่ึงมีคะแนนเต็ม 30 คะแนน ปรากฏวาผลการทดสอบหลังเรียนมีคะแนนเฉลี่ย 22.43 คิดเปนรอยละ 74.77 เมื่อทดสอบคาทีกับเกณฑรอยละ 60 ซึ่งมีคาเฉลี่ยเทากับ 18 พบวาสูงกวาเกณฑอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 เปนไปตามสมมติฐานขอท่ี 2 สอดคลองกับงานวิจัยของดาวรุง ขุขันธิน(2547: บทคัดยอ), อรุณศรี ศรีชัย (2548 อางถึงใน สํานักงานวิจัยและพัฒนาการศึกษา. 2548: 159) 3. เจตคติตอการเรียนวิชาวิทยาศาสตรหลังเรียนของผูเรียนท่ีไดรับการจัดการเรียนการสอนโดยใหผูเรียนสรางองคความรูของผูเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 1 สูงกวากอนเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 ซึ่งเปนไปตามสมมติฐานขอท่ี 3 แสดงใหเห็นวา การจัดกิจกรรม การเรียนการสอนโดยให ผูเรียนสรางองคความรู ประกอบดวยข้ันตอนและกิจกรรมท่ีหลากหลายใหผูเรียนมีสวนรวมในบรรยากาศ ท่ีเปนกันเอง มีกิจกรรมใหผู เรียนไดลงมือปฏิบัติ เชน การทดลอง การทําแผนผังความคิดรวบยอด การสืบคนขอมูลทางอินเตอรเน็ต กิจกรรมกลุมท่ีให ผูเรียนไดรวมกันเสนอความคิดเห็น ทําใหผูเรียนปฏิบัติดวยความสนุกสนานเพลิดเพลิน ดานส่ือประกอบการสอนมีการจัดเตรียมไวอยางพรอมเพียง และใชสื่อท่ีหาไดในทองถิ่น ผูเรียนเห็นคุณคาของวิชาวิทยาศาสตรนําไปใชไดในชีวิตประจําวัน จึงมีความต้ังใจและสนใจในการเรียนดีมีความรูสึกชอบวิชาวิทยาศาสตร สอดคลองกับงานวิจัยของสุจินต เลี้ยงจรูญรัตน (2543: บทคัดยอ) และกาญจนา คังคะประดิษฐ (2547: บทคัดยอ) ผลการวิจัยพบวา ผูเรียนท่ีไดรับการจัดการเรียนการสอนโดยใหผูเรียนสรางองคความรูมีเจตคติตอวิชาท่ีเรียนสูงข้ึนกวาเดิม 4. เจตคติตอการเรียนวิชาวิทยาศาสตรหลังเรียนของผูเรียนท่ีไดรับการจัดการเรียนการสอนโดยใหผูเรียนสรางองคความรู อยูในระดับดี นั่นคือ มีคาเฉลี่ยต้ังแต 3.51 ข้ึนไป ซึ่งเปนไปตามสมมติฐานขอท่ี 4 ท้ังน้ีเนื่องจาก การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนครูมีการกระตุนใหผูเรียนไดเกิดความทาทายกับปญหาอาจจะเปนสถานการณหรือของตัวอยาง เชน การสอนเรื่องการแยกสารครูนําเกลือแกงกับการบูนซ่ึงมีลักษณะเปนเกร็ดสีขาวดวยกันท้ังคู จากน้ันครูนําสารท้ังสองผสมกันแลวใหผูเรียนรวมกันหาวิธีแยกสารออกจากกัน ผูเรียนออกแบบการทดลองของตนเองและลงมือแยกสารตามท่ีไดออกแบบไว จนสามารถสรุปและอธิบายไดอยางสมเหตุสมผล เมื่อผูเรียนทํางานไดสําเร็จจะเปนแรงกระตุนใหเกิดความพอใจในการเรียน มีเจตคติท่ีดีตอวิชาท่ีเรียนตอครูผูสอน ผูเรียนจะมีความต้ังใจเรียนชอบวิชาท่ีเรียนทําใหการเรียนไดผลดี(ลวน สายยศ และอังคณา สายยศ. 2543: 54-55), (เฉลา ประเสริฐสังข ม.ป.ป.: 256)

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

79

ขอเสนอแนะ 1. ขอเสนอแนะในการนําผลการวิจัยไปใช (1) ครูผูสอนจะตองศึกษาทําความเขาใจหลักการ ข้ันตอนการสอนเปนอยางดี สามารถแกปญหาเฉพาะหนาท่ีเกิดข้ึน มีความสามารถควบคุมช้ันเรียน คุมเวลา และตั้งคําถามท่ีกระตุนใหผูเรียนเกิดการเรียนรูได ซึ่งจะชวยใหครูดําเนินกิจกรรมการเรียนการสอนไดอยางมีประสิทธิภาพ (2) เวลาท่ีใชในการจัดการเรียนการสอนตองใชเวลาคอนขางมากในการกระตุนใหผูเรียนเกิดการเรียนรูโดยเฉพาะในข้ันท่ี 2 ข้ันสรางความรู จะตองมีการศึกษา คนควา ทดลอง ดวยวิธีการทางวิทยาศาสตร จนผูเรียนสามารถสรางองคความรูได ซึ่งผูเรียนมีความแตกตางกันในดานความสามารถในการเรียนรู ครูตองเขามาชวยช้ีแนะแนวทางในการหาคําตอบแทนการบอกคําตอบ 2. ขอเสนอแนะในการวิจัยครั้งตอไป (1) ควรเพิ่มเวลาท่ีใชในการทดลองการวิจัย เนื่องจากกิจกรรมในแตละข้ันตอนตองใชเวลาเพื่อใหผูเรียนเกิดการเรียนรู (2) ควรมีการศึกษาการจัดการเรียนการสอนโดยใหผูเรียนสรางองคความรูกับประชากรและระดับช้ันอื่น (3) ควรนํากิจกรรมการเรียนการสอนโดยใหผูเรียนสรางองคความรูตามข้ันตอน ท่ีผูวิจัยสังเคราะหข้ึน ไปทดลองใชเพื่อศึกษาผลการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนท่ีมีตอตัวแปรอื่นเชน ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร ความคงทนในการเรียน ความสนใจในการเรียน

********************

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

80

รายการอางอิง กาญจนา คังคะประดิษฐ. (2547). การสอนใหเกิดแนวคิดเร่ืองพันธะเคมี ตามแนวคอนสตรัคติวิซึม สําหรับ

นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4. วิทยานิพนธ ศศ.ม. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. โกวิทย ประวาลพฤกษ. (2534). การพัฒนาทรัพยากรมนุษยสําหรับอนาคต. กรุงเทพมหานคร: คุรุสภา. เขตพ้ืนท่ีการศึกษากําแพงเพชร เขต 1, สํานักงาน. (2548). ผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับ

การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ปการศึกษา 2548. กําแพงเพชร: สํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษากําแพงเพชร เขต 1.

เฉลา ประเสริฐสังข. (ม.ป.ป.) จิตวิทยาการเรียนการสอน. จันทบุรี: คณะครุศาสตร สถาบันราชภัฏรําไพพรรณี จันทบุรี.

ชาตรี เกิดธรรม. (2542). การเรียนการสอนวิทยาศาสตรเนนนักเรียนเปนศูนยกลาง. กรุงเทพมหานคร: บริษัทเซ็นเตอรดิสคัฟเวอรี จํากัด.

ดาวรุง ขุขันธิน. (2547). ผลการจัดการเรียนการสอนโดยใหผูเรียนสรางองคความรูที่มีตอผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาคณิตศาสตรและความสามารถในการทํางานกลุมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1. วิทยานิพนธ ค.ม. กําแพงเพชร: มหาวิทยาลัยราชภัฏกําแพงเพชร.

ประวีนา นิลนวล. (2541). ผลของการใชรูปแบบการสอนตามกรอบแนวคิดผูเรียนสรางความรูเองที่มีตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1. วิทยานิพนธ ค.ม. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

รับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา, สํานักงาน. (2547). รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาโรงเรียนบานโนนโก ตําบลไตรตรึงษ อําเภอเมือง จังหวัดกําแพงเพชร.

รุง แกวแดง. (2541). ปฏิวัติการศึกษาไทย. พิมพครั้งท่ี 3. กรุงเทพมหานคร: มติชน. ลวน สายยศ และอังคณา สายยศ. (2542). การวัดดานจิตพิสัย. กรุงเทพมหานคร: สุวีริยาสาสน. วรรณดี จันทรวงศ. (2547). การใชรูปแบบวงจรการเรียนรูตามแนวคอนสตรัคติวิซึม ที่มีตอแนวคิดเร่ือง

สารประกอบไฮโดรคารบอน ของนักศึกษาพยาบาลชั้นปที่ 1 มหาวิทยาลัยคริสเตียน. วิทยานิพนธศิลปศาสตรมหาบัณฑิต. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.

สงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี, สถาบัน. (2546). การจัดการเรียนรูกลุมวิทยาศาสตร หลักสูตร การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน. กรุงเทพมหานคร.

สุจินต เลี้ยงจรูญรัตน. (2543). ผลการใชกระบวนการเรียนแบบคอนสตรัคติวิซึมและการใชแฟมผลงานในการสอนหัวเร่ือง พลังงานกับชีวิต และเคร่ืองใชไฟฟาในบาน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 โรงเรียนสาธิตแหงมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. วิทยานิพนธศึกษาศาสตรดุษฏีบัณฑิต. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.

********************

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

81

ผลของโปรแกรมการออกกําลังกายการเตนแอโรบิก ท่ีใชระยะเวลาตางกันท่ีมีตอสมรรถภาพทางกายนักศึกษาพยาบาลชั้นปท่ี 1 วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี

สวรรคประชารักษ วิทยาเขตนครสวรรค*

มานพ ศรีชมพู**

ดร.สมบัติ ศรีทองอินทร***

บทคัดยอ การวิจัยครั้งน้ีเปนการวิจัยก่ึงทดลอง โดยมีจุดมุงหมายเพ่ือศึกษาสมรรถภาพทางกาย สรางโปรแกรมการออกกําลังกายดวยการเตนแอโรบิกที่มีตอสมรรถภาพทางกาย และเปรียบเทียบสมรรถภาพทางกายหลังการใชโปรแกรมการออกกําลังกายดัวยการเตนแอโรบิก ที่ระยะเวลา 3 วันตอสัปดาหและระยะเวลา 5 วันตอสัปดาห กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัยครั้งน้ี เปนนักศึกษาพยาบาลช้ันปที่ 1 วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีสวรรคประชารักษ วิทยาเขตนครสวรรค ที่มีสมรรถภาพทางกายตํ่ากวาเกณฑ จํานวน 80 คน แบงเปน 2 กลุมๆละ 40 คน ไดแก กลุมที่ออกกําลังกาย 3 วันตอสัปดาห และกลุมที่ออกกําลังกาย 5 วันตอสัปดาห เครื่องมือที่ใชในการวิจัย คือ แบบทดสอบสมรรถภาพทางกาย 6 ดาน ไดแก อัตราการเตนหัวใจขณะพัก ความจุปอด แรงบีบมือ แรงเหยียดขา ความออนตัวดานหนา และสมรรถภาพหัวใจ วิเคราะหขอมูลใชสถิติ รอยละ คาเฉล่ีย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบทีแบบกลุมตัวอยางไมเปนอิสระจากกัน และการทดสอบทีแบบกลุมตัวอยางไมเปนอิสระจากกัน ผลการวิจัยพบวา 1. คะแนนความแตกตางคาเฉล่ียสมรรถภาพทางกายรวมทั้ง 6 ดานของแตละกลุมตัวอยาง กอน-หลังการใชโปรแกรมการออกกําลังกาย 8 สัปดาห พบวาทั้ง 2 กลุมมีคะแนนเฉล่ียเพ่ิมขึ้นอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ .05 2. เมื่อเปรียบเทียบความแตกตางคาเฉล่ียของผลตางของคะแนนระหวางกลุม พบวา กลุมออกกําลังกาย 5 วันตอสัปดาห มีคะแนนเฉล่ียผลตางของคะแนนสมรรถภาพทางกายดีกวา กลุมออกกําลังกาย 3 วัน ตอสัปดาหทั้ง 6 ดาน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05

คําสําคัญ : โปรแกรมการออกกําลังกาย/ การเตนแอโรบิก/ สมรรถภาพทางกาย

*

* วิทยานิพนธครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาสงเสริมสุขภาพ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค พ.ศ.2551 ** นักศึกษาปริญญาโท สาขาวิชาการสงเสริมสุขภาพ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค *** อาจารยประจําคณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค (อาจารยท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ)

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

82

The Effect of Different Interval Time of Aerobic Exercise Program on Physical Efficiency of The First Year Nursing Students of Boromarajonani College of

Nursing, Sawanpracharak Campus, Nakhon Sawan Manop Srichompoo

Dr.Sombat Srithong-in

Abstract This study was a semi-experimental research to study physical efficiency. The aerobic program was created with the aerobic dance which affected physical efficiency. And it was to compare physical efficiency both before and after employing the program of exercise with aerobic dance. The periods of program were 3 days per week and 5 days per week. The study was done through 80 students who were the first year nursing students at Boromarajonani College of Nursing who has lower physical efficiency than that of the standard. The group was separated into two groups with 40 students each .One group was done with the 3 days per week program and the other was done with the 5 days per week program, both for 8 weeks long. The research tools were the six types of physical efficiency test. The data were analyzed through percentile, average, standard deviation, Paired Samples t – test, and Independent Samples t- test. The research found that: 1. The comparision between the means of six types of physical efficiency before and after joining the 8 week aerobic exercise program for both groups showed a significant increase at the level of .05. 2. When comparing the difference of average point of all six types between two groups, the group of 5 days per week has better score in physical efficiency than that of the group of 3 days per week with the significant level of .05.

Keywords: Exercise Program/ Aerobic Exercise/ Physical Efficiency

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

83

ความสําคัญและที่มาของปญหา พระราชดํารัสของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดช ท่ีอัญเชิญไปอานในการประชุมสัมมนา เรื่อง “ การออกกําลังกายเพื่อสุขภาพ” เมื่อวันพุธท่ี 17 ธันวาคม 2523 วา “รางกายของคนเรานั้น ธรรมชาติสรางมาสําหรับใหออกแรงใชงานมิใชใหอยูเฉย ๆ ถาใชแรงใหพอเหมาะพอดีโดยสมํ่าเสมอ รางกายก็เจริญแข็งแรง คลองแคลวและคงทนยั่งยืน ถาไมใชแรงเลยหรือใชไมเพียงพอ รางกายก็เจริญแข็งแรงอยูไมได แตจะคอย ๆ เส่ือมไปเปนสําคัญและหมดสมรรถภาพไปกอนเวลาอันสมควร ดังน้ันผูท่ีปกติทํางานโดยไมใชกําลัง หรือใชแตนอยจึงจําเปนตองหาเวลาออกกําลังกายใหเพียงพอกับความตองการของธรรมชาติเสมอทุกวัน มิฉะน้ัน จะเปนท่ีนาเสียดายอยางยิ่งท่ีเขาจะใชสติปญญาความสามารถของเขาทําประโยชนแกตนเอง และสวนรวมไดนอยเกินไป เพราะรางกายกลับกลายออนแอน้ัน จะไมอํานวยใหทํางานโดยมีประสิทธิภาพได” (กรมอนามัย. 2548 : 1) การพัฒนาศักยภาพของคนใหเปนคนท่ีมีคุณภาพ ซึ่งประกอบดวยลักษณะของการเรียนรูมีความสามารถในการทํางานหรือดํารงชีวิตไดอยางปกติมีสุขภาพสมบูรณท้ังรางกาย จิตใจ อารมณและสังคม ดังน้ันในการสงเสริมสุขภาพของคนตองดําเนินการพัฒนาการศึกษาควบคูไปกับการพัฒนาสุขภาพ โดยเริ่มตนจากวัยเด็กและเพ่ือใหเด็กมีการเจริญเติบโตท่ีเหมาะสมตามวัยจนเปนผูใหญท่ีดีและมีคุณภาพชีวิตท่ีดีดวยเด็กท่ีมีสุขภาพรางกายท่ีแข็งแรง สมบูรณจะสามารถเลาเรียนไดอยางเต็มท่ีเปนบุคคลท่ีมีความเช่ือมั่นในตนเองมีความรับผิดชอบปรับตัวเขากับคนอื่น ๆไดงายอยูในสังคมไดอยางปกติสุข สวนหน่ึงของการมีสุขภาพท่ีดีไดตองอาศัยการออกกําลังกายอยางตอเนื่อง การออกกําลังกายเปนเวลานาน ๆ จะทําใหระบบตาง ๆ ของรางกายทํางานไดทุกสวนสัมพันธกันสุขภาพท่ีดีเปนภาวะปกติของรางกายท่ีทํางานไดดี สวนสมรรถภาพทางกายดีเปนความสามารถในการเคลื่อนไหวและออกกําลังกายไดดี คนท่ีมีสมรรถภาพทางกายดีตองมีการออกกําลังกายสม่ําเสมอจึงจะทําใหสุขภาพดี (สมชาย ลี่ทองอินทร. 2546 : 14) ถึงแมวาการออกกําลังกายจะมีประโยชน แตปจจุบันพบวาวัยรุนของไทยยังมีการออกกําลังกายอยูในระดับท่ีตัวเลขไมสูงมากนัก จากขอมูลพฤติกรรมการออกกําลังกายของประชาชนในเขตเมืองเม่ือเปรียบเทียบระหวางป พ.ศ.2548 และพ.ศ.2549 แสดงใหเห็นวาประชาชนในเขตเมืองใหความสําคัญและใสใจการออกกําลังกายมากข้ึน โดยมีอัตราเพ่ิมข้ึน 4.2% และใชเวลาครั้งละ 2.44 ช่ัวโมง เพิ่มข้ึนจากปกอนถึง 2.1 เทาไมเพียงเทาน้ีกลุมท่ีออกกําลังกายเปนประจํามีสัดสวนถึง 70.7% แตเมื่อแบงแยกออกตามชวงอายุกลับพบวา วัยรุนเปนกลุมท่ีมีการออกกําลังกายนอยท่ีสุด โดยมีอัตราเพ่ิมข้ึนเพียง 2% เทาน้ันเนื่องจากเห็นวาตนเองมีสุขภาพท่ีแข็งแรงดีอยูแลวแตกตางจากกลุมคนวัยทํางานท่ีจะใสใจเรื่องการออกกําลังกายมากเปนพิเศษ เพราะตองการเตรียมรางกายใหพรอมอยูเสมอและเปนการคลายความเครียดจากงานอีกวิธีหนึ่ง (สํานักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ. 2549) จะเห็นไดวา สตรีมีกิจกรรมการออกําลังกายนอยกวาบุรุษ ซึ่งสอดคลองกับการศึกษาของ โยชิดะ แอลลิสัน และออสบอรน (Yoshida, Allison & Osbom. 1988) ท่ีพบวาสตรียังมีการออกกําลังกายนอย การท่ีสตรีมีการออกกําลังกายนอย อาจเนื่องมาจากคานิยมทางสังคมท่ีวาสตรีเปนเพศท่ีควรหลีกเลี่ยงกิจกรรมท่ี

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

84

ทําใหเหงื่อออก และสังคมไทยแตเดิมก็ไมมีวัฒนธรรมสนับสนุนการออกกําลังกายในสตรี ลักษณะการถายทอดทางวัฒนธรรมดังกลาว จึงอาจมีผลตอการมีพฤติกรรมออกกําลังกายของสตรี การขาดพฤติกรรมการออกกําลังกายดังกลาวทําใหสตรีเสี่ยงตอการเกิดโรคและเจ็บปวยไดงาย ดังน้ันจึงควรมีการสงเสริมใหสตรีมีการออกกําลังกายเพิ่มข้ึนเพิ่มข้ึน (จิตอารี ศรีอาคะ. 2543: 52) วิชาชีพพยาบาลเปนวิชาชีพท่ีสวนใหญเปนสตรีลักษณะงานตองเผชิญกับความเจ็บปวยและสภาวะอารมณท่ีไมคงท่ีของผูปวยและญาติ และบุคลากรในทีมสุขภาพลักษณะงานของวิชาชีพนี้เปนงานท่ีหนัก เนื่องจากตองปฏิบัติงานตามตารางเวรท่ีผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนท้ังเวรเชา เวรบาย และเวรดึก เพื่อใหการพยาบาลแกผูปวยอยางตอเนื่อง 24 ช่ัวโมง ซึ่งการทํางานในระหวางเวรหน่ึงตออีกเวรหนึ่งจะตองมีการประสานงานและทําการสงตอขอมูลเกี่ยวกับผูปวยซึ่งตองอาศัยชวงระยะ เวลาหน่ึงอันมีผลใหพยาบาลตองมาข้ึนทํางานเร็ว และลงทํางานชากวาเวลาท่ีเปนจริง 1 ถึง 2 ช่ัวโมงประกอบกับบางรายตองประสบกับความยุงยากในชีวิตประจําวัน ในดานภาระงาน ภาระรับผิดชอบครอบครัวและงานในบาน ซึ่งการมีบทบาทหลายอยางของพยาบาล เชนบทบาทในการทํางาน บทบาทเปนผูใหบริการ บทบาทของการเปนผูดูแลผูปวย และบทบาทของการเปนภรรยาหรือแมจะสงผลตอการดําเนินชีวิต ทําใหรางกายมีการเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลารางกายตองปรับตัวอยูเสมอ กอให เกิดความเครียดไดงาย ซึ่งก็พบวาพยาบาลเปนวิชาชีพท่ีมีความเครียดสูง อันสงผลกระทบตอสุขภาพทําใหเส่ียงตอการเกิดโรคและความเจ็บปวยไดงาย สวนมากโรคท่ีพบคือ โรคกระเพาะอาหารอักเสบ ปวดศีรษะ อาการออนเพลีย (Rogers. 1995) จากการศึกษา พบวา พยาบาลประจําการโรงพยาบาลรามาธิบดีสวนใหญมีปญหา เรื่องปวดหลังและเปนแผลในกระเพาะอาหาร การเจ็บปวยของพยาบาล ดังกลาวทําใหรางกายออนแอและความพรอมของการปฏิบัติงานลดลงอันอาจสงผลกระทบตอคุณภาพการปฏิบัติงานและทําใหมีการลาปวยทําใหตองมีการจัดพยาบาลข้ึนเวรทดแทนกําลังท่ีขาดเปนการเพิ่มปริมาณการทํางานของพยาบาลสวนหน่ึงมากกวาปกติหรือทําใหไมไดหยุดพักผอนในแตละสัปดาหทําใหลดประสิทธิภาพในการทํางานการออกกําลังกายเปนพฤติกรรมสุขภาพท่ีจะชวยเสริมสรางสมรรถภาพทางกายและมีประโยชนตอสุขภาพจิตซ่ึงอาจนําไปสูการเพ่ิมประสิทธิภาพของการปฏิบัติงาน (ปรีดาภรณ สีปากดี. 2530 อางอิงจาก จําเนียร สุมแกว. 2545: 12) สําหรับนักศึกษาพยาบาลช้ันปท่ี 1 จึงมีความจําเปนอยางยิ่งท่ีจะตองมีการเตรียมความพรอมท้ังทางดานรางกายและดานสภาพจิตใจท่ีจะปฏิบัติภาระหนาท่ีอันหนักท่ีจะมาภายหนาน้ัน ผูวิจัยจึงสนใจท่ีจะศึกษาผลการใชโปรแกรมการออกกําลังกายแบบแอโรบิก ท่ีมีตอการเสริมสรางสมรรถภาพทางกายของนักศึกษาพยาบาลช้ันปท่ี 1 เพื่อเปนการสงเสริมสุขภาพและสรางความพรอมทางดานรางกายท่ีแข็งแรงตอการปฏิบัติวิชาชีพยาบาล

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

85

จุดมุงหมายของการวิจัย 1. เพ่ือศึกษาสมรรถภาพทางกายของนักศึกษาพยาบาลช้ันปท่ี 1 วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีสวรรคประชารักษ วิทยาเขตนครสวรรค 2. เพ่ือสรางโปรแกรมการออกกําลังกายดวยการเตนแอโรบิก กลุม 3 วัน กับกลุม 5 วันตอสัปดาห ท่ีมีตอสมรรถภาพทางกายของนักศึกษาพยาบาลช้ันปท่ี 1 วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีสวรรคประชารักษ วิทยาเขตนครสวรรค 3. เพ่ือเปรียบเทียบการใชโปรแกรมการออกกําลังกายดวยการเตนแอโรบิก กลุม 3 วัน กับกลุม 5 วันตอสัปดาห ท่ีมีตอสมรรถภาพทางกายกอนกับหลังของนักศึกษาพยาบาลช้ันปท่ี 1 วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีสวรรคประชารักษ วิทยาเขตนครสวรรค

สมมุติฐานการวิจัย 1. สมรรถภาพทางกายของนักศึกษาพยาบาลหลังการใชโปรแกรมการเสริมสรางสมรรถภาพทางกายดวยการเตนแอโรบิก กลุมออกกําลังกาย 3 วัน และกลุมออกกําลังกาย 5 วัน ตอสัปดาห กอนกับหลังมีความแตกตางกัน 2. ผลของคะแนนคาเฉลี่ยสมรรถภาพทางกาย กลุมออกกําลังกาย 5 วันตอสัปดาห เพิ่มข้ึนมากกวากลุมออกกําลังกาย 3 วันตอสัปดาห

กรอบความคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวของ ผูวิจัยศึกษาเอกสารและงานวิจัยท่ีเกี่ยวของนํามาเปนกรอบความคิดในการวิจัย สรุปไดโดยยอดังน้ี - การออกกําลังกาย เปนการเคลื่อนไหวรางกายหรือกิจกรรมการออกกําลังกายท่ีเกี่ยวของกับการใชกลามเน้ือมัดใหญ ๆ มากกวาการใชกลามเน้ือเล็ก ๆ หรือเฉพาะ ไดแก การเตนรํา กายบริหาร เกมส และกิจกรรมท่ีมีรูปแบบ เชน วิ่ง วายนํ้า เปนตน (ถนอมวงค กฤษณเพ็ชร. และกุลธดา เชิงฉลาด. 2544 : 115) - สมรรถภาพทางกาย คือ ความสามารถในการประกอบกิจกรรมประจําวันดวยความกระฉับกระแฉงวองไวปราศจากความเหน็ดเหน่ือยเมื่อยลาและมีพลังงานเหลือท่ีจะนําไปใชในการประกอบกิจกรรมในเวลาวางและเตรียมพรอมท่ีจะเผชิญภาวะฉุกเฉินไดดี ผูท่ีมีสมรรถภาพทางกายดีมักจะเปนผูท่ีมีจิตใจแจมใส ราเริง และมีรางกายสงาผาเผย (มงคล แฝงสาเคน. 2541: 74) - การทดสอบสมรรถภาพทางกาย หมายถึง กระบวนการวัดความสมารถของรางกายของบุคคล ซึ่งแสดงออกมาโดยการนําส่ือหรือ สิ่งเรา ไปกระตุนใหสิ่งท่ีตองการวัดเกิดการตอบสนอง แลววัดการตอบสนองโดยการแปลความหมาย การทดสอบจะใชในส่ิงท่ีไมสามารถวัดโดยตรงได เชน การวัดความเร็วโดยการทดสอบวิ่งระยะส้ัน 50 เมตรในการทดสอบสมรรถภาพทางกายตองมีแบบทดสอบเครื่องมือหรือกระบวนการสําหรับทดสอบความ สามารถ(จิรากรณ ศิริประเสริฐ. 2542: 20) - การเตนแอโรบิก หมายถึง วิธีการออกกําลังกายชนิดหน่ึงท่ีนําเอา ทาบริหารกายตาง ๆ ผสมผสานกับทักษะการเคลื่อนไหวเบ้ืองตน และจังหวะเตนรําท่ีจะกระตุนใหหัวใจและปอดตองทํางานมากข้ึนถึงจุด

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

86

หน่ึงดวยระยะเวลาท่ีนานเพียงพอ ท่ีจะทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงท่ีเปนประโยชนตอรางกายเปนการสรางบรรยากาศในการออกกําลังกายท่ีสนุกสนานรื่นเริงลืมความเหน็ดเหนื่อยและเบ่ือหนายไดท้ังยังสรางความแข็งแรง ความทนทานของระบบกลามเน้ือ ระบบไหลเวียนเลือดหัวใจและปอดไดดีข้ึนทําใหรูปรางสมสวนมีบุคลิกภาพท่ีดี การเตนแอโรบิกในปจจุบันมีหลายแบบ (กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. 2546: 15)

ระเบียบวิธีวิจัย การวิจัยครั้งน้ี เปนการวิจัยกึ่งทดลอง มีรายละเอียดการวิจัยโดยยอดังน้ี ประชากรและกลุมตัวอยาง ประชากรท่ีใชในการวิจัยครั้งน้ีไดแก นักศึกษาพยาบาลช้ันปท่ี 1 วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สวรรคประชารักษ วิทยาเขตนครสวรรค ภาคการศึกษาท่ี1 ป พ.ศ.2550 จํานวน180 คน กลุมตัวอยางท่ีใชในการวิจัยครั้งน้ี ไดแก นักศึกษาจํานวน 80 คน ท่ีผานการทดสอบสมรรถภาพทางกายท้ัง 6 ดาน โดยมีคาเฉลี่ยรวมท้ัง 6 ดานตํ่ากวาเกณฑกําหนดคือ 3.00 คะแนน แบงออกเปน 2 กลุม คือ กลุมท่ีเขาโปรแกรมออกกําลังกายดวยการเตนแอโรบิก 3 วันตอสัปดาหจํานวน 40 คน และกลุมท่ีเขาโปรแกรมออกกําลังกายการเตนแอโรบิก 5 วันตอสัปดาหจํานวน 40 คน เคร่ืองมือที่ใชในการวิจัย ในการวิจัยครั้งน้ีมีเครื่องมือท่ีใชในการเก็บรวบรวมขอมูล 2 ประเภทดังน้ี 1. แบบทดสอบสมรรถภาพทางกาย 6 รายการ ของสํานักวิชาวิทยาศาสตรการกีฬาจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ใชประเมินกอนและหลังเขารวมโปรแกรม 2. โปรแกรมการเสริมสรางสมรรถภาพทางกายดวยการเตนแอโรบิก ซึ่งผานการตรวจสอบคุณภาพโดยการพิจารณาของผูเช่ียวชาญ 9 ทาน ซึ่งโปรแกรมการเตนแอโรบิก ยึดตามหลักการ ความถี่ ความหนัก ความนาน การเก็บรวบรวมขอมูล ผูวิจัยเก็บรวบรวมขอมูลตามข้ันตอนดังน้ี ชวงที่ 1 ศึกษาขอมูลท่ัวไปและสมรรถภาพทางกายของนักศึกษาพยาบาล ช้ันปท่ี 1 วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีสวรรคประชารักษ วิทยาเขตนครสวรรค เก็บรวบรวมขอมูลโดยดําเนินการทดสอบสมรรถภาพทางกาย ของนักศึกษาพยาบาลช้ันปท่ี 1 วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีสวรรคประชารักษ วิทยาเขตนครสวรรค จํานวน 180 คน โดยใชโปรแกรมประเมินผลการทดสอบสมรรถภาพทางกายของสํานักวิชาวิทยาศาสตรและกีฬา จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เพื่อคัดเลือกกลุมตัวอยางแบบเฉพาะเจาะจงคือ ผูท่ีมีผลการทดสอบสมรรถภาพทางกายท้ัง 6 รายการ คือ ชีพจรขณะพัก ความจุปอด แรงบีบมือ แรงเหยียดขา ความออนตัว สมรรถภาพหัวใจ ท่ีมีคาเฉลี่ยท่ีตํ่ากวาเกณฑกําหนด คือ 3.00 คะแนน จํานวน 80 คน จากนั้นทําการคัดเลือกแบบสุมอยางงาย แบงเปน 2 กลุม กลุมละ 40 คน

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

87

ชวงที่ 2 สรางโปรแกรมการออกกําลังกายดวยการเตนแอโรบิกท่ีมีตอสมรรถภาพทางกาย 3 วัน และ 5 วันตอสัปดาห สําหรับนักศึกษาพยาบาลช้ันปท่ี 1 วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีสวรรคประชารักษ วิทยาเขตนครสวรรค และตรวจสอบคุณภาพโดยการสนทนากลุมผูเช่ียวชาญ จํานวน 9 คน ณ หองประชุมศูนยคุณภาพ ศูนยอนามัยท่ี 8 นครสวรรค เพื่อหาขอสรุปการพิจารณาการใชโปรแกรมการออกกําลังกายดวยการเตนแอโรบิก แลวนํามาปรับปรุงเพ่ือเตรียมนําไปทดลองใช ชวงที่ 3 ศึกษาผลการใชโปรแกรมการออกกําลังกายดวยการเตนแอโรบิก ท่ีมีตอสมรรถภาพทางกายของนักศึกษาพยาบาลช้ันปท่ี 1 1. ดําเนินการใชโปรแกรมการออกกําลังกายดวยการเตนแอโรบิก โดยทดลองใชกับนักศึกษาพยาบาลช้ันปท่ี 1 กลุมออกกําลังกาย 3 วันตอสัปดาห และกลุมออกกําลังกาย 5 วันตอสัปดาห 2. ทดสอบสมรรถภาพทางกาย หลังใชโปรแกรมการออกกําลังกายดวยการเตนแอโรบิก เก็บขอมูลจากแบบบันทึกผลทดสอบสมรรถภาพทางกาย การวิเคราะหขอมูลและสถิติที่ใช ผูวิจัยไดดําเนินการดังน้ี 1. วิเคราะหขอมูลสมรรถภาพทางกายกอนและหลังเขารวมโปรแกรมการเสริมสรางสมรรถภาพทางกายของนักศึกษาพยาบาลช้ันปท่ี 1 สถิติท่ีใชคือ คารอยละ คาเฉลี่ย สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน 2. เปรียบเทียบคาความแตกตางสมรรถภาพทางกายของนักศึกษาพยาบาลช้ันปท่ี 1 หลังเขารวมโปรแกรมการออกกําลังกายกลุม 3 วันกับกลุม 5 วันดวยสถิติทดสอบทีแบบกลุมตัวอยางไมเปนอิสระจากกัน (t –test for Dependent Samples)

สรุปผลการวิจัย 1. คะแนนความแตกตางคาเฉลี่ยสมรรถภาพทางกายรวมท้ัง 6 ดานของแตละกลุมตัวอยาง กอน-หลังการใชโปรแกรมการออกกําลังกาย 8 สัปดาห พบวาท้ัง 2 กลุมมีคะแนนเฉลี่ยเพิ่มข้ึนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ี .05 2. เมื่อเปรียบเทียบความแตกตางคาเฉล่ียของผลตางของคะแนนระหวางกลุม พบวา กลุมออกกําลังกาย 5 วันตอสัปดาห มีคะแนนเฉลี่ยผลตางของคะแนนสมรรถภาพทางกายดีกวา กลุมออกกําลังกาย 3 วัน ตอสัปดาหท้ัง 6 ดาน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

88

อภิปรายผลการวิจัย จากผลการวิจัย สามารถนํามาอภิปรายผลไดดังน้ี 1. จากผลการเปรียบเทียบความแตกตางของคาเฉล่ียสมรรถภาพทางกาย กอนและหลังใชโปรแกรมการออกกําลังกายดวยการเตนแอโรบิก กลุม 3 วันและกลุม 5 วันตอสัปดาห ท่ีมีตอสมรรถภาพทางกายพบวา หลังใชโปรแกรมสมรรถภาพทางกายเพิ่มข้ึน ไดแก ความจุปอด แรงบีบมือ แรงเหยียดขา ความออนตัว และสมรรถภาพหัวใจ ในขณะท่ีอัตราการเตนของหัวใจขณะพักลดลง จะเห็นไดวาสมรรถภาพทางกายกอนกับหลังใชโปรแกรมการออกกําลังกายดวยการเตนแอโรบิก ท้ังสองกลุมเพ่ิมข้ึนท้ัง 6 ดาน มีความแตกตางกันกอนกับหลังเขารวมโปรแกรม อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05 เปนไปตามสมมุติฐานท่ีต้ังไวในขอท่ี 1 และสอดคลองกับงานวิจัยของ พรรณพิไล สุทธนะซัน (2541) ท่ีพบวานักศึกษาพยาบาลท่ีใชโปรแกรมการออกกําลังกายแบบชี่กงและแอโรบิก มีความสุขสมบูรณสูงกวากอนการทดลอง อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 2. ผลการเปรียบเทียบความแตกตางคาเฉลี่ยของผลตางของคะแนน ระหวางกลุมตัวอยาง กลุม 3 วันตอสัปดาห กับกลุม 5 วันตอสัปดาหตอผลสมรรถภาพทางกายกอนกับหลังการเขารวมโปรแกรมการออกกําลังกาย พบวา คาเฉลี่ยของผลตางของคะแนน เพิ่มข้ึนในทุกดานท้ังสองกลุมตัวอยาง และเมื่อนําคาเฉลี่ยของสมรรถภาพทางกายท้ัง 6 ดานของท้ังสองกลุมมาเปรียบเทียบกัน พบวา มีความแตกตางกันท้ัง 6 ดาน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05 เปนไปตามสมมุติฐานท่ีต้ังไวในขอท่ี 2 และสอดคลองกับงานวิจัยของ สุภาพ หงสสุวรรณ (2545) ท่ีไดศึกษาเปรียบเทียบผลของการเตน แอโรบิกแบบผสมผสานเปนชวง และการเตนแอโรบิกผสมผสานตอเนื่อง ท่ีมีตอสมรรถภาพทางกาย ผลการวิจัยพบวา กลุมฝกเตนแอโรบิกแบบผสมผสานตอเนื่อง กอนการทดลอง หลังการทดลอง 5 สัปดาหและหลังการทดลอง 10 สัปดาห มีอัตราการเตนหัวใจขณะพัก เปอรเซ็นตไขมัน สมรรถภาพการจับออกซิเจนสูงสุด ความจุปอด ความแข็งแรงของกลามเน้ือแขน แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญกับกลุมทดลอง กลุมฝกเตนแอโรบิก ผสมผสานเปนชวง มีอัตราการเตนหัวใจขณะพัก และมีสมรรถภาพทางการจับออกซิเจนสูงสุดเพ่ิมข้ึน แบบผสมผสานตอเน่ืองอยางมีนัยสําคัญท่ีระดับ 0.05 และยังสอดคลองกับงานวิจัยของ หทัยรัตน ราชนาวี (2543) ท่ีไดวิจัยพบวา กลุมประกอบกิจวัตรประจําวันปกติ กลุมฝกโปรแกรมออกกําลังกายแบบตอเนื่อง และกลุมฝกโปรแกรมการออกกําลังกายแบบไมตอเนื่อง มีคาเฉลี่ยสมรรถภาพทางการจับออกซิเจนสูงสุดแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05 ภายหลังการทดลองสัปดาหท่ี 10 ท้ังน้ีอาจเปนเพราะ โปรแกรมการวิจัยครั้งน้ีใชระยะเวลาการออกกําลังกายแบบตอเนื่อง 8 สัปดาห อีกท้ังนักศึกษาพยาบาลมีสวนรับผิดชอบในหนาท่ีของตนอยางตอเนื่อง ซึ่งจากการติดตามประเมินผลการใชโปรแกรมการเตนแอโรบิก ทุกสัปดาห พบวานักศึกษาพยาบาลมีความรู ความเขาใจในกระบวนการและข้ันตอนการออกกําลังกายแบบแอโรบิก และยังมีการฝกปฏิบัติทาทางตางๆของแอโรบิก ท่ีตนเองยังเตนไมคลองทุกครั้งกอนท่ีจะมีการเริ่มออกกําลังกายในแตละวัน ซึ่งผลจากการม่ันฝกปฏิบัตินี้ ทําใหนักศึกษามีการพัฒนาทักษะของการเตนแอโรบิกท่ีดีข้ึนอยางตอเนื่อง จนสามารถเตนตามครูฝกแตละคนไดอยางคลองแคลว

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

89

ขอเสนอแนะ จากการวิจัยครั้งน้ี ผูวิจัยมีขอเสนอแนะดังน้ี 1. ขอเสนอแนะทั่วไป (1) ดานการบริหาร ผูบริหารควรสนับสนุนใหนักศึกษามีกิจกรรมการออกกําลังกายอยางตอเนื่อง หรือควรกําหนดในหลักสูตร ใหมีวิชาพลศึกษาในทุกภาคเรียน และทุกช้ันป เพราะ กิจกรรมพลศึกษานอกจากจะเปนกิจกรรม ท่ีสงผลทําใหสุขภาพรางกายแข็งแรงแลว ยังเปนกิจกรรมท่ีชวยผอนคลายความเครียดจากการเรียนวิชาอื่น ไดเปนอยางดี (2) ดานการดําเนินงาน ควรมีการจัดระบบการตรวจสุขภาพรางกายใหครอบคลุม คือ มีการตรวจสุขภาพทางดานชันสูตรทางหองปฏิบัติการ และควรมีการตรวจสมรรถภาพทางกายดวย ท้ังน้ีเพื่อเปนการประเมินสุขภาพรางกายเบ้ืองตน (3) ดานการพัฒนา ควรมีการนําผลวิจัยไปพัฒนา จัดทําเปนโปรแกรมการสงเสริมสุขภาพใหกับนักศึกษาพยาบาลทุกช้ันป หรือ จัดเปนโปรแกรมลดนํ้าหนักดวยการออกกําลังกายใหกับนักศึกษาตอไป 2. ขอเสนอแนะ สําหรับการวิจัยคร้ังตอไป ควรมีการศึกษาวิจัย ผลของโปรแกรมการสงเสริมสุขภาพใหกับนักศึกษาพยาบาลทุกช้ันป และคณะอาจารยวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีสวรรคประชารักษ วิทยาเขตนครสวรรค เพื่อสุขภาพท่ีดีของบุคลากรท่ีเปนสถาบันหลักในการผลิตบุคลากรทางดานสุขภาพตอไป

********************

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

90

รายการอางอิง กรมอนามัย. (2548). คูมือชมรมสรางสุขภาพ. กรุงเทพมหานคร: กรมอนามัย. จิตอารี ศรีอาคะ. (2543). การรับรูอุปสรรคตอการออกกําลังกายและพฤติกรรมการออกกําลังกายของ

พยาบาล. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต: มหาวิทยาลัยเชียงใหม. จําเนียร สุมแกว. (2545). พฤติกรรมการออกกําลังกายเพ่ือสุขภาพของนักศึกษาพยาบาล เขต

กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. จิราภรณ ศรีประเสริฐ. (2542). แบบทดสอบสมรรถภาพทางกายสําหรับเยาวชน. วารสารศึกษาศาสตร

ปริทัศน. ถนอมวงค กฤษณเพชร และ กุลธิดา เชิงฉลาด. (2544). ปทานุกรมศัพทกีฬากรมพลศึกษา และ

วิทยาศาสตรการกีฬา. กรุงเทพฯ : สํานักวิทยาศาสตรการกีฬาจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. พรรณพิไล สุทธนะ. (2541). ผลของโปรแกรมการออกกําลังกายแบบซ่ีกงและแอโรบิกตอความสุข

สมบูรณของนักศึกษาพยาบาล. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. มงคล แฝงสาเคน. (2541). วิทยาศาสตรการกีฬา. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพโสภณการพิมพ. สมชาย ลี่ทองอิน. (2546). คูมือการทดสอบสมรรถภาพทางกายสําหรับเจาหนาที่สาธารณสุข. พิมพครั้งท่ี 1

โรงพิมพองคการรับสงสินคาและพัสดุภัณฑ. สุภาพ พงษสุวรรณ. (2545). การศึกษาเปรียบเทียบผลของการเตนแอโรบิกแบบผสมผสานเปนชวงและการ

เตนแอโรบิกแบบผสมผสานตอเนื่องที่มีตอสมรรถภาพทางกาย. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

สํานักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ. (2549). (ออนไลน). แหลงท่ีมา: http://www.thaihealth.or.th/healthcontent/stat (21 มีนาคม 2551)

หทัยรัตน ราชนาวี. (มปป.). ผลของการฝกโปรแกรมการออกกําลังกายแบบตอเนื่องและไมตอเนื่องที่มีสมรรถภาพทางการจับออกซิเจนสูงสุด.

อดิศักดิ์ โกสิยะกุล. (2543). การเปรียบเทียบผลระหวางการวิ่งเหยาะกับการเตนแอโรบิกที่มีตอสมรรถภาพทางกายของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย.

********************

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

91

ผลของโปรแกรมการสรางแรงจูงใจท่ีมีตอการมารบับริการตรวจเซลลมะเรง็ปากมดลูก โรงพยาบาลสวางอารมณ จังหวัดอุทัยธานี*

ศรีนวล แกวนเชิงคา**

รศ.เฉล่ีย พิมพันธุ***

บทคัดยอ การวิจัยครั้งน้ีเปนการวิจัยก่ึงทดลอง มีวัตถุประสงคเพ่ือศึกษาผลของโปรแกรมสรางแรงจูงใจ ที่มีตอการมารับบริการตรวจเซลลมะเร็งปากมดลูกของสตรี โดยประยุกตแบบแผนความเช่ือดานสุขภาพรวมกับแรงจูงใจ มาเปนแนวทางในการจัดโปรแกรมสรางแรงจูงใจ กลุมตัวอยางเปนสตรีที่แตงงานแลวที่มีอายุ 20-60 ป จํานวน 80 คน แบงเปนกลุมทดลอง 40 คน กลุมควบคุม 40 คน โปรแกรมสรางแรงจูงใจประกอบดวย การบรรยายประกอบสไลด การใชตัวแบบ การอภิปรายกลุม และการลดขั้นตอนรอทําบัตร การสงผลการตรวจฟรีถึงบาน ตลอดจนไดรับการกระตุนเตือนจากบัตรนัดตรวจ และเพ่ือนสตรีที่เขารวมโปรแกรม เก็บรวมรวมขอมูล 2 ครั้ง กอนและหลังการทดลอง โดยใชแบบสอบถาม แลวนํามาวิเคราะหดวยสถิติ รอยละ คาเฉล่ีย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบที (t-test) ผลการวิจัย พบวา ภายหลังการทดลอง สตรีกลุมทดลองมีความรู การรับรูโอกาสเสี่ยง การรับรูความรุนแรง และการรับรูผลดีของการปฏิบัติตามคําแนะนําของเจาหนาที่ในการมาตรวจมะเร็งปากมดลูกสูงกวา กอนการทดลองและสูงกวากลุมควบคุมอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

คําสําคัญ : โปรแกรมสรางแรงจูงใจ/ แบบแผนความเช่ือดานสุขภาพ/ แรงจูงใจ

*

* วิทยานิพนธครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการสงเสริมสุขภาพ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค พ.ศ. 2551 ** นักวิชาการสาธารณสุข 7 โรงพยาบาลสวางอารมณ จังหวัดอุทัยธานี *** รองศาสตรจารยประจําคณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยราชภฎันครสวรรค (อาจารยท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ)

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

92

The Effects of Motivation Program on Attending Pap Smear Service for Women at Swang Arom Hospital, Uthai Thani Province.

Srinuan Kwaenchoengkha

Assoc. Prof. Chalia Pimpani

Abstract The study was designed as a quasi-experimental research aiming at funding out the effects of motivation program in promoting a pap smear test among women. The program was a combination of the Health Belief model and the motivation concepts. The subjects consisted of 80 married women, aged between 20- 60 years. They were divided into 2 groups: an experimental group and a control group, with 40 women each. The motivation program included a lecture with slides, modeling, group discussion, reducing waiting time, free report of a pap smear test result by mail, sending a follow-up card for examination, reminding a check-up appointment by these attending. The data were collected before and after the experiment by way of questioners manipulations. The collected data were analyzed by percentage, mean, standard deviation, t-test and chi-square test. The results indicated that the experimental group gained more knowledge about perception of severity, perception of susceptibility and perception of cost and benefits of pap smear test than before taking the experiment. The experimental group showed more knowledge and perceptions than the control group did.

Keywords: Motivation program/ Health Belief model/ Motivation

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

93

ความสําคัญและที่มาของปญหา มะเร็งปากมดลูกเปนโรคมะเร็งท่ีพบบอยและเปนสาเหตุการตายของสตรีจํานวนมากท้ังในประเทศท่ีพัฒนาแลวและกําลังพัฒนา โดยเปนมะเร็งท่ีพบเปนอันดับหนึ่งของสตรีท่ัวโลก ในแตละปมีผูปวยมะเร็งปากมดลูกรายใหมไมนอยกวา 450,000 ราย ในจํานวนน้ีจะเสียชีวิตถึง 300,000 ราย สําหรับประเทศไทย มะเร็งปากมดลูกนับวาเปนปญหาสาธารณสุขท่ีสําคัญ เพราะปจจุบันเปนมะเร็งท่ีมีอุบัติการณสูงเปนอันดับหนึ่งในสตรี คือพบถึงรอยละ 33 ของสตรีท่ีปวยดวยโรคมะเร็งท้ังหมด ในแตละปจะมีผูปวยดวยโรคมะเร็งปากมดลูกรายใหมประมาณ 7,000 ราย และรอยละ 93.5 พบในสตรีท่ีมีอายุต้ังแต 35 ป จากสถิติขอมูลการตายตอประชากรแสนคนดวยโรคมะเร็งปากมดลูกในป พ.ศ. 2545 ซึ่งมีแนวโนมสูงข้ึนอยางเห็นไดชัด เมื่อพิจารณาถึงความรุนแรงและความสูญเสียท่ีเกิดข้ึนจากการปวยดวยโรคมะเร็งปากมดลูกจะเห็นวา ผลกระทบที่เกิดข้ึนตอตัวผูเจ็บปวยหรือผูดูแลเศรษฐกิจของครอบครัวท้ังทางดานการใชจายของครอบครัวและคารักษาพยาบาล รวมท้ังสงผลตอประเทศชาติ ทางดานรางกายเม่ือผูปวยอยูในระยะเริ่มมีอาการ ผูปวยมากกวารอยละ 50 จะมีความสัมพันธทางเพศกับสามีลดลงเม่ือมีอาการมากจะมีอาการเจ็บปวดอยางรุนแรงและเรื้อรังบางครั้งเปน ๆ หาย ๆ ไมสามารถขจัดความเจ็บปวดใหหายไปไดโดยเด็ดขาด ทําใหเกิดความทุกขทรมานอยางแสนสาหัส ซึ่งมีผลกระทบตอการดําเนินกิจวัตรประจําวัน ผลตอครอบครัวและสังคม จากท้ังความวิตกกังวลและความกลัวเกี่ยวกับอาการของผูปวยและปญหาทางเศรษฐกิจของครอบครัว รวมท้ังการไดรับผลกระทบจากอารมณท่ีตึงเครียดของภรรยาทําใหสามีเกิดความขัดแยงและคับของใจ การขาดความเขาใจจากคูสมรสและความเจ็บปวดจากความรุนแรงของโรคจะยิ่งทําใหผูปวยทุกขทรมานท้ังทางรางกายและจิตใจเพ่ิมข้ึน บางรายรักษาไมหายเกิดการกลับซ้ําของโรคซึ่งมีโอกาสเกิดข้ึนประมาณรอยละ 35 ในผูปวยมะเร็งปากมดลูกระยะลุกลาม (อรศรี สุวิมล. 2544: 1; อางอิงมาจาก WaLczak. 1993: 10) ไดจนเสียชีวิตในท่ีสุด การลดอัตราตายและผลกระทบจากการเกิดมะเร็งปากมดลูก สามารถทําไดโดยการใหความสําคัญกับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก การคนพบมะเร็งปากมดลูกในระยะเริ่มแรก ทําไดโดยการตรวจเซลล ท่ีเรียกวา Pap Smear (Papanicolaou Smear) จะทําใหสามารถตัดข้ันตอนการเปลี่ยนแปลงของเซลลไดดวยวิธีการ ตาง ๆ ซึ่งจะสงผลใหอัตราการเกิดและการตายดวยโรคมะเร็งปากมดลูกลดลง จากคุณลักษณะท่ีมะเร็งปากมดลูกเปนโรคท่ีรักษาใหหายขาดไดและสามารถตรวจพบไดงาย องคการอนามัยโลกจึงกําหนดนโยบายท่ีจะลดอัตราการตายจากโรคมะเร็งปากมดลูก โดยการตรวจคนหามะเร็งปากมดลูกในระยะเริ่มแรกใหครอบคลุมสตรีกลุมเส่ียง โดยใหมีบริการตรวจหาเซลลมะเร็งปากมดลูกอยางเพียงพอ และใหการรักษาท่ีเหมาะสม ดังน้ันสตรีชนบทอายุระหวาง 20-60 ป นับเปนกลุมเปาหมายท่ีสําคัญท่ีควรสงเสริมใหมีการรับบริการตรวจเซลลมะเร็งปากมดลูก (สถาบันมะเร็งแหงชาติ. 2545: 6) จากนโยบายของกระทรวงสาธารณสุข ป 2547-2549 โดยกรมการแพทยไดกําหนดแผนปฏิบัติการในการปองกันและควบคุมโรคมะเร็งท่ีพบบอยท่ีสุดในประเทศไทย โดยเฉพาะมะเร็งปากมดลูกซึ่งพบมากท่ีสุดในสตรี ไดรับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกดวยวิธี Pap smear และกําหนดเปนบริการท่ีไมเสีย

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

94

คาใชจายภายใตโครงการหลักประกันสุขภาพถานหนา โดยนโยบายใหสตรีท่ีมีอายุ 35 – 60 ป ทุกคนไดรับการตรวจเซลลมะเร็งปากมดลูกปละ 1 ครั้ง เพื่อคนหาวินิจฉัยและรักษาโรคมะเร็งปากมดลูกใหไดต้ังแตอยูในระยะลุกลามทําใหลดอัตราการเกิดโรคมะเร็งและอัตราตายจากโรคมะเร็งไดอยางเปนรูปธรรมแตผลการดําเนินงานก็ยังไมประสบความสําเร็จตามเปาหมายท่ีต้ังไว จากการสํารวจสุขภาพอนามัยในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2542 พบวาสตรีท่ีอายุ 35-60 ป ท่ัวประเทศไดรับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก เพียงรอยละ 28.93 (กระทรวงสาธารณสุข . 2545 : 42) อําเภอสวางอารมณ เปนอําเภอหน่ึงในจังหวัดอุทัยธานี ท่ีมีปญหาการดําเนินงานรณรงคตรวจมะเร็งปากมดลูก จากการศึกษาขอมูล โดยศึกษาจากรายงานการตรวจหาเซลลมะเร็งปากมดลูกของอําเภอสวางอารมณ ปงบประมาณ 2547 พบเพียงรอยละ 25.36 ในปงบประมาณ 2548 พบวาครอบคลุมรอยละ 35.00 และปงบประมาณ 2549 พบเพียงรอยละ 39.97 ของสตรีวัยเจริญพันธท้ังหมด ซึ่งตํ่ากวาเปาหมายของกระทรวงสาธารณสุขท่ีกําหนดใหมีความครอบคลุมรอยละ 50.00 ตํ่าท่ีสุดในจังหวัดอุทัยธานี และตรวจพบเซลลมะเร็งในระยะลุกลามรอยละ0.39 จากขอมูลดังกลาวแสดงวาผูรับบริการขาดความสนใจในการดูแลสุขภาพของตนเองในการคัดกรองโรคเบ้ืองตน ขอมูลจากสํานักงานสาธารณสุขจังหวัดอุทัยธานี พบวาการดําเนินงานการตรวจคนหามะเร็งปากมดลูกประสบปญหา หลายประการ ผูท่ีมารับการตรวจดวยความสมัครใจมักมีอาการผิดปกติเกิดข้ึน สวนในคนท่ียังไมมีอาการผิดปกติมีปจจัยท่ีมีตอการไมมารับการตรวจ ไดแก ความกลัวตอการตรวจคัดกรอง กลัวเจ็บ กลัวการตรวจพบโรค มีความอาย และไมมีความรูเกี่ยวกับโรค (เอกสารประกอบการตรวจราชการและนิเทศงาน:2548:)

จุดมุงหมายของการวิจัย การวิจัยครั้งน้ีมีจุดมุงหมายเพ่ือเปรียบเทียบผลของการเปลี่ยนแปลงของสตรีกลุมทดลองกับกลุมควบคุมกอนและหลังการทดลองในเรื่องตอไปนี้ คือ 1. ความรูเกี่ยวกับมะเร็งปากมดลูก 2. ความรับรูโอกาสเสี่ยงของการเกิดโรคมะเร็งปากมดลูก 3. การรับรูความรุนแรงของโรคมะเร็งปากมดลูก 4. การรับรูผลดีของการปฏิบัติตามคําแนะนําของเจาหนาท่ี

สมมุติฐานการวิจัย สตรีท่ีผานโปรแกรมการสรางแรงจูงใจในการสงเสริมการรับบริการตรวจเซลลมะเร็งปากมดลูก จะมีความรูและการรับรูดีกวาท่ีไมผานโปรแกรมการสรางแรงจูงใจในดาน 1. ความรูเกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูก 2. ความรับรูโอกาสเสี่ยงของการเกิดโรคมะเร็งปากมดลูก 3. การรับรูความรุนแรงของโรคมะเร็งปากมดลูก 4. การรับรูผลดีของการปฏิบัติตามคําแนะนําของเจาหนาท่ี

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

95

กรอบแนวคิดและทฤษฏีที่เกี่ยวของ ผูวิจัยศึกษาเอกสารและงานวิจัยท่ีเกี่ยวของนํามาเปนกรอบความคิดในการวิจัย โดยยอ ไดดังน้ี - แนวคิดแบบแผนความเชือ่ดานสุขภาพ (Health Belief Model) องคประกอบของแบบแผนความเช่ือดานสุขภาพ มีรายละเอียดดังตอไปนี้การรับรูโอกาสเสี่ยงของการเกิดโรค (Perceived Susceptibility) หมายถึง ความเช่ือบุคคลท่ีมีผลโดยตรง ตอการปฏิบัติตามคําแนะนําดานสุขภาพท่ังในภาวะปกติและภาวะเจ็บปวย การรับรูความรุนแรงของโรค (Perceived Severity) หมายถึง ความรูสึกนึกคิดของบุคคลท่ีมีตอความรุนแรงของโรคท่ีมีตอรางกาย กอใหเกิดความพิการหรือเสียชีวิต การรับรูประโยชนและอุปสรรคของการรักษา (Perceived Benefits and Barriers) หมายถึง ความรูสึกนึกคิดของบุคคลท่ีมีการรับรูวาตนเองมีโอกาสเกิดโรค และถาเปนแลว จะเกิดความรุนแรงมากพอท่ีจะกอใหเกิดอันตรายตอรางกาย จิตใจ ครอบครัว และสังคม บุคคลก็จะแสวงหา วิธีการปฏิบัติรักษาใหหายจากโรค หรือแสวงหาวิธีการปองกันมิใหเกิดโรคในบุคคลท่ียังไมปวยและบุคคลน้ันตองยอมรับวาวิธีดังกลาวมีประโยชนเหมาะสมท่ีสุดท่ีจะทําใหตนเองหายจากโรคหรือไมเกิดโรคน้ัน ซึ่งมักพบวาการรับรูถึงประโยชนท่ีจะไดรับมีความสัมพันธ กับการปฏิบัติตามคําแนะนําของแพทยและเจาหนาท่ี - ทฤษฎีเกี่ยวกบัแรงจูงใจ (Motivation Theory) ในการวิจัยครั้งน้ี ผูวิจัยไดสรางสภาพการจูงใจ โดยเริ่มจากการนําสตรีกลุมตัวอยางมาเขารวมกิจกรรมตาม โปรแกรมสรางแรงจูงใจ เพื่อใหสตรีเกิดความรู และ การรับรูท่ีถูกตองเกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูก ซึ่งจะเปนแรงผลักดันใหบุคคลแสวงหาแนวทางหรือแหลงอํานวยประโยชน เพื่อตอบสนองความตองการของตนในการหลีกเลีย่งจากโรคภัยไขเจ็บนั้น นํามาซ่ึงการตัดสินใจในการปรับเปล่ียนพฤติกรรม โดยการมารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูกตามคําแนะนําของเจาหนาท่ีและไดนําปจจัยท่ีเปนแรงจูงในใหสตรีมารับบริการตรวจมะเรง็ปากมดลูก โดยการใชอิทธิพลของผูนํา / กลุม การใหการยอมรับทางสังคม การสรางความสัมพันธกับชุมชน การใชบัตรนัด ตรวจ การกระตุนเตือนโดยจัดคูระหวางเพ่ือนสตรี และใชจดหมายขาว การใหใบรับรองเขารวมโครงการ ตลอดจนอํานวยความสะดวก รวดเรว็ แกผูรับบริการ ดวยการลดข้ันตอนการทําบัตรประจําตัวผูปวย ณ หองเวชระเบียน ซึ่งนอกจากจะเปนการตอบแทนและสรางความพอใจแกผูมารับบริการแลว ยังชวยลดอปุสรรคของการมารับบริการในเรื่องการประหยัดเวลาในการมาตรวจไดอีกดวย อีกท้ังยังบรกิารสงผลการตรวจมะเรง็ปากมดลูกใหทราบถึงบานฟรีทุกคน และรักษาใหฟรีในรายท่ีผลการตรวจพบวา มีการอักเสบหรือติดเช้ือในชองคลอด ปากมดลูกหรือปกมดลกูอับเสบรวมดวย ท้ังน้ีเพ่ือเปนการตอบแทนและจูงใจใหสตรีมารับบริการตรวจมะเรง็ปากมดลูกมากข้ึน - การกระตุนและการเตือน (Prompts and Reminders) การกระตุนเตือน เปนวิธีการหนึ่งท่ีจะชวยใหเกิดพฤติกรรมท่ีพึงปรารถนาได โดยการเตือนความจําใหบุคคลน้ันเริ่มกระทําพฤติกรรม เชน ความสมํ่าเสมอของการปฏิบัติตามคําแนะนําตาง ๆ เชน การใชปฏิทินยาจะชวยใหผูปวยรับประทานยาอยางสมํ่าเสมอ (เพ็ญศิริ เมฆโหรา, 2532 : 29 ; อางอิงมาจาก

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

96

Dickey, Matter and Chudzik. 1975 : 10 ; Quoted in Linkwick, Catalano and Flack. 1974 : 20) รูปแบบของการกระตุนเตือนสามารถทําไดตาง ๆ กันตามความเหมาะสม ไมวาจะเปนการกระตุนเตือนโดยตนเอง ดวยการเขียนขอความส้ัน ๆ เชน บุคคลท่ีตองการลดความอวน มักจะเขียนขอความ “กินมาก อวนมาก” ไวเตือนตนเอง หรือใหบุคคลอื่นกระตุนเตือน เชน การใหแมบานอาสาสมัครกระตุนเตือนในการมาตรวจมะเร็งเตานม หรือการเตือนโดยใชโทรศัพท จดหมายหรือไปรษณียบัตร ในกรณีท่ีไมสามารถท่ีจะพบกันไดโดยงาย เชน การเตือนผูปวยใหมารับยาวัณโรคตามนัด - การเสนอตัวแบบ (Modeling) แนวคิดเก่ียวกับการเสนอตัวแบบ (Modeling) เปนท่ีนิยมใชกันอยางแพรหลายในปจจุบันโดยมีความเช่ือวาตัวแบบมีประสิทธิภาพ สามารถทําใหเกิดพฤติกรรมใหม เพิ่มพฤติกรรมท่ีพึงประสงคและยับยั้งพฤติกรรมท่ีไมตองการไดการเสนอตัวแบบ (Modeling) คือ การท่ีบุคคลเกิดการเรียนรูจากการสังเกตพฤติกรรมของบุคคลอื่นแลวสรางความคิดวาจะสรางพฤติกรรมใหมได

ระเบียบวิธีวิจัย การวิจัยครัง้น้ี เปนการวิจัยกึ่งทดลอง (Quasi Experimental Design) ซึ่งแบงกลุมตัวอยางออกเปน 2 กลุม ไดแก กลุมทดลอง และกลุมควบคุม รวบรวมขอมูลกอนและหลังท้ัง 2 กลุม โดยใชแผนแบบการวิจัยแบบ Pretest - Posttest Control Group Design ประชากรและกลุมตัวอยาง ประชากร ไดแก สตรีท่ีสมรสแลวแลวของ อําเภอสวางอารมณ จังหวัดอุทัยธานีท่ีมีอายุระหวาง 20 – 60 ป จํานวนท้ังส้ิน 9,440 คน กลุมตัวอยาง ไดแก สตรีอายุระหวาง 20-60 ป อําเภอสวางอารมณ จังหวัดอุทัยธานี จํานวน 80 คนซ่ึงเปนกลุมตัวอยาง จํานวน 40 คน และกลุมควบคุม จํานวน 40 คน เคร่ืองมือที่ใชในการวิจัย เครื่องมือท่ีใชในการวิจัย แบงเปน 2 สวน คือ เครื่องมือท่ีใชในการทดลอง และเครื่องมือท่ีในการรวบรวมขอมูล 1. เครื่องมือท่ีใชในการทดลอง ประกอบดวย 1.1 วิดีทัศนเรื่อง ความรูเกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูก 1.2 ตัวแบบท่ีเปนบุคคลจริง 1.3 แผนพับท่ี ผูวิจัยสรางข้ึน 1.4 แผนการสอนสุขศึกษา ครั้งท่ี 1 โดยใชการบรรยายประกอบ วีดิทัศน 1.5 แผนการสอนสุขศึกษา ครั้ง 2 โดยการสัมผสักับตัวแบบซึ่งเปนบุคคลจริง 1.6 จดหมายขาวของโรงพยาบาล 1.7 บัตรนัดตรวจมะเร็งปากมดลูกสําหรับสตรีในกลุมทดลอง ท่ีผูวิจัยสรางข้ึน

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

97

2. เครื่องมือท่ีใชในการรวบรวมขอมูล ประกอบดวย 2.1 แบบสอบถาม ซึ่งประกอบดวยเนื้อหา 4 สวน ดังน้ี สวนท่ี 1 ขอมูลท่ัวไปของกลุมตัวอยาง สวนท่ี 2 ความรูเกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูก สวนท่ี 3 การรบัรูโอกาสเสี่ยง ความรุนแรงของโรค ผลดีของการมารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูก สวนท่ี 4 แบบบันทึกการมารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูก การเก็บรวบรวมขอมูล สตรีกลุมทดลอง สัปดาหท่ี 1 เก็บรวบรวมขอมูลกอนการทดลองในกลุมทดลอง สัปดาหท่ี 2-3 ดําเนินการจัดกิจกรรมสรางแรงจูงใจใหแกสตรีในกลุม สัปดาหท่ี 4-5 กระตุนเตือน โดยใหสตรีกลุมทดลองท่ีจัดคูในระหวางรวมกิจกรรม สัปดาหท่ี 6-7 กระตุนเตือนใหสตรีกลุมทดลองท่ียังไมไดมาตรวจมะเร็งปากมดลูก โดยใช

จดหมายขาวจากโรงพยาบาล สัปดาหท่ี 8 รวบรวมขอมูลภายหลังการทดลอง สตรีกลุมควบคุม สัปดาหท่ี 1 เก็บรวบรวมขอมูลกอนการทดลองในหมูบานควบคุม สัปดาหท่ี 2-7 ไมมีกิจกรรม สัปดาหท่ี 8 รวมรวมขอมูลภายหลังการทดลอง การวิเคราะหขอมูลและสถิติทีใ่ช 1. ขอมูลท่ัวไป ใชการแจกแจงความถี่เปนรอยละ คาเฉลี่ย และคาเบ่ียงเบนมาตรฐาน 2. เปรียบเทียบความแตกตางของคาคะแนนเฉลี่ยความรู การรับรูโอกาสเส่ียงการรับรูความรุนแรง การรับรูผลดีของการปฏิบัติตามคําแนะนําของเจาหนาท่ีภายในกลุมเดียวกันกอนและหลังการทดลอง ดวยสถิติ Paired sample t –test 3. เปรียบเทียบความแตกตางของคาคะแนนเฉลี่ยความรู การรับรูโอกาสเส่ียงการรับรูความรุนแรง การรับรูผลดีของการปฏิบัติตามคําแนะนําของเจาหนาท่ีระหวางกลุมทดลองและกลุมเปรียบเทียบดวยสถิติทดสอบทีแบบกลุมตัวอยางเปนอิสระจากกัน (t- test for Independent Samples)

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

98

สรุปผลการวิจัย 1. ดานความรูเกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูก ภายหลังการทดลอง สตรีกลุมทดลองมีความรูเกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูกสูงกวากอนการทดลองและสูงกวากลุมควบคุม อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ 2. ดานการรับรูโอกาสเสี่ยงของการเกิดโรคมะเร็งปากมดลูก การรับรูความรนุแรงของโรคและผลดีของการตรวจมะเร็งปากมดลูก ภายหลังการทดลอง สตรีในกลุมทดลองมีการรับรูโอกาสเส่ียงของการเกดิโรคมะเร็งปากมดลูก การรับรูความรนุแรงของโรคมะเร็งปากมดลูก และการรับรูผลดีของการตรวจมะเร็งปากมดลูก ถูกตองมากกวากอนการทดลองและมากกวากลุมควบคุมอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

อภิปรายผลการวิจัย จากผลการวิจัยท่ีพบวาสตรีกลุมทดลองมีความรูและการรับรูภายหลังการทดลองมากกวากอนการทดลองและมากกวากลุมควบคุม โดยแยกเปนรายดานดังน้ี 1. ความรูเกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูก จากผลการวิเคราะหพบวา กลุมควบคุมไมไดรับโปรแกรมสรางแรงจูงใจทําใหไมมีความรู และเมื่อเปรียบเทียบภายในกลุมควบคุม พบวา คะแนนเฉลี่ยลดลงเล็กนอยแตไมแตกตางจากกอนการทดลอง อาจเปนเพราะวา สตรีในกลุมควบคุมไมผานโปรแกรมสรางแรงจูงใจ และยิ่งเม่ือระยะเวลาผานไปนานทําใหลืม สวนในกลุมทดลอง พบวา หลังการทดลอง สตรีในกลุมทดลองมีระดับคะแนนเฉลี่ยความรู เรื่อง มะเร็งปากมดลูกเพิ่มข้ึน คือมีความรูอยูในระดับดี (รอยละ 95.0 ) ซึ่งสามารถอธิบายไดวา นาจะเปนผลเนื่องมาจากการจัดโปรแกรมสรางแรงจูงใจท่ีเปนข้ันตอน ไดแก การใหขอมูลขาวสารท่ีถูกตอง เกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูก โดยวิธีบรรยายประกอบสไลด การนําเสนอตัวแบบท่ีเปนบุคคลจริง การอภิปรายกลุม เปดโอกาสใหมีการพูดคุย ซักถามขอสงสัยแลกเปลี่ยนความรู ความคิดเห็น ประสบการณตาง ๆ ซึ่งทําใหกลุมตัวอยางกลาพูด กลาแสดงความคิดเห็น จึงทําใหเกิดความรูความเขาใจท่ีถูกตอง และมีผลทําใหคะแนนเฉลี่ยภายหลังการทดลองของกลุมทดลองมีคะแนนเฉลี่ยความรูเพิ่มมากกวากอนการทดลอง ซึ่งสอดคลองกับการศึกษาของ ทองพูล แตสมบัติ และคณะ (2541: ไมมีเลขหนา) พบวา หลังการทดลอง สตรีท่ีไดรับการสงเสริมการมารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูกโดยประยุกตแบบแผนความเช่ือดานสุขภาพ รวมกับแรงจูงใจมีความรูสูงกวากอนการทดลองและสูงกวากลุมเปรียบเทียบอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ และการศึกษาของ เยาวรัตน มัชฌิม (2542 : บทคัดยอ ) ท่ีใชโปรแกรมสุขศึกษาในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลตนเองของผูปวยมะเร็งปากมดลูกท่ีไดรับรังสี โดยการประยุกต ทฤษฎีความสามารถตนเองมาเปนแนวทางในการปรับเปลี่ยน พฤติกรรม พบวา ภายหลังการทดลอง กลุมทดลองมีการเปล่ียนแปลงดานความรูดีข้ึนกวากอนการทดลองอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ และ การศึกษาของอรุณรัตน แสนบุญรัตน(2547:บทคัดยอ) พบวาหลังจัดโปรแกรมสุขศึกษาสรางแรงจูงใจในการมาตรวจเซลลมะเร็งปากมดลูก

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

99

พบวาภายหลังการทดลอง สตรีกลุมทดลองมีความรู การรับรูโอกาสเส่ียง การรับรูความรุนแรง และการรับรูผลดีของการปฏิบัติตามคําแนะนําของเจาหนาท่ี และการมารับบริการตรวจเซลลมะเร็งปากมดลูก สูงกวากอนการทดลองและสูงกวากลุมเปรียบเทียบอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ 2. การรับรูโอกาสเสี่ยงของการเกิดโรคมะเร็งปากมดลูก กอนการทดลอง กลุมทดลองและกลุมควบคุม มีระดับการรับรูโอกาสเส่ียงของการเกิดมะเร็งปากมดลูกในระดับสูง รอยละ 75.0 และรอยละ 62.5 ไมแตกตางกันภายหลังการทดลอง กลุมทดลอง มีระดับการรับรูโอกาสเสี่ยงของการเกิดมะเร็งปากมดลูกในระดับสูง รอยละ 92.5 ถูกตองมากกวากอนการทดลอง และถูกตองมากกวากลุมควบคุม อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ สามารถอภิปรายไดวาเปนผลจากการจัดโปรแกรมสรางแรงจูงใจ ซึ่งไดแก การใหขอมูลขาวสารท่ีถูกตอง เกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูก โดยวิธีบรรยายประกอบสไลด การนําเสนอตัวแบบท่ีเปนบุคคลจริง การอภิปรายกลุม เปดโอกาสใหมีการพูดคุย ซักถามขอสงสัยแลกเปลี่ยนความรู ความคิดเห็น ประสบการณตาง ๆ ซึ่งทําใหกลุมตัวอยางกลาพูด กลาแสดงความคิดเห็น อันเปนผลใหกลุมตัวอยางเกิดการเปลี่ยนแปลงการรับรูโอกาสเส่ียงในการเกิดโรคมะเร็งปากมดลูกในทางท่ีถูกตองมากข้ึน เชนเดียวกับ โรเซนสตอก (Rosenstock 1996 : 284) ท่ีกลาววา การพัฒนาระดับการรับรูโอกาสเสี่ยงของการเกิดโรค สามารถทําไดโดยวิธีการสอนและวิธีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ซึ่งมีวิธีการตาง ๆ เชน การใชโสตทัศนูปกรณ การใชอิทธิพลกลุม มาเปนสวนประกอบสามารถทําใหกลุมตัวอยางเกิดการรับรูโอกาสเส่ียงของการเกิดโรคไดอยางถูกตอง ซึ่งสอดคลองกับการศึกษาของ พรทิพย โตทาโรง (2541:ไมมีเลขหนา) ท่ีพบวา ภายหลังการจัดโปรแกรมสุขศึกษาในการสงเสริมการมารับบริการตรวจเซลลมะเร็งปากมดลูกของสตรี โดยประยุกตแบบแผนความเชื่อดานสุขภาพรวมกับการจูงใจ พบวา กลุมทดลองมีการรับรูโอกาสเส่ียงสูงกวากอนการทดลอง และสูงกวากลุมเปรียบเทียบอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ และสอดคลองกับการศึกษาของวนิดา ทางาม (2541: บทคัดยอ) ท่ีพบวา ภายหลังการใชโปรแกรมสุขศึกษาในการสงเสริมพฤติกรรมการตรวจเซลลมะเร็งปากมดลูก ของสตรี โดยประยุกต แบบแผนความเช่ือดานสุขภาพรวมกับแรงสนับสนุนทางสังคม พบวา ภายหลังการทดลองสตรีกลุมทดลองมีการรับรูโอกาสเสี่ยงของการเกิดโรคสูงกวากอนการทดลองและสูงกวากลุมเปรียบเทียบอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ 3. การรับรูความรุนแรงของโรคมะเร็งปากมดลูก กอนการทดลอง กลุมทดลองและกลุมควบคุม มีการรับรูความรุนแรงของโรคมะเร็งปากมดลูกไมแตกตางกัน ภายหลังการทดลอง เมื่อเปรียบเทียบคะแนนเฉล่ียการรับรูความรุนแรงของโรคมะเร็งปากมดลูกระหวางกลุมทดลองและกลุมควบคุม พบวา กลุมทดลองมีคะแนนเฉลี่ยมากกวากลุมควบคุมอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ เมื่อเปรียบเทียบภายในกลุมควบคุมกอนและหลังการทดลอง พบวา คะแนนเฉลี่ยการรับรูความรุนแรงของโรค เพ่ิมข้ึนเล็กนอย เมื่อนํามาทดสอบทางสถิติแลวพบวา ไมมีความแตกตาง สําหรับกลุมทดลองเม่ือเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยการรับรูความรุนแรงของโรคมะเร็งปากมดลูก พบวา หลังการทดลองมีคะแนนเฉลี่ยเพ่ิมมากข้ึนกอนการทดลองอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ซึ่งสามารถอธิบายไดวานาจะ

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

100

เปนผลมาจากโปรแกรมการสรางแรงจูงใจท่ีเนนถึงการรับรูความรุนแรงของโรคมะเร็งปากมดลูกโดย ผูวิจัยไดเนนการใชวิธีการนําเสนอตัวแบบทางลงท่ีเปนมะเร็งปากมดลูก โดยเฉพาะจากการท่ีตัวแบบ ไดมาเลาเกี่ยวกับการเจ็บปวย รวมถึงสาเหตุ อาการ การรักษาที่ไดรับ และผลกระทบจากการเจ็บปวยดวยโรคมะเร็งปากมดลูกท่ีมีตอตนเองและครอบครัว ชวยใหสตรีกลุมทดลองไดรับประสบการณตรง ไดเห็นสภาพผูปวยดวยโรคมะเร็งปากมดลูก ทําใหไดรับรูความรุนแรงของโรคเพ่ิมมากข้ึน โดยหันมาสนใจ การมารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูกมากข้ึนสงผลใหกลุมทดลอง ภายหลังการทดลองมีคะแนนเฉลี่ยการรับรูความรุนแรงของโรคมากกวากลุมควบคุม และมากกวากอนการทดลอง ซึ่งสอดคลองกับการศึกษาของ พรทิพย โตทาโรง (2541:ไมมีเลขหนา) ท่ีพบวา ภายหลังการจัดโปรแกรมสุขศึกษาในการสงเสริมการมารับบริการตรวจเซลลมะเร็งปากมดลูกของสตรี โดยประยุกตแบบแผนความเชื่อดานสุขภาพรวมกับการจูงใจ พบวา กลุมทดลองมีการรับรูโอกาสเส่ียงสูงกวากอนการทดลอง และสูงกวากลุมเปรียบเทียบอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ และสอดคลองกับการศึกษาของวนิดา ทางาม (2541: บทคัดยอ) ท่ีพบวา ภายหลังการใชโปรแกรมสุขศึกษาในการสงเสริมพฤติกรรมการตรวจเซลลมะเร็งปากมดลูก ของสตรี โดยประยุกต แบบแผนความเช่ือดานสุขภาพรวมกับแรงสนับสนุนทางสังคม พบวา ภายหลังการทดลองสตรีกลุมทดลองมีการรับรูโอกาสเสี่ยงของการเกิดโรคสูงกวากอนการทดลองและสูงกวากลุมเปรียบเทียบอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ และ การศึกษาของอรุณรัตน แสนบุญรัตน(2547:บทคัดยอ) พบวาหลังจัดโปรแกรมสุขศึกษาสรางแรงจูงใจในการมาตรวจเซลลมะเร็งปากมดลูก พบวาภายหลังการทดลอง สตรีกลุมทดลองมีความรู การรับรูโอกาสเส่ียง การรับรูความรุนแรง และการรับรูผลดีของการปฏิบัติตามคําแนะนําของเจาหนาท่ี และการมารับบริการตรวจเซลลมะเร็งปากมดลูก สูงกวากอนการทดลองและสูงกวากลุมเปรียบเทียบอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ 4. การรับรูผลดีของการมาตรวจเซลลมะเรง็ปากมดลูก กอนการทดลอง กลุมทดลองและกลุมควบคุมมีการรับรูผลดีของการมาตรวจเซลลมะเร็งปากมดลูกอยูในระดับสูง และเมื่อเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยของการมาตรวจเซลลมะเร็งปากมดลูก ของกลุมทดลองและกลุมควบคุมมีคาไมแตกตาง ท้ังอาจเปนเพราะกลุมตัวอยาง ท้ัง 2 กลุมเคยไดรับความรูเรื่องมะเร็งปากมดลูกคลายคลึงกัน หลังการทดลอง พบวากลุมทดลอง และกลุมควบคุม มีการรับรูผลดีของการมาตรวจเซลลมะเร็งปากมดลูก แตกตางอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05 เมื่อเปรียบเทียบภายในกลุมควบคุมกอนและหลังการทดลอง พบวา ไมมีความแตกตาง ท้ังน้ีเพราะกลุมควบคุมไมไดรับโปรแกรมสรางแรงจูงใจ จึงทําใหกอนและหลังการทดลองไมมีความแตกตาง สําหรับกลุมทดลองเมื่อเปรียบเทียบคะแนนเฉล่ียการรับรูผลดีของการมาตรวจเซลลมะเร็งปากมดลูก หลังการทดลองมีคะแนนเพ่ิมข้ึนกอนการทดลองอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05 ซึ่งสามารถอธิบายไดวานาจะมาจากโปแกรมสรางแรงจูงใจท่ีเนนการรับรูผลดีของการมารับบริการตรวจเซลลมะเร็งปากมดลูก โดยใหสัมผัสกับตัวแบบในทางบวก ซึ่งเปนสตรีในหมูบานท่ีมารับบริการตรวจเซลลมะเร็งปากมดลูกเปนประจํา เปนแบบอยางท่ีแสดงใหเห็นวา การตรวจมะเร็งปากมดลูกมีประโยชน สามารถปองกันโรคมะเร็งปากมดลูกได ซึ่งแสดงใหเห็นถึงพฤติกรรมสุขภาพท่ีถูกตอง และจาก

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

101

การเลาประสบการณเกี่ยวกับการมารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูกของตัวแบบ โดยเปรียบเทียบเห็นถึงความคุมคาหรือประโยชนท่ีไดกับอุปสรรคในการตรวจ เชน ความกลัว ความอาย ความเจ็บปวดในการตรวจ สามารถกระตุนใหกลุมมีแนวโนมท่ีจะกระทําตามมากข้ึน และหลังจากไดรวมกันอภิปรายกลุม ทําใหสตรีกลุมทดลองมีโอกาสแลกเปล่ียนความคิดเห็นกันในประเด็นตาง ๆ เก่ียวกับประโยชนของการตรวจมะเร็งปากมดลูก สงผลใหคะแนนการรับรูผลดีของการตรวจเซลลมะเร็งปากมาดลูก สูงกวากอนการทดลอง และสูงกวากลุมควบคุม ซึ่งสอดคลองกับการศึกษา ของ วนิดา ทางาม (2541: บทคัดยอ) ท่ีพบวา ภายหลังการใชโปรแกรมสุขศึกษาในการสงเสริมพฤติกรรมการตรวจเซลลมะเร็งปากมดลูก ของสตรี โดยประยุกต แบบแผนความเช่ือดานสุขภาพรวมกับแรงสนับสนุนทางสังคม พบวา ภายหลังการทดลองสตรีกลุมทดลองมีการรับรูโอกาสเสี่ยงของการเกิดโรคสูงกวากอนการทดลองและสูงกวากลุมเปรียบเทียบอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ และสอดคลองกับการศึกษาของ อรศรี สุวิมล (2544 : ไมมีเลขหนา) พบวา หลังการศึกษาพฤติกรรมการปองกันตนเองจากมะเร็งปากมดลูกของสตรีโดยศึกษาความรูเกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูก และความเช่ือดานสุขภาพ พบวา ภายหลังการทดลองสตรีมีการรับรูเรื่องผลดีในการตรวจมะเร็งปากมดลูกในระดับปานกลาง

ขอเสนอแนะ 1. ขอเสนอแนะท่ัวไป 1.1 กลุมสตรี ท่ีผานการอบรมตามโครงการการศึกษาผลของโปรแกรมการสรางแรงจูงใจท่ีมีตอการรับบริการตรวจเซลลมะเร็งปากมดลูกของสตรีท่ีโรงพยาบาลสวางอารมณ สามารถชวยใหความรู คําแนะนํา และกระตุนเตือนสตรีกลุมเปาหมายใหมารับบริการตรวจเซลลมะเร็งปากมดลูกไดอยางถูกตอง ดังน้ันพื้นท่ีอื่น ๆ ควรนําวิธีนี้ไปใชเพื่อเพิ่มผลงาน ในการควบคุมและปองกันโรคมะเร็งปากมดลูก ตามนโยบายของกระทรวงสาธารณสุข 1.2 การสรางแรงจูงใจโดยใชอิทธิพลผูนํากลุม การสรางความสัมพันธกับชุมชน การลดข้ันตอนในการทําบัตร การสงผลตรวจถึงบาน การใหบริการเชิงรุกในชุมชน นับเปนแรงจูงใจท่ีไดผลมาก ดังน้ัน เพื่อเพ่ิมผลงานและมีการดําเนินงานเปนระบบจึงควรจัดทําแผนปฏิบัติงานโดยดําเนินการเปนประจําทุกป 2. ขอเสนอแนะในการทําวิจัยตอไป ดวยขอจํากัดของเวลา และงบประมาณจึงทําใหชวงเวลาท่ีศึกษาวิจัยครั้งน้ี นานเพียง 8 สัปดาห ซึ่งหากจะทําการศึกษาวิจัยในลักษณะเดียวกันควรเพิ่มระยะเวลาในการศึกษาใหมากข้ึนและการศึกษาควรติดตามผล ผูมารับบริการตรวจเซลลมะเร็งปากมดลูกในอีก 1 ป เพื่อเปรียบเทียบกับปนี้วามีความแตกตางกันอยางไร

********************

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

102

รายการอางอิง กระทรวงสาธารณสุข. สํานักนโยบายและแผน. (2539). สถิติสาธารณสุข ป 2538. กรุงเทพมหานคร: โรง

พิมพ ทหารผานศึก. ทองพูล แตสมบัติและคณะ. (2541). รูปแบบการดําเนินงานสุขศึกษาในการสงเสริมการมารับบริการตรวจ

มะเร็งปากมดลูกของสตรี โดยการประยุกตแบบแผนความเชื่อดานสุขภาพรวมกับการจูงใจในเขตอําเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก. รายงานการวิจัย. พิษณุโลก: สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดพิษณุโลก.

พรทิพย โตทาโรง. (2541). การสงเสริมการมารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูกของสตรีโดยการประยุกตแบบแผนความเชื่อดานสุขภาพรวมกับการจูงใจในเขตอําเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต(สุขศึกษา). กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยมหิดล.

เยาวรัตน มัชฉิม. (2542). ประสิทธิผลของโปรแกรมสุขศึกษาโดยประยุกตทฤษฎีความสามารถตนเองในการดูแลตนเองของผูปวยมะเร็งปากมดลูกที่ไดรับรังสีวิทยา. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต (สุขศึกษา) กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยมหิดล.

วนิดา ทางาม. (2541). การสงเสริมพฤติกรรมตรวจเซลลมะเร็งปากมดลูกของสตรีที่แตงงานแลวโดยกลุมเพ่ือนสตรี อําเภอน้ําเกลี้ยง จังหวัดศรีสะเกษ. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต(สุขศึกษา). กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยมหิดล.

สถาบันมะเร็งแหงชาติ. (2540). คูมือการตรวจภายในและการทํา Pap Smear. กรุงเทพมหานคร: สถาบันมะเร็ง.

อรศรี สุวิมล. (2541). การศึกษาพฤติกรรมการปองกันตนเองจากมะเร็งปากมดลูกของสตรีอําเภอลํา ปลายมาศ จังหวัดบุรีรัมย . วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต(การพยาบาล). ขอนแกน : มหาวิทยาลัยขอนแกน.

อรุณรัศม แสนบุญรัตน. (2547). การศึกษาผลของโปรแกรมการสรางแรงจูงใจที่มีตอการรับบริการตรวจเซลลมะเร็งปากมดลูกของสตรีชนบทที่โรงพยาบาลบรบือ. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต(พฤติกรรมศาสตร). มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

********************

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

103

ผลของการเตรียมความพรอมหญิงต้ังครรภ ตอการรับรูความสามารถของตนเอง และพฤติกรรมการเลี้ยงทารกในโรงพยาบาลไพศาลี*

หัทยา ยาลังสี **

รศ. เฉล่ีย พิมพันธุ, อ.สุชาติ จันทรดอกไม***

บทคัดยอ การวิจัยครั้งน้ีมีจุดมุงหมายเพ่ือศึกษากิจกรรมเตรียมความพรอม, ศึกษาผลของกิจกรรมเตรียมความพรอมหญิงต้ังครรภตอการรับรูความสามารถของตนเองและพฤติกรรมการเล้ียงทารก,เปรียบเทียบการรับรูความสามารถของหญิงต้ังครรภในเร่ืองการเลี้ยงทารกกอนกับหลังไดรับกิจกรรมเตรียมความพรอม,เปรียบเทียบการรับรูความสามารถ ของหญิงต้ังครรภในเรื่องการเลี้ยงทารกระหวางหญิงต้ังครรภท่ีไดรับการเตรียมความพรอม กับหญิงต้ังครรภท่ีไดรับการพยาบาลตามปกติ และเปรียบเทียบพฤติกรรมการเล้ียงทารกระหวางหญิงต้ังครรภท่ีไดรับการเตรียมความพรอมกับหญิงต้ังครรภท่ีไดรับการพยาบาลตามปกติ กลุมตัวอยางท่ีใชในการศึกษาคือหญิงต้ังครรภ ครรภแรกที่มาฝากครรภแผนกฝากครรภโรงพยาบาลไพศาลีจํานวน 40 คน ไดมาโดยการเลือกแบบเจาะจงแบงเปน 2 กลุม กลุมละ 20 คนโดยการจับคูตามเกณฑท่ีกําหนด นําแตละคูมาจับสลากเขากลุม กลุมทดลองไดรับกิจกรรมเตรียมความพรอมท่ีผูวิจัยสรางขึ้น และกลุมควบคุมไดรับการพยาบาลตามปกติ เครื่องมือท่ีใชในการวิจัย ประกอบดวย แผนกิจกรรมการเตรียมความพรอม, แบบสอบถามการรับรูความสามารถของตนเอง และแบบสังเกตพฤติกรรม ผลการวิจัยพบวา 1. กิจกรรมเตรียมความพรอมหญิงต้ังครรภประกอบดวย 5 กิจกรรมคือ (1) การเล้ียงทารกดวยนมมารดา (2) การดูแลรักษาความสะอาดรางกายทารก (3) การใหอาหารเสริมทารก (4) การรับวัคซีน และ (5) การสังเกตอาการผิดปกติทารก 2. หลังไดรับการเตรียมความพรอม กลุมตัวอยางมีการรับรูความสามารถของตนเองอยูในระดับสูงและสามารถปฏิบัติการเลี้ยงทารกไดถูกตอง 3. การรับรูความสามารถในการเลี้ยงทารกของหญิงต้ังครรภท่ีไดรับการเตรียมความพรอมสูงกวากอนไดรับการเตรียมอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ.05 4. หญิงต้ังครรภท่ีไดรับการเตรียมความพรอมมีการรับรูความสามารถในการเล้ียงทารกสูงกวาหญิงต้ังครรภท่ีไดรับการพยาบาลตามปกติอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ.05 5. หญิงต้ังครรภท่ีไดรับการเตรียมความพรอมมีพฤติกรรมการเลี้ยงทารกถูกตองมากกวาหญิงต้ังครรภท่ีไดรับการพยาบาลตามปกติอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ.05

คําสําคัญ: การเตรียมความพรอมหญิงต้ังครรภ/ การรับรูความสามารถของตนเอง/ พฤติกรรมการเลี้ยงทารก *

* วิทยานิพนธครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการสงเสริมสุขภาพ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค พ.ศ. 2551 **พยาบาลวิชาชพี 7 โรงพยาบาลไพศาล ี อําเภอไพศาล ี จังหวัดนครสวรรค ***รองศาสตราจารยและอาจารยประจําคณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค (ท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ)

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

104

Effects Of Pregnant Women Readiness Preparation On Self -Efficacy And Infant Rearing Behaviors At Phaisali Hospital.

Hataya Yalangsri

Assoc. Prof. Chalia Pimpan, Mr. Suchat Jandokmai

Abstract The study was a two-group of pretest-posttest quasi–experimental research. The purposes of this research were to study pregnant women readiness preparation activies, the effect of pregnant women readiness preparation on self–efficacy and infant rearing behaviors, to compare infant rearing self–efficacy of pregnant women pre and post preparation, to compare infant rearing self–efficacy of pregnant women between pregnant women who received preparatory training and those of routine nursing care and to compare infant rearing behaviors of pregnant women between these who received preparatory training and those of routine nursing care. The research sample consisted of forty primigravidas who attended antenatal care clinic at Phaisali Hospital. They were selected by purposive sampling technique and were assigned into two groups, a control group and an experimental group. Each group consisted of 20 subjects by matching. The experimental group received readiness preparation made by the researcher and the control group received routine nursing care. The instruments for this research were the preparation plan, self–efficacy score and the infant rearing behaviors observation checklist. The results were as follow: 1. The readiness preparation activities of pregnant women comprised 5 activities; namely, (1) breast feeding, (2) keeping cleanness of infant, (3) giving solid food, 4) vaccination, and (5) observing physical symptoms. It was found that these activities could be put into real practice. 2. Effects of readiness preparation activities of pregnant women 2.1 Self – efficacy about rearing infant of the sample after the readiness preparation was at the high level. 2.2 Most of the sample could perform precisely in rearing infant including breast feeding and keeping cleanness of infant. 3. The post-preparation infant rearing self–efficacy of pregnant women post-preparation is higher than that in pre – preparation with a statistically significant difference. 4. The infant rearing self–efficacy of pregnant women who received preparatory training were statistically higher than that of the pregnant women who received routine nursing care. 5. The infant rearing behaviors of pregnant women who received preparatory training were statistically more correct than those of the pregnant women who received routine nursing care.

keywords : Pregnant Women Readiness Preparation/ Self – Efficacy/ Infant Rearing Behaviors

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

105

ความสําคัญและที่มาของปญหา วัยทารกซึ่งเปนวัยท่ีรางกายโดยเฉพาะสมองกําลังเจริญเติบโตอยางรวดเร็ว และเปนระยะพื้นฐานของพัฒนาการทุกๆดานท้ังทางรางกาย สติปญญา จิตใจ (วีรพงษ ฉัตรานนท. 2548: 56) หากไดรับการเลี้ยงดูอยางถูกตองเหมาะสมในชวงน้ีก็จะสงผลใหทารกเจริญเติบโตมีสุขภาพดีท้ังรางกาย จิตใจ และอารมณ เติบโต มีพัฒนาการทุกดานสมวัย แตหากการเลี้ยงดูในวัยนี้บกพรอง จะมีผลกระทบในวัยตอๆไป และโอกาสท่ีจะแกไขไมสามารถทําไดท้ังหมด (สุขศรี บูรณะกนิษฐ. 2530: 55) ดังน้ันวัยทารกจึงเปนชวงชีวิตท่ีสําคัญและมีความหมาย และมีอิทธิพลอยางมากตอการดําเนินชีวิตเมื่อเติบโตตอไปในภายภาคหนา การพัฒนาทรัพยากรมนุษยเปนนโยบายท่ีสําคัญของการพัฒนาประเทศ และการพัฒนามนุษยนั้น ควรเริ่มต้ังแตวัยทารก ตามท่ีวัตถุประสงคของงานสงเสริมสุขภาพกลุมแมและเด็ก ตามแผนพัฒนาการสาธารณสุข ในชวงแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแหงชาติฉบับท่ี 9 (พ.ศ. 2550 - 2554) ไดกําหนดไว ใหทารกไดรับการเลี้ยงดูใหมีสุขภาพแข็งแรง สมบูรณ มีพัฒนาการตามวัยและจากเปาหมายของกระทรวงสาธารณสุขป 2550 เด็ก 0-5 ป ตองมีพัฒนาการสมวัย ไมตํ่ากวารอยละ 80 และอัตราตายของทารกไมเกิน15 ตอการเกิดมีชีพพันคนดวยเหตุนี้จึงควรใหความสนใจในการดูแลทารกอยางถูกตองต้ังแตแรกเกิด ซึ่งโดยสวนใหญผูท่ีใหการเลี้ยงดูทารกต้ังแตแรก และใกลชิดทารกมากท่ีสุดคือมารดาจําเปนจะตองมีความรูความเขาใจ และจะตองตระหนักถึงสุขภาพ การเจริญเติบโตและพัฒนาการของทารก รวมท้ังมีพฤติกรรมการเลี้ยงทารกท่ีถูกตอง เพ่ือท่ีจะใหการดูแลทารกเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ ระยะหลังคลอด มารดาจะตองมีการปรับตัวเปนอยางมาก โดยเฉพาะการปรับตัวเขาสูบทบาทของการเปนมารดา (ปราณี พงษไพบูลย. 1999: 65) มารดาท่ีเพิ่งคลอดบุตรคนแรก และไมเคยมีประสบการณในการเลี้ยงดูทารกมากอน มักจะมีความสับสน วิตกกังวลตอบทบาทหนาท่ีใหมของตน อีกท้ังยังเกิดอาการออนเพลียจากการคลอดบุตรและมุงแตท่ีจะสนใจตนเอง ตองการพ่ึงพาผูอื่น สนใจแตความสุขสบายของตนเองมากกวาท่ีจะนึกถึงบุตร (วิไลวรรณ สวัสด์ิพาณิช. 2545 : 28 -32) ทําใหการรับรูตอบทบาทของการเปนมารดาเปนไปไดยาก ในโรงพยาบาลไพศาลี ทารกหลังคลอดจะอยูกับมารดาตลอดเวลาในหอผูปวยในหญิง สวนใหญจะถูกจําหนายออกจากโรงพยาบาลภายใน 2- 3 วันหลังคลอด ซึ่งเปนชวงเวลาท่ีสั้นมาก ท่ีมารดาจะสามารถเรียนรูสิ่งตาง ๆไดครบถวน พยาบาลก็ไมสามารถใหความรูมารดาในทุกเรื่องท่ีมารดาสนใจ และมารดาก็ไมสามารถท่ีจะรับรูในทุกเรื่องท่ีพยาบาลใหความรูได การจัดเวลาในการใหคําแนะนํามีเวลาจํากัด จากผลการปฏิบัติงานใหการดูแลมารดาและทารกหลังคลอดโรงพยาบาล ไพศาลีในป พ.ศ. 2549 จํานวน 295 คน พบวามารดาหลังคลอดมีพฤติกรรมการปฏิบัติในการเลี้ยงทารกไมถูกตอง ในเรื่องการเลี้ยงทารกดวยนมมารดาจํานวน 153 คน คิดเปนรอยละ 51.86 (โรงพยาบาลไพศาลี. 2549: 4) ทําใหเกิดปญหาท้ังกับตัวมารดาเอง และ ทารก เชน มารดาใหนมทารกไมถูกตอง จะทําใหมารดาเกิดหัวนมแตกเปนแผล เกิดอาการเจ็บปวดน้ํานมไมไหล ทารกไดรับนมมารดาไมเพียงพอ เกิดอาการตัวเหลืองหลังคลอด และอื่นๆซึ่งสวนใหญพบวาเปนมารดาหลังคลอดครรภแรก และจากการสังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติการเลี้ยงทารกของ

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

106

มารดาครรภแรกหลังคลอด พบวามารดาจะมีความวิตก กังวลและขาดความม่ันใจ ไมกลาอุมทารกใหนมหรืออาบน้ําทารกแมพยาบาลในหอผูปวย หลังคลอดจะทําการสอนใหความรู และคอยใหคําแนะนําชวยเหลือในการเลี้ยงทารกอยางใกลชิดก็ตาม จากปญหาดังกลาว ผูวิจัยในฐานะท่ีเปนพยาบาลรับผิดชอบในการดูแลมารดาและทารกหลังคลอดเห็นสมควรทําการวิจัยในการเตรียมความพรอมของมารดาในเรื่องการเลี้ยงทารกต้ังแตในระยะต้ังครรภ เพื่อใหมารดามีความเขาใจในบทบาทการเปนมารดา เกิดการรับรูความสามารถของตนในการเล้ียงทารก และมีพฤติกรรมการเล้ียงทารกหลังคลอดไดอยางถูกตอง เหมาะสม เพื่อท่ีทารกจะไดมีพัฒนาการทุกดานสมวัย เติบโตเปนผูใหญท่ีมีคุณภาพของชาติตอไป

จุดมุงหมายของการวิจัย 1. เพ่ือสรางกิจกรรมเตรียมความพรอมใหกับหญิงต้ังครรภในการเลี้ยงดูทารก 2. ศึกษาผลของกิจกรรมเตรียมความพรอมหญิงต้ังครรภตอการรับรูความสามารถของตนเอง และพฤติกรรมการเลี้ยงทารก 3. เปรียบเทียบการรับรูความสามารถของหญิงต้ังครรภในการเลี้ยงทารกกอนกับหลังการไดรับกิจกรรมเตรียมความพรอม 4. เปรียบเทียบการรับรูความสามารถของตนในการเลี้ยงทารก ระหวางหญิงต้ังครรภท่ีไดรับการเตรียมความพรอมกับ หญิงต้ังครรภท่ีไดรับการพยาบาลตามปกติ 5. เปรียบเทียบพฤติกรรมการเลี้ยงทารกระหวางหญิงต้ังครรภท่ีไดรับการเตรียมความพรอมกับหญิงต้ังครรภท่ีไดรับการพยาบาลตามปกติ

สมมติฐานการวิจัย 1. การรับรูความสามารถในการเลี้ยงทารกของหญิงต้ังครรภหลังไดรับการเตรียมความพรอมสูงกวากอนไดรับการเตรียมความพรอม 2. หญิงต้ังครรภท่ีไดรับการเตรียมความพรอมมีการรับรูความสามารถของตนเองในการเล้ียงทารก สูงกวาหญิงต้ังครรภท่ีไดรับการพยาบาลตามปกติ 3. หญิงต้ังครรภท่ีไดรับการเตรียมความพรอมมีพฤติกรรมการเลี้ยงทารกถูกตองมากกวา หญิงต้ังครรภท่ีไดรับการพยาบาลตามปกติ

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

107

กรอบแนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวของ การวิจัยครั้งน้ีใชแนวคิดการสงเสริมการรับรูความสามารถของตนเอง 4 วิธีของแบนดูรา (Bandura) ซึ่งประกอบดวย การใชคําพูดแนะนํา การเรียนรูผานตัวแบบ การประสบความสําเร็จดวยตนเอง และการกระตุนเราทางอารมณมาประยุกตใชในการจัดกิจกรรมเตรียมความพรอมใหหญิงต้ังครรภในเรื่องการเลี้ยงทารก โดยการสอนใหความรูเปนรายกลุม การสังเกตจากตัวแบบท่ีมีชีวิต โดยการสาธิต การปฏิบัติมีผลทําใหหญิงต้ังครรภมีการรับรูความสามารถของตนเองเพ่ิมข้ึนและมีพฤติกรรมการเลี้ยงทารกท่ีถูกตอง

ระเบียบวิธีวิจัย การวิจัยครั้งน้ีเปนการวิจัยกึ่งทดลอง โดยใชแผนแบบการวิจัยแบบสองกลุมวัดกอน และหลังการทดลอง ประชากรและกลุมตัวอยาง ประชากรที่ใชในการศึกษาวิจัยครั้งน้ีคือหญิงต้ังครรภครรภแรกที่มาฝากครรภ แผนกฝากครรภ โรงพยาบาลไพศาลีในเดือน กรกฎาคม พ. ศ. 2550 จํานวน 129 คน กลุมตัวอยางท่ีใชในการวิจัยไดแก หญิงต้ังครรภครรภแรกท่ีมาฝากครรภแผนกฝากครรภ โรงพยาบาลไพศาลีในเดือน กรกฎาคม พ.ศ. 2550 จํานวน 40 คน โดยวิธีการเลือกแบบเจาะจง ซึ่งผูวิจัยไดกําหนดคุณสมบัติสําหรับกลุมตัวอยางไวดังน้ี ต้ังครรภในไตรมาสท่ี 3 (28-40 สัปดาห) ต้ังใจคลอดท่ีโรงพยาบาลไพศาลี (คลอดปกติ) หลังคลอดเลี้ยงทารกดวยนมมารดา ไมเปนผูท่ีอยูในภาวะท่ีตองดูแลฉุกเฉิน สามารถอานออกเขียนได เปนผูสมัครใจ และยินยอมเขารวมการวิจัยจัดกลุมตัวอยางเขากลุมทดลองและกลุมควบคุมโดยการจับคู (Matching) เพื่อใหมีความคลายคลึงกัน นําแตละคูมาจับสลากเขากลุม โดยใชเกณฑในการจับคูดังน้ี อายุของหญิงต้ังครรภ ระดับการศึกษา ระดับคะแนนรวมการรับรูความสามารถของตนเอง ตัวแปรที่ศึกษา - ตัวแปรอิสระ ไดแก กิจกรรมเตรียมความพรอมหญิงต้ังครรภ - ตัวแปรตาม ไดแก การรับรูความสามารถของหญิงต้ังครรภในเรื่อง การเลี้ยงทารกดวยนมมารดา การดูแลรักษาความสะอาดรางกายทารก การใหอาหารเสริม การรับวัคซีน การสังเกตอาการผิดปกติ และพฤติกรรมการเลี้ยงทารกในเรื่องการเลี้ยงทารกดวยนมมารดาและการดูแลรักษาความสะอาดรางกายทารก เคร่ืองมือที่ใชในการวิจัย เครื่องมือท่ีใชในการวิจัยประกอบดวย 1. เครื่องมือท่ีใชในการเก็บรวบรวมขอมูลไดแก แบบสอบถามขอมูลท่ัวไป แบบสอบถามการรับรูความสามารถของตนเอง และแบบสังเกตพฤติกรรม 2. กิจกรรมเตรียมความพรอมหญิงต้ังครรภ

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

108

การเก็บรวบรวมขอมูล กลุมควบคุม 1. ผูวิจัยติดตอกับหญิงต้ังครรภท่ีเปนกลุมควบคุม ผูวิจัยสรางสัมพันธภาพ แนะนําตนเอง พรอมแจงวัตถุประสงค ข้ันตอนการวิจัย และขอความรวมมือในการวิจัย 2. หลังจากไดรับความรวมมือ และหญิงต้ังครรภยินยอมเขารวมในการวิจัยผูวิจัยใหหญิงต้ังครรภกลุมควบคุมเซ็นตยินยอมเขารวมในการวิจัย หลังจากน้ันจึงใหตอบแบบสอบถามขอมูลท่ัวไป 3. ในวันแรกหลังคลอด ผูวิจัย ขอความรวมมือใหหญิงต้ังครรภกลุมควบคุมตอบแบบสอบถามการรับรูความสามารถของตนเองในการเล้ียงทารกอีกครั้ง และวันท่ีสองหลังคลอดผูวิจัยสังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติในการเลี้ยงทารกของกลุมตัวอยาง 4. ตรวจสอบความสมบูรณของแบบสอบถาม และแบบสังเกตพฤติกรรม แจงใหหญิงต้ังครรภ กลุมควบคุมทราบถึงการส้ินสุดการเปนกลุมตัวอยางในการศึกษาครั้งน้ี กลุมทดลอง ผูวิจัยดําเนินการเชนเดียวกับกลุมควบคุมในขอ 1-2 และเพิ่มเติมดังน้ี 1. ผูวิจัยจัดกระทําตามแผนการเตรียมความพรอมหญิงต้ังครรภจนครบ 5 ครั้ง คือ ครั้งท่ี 1 วันท่ี 27 สิงหาคม พ.ศ. 2550 ครั้งท่ี 2 วันท่ี 4 กันยายน พ.ศ. 2550 ครั้งท่ี 3 วันท่ี 10 กันยายน พ.ศ. 2550 ครั้งท่ี 4 วันท่ี 18 กันยายน พ.ศ. 2550 และครั้งท่ี 5 วันท่ี 24 กันยายน พ.ศ. 2550 2. ในวันแรกหลังคลอด ผูวิจัยใหหญิงต้ังครรภกลุมทดลองตอบแบบสอบถามการรับรูความสามารถของตนเองในเรื่องการเลี้ยงทารกอีกครั้ง และในวันท่ีสองหลังคลอด ผูวิจัยสังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติการเลี้ยงทารก ของกลุมทดลอง 3. ผูวิจัยตรวจสอบความสมบูรณของการตอบแบบสอบถาม และแบบสังเกตพฤติกรรมกอนนําไปวิเคราะหขอมูล และแจงใหกลุมทดลองทราบถึงการส้ินสุดการเปนกลุมตัวอยาง การวิเคราะหขอมูล 1. เปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยการรับรูความสามารถของหญิงต้ังครรภในการเลี้ยงทารก กอนกับหลังการเตรียมความพรอม โดยใชสถิติทดสอบทีแบบกลุมตัวอยางไมเปนอิสระจากกัน (t- test for Dependent Samples) 2. เปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยการรับรูความสามารถของตนในการเล้ียงทารก ระหวางหญิงต้ังครรภท่ีไดรับการเตรียมความพรอมกับหญิงต้ังครรภท่ีไดรับการพยาบาลตามปกติ โดยใชสถิติทดสอบทีแบบกลุมตัวอยางเปนอิสระจากกัน (t-test for Independent Samples) 3. เปรียบเทียบคะแนนเฉล่ียพฤติกรรมการปฏิบัติการเลี้ยงทารกของหญิงต้ังครรภท่ีไดรับการเตรียมความพรอมกับหญิงต้ังครรภท่ีไดรับการพยาบาลตามปกติ โดยใชสถิติทดสอบทีแบบกลุมตัวอยางไมเปนอิสระจากกัน (t-test for Independent Samples)

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

109

สรุปผลการวิจัย 1. กิจกรรมเตรียมความพรอมหญิงต้ังครรภ ในเรื่องการเลี้ยงทารก ประกอบดวยกิจกรรมกลุมนัดพบท้ังหมด 5 ครั้ง ซึ่งไดแก กิจกรรมกลุมนัดพบครั้งท่ี 1 ปฐมนิเทศกลุมทดลอง ครั้งท่ี 2 การเลี้ยงทารกดวยนมมารดา ครั้งท่ี 3 การดูแลรักษาความสะอาดรางกายทารก ครั้งท่ี 4 การใหอาหารเสริมทารก และครั้งท่ี 5 การรับวัคซีนและการสังเกตอาการผิดปกติทารก ซึ่งผานการตรวจประเมินจากผูเช่ียวชาญพบวา กิจกรรมเตรียมความพรอมหญิงต้ังครรภมีความเหมาะสมมากสามารถนําไปปฏิบัติไดจริง 2. ผลของการเตรียมความพรอมหญิงต้ังครรภตอการรับรูความสามารถของตนเอง และพฤติกรรมการเลี้ยงทารก 2.1 หลังไดรับการเตรียมความพรอมกลุมตัวอยางสวนใหญมีการรับรูความสามารถของตนเองในเรื่องการเลี้ยงทารกอยูในระดับสูง 2.2 หลังไดรับการเตรียมความพรอมกลุมตัวอยางสวนใหญ สามารถปฏิบัติการเลี้ยงทารกไดถูกตองท้ังเรื่อง การใหนมมารดาแกทารก และการดูแลรักษาความสะอาดรางกายทารก 3. หญิงต้ังครรภหลังจากไดรับการเตรียมความพรอม มีคะแนนเฉลี่ยการรับรูความสามารถของตนเอง ในเรื่องการเลี้ยงทารก สูงกวากอนไดรับการเตรียมความพรอมอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 4. หญิงต้ังครรภท่ีไดรับการเตรียมความพรอมมีคะแนนเฉลี่ยการรับรูความสามารถของตนเองในเรื่องการเลี้ยงทารกสูงกวาหญิงต้ังครรภท่ีไดรับการพยาบาลตามปกติอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 5. หญิงต้ังครรภท่ีไดรับการเตรียมความพรอมมีคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมการเลี้ยงทารกสูงกวาหญิงต้ังครรภท่ีไดรับการพยาบาลตามปกติอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05

อภิปรายผลการวิจัย 1. กิจกรรมเตรียมความพรอมหญิงต้ังครรภในเรื่องการเลี้ยงทารกสามารถนําไปใชในการปฏิบัติไดจริงท้ังน้ีอาจเนื่องจากการสรางกิจกรรมไดจัดทําข้ึนอยางเปนระบบโดยเน้ือหาของในแตละกิจกรรมตรงกับความตองการของหญิงต้ังครรภ ทําใหหญิงต้ังครรภเกิดความสนใจ และมีความต้ังใจท่ีจะปฏิบัติกิจกรรม เพื่อประโยชนตอตนเอง 2. ภายหลังไดรับกิจกรรมเตรียมความพรอม พบวาหญิงต้ังครรภกลุมทดลอง มีการรับรูความสามารถของตนเองในเรื่องการเลี้ยงทารกอยูในระดับสูงและเม่ือเปรียบเทียบกับกอนไดรับกิจกรรมเตรียมความพรอมพบวาคะแนนเฉลี่ยการรับรูความสามารถของหญิงต้ังครรภหลังไดรับกิจกรรมเตรียมความพรอมสูงกวากอนไดรับกิจกรรมอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ และคะแนนเฉลี่ยการรับรูความสามารถของหญิงต้ังครรภหลังการทดลองของกลุมทดลองสูงกวากลุมควบคุมอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 ท้ังน้ีอธิบายไดวา อาจเปนเพราะการท่ีหญิงต้ังครรภกลุมทดลอง ไดรับกิจกรรมเตรียมความพรอมครบท้ัง 5 กิจกรรมคือ การไดรับคามรูในเรื่องการเลี้ยงทารกดวยนมมารดาการรักษาความสะอาดรางกายทารก การใหอาหารเสริม การรับวัคซีนและการสังเกตอาการผิดปกติซึ่งเน้ือหาตรงกับความตองการของหญิงต้ังครรภ

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

110

(วรรณรัตน จงเจริญยานนท และคณะ. 2543: 207) ซึ่งการใหความรูคําแนะนําเปนปจจัยข้ันแรก และเปนองคประกอบท่ีสําคัญในการสรางหรือกอใหเกิดทักษะการปฏิบัติในข้ันตอไป ดังน้ันความรูจึงเปนวิธีท่ีสามารถนําไปสูการปฏิบัติไดโดยมีการรับรูความสามารถของตนเองเปนตัวเช่ือมระหวางความรูกับการปฏิบัติ (ทัศนีย ประสบกิตติคุณ. 2546:16) นอกจากน้ีหญิงต้ังครรภยังไดสังเกตการปฏิบัติการใหนมมารดาแกทารกจากมารดาท่ีปฏิบัติการใหนมทารกไดอยางถูกตอง และไดสังเกตการอาบน้ําทารก การเช็ดตา เช็ดสะดือการจัดอาหารเสริมใหกับทารกในแตละชวงอายุจากผูวิจัย จัดเปนประสบการณ ทางออม ท่ีหญิงต้ังครรภสามารถเรียนแบบไดไมยาก และเกิดความคิดคลอยตามวาผูอื่นทําได ตนก็นาจะทําไดถาต้ังใจและพยายาม และการท่ีหญิงต้ังครรภไดฝกปฏิบัติ การอุมทารกใหนมการอุมทารกเรอหลังการใหนม รวมท้ังการฝกการอาบนํ้าทารก การเช็ดตา เช็ดสะดือ ทําใหเกิดประสบการณตรง ผลของการเขารวมกิจกรรมทําใหหญิงต้ังครรภมีความม่ันใจในความสามารถของตนเองมากข้ึน เปนไปตามทฤษฎีการรับรูความสามารถตนเองของแบนดูรา สอดคลองกับผลการวิจัยของ สมทรง เคาฝาย ( 2540 ) ซึ่งไดศึกษาผลของการเตรียมมารดาตอการรับรูความสามารถของตนเอง ในการดูแลทารกคลอดกอนกําหนดและพฤติกรรมการดูแลทารก ผลการวิจัยพบวา มารดาท่ีไดรับการเตรียมมีการรับรูความสามารถของตนเองในการดูแลทารกคลอดกอนกําหนด สูงกวามารดาท่ีไมไดรับการเตรียมและมารดาท่ีไดรับการเตรียมมีพฤติกรรมการดูแลทารกถูกตองมากกวามารดาท่ีไมรับการเตรียม รวมท้ังผลการวิจัยของจารุวรรณ รังสิยานนท (2540) ท่ีศึกษาผลของการเตรียมหญิงต้ังครรภเพ่ือการคลอด ตอการรับรูความสามารถของตนเอง ผลการศึกษาพบวา คะแนนการรับรูความสามารถของตนเองของหญิงต้ังครรภครรภแรก ในการเผชิญกับภาวะเจ็บครรภภายหลังการเตรียมสูงกวากอนการเตรียม 3. หลังการไดรับกิจกรรมเตรียมความพรอมกลุมทดลองสวนใหญมีพฤติกรรมการเล้ียงทารกท่ีถูกตองและเม่ือนํามาเปรียบเทียบกับกลุมท่ีไมไดรับกิจกรรมเตรียมความพรอมพบวาคะแนนรวมเฉลี่ยพฤติกรรมการเลี้ยงทารกหลังการทดลองของกลุมท่ีไดรับกิจกรรมเตรียมความพรอม สูงกวากลุมท่ีไมไดรับกิจกรรมเตรียมความพรอมอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 ท้ังน้ีอธิบายไดวาการท่ีหญิงต้ังครรภกลุมทดลองไดรับกิจกรรมเตรียมความพรอมท้ัง 5 กิจกรรม ทําใหมีการรับรูความสามารถของตนเองในเรื่องการเลี้ยงทารกเพ่ิมมากข้ึนผลของการกระทํากิจกรรม กอใหเกิดผลลัพธตามท่ีกลุมตัวอยางคาดหวังประกอบกับไดรับคําพูดชักจูง การสนับสนุนจากผูวิจัย ทําใหกลุมตัวอยางมีการรับรูความสามารถของตนเองเพิ่มข้ึน มีแรงกระตุน และมีความพยายามที่จะกระทํากิจกรรมการเลี้ยงทารกใหถูกตอง หรือเหมาะสมยิ่งข้ึนและคงไวซึ่งพฤติกรรมการเลี้ยงทารกท่ีถูกตองหรือเหมาะสมน้ันไว ซึ่งจากแนวคิดทฤษฎีการรับรูความสามารถของตนเองของแบนดูรา (Bandura. 1986) การรับรูความสามารถของตนเองเปนความเช่ือมั่นในความสามารถของบุคคล วาจะสามารถท่ีจะกระทําพฤติกรรม หรือจัดการกับสถานการณท่ีเฉพาะเจาะจงบางอยางไดสําเร็จเมื่อบุคคลมีการรับรูความสามารถของตนเองเพ่ิมข้ึนก็จะเปนแรงกระตุนใหมีความอุตสาหะ พยายามท่ีจะกระทําพฤติกรรมนั้นใหสําเร็จยิ่งข้ึนทําใหหญิงต้ังครรภกลุมทดลองมีพฤติกรรมการปฏิบัติในเรื่องการใหนมมารดาแกทารก และการดูแลรักษาความ สะอาดรางกายทารกถูกตองเหมาะสมมาก

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

111

ข้ึน ซึ่งการรับรูความสามารถของตนเองมีบทบาทสําคัญตอพฤติกรรมของบุคคลและมีความสัมพันธกับการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมสุขภาพ สอดคลองกับผลวิจัยของ ศศิธร ชัยวิเศษ (2541) ท่ีพบวาการรับรูความสามารถของตนเองมีความสัมพันธทางบวกกับพฤติกรรมสุขภาพอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ และการรับรู ความสามารถของตนเองเปนตัวทํานายพฤติกรรมท่ีดีท่ีสุดโดยเฉพาะพฤติกรรมดานสุขภาพ และผลการวิจัยของ สุพรรณี กัณหดิลก (2542) ท่ีศึกษาความสัมพันธระหวางการรับรูความสามารถของตนเองกับพฤติกรรมการปฏิบัติตัวดานสุขภาพในระยะต้ังครรภของมารดาวัยรุน พบวาคาสัมประสิทธสหสัมพันธ ระหวางการรับรูความสามารถของตนเองมีความสัมพันธทางบวกกับพฤติกรรมการปฏิบัติตัวดานสุขภาพในระยะต้ังครรภ กลุมตัวอยางท่ีไดรับกิจกรรมเตรียมความพรอมมีการรับรูความสามารถของตนเองในเรื่องการเลี้ยงทารกสูงกวากลุมท่ีไดรับการพยาบาลตามปกติ

ขอเสนอแนะ ขอเสนอแนะทั่วไป พยาบาลในแผนกฝากครรภ สามารถท่ีจะนํากิจกรรมเตรียมความพรอมในเรื่องการเลี้ยงทารก ไปใชในการเตรียมความพรอมใหกับหญิงต้ังครรภโดยพิจารณาความเหมาะสมกับอายุครรภ และความตองการของหญิงต้ังครรภเพ่ือใหหญิงต้ังครรภเกิดความมั่นใจในการท่ีจะเลี้ยงทารกและมีพฤติกรรมการเลี้ยงทารกหลังคลอดท่ีถูกตองเหมาะสม ขอเสนอแนะในการวิจัยตอไป 1. ควรศึกษาจากกลุมตัวอยางท่ีมีขนาดใหญข้ึน และมีการสุมตัวอยางเพ่ือชวยใหมีการกระจายของลักษณะประชากรและสามารถนําไปอางอิงถึงประชากรท่ัวไปได 2. ควรมีการศึกษาโดยใหสามีหรือญาติเขามามีสวนรวมดวยโดยเฉพาะญาติท่ีจะชวยในการเลี้ยงทารกเมื่อกลับไปอยูบาน 3. ควรมีการศึกษาระยะยาว ถึงผลการเตรียมหญิงต้ังครรภ ตอการรับรูความสามารถของตนเอง และพฤติกรรมการเลี้ยงทารกภายหลังจําหนายออกจากโรงพยาบาลเพื่อใหเห็นความแตกตางระหวางผลการศึกษาของกลุมทดลองและกลุมควบคุมท่ีชัดเจน

******************** รายการอางอิง

กระทรวงสาธารณสุข. (2544). แผน 9 ของกระทรวงสาธารณสุข ตามแผนพัฒนาสุขภาพแหงชาติในชวงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 9.( พ.ศ.2545-2549). กรุงเทพมหานคร: กระทรวงสาธารณสุข.

จักรภพ ธาตุสุวรรณ. (2548). สถิติสําหรับงานวิจัยและการวิเคราะหขอมูลทางสถิติดวยโปรแกรม SPSS for Window. เชียงใหม: คณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม.

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

112

จารุวรรณ รังสิยานนท. (2540). ผลการเตรียมหญิงครรภแรกเพ่ือการคลอด ตอการรับรูความสามารถของตนเองและความคาดหวังผลลัพธในการเผชิญกับภาวะเจ็บครรภ. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต (การพยาบาลแมและเด็ก). เชียงใหม: มหาวิทยาลัยเชียงใหม.

ทัศนีย ประสบกิตติคุณ. (2540, พฤษภาคม). “การรับรูสมรรถนะของตนเองกับพฤติกรรมสุขภาพ,” วารสารการพยาบาล. 16 (1): 12.

ปราณี พงคไพบูลย. (2540). การพยาบาลระยะหลังคลอด. กรุงเทพมหานคร: ศูนยสื่อเสริมกรุงเทพ. โรงพยาบาลไพศาลี. (2549). สถิติงานอนามัยแมและเด็ก. (เอกสารรายงาน). นครสวรรค: โรงพยาบาล

ไพศาลี. วรรณรัตน จงเจริญยานนท. (2543). การพยาบาลสูติศาสตรเลม 1. นนทบุรี: ประชุมชาง. วิไลวรรณ สวัสด์ิพาณิชย. (2545). การพยาบาลมารดาหลังคลอด. ชลบุรี: โรงพิมพศรีศิลปการพิมพ. วีรพงษ ฉัตรานนท. (2548, มกราคม). “นมแมคุณคายิ่งกวาอาหาร.” นิตยสารคุณแม. 1(3): 56. ศศิธร ชัยวิเศษ. (2541). ความสัมพันธระหวางการรับรูความสามารถของตนการรับรูภาวะสุขภาพกับ

พฤติกรรมสุขภาพของหญิงต้ังครรภวัยรุนครรภแรก. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต (การพยาบาลมารดาและทาราก). สงขลา: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร.

สมทรง เคาฝาย. (2540). ผลการเตรียมมารดาตอการรับรูความสามารถในการดูแลทารกคลอดกอนกําหนดและพฤติกรรมการดูแลทารก. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต (การพยาบาลแมและเด็ก).เชียงใหม : มหาวิทยาลัยเชียงใหม.

สุขศรี บูรณะกนิษฐ. (2530). สุขภาพเด็ก: วัยทารก-วัยกอนเรียนทฤษฎีและการปฏิบัติ. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพบพิธการพิมพ.

สุพรรณี กัณหดิลก. (2542). ความสัมพันธระหวางการรับรูความสามารถของตนเองกับพฤติกรรมการปฏิบัติตัวดานสุขภาพในระยะต้ังครรภของมารดาวัยรุน. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต (การพยาบาล ครอบครัว).ขอนแกน: มหาวิทยาลัยขอนแกน.

Bandura, A. (1977). “Self-efficacy: Toward a unifying theory of behavioral change.” Psychological Review. 84 ( 2) : 191-215.

________. (1977). Social learning theory. Englewood Cliffs, N.J. : Prentice Hall. ________. (1986). Social foundations of thought and action: A social cognitivetheory. Englewood

Cliffs, NJ : Prentice Hall. ********************

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

113

แนวทางการมีสวนรวมของประชาชนในการพัฒนาชุมชนขององคการบริหารสวนตําบลหาดอาษา อาํเภอสรรพยา จังหวัดชัยนาท*

นฤมล วาริชา**

รศ.ดร.ธานี เกสทอง***

บทคัดยอ การวิจัยครั้งน้ีมีจุดมุงหมายเพื่อ ศึกษาปญหาและนําเสนอแนวทางการมีสวนรวมของประชาชนในการพัฒนาชุมชนขององคการบริหารสวนตําบลหาดอาษา อําเภอสรรพยา จังหวัดชัยนาท ประชากรที่ใชในการวิจัย ไดแก ประชาชนในพ้ืนที่ขององคการบริหารสวนตําบลหาดอาษา หมูที่1-หมูที่9 จํานวน 6,857 คน กลุมตัวอยาง ไดแก ประชาชนในพ้ืนที่ขององคการบริหารสวนตําบลหาดอาษา หมูที่1- หมูที่ 9 จํานวน 364 คน เครื่องมือที่ใชในการวิจัยเปนแบบสอบถามเก่ียวกับปญหาการมีสวนรวมของประชาชนในการพัฒนาชุมชน แบบมาตราสวนประมาณคา 4 ระดับ หาคาความเที่ยงโดยวิธีหาคาสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค (Cronbach) ไดคาสัมประสิทธิ์ความเที่ยงเทากับ .84 และสถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูลคือ คารอยละ คาเฉล่ีย คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบวา 1. ปญหาการมีสวนรวมของประชาชนในการพัฒนาชุมชนขององคการบริหารสวนตําบลหาดอาษา อําเภอสรรพยา จังหวัดชัยนาท โดยรวมอยูในระดับปญหามาก เมื่อพิจารณาปญหาเปนรายดานพบวา ดานการประเมินผล มีปญหาในอันดับสูงสุด อยูในระดับมาก อันดับรองลงมา คือ ดานการตัดสินใจ และการรับผลประโยชนรวมกัน อยูในระดับมาก อันดับที่ตํ่าสุดคือ ดานการดําเนินกิจกรรม อยูในระดับนอย 2. แนวทางการมีสวนรวมของประชาชนในการพัฒนาชุมชนขององคการบริหารสวนตําบลหาดอาษา อําเภอสรรพยา จังหวัดชัยนาท ไดแนวทางดังน้ี 1. การจัดประชุมประชาคมของหมูบาน 2. แบงหนาที่ความรับผิดชอบใหกับประชาชนไดเขามามีสวนรวม 3. จัดบริการและสิ่งอํานวยความสะดวกดานพ้ืนฐานใหกับประชาชนในชุมชน 4. ประชาชนสามารถตรวจสอบการดําเนินงานได

คําสําคัญ: การมีสวนรวม/ การพัฒนาชุมชน/ องคการบริหารสวนตําบล

* วิทยานิพนธศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขายุทธศาสตรการพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค พ.ศ. 2552 ** พนักงานองคการบริหารสวนตําบลหาดอาษา อําเภอสรรพยา จังหวัดชัยนาท *** รองศาสตราจารยประจําคณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค (ท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ)

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

114

Guideline Participatory of People in Community Development of the Sub-district Administrative Organization of Hadarsa Sub-district,

Sappaya District, Chainat Province. Narumon Varichar

Assoc.Prof. Dr. Thanee Gesthong

Abstract The purposes of this research were to study the problems and create a participatory guideline of people in community development of the Sub-district Administrative Organization of Hat Asa Sub-district Sapphaya District, Chainat Province. The population consisted of 6857 people in the area of Sub-district Administrative Organization of Hat Asa in Mu 1 – Mu 9 from which the sample group of 364 people was obtained. The instrument used in the method of collecting data was done through the 4-point rating scale questionnaires and the statistics used in data analysis were percentage, mean and standard deviation. Results of the research 1. The participatory problems of people in community development of the Sub-district Administrative Organization of Hat Asa Sub-district, Sapphaya District, Chainat Province at the high level fell in 3 aspects namely evaluation, decision-making, and conflict of interests. Implementation was at the low level. 2. The guideline parcipatory of people in community development of the Sub-district Administrative Organization of Hat Asa Sub-district, Sapphaya District, Chainat Province comprises of followings: 1) creating the strategies through the sub-district community organization, 2) Providing authorities with responsibilities, 3) providing services and facilities, and 4) participatory verifying.

Keywords: Participatory/ Community Development/ Sub-district Administrative Organization

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

115

ความสําคัญ และที่มาของปญหา การพัฒนาประเทศไทยในอดีตท่ีผานมา กลาวไดวาเปนการพัฒนาแบบกระบวนการเรียนรูรวมกันทุกฝายในสังคมไทย จากการท่ีตองปรับตัวใหเหมาะสมสอดคลองกับการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดลอมทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และสิ่งแวดลอมท้ังภายใน และภายนอกประเทศในแตละชวงเวลามาโดยลําดับตอเนื่อง โดยมีผลการพัฒนาท้ังท่ีประสบความสําเร็จและท้ังท่ีตองเผชิญปญหา อุปสรรค จนไมสามารถบรรลุเปาหมายท่ีวางไวได (นิรันดร จงวุฒิเวศ. 2539 : 1) ในปจจุบันนี้สภาพแวดลอมทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง ของโลกมีการเปล่ียนแปลงอยางรวดเร็ว ระบบเศรษฐกิจมีความเช่ือมโยงสลับซับซอนยิ่งข้ึน การคาดการณ และการวางแผนลวงหนาทําไดยากกวาในอดีต ประเทศไทยจึงเริ่มกระบวนการวางแผนพัฒนาประเทศแนวใหม ต้ังแตการจัดทําแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับท่ี 10 ไดเปดโอกาสใหประชาชนจากทุกภาคสวนสังคมเขามา มีสวนรวมในกระบวนการวางแผนดวย และในท่ีสุดก็ไดนําไปสูการปรับแนวคิดการพัฒนาประเทศใหมท่ีไมมองการพัฒนาประเทศแบบแยกสวน แตเนนการพัฒนาแบบองครวม ยึดคนเปนศูนยกลางของการพัฒนา หลักสําคัญของการพัฒนาชนบทแนวใหมจึงเนนการพัฒนาคน โดยเฉพาะอยางยิ่งคนท่ียากจนในชนบทโดยยึดหลักสําคัญคือ การใหชาวบานในชนบทมีสวนรวมในการแกไขปญหาของตนเองโดยตนเอง การพัฒนาแนวใหมจึงเปนการทําใหชาวบานรูจักวิเคราะหถึงสถานการณ ท่ีตนเองเปนอยูและพรอมท่ีจะเปล่ียนแปลงเม่ือจําเปน เกิดสํานึกและมีความปรารถนาท่ีจะเปลี่ยนแปลงแลว การมีสวนรวมของชุมชนจะเปนเครื่องคํ้าประกันวา ผลแหงการพัฒนาตกอยูกับประชาชนซึ่งเปนคนสวนใหญ และยังเปนการสรางประชาธิปไตยในท่ีสุด (วันเพ็ญ วอกลาง. 2534: 2) การพัฒนาชุมชนและการพัฒนาประเทศรวมท้ังสันติสุขอันยั่งยืนอยางแทจริงของสังคมน้ัน นอกเหนือไปจากการข้ึนอยูกับทุกบริบทท่ีประกอบข้ึนมาเปนระบบสังคมแลวยังควรตองเนนการข้ึนอยูกับความเขาใจอยางลึกซึ้งรอบดานในองคความรูท่ีมีตอทุกระบบของสังคม รวมท้ังระบบปฏิบัติการของผูนํา และศักยภาพของผูนํา ตลอดจนภาวะความเปนผูนําของผูนําทุกดานของสังคมนั้นอีกดวย การท่ีจะพัฒนาดานสังคมควบคูไปกับเศรษฐกิจดวยมีแนวคิดอยูหลายดาน การพัฒนาชนบทดวยการพัฒนาชุมชน คือการใหความสําคัญตอการรวมมือของชุมชนตอกิจกรรมการพัฒนาของรัฐ ซึ่งมุงหมายท่ีจะพัฒนาทองถิ่นโดยยึดหลักการพ่ึงตนเองของประชาชนในชุมชนเปนพื้นฐานในการพัฒนาตนเอง และชุมชนของตนเองคาดหวังท่ีจะกระตุนการพัฒนาในทางเศรษฐกิจ โดยการพ่ึงตนเองของชุมชนโดยการประยุกต ใชวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี และผานกระบวนการปรับปรุงความชํานาญในการแกปญหาของชุมชน ซึ่งตองอาศัยการรวมมือของชุมชนเขาไปชักจูงปรับปรุงระดับความเปนอยูของประชาชน หลักและวิธีดําเนินการของการพัฒนาชนบทดวยการพัฒนาชุมชนจึงไดแกการท่ีตัวแทนของรัฐบาลในชุมชนทํางานในฐานะผูนําการเปลี่ยนแปลง รวมมือกับผูนําทองถิ่นเพ่ือรวมกลุมชาวบานชนบทในการกําหนดปญหา และความตองการของทองถิ่นมีการกําหนดแนวทางและดําเนินการแกปญหาหรือพัฒนาทองถิ่นรวมกัน โดยท่ีพยายามใหมีการใชทรัพยากรของทองถิ่นแบบการชวยตนเอง ในกรณีท่ีทรัพยากรของทองถิ่นมีอยูจํากัด รัฐบาลจะใหความชวยเหลือในเรื่องงบประมาณหรือวัสดุสิ่งของ หรือดานวิชาการ (สนธิยา พลศรี.

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

116

2533: 65) ดวยเหตุนี้การเกิดข้ึนอยางรวดเร็วขององคการบริหารสวนตําบลจึงเสมือนภาพสะทอนของการกระจายอํานาจการปกครองของรัฐบาล และกระทรวงมหาดไทย และสอดคลองกับกระแสเรียกรองในการท่ีจะใหประชาชนมีสิทธิเลือกรูปแบบการปกครองท่ีเหมาะสมกับตนเองมีงบประมาณ และบุคลากรทีมีศักยภาพในการพัฒนาทองถิ่นของตนเอง จากการปรับปรุงรูปแบบการบริหารงานในตําบลดังกลาว และจากสถานการณปจจุบันท่ีสภาพสังคมของทุกทองถิ่นมีความสะดวกรวดเร็วในการติดตอสื่อสารในทุกดาน ดังน้ันรูปแบบการพัฒนาการบริหารจัดการจึงตองคํานึงถึงสภาพแวดลอมดวยเพื่อใหการบริหารและการพัฒนาเปนไปในทิศทางท่ีสอดคลองกัน เชนเดียวกับการบริหารงานขององคการบริหารสวนตําบลซ่ึงเปนหนาท่ี และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริหารองคการบริหารสวนตําบลก็ไดกําหนดทิศทาง และแนวทางการพัฒนาตําบลรวมท้ังกําหนดแนวทางการดําเนินงานเพื่อพัฒนาตําบล และแกไขปญหาและความตองการของประชาชนใหเกิดผลสําเร็จโดยใชแผนพัฒนาตําบลขององคการบริหารสวนตําบลเปนเครื่องมือ (กรมการปกครอง. 2539 : 1-2) รัฐบาลไดประกาศนโยบายปรับปรุงการบริหารขององคการบริหารสวนตําบลตอรัฐสภา เมื่อวันท่ี 21 ตุลาคม 2535 เกี่ยวกับนโยบายการเมืองและการบริหารราชการ วา “กระจายอํานาจการปกครองสูทองถิ่นโดยจัดใหมีการเลือกต้ังผูบริหารทุกระดับ ตลอดจนเพิ่มบทบาทและอํานาจในการตัดสินใจขององคกรปกครองทองถิ่นใหอํานาจในการกําหนดนโยบายการพัฒนา การจัดการทรัพยากรธรรม สิ่งแวดลอมและการวางผังเมืองเพื่อใหสอดคลองกับหลักการปกครองตนเองในระบบประชาธิปไตย และจะสงเสริมใหองคกรปกครองทองถิ่นในระดับตําบลเปนนิติบุคคล เพื่อมีความคลองตัวและรวมแกปญหาของประชาชนในตําบลไดอยางมีประสิทธิภาพ” (กรมการปกครอง. 2539: 154) องคการบริหารสวนตําบลหาดอาษา อําเภอสรรพยา จังหวัดชัยนาทไดกอต้ังข้ึนเมื่อ พ.ศ. 2537 ตาม พ.ร.บ. สภาตําบลและองคการบริหารสวนตําบล พ.ศ. 2537 เปนอบต.ขนาดกลาง ดําเนินการบริหารมาไดระยะเวลาหน่ึงเกิดปญหาการพัฒนาแบบมีสวนรวมของประชาชน สมควรท่ีจะไดมีการศึกษาปญหาการมีสวนรวมของประชาชนโดยการมีสวนรวมของประชาชนเปนแกนหลักสําคัญเพื่อเปนการแกไขปญหาในทองถิ่น โดยเฉพาะอยางยิ่งดานการมีสวนรวมในการพัฒนาชุมชนของประชาชน ผูวิจัยสนใจท่ีจะศึกษาคนควาเพ่ือนําเสนอแนวทางการมีสวนรวมของประชาชนในการพัฒนาชุมชนขององคการบริหารสวนตําบลหาดอาษา อําเภอสรรพยา จังหวัดชัยนาท จะทําใหประชาชนในชุมชนรูถึงปญหาตางๆ ท่ีเกิดข้ึน มีสวนรวมในวิธีการแกปญหา ซึ่งไมใชเปนการพัฒนาหรือการแกไขปญหาท่ีมาจากความเห็นชอบขององคการบริหารสวนตําบลเพียงฝายเดียว แตเปนการท่ีประชาชนในชุมชนจะตองมีสวนรวมในการแสดงคิดเห็นในการพัฒนาชุมชนหรือแกไขปญหาชุมชนของตนเองดวย มีการประชุมประชาคมเขามาเก่ียวของ ทําใหทราบถึงความตองกาท่ีแทจริงของประชาชนและทราบถึงลําดับความสําคัญกอน-หลังของปญหาท่ีเกิดข้ึนในชุมชน ซึ่งเปนผลดีตอประชาชนในพื้นท่ีชุมชนอยางแทจริง เพราะจะไดรับผลประโยชนจากการมีสวนรวมในการพัฒนาโดยตรง เปนการแกไขปญหาท่ีตรงจุด และตรงตามความตองการของประชาชนในพื้นท่ี ซึ่งทําใหประชาชนในพ้ืนท่ีเกิดความรัก หวงแหนชุมชนของตนเองและเกิดการพัฒนาท่ียั่งยืน

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

117

จุดมุงหมายของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาปญหาการมีสวนรวมของประชาชนในการพัฒนาชุมชนขององคการบริหารสวนตําบลหาดอาษา อําเภอสรรพยา จังหวัดชัยนาท 2. เพื่อนําเสนอแนวทางการมีสวนรวมของประชาชนในการพัฒนาชุมชนขององคการบริหารสวนตําบลหาดอาษา อําเภอสรรพยา จังหวัดชัยนาท

กรอบแนวคิดและทฤษฏีที่เกีย่วของ ผูวิจัยศึกษาเอกสารและงานวิจัยท่ีเกี่ยวของนํามาเปนกรอบความคิดในการวิจัย สรุปโดยยอไดดังน้ี - ทฤษฏีการมีสวนรวม ของ โคเฮ็น และอัฟฮอฟฟ (Cohen and Uphoff . 1978) ไดกลาววา ปญหาการมีสวนรวมในแงของรูปแบบ (ดาน) ของการมีสวนรวม โดยแบงออกไดเปน 4 ดานคือ 1) การมีสวนรวมในการตัดสินใจ (Decision – Making) ซึ่งอาจเปนการตัดสินใจตั้งแตในระยะเร่ิมการตัดสินใจในชวงของกิจกรรม และการตัดสินใจในการดําเนินกิจกรรม 2) การมีสวนรวมในการดําเนินกิจกรรม (Implementation) ซึ่งอาจเปนไปในรูปของการเขารวมโดยการใหมีการสนับสนุนทางดานทรัพยากร การเขารวมในการบริหาร และการรวมมือรวมท้ังการเขารวมในการรวมแรงรวมใจ 3) การมีสวนรวมในการรับผลประโยชน (Benefits) ซึ่งอาจเปนผลประโยชนทางวัตถุ ทางสังคม หรือโดยสวนตัว 4) การมีสวนรวมในการประเมินผล (Evaluation) ซึ่งนับเปนการควบคุมและตรวจสอบการดําเนินกิจกรรมท้ังหมด และเปนการแสดงถึงการปรับตัวในการมีสวนรวมตอไป ซึ่งถือวาเปนข้ันตอนสุดทายทําใหสามารถปรับเปลี่ยนแผนใหเกิดผลงานท่ีดีท่ีสุด - ทฤษฏีการพัฒนาชุมชน ของ Arthur Dunham (1985) ไดกลาววา การพัฒนาชุมชนคือการรวมกําลังดําเนินการปรับปรุงสภาพความเปนอยูของชุมชนใหมีความเปนปกแผนและดําเนินงานไปในแนวทางท่ีตนเองตองการ โดยอาศัยความรวมกําลังของประชาชนในชุมชนน้ัน ในการชวยเหลือตนเองและรวมมือกันดําเนินงาน และตองไดรับการสนับสนุนชวยเหลือทางดานวิชาการจากหนวยงานภายนอก การพัฒนาชนบทอาจเกิดข้ึนในสวนของนโยบาย และแนวคิดเหลาน้ีหลายประการ เชน ผูริเริ่มวาแนวคิดการพัฒนาชนบทคือการยกระดับรายไดของประชนชนในชนบท และเช่ือวารายไดเฉลี่ยท่ีสูงข้ึนของชนบทเปนตัวช้ีวัดถึงความสําเร็จของการพัฒนาชนบท ดังน้ันการดําเนินการจะมุงเปาหมายไปท่ีระดับเปาหมายของประชาชนโดยเฉลี่ยทําใหอาจสงผลตอคุณภาพชีวิต (Quality of Life) ของประชาชนแตละคนโดยสวนใหญก็ได หรือผูนําทองถิ่นมีความเขาใจวาการพัฒนาชนบทเปนหนาท่ีของรัฐบาล เชน ตองการทําถนนเขาสูหมูบานหรือตําบลของตนก็เนนใหหนวยงานของรัฐบาลเปนผูดําเนินการหลัก โดยมิไดระดมความรวมมือจากคนในหมูบานหรือตําบลของตน

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

118

ระเบียบวิธีวิจัย การวิจัยครั้งน้ีมีรายละเอียดการดําเนินการโดยสังเขปดังน้ี ประชากรและกลุมตัวอยาง ชวงท่ี 1 ประชากรท่ีใชในการวิจัย ไดแก ประชาชนในพ้ืนท่ีขององคการบริหารสวนตําบลหาดอาษา หมูท่ี 1- หมูท่ี 9 จํานวน 6,857 คน กลุมตัวอยางท่ีใชในการวิจัย ไดแก ประชาชนในพ้ืนท่ีขององคการบริหารสวนตําบลหาดอาษา หมูท่ี 1- หมูท่ี 9 จํานวน 364 คน ซึ่งกําหนดขนาดตัวอยางจากการเปดตารางสําเร็จรูปของเคร็ซซ่ี และ มอรแกน (Krejcie and Morgen) และใชวิธีการสุมตัวอยางแบบแบงช้ันและการจับฉลาก ชวงท่ี 2 ประชากรท่ีใชในการวิจัย ไดแก ผูเช่ียวชาญดานการพัฒนาชุมชนแบบมีสวนรวม จํานวน 7 คน ตัวแปรที่ศึกษา 1. ปญหาการมีสวนรวมของประชาชนในการพัฒนาชุมชน 2. แนวทางการมีสวนรวมของประชาชนในการพัฒนาชุมชน เคร่ืองมือที่ใชในการวิจัย ชวงท่ี 1 เครื่องมือท่ีใชในการวิจัย แบงออกเปน 2 ตอน ตอนท่ี 1 เปนแบบสอบถามขอมูลท่ัวไป เปนแบบตรวจสอบรายการ (check list) ตอนท่ี 2 เปนแบบสอบถามเก่ียวกับปญหาการมีสวนรวมของประชาชนในการพัฒนาชุมชน ซึ่งมีเนื้อหา 4 ดาน คือ 1. ดานการมีสวนรวมในการตัดสินใจ 2. ดานการมีสวนรวมในการดําเนินกิจกรรม 3. ดานการมีสวนรวมในการรับผลประโยชน 4. ดานการมีสวนรวมในการประเมินผล ชวงท่ี 2 แบบบันทึกการสนทนากลุมการนําเสนอแนวทางการมีสวนรวมของประชาชนในการพัฒนาชุมชนขององคการ บริหารสวนตําบลหาดอาษา อําเภอสรรพยา จังหวัดชัยนาท การเก็บรวบรวมขอมูล ชวงท่ี 1 การศึกษาปญหาการมีสวนรวมของประชาชนในการพัฒนาชุมชนขององคการบริหารสวนตําบลหาดอาษา อําเภอสรรพยา จังหวัดชัยนาท ผูวิจัยไดเก็บรวบรวมขอมูลโดยใชแบบสอบถาม โดยลงสนามเก็บขอมูลจากกลุมตัวอยางดวยตนเอง ในระหวางวันท่ี 24-28 พฤศจิกายน 2551 และไดรับกลับคืนมา 364 ฉบับ คิดเปนรอยละ 100 จากนั้นนําแบบสอบถามท่ีไดรับกลับคืนมาไปวิเคราะหขอมูล ชวงท่ี 2 นําเสนอแนวทางการมีสวนรวมของประชาชนในการพัฒนาชุมชนขององคการบริหารสวนตําบลหาดอาษา อําเภอสรรพยา จังหวัดชัยนาท ผูวิจยัไดจัดประชุมสนทนากลุม ในวันท่ี 10 มกราคม 2552 เวลา 9.00-12.00 น. ณ หองประชุมองคการบริหารสวนตําบลหาดอาษา อําเภอสรรพยา จงัหวัดชัยนาท จากนั้นนํามาสรุปแนวทางท่ีไดจากการสนทนากลุม

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

119

การวิเคราะหขอมูลและสถิติทีใ่ช ผูวิจัยดําเนินการวิเคราะหขอมลูและเลือกใชสถิติดังน้ี 1. ตรวจสอบความถูกตองของแบบสอบถามท่ีไดรับกลับคืนมา 2. ขอมูลแบบสอบถาม สถานภาพของผูตอบแบบสอบถาม วิเคราะหโดยใชคารอยละ 3.การวิเคราะหขอมูลแบบสอบถาม สอบถามปญหาการมีสวนรวมของประชาชนในการพัฒนาชุมชนขององคการบริหารสวนตําบลหาดอาษา อําเภอสรรพยา จังหวัดชัยนาท โดยใชคาคาเฉล่ียและสวนเบ่ียงแบนมาตรฐาน

สรุปผลการวิจัย การวิจัยครั้งน้ีผลการวิจัยพบวา 1. ปญหาการมีสวนรวมของประชาชนในการพัฒนาชุมชนขององคการบริหารสวนตําบลหาดอาษา อําเภอสรรพยา จังหวัดชัยนาท โดยรวมอยูในระดับปญหามาก เมื่อพิจารณาปญหาเปนรายดานพบวา ดานการประเมินผล มีปญหาในอันดับสูงสุด อยูในระดับมาก อันดับรองลงมา คือ ดานการตัดสินใจ และการรับผลประโยชนรวมกัน อยูในระดับมาก อันดับท่ีตํ่าสุดคือ ดานการดําเนินกิจกรรม อยูในระดับนอย 2. แนวทางการมีสวนรวมของประชาชนในการพัฒนาชุมชนขององคการบริหารสวนตําบลหาดอาษา อําเภอสรรพยา จังหวัดชัยนาท ไดแนวทางดังน้ี 1. การจัดประชุมประชาคมของหมูบาน 2. แบงหนาท่ีความรับผิดชอบใหกับประชาชนไดเขามามีสวนรวม 3. จัดบริการ และส่ิงอํานวยความสะดวกดานพ้ืนฐานใหกับประชาชนในชุมชน 4. ประชาชนสามารถตรวจสอบการดําเนินงานได

อภิปรายผลการวิจัย 1. จากการวิจัยพบวา ปญหาการมีสวนรวมของประชาชนในการพัฒนาชุมชน ดานการประเมินผลมีปญหาระดับสูงสุด ซึ่งสอดคลองกับผลงานวิจัยของ อลงกรณ ปราบไพรี (2545) ท่ีไดทําการวิจัยเรื่อง การจัดทําแผนพัฒนาอําเภอ 5 ป (พ.ศ.2545-2549) โดยกระบวนการประชาชาคม กรณีศึกษาสันทราย จังหวัดเชียงใหม พบวา สมาชิกประชาคมอําเภอสวนใหญเห็นวาการประชาคมคือองคกรท่ีเปนเสมือนตัวแทนของประชาชนสวนใหญในชุมชน จึงสามารถรับฟงความคิดเห็นของประชาชนสวนใหญ โดยไมละเลยความคิดเห็นของคนสวนนอยในชุมชน เปนการดําเนินงานท่ีเห็นถึงประโยชนสวนรวมมากกวาประโยชนของพวกพอง กระบวนการประชาคมสามารถผลักดันโครงการตางๆ ใหเกิดข้ึนมาเปนรูปธรรมและประชาชนสามารถตรวจสอบการทํางานได ประเมินผลท่ีไดจากการทําโครงการตางๆ โดยการเสนอแผนงาน โครงการของชุมชนตอสวนราชการ และองคกรปกครองสวนทองถิ่น เชน องคการบริหารสวนตําบล เทศบาลตําบล ประชาชนควรมีสวนรวมในการประเมินผลถือวาเปนข้ันตอนสําคัญอยางหน่ึงในการพัฒนาชุมชน เพราะตองปฏิบัติตามข้ันตอนการดําเนินงานซ่ึงเสนอไว 6 ข้ันตอน ข้ันเตรียมการ ข้ันวิเคราะหสภาพปจจุบันและปญหา ข้ันกําหนดหรือจัดทําแผนการดําเนินงาน ข้ันกําหนดรายละเอียดของการดําเนินงาน ข้ันนําแผนการดําเนินงานไปปฏิบัติ ข้ันติดตามประเมินผล ในการประเมินผลอาจทําได 3 ระยะ คือ การ

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

120

ประเมินผลกอนปฏิบัติงาน การประเมินผลระหวางปฏิบัติงาน และการประเมินผลหลังปฏิบัติงาน ทําใหทราบถึงถึงปญหา ความตองการและแนว ทางแกไขปญหาของชุมชนรวมกันประชาชนเห็นคุณคาของการทํากิจกรรมนั้นรวมกัน 2. จากการวิจัยพบวา ปญหาการมีสวนรวมของประชาชนในการพัฒนาชุมชน ดานการตัดสินใจ มีปญหาระดับมาก ซึ่งสอดคลองกับผลงานวิจัยของ บัวพันธ พรรคทิง และคณะ (2532) ท่ีไดทําการวิจัยเรื่อง การพัฒนาชนบทการเขารวมในกระบวนการพัฒนาของชาวบาน พบวา พฤติกรรมการเขารวมในกระบวนการพัฒนาของชาวบานพบวา ชาวบานสวนใหญเขารวมกระบวนการพัฒนาในระดับปานกลาง ท้ังในโครงการของภาครัฐ และโครงการของชาวบาน พฤติกรรมการเขารวมในโครงการพัฒนาของรัฐน้ันชาวบานโดยท่ัวไปจะเขารวมเพียงบางข้ันตอน เนื่องจากชาวบานสวนใหญรูสึกวาโครงการตางๆ เหลาน้ัน เปนความรับผิดชอบของทางราชการ เนื่องจากชาวบานในชุมชนคาดหวังวามีการดํารงชีวิตท่ีดีข้ึน ความรูสึกเปนสวนหนึ่ง มีความสัมพันธกับการมีสวนรวมในการตัดสินใจ 3. จากการวิจัยพบวา ปญหาการมีสวนรวมของประชาชนในการพัฒนาชุมชน ดานการรับผลประโยชน มีปญหาระดับมาก ซึ่งสอดคลองกับผลงานวิจัยของ ปริศนา โกลละสุต (2534) ยอมรับวาการมีสวนรวมของประชาชนจะชวยใหการดําเนินกิจกรรมมีประสิทธิภาพมากย่ิงข้ึน เนื่องจากตรงกับปญหาและตรงกับความตองการของประชาชน ประชาชนรูสึกรัก ผูกพันและมีความรูสึกเปนเจาของมากยิ่งข้ึนจะชวยพัฒนาขีดความสามารถของประชาชนจะใหประโยชนแกประชาชนมากยิ่งข้ึน สอดคลองกับ วิวัฒนชัย อัตถากร (2530) ท่ีกลาววาการมีสวนรวมดวยความสัมพันธจะทําใหเกิดความเช่ือมโยงระหวางคนท่ีเขามาสัมพันธดวย กอใหเกิดการเรียนรูประสบการณซึ่งกันและกัน มีความเอื้ออาทรมีความผูกพันกันในชุมชน สอดคลองกับแนวคิดเก่ียวกับการมีสวนรวมของ ประเวศ วะสี (2544) ท่ีกลาววา ปจจัยท่ีสนับสนุนในกระบวนการมีสวนรวมของชุมชน ไดแก ความพรอมของบุคคลท้ังสติปญญา และความสามารถในการสรางความรูใหม รวมท้ังทรัพยากร วัตถุดิบ ภูมิปญญาทองถิ่น และพื้นท่ี สามารถนํามารวมเปนพลังสรางสรรค เพ่ือเปนการพัฒนาดวยตัวชุมชนเอง 4. จากผลการวิจัยพบวา แนวทางการมีสวนรวมของประชาชนในการพัฒนาชุมชน คือ การแบงหนาท่ีความรับผิดชอบในการปฏิบัติงานบางสวนใหกับประชาชน หรือกลุมอาชีพในชุมชนไดเขามามีสวนรวมในการดําเนินกิจกรรมตางๆ ท่ีทางองคการบริหารสวนตําบลจัดข้ึนโดยการรวมลงทุน ลงแรง ลงใจ ลงความคิดเห็นในการดําเนินงาน สอดคลองกับ จิตจํานงค กิติกีรติ (2532) ไดกลาวถึงบทบาทของเจาหนาท่ีภาครัฐวาตองกระตุนใหประชาชนไดรู ไดเขาใจ ถึงแนวคิด หลักการวิเคราะห ปญหาของชุมชน และใหประชาชนตระหนักวาเปนปญหารวมกันของทุกคนในชุมชน มิใชของคนใดคนหน่ึง การกระทําเชนนี้จะทําใหประชาชนมีความรูสึกวาตนเองไดเขามามีสวนรวมในการอภิปราย ถกเถียง พิจารณาปญหาตางๆ ในชุมชนของตนเองดวยจะรูสึกรวมรับผิดชอบในการดําเนินโครงการเหมือนเปนปญหาของตนโดยแทจริงการพัฒนาชุมชนไมวาจะเปนการพัฒนาดวยการจัดกิจกรรม ในดานใดยอมต้ังอยูบนพื้นฐานการสนับสนุนใหประชาชนพ่ึงตนเองไดเปนประการสําคัญ

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

121

5. จากผลการวิจัยพบวา แนวทางการมีสวนรวมของประชาชนในการพัฒนาชุมชน คือ ประชาชนสวนใหญตองมีสวนรวมในการพัฒนาชุมชนของตนเอง เพราะประชาชนจะเปนผูท่ีไดรับผลประโยชนรวมกันโดยตรง เปนการสรางความรัก ความสามัคคีใหกับคนในชุมชน สงผลใหชีวิตความเปนอยูสะดวก สบายมากข้ึน สอดคลองกับ สบพันธ ชิตานนท (2549) ท่ีไดทําการวิจัยเรื่อง การบริหารงานราชการแบบมีสวนรวมของประชาชนของสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) พบวา การบริหารราชการแบบมีสวนรวมท่ีเปดโอกาสใหประชาชนและเครือขายภาคประชาสังคมทุกภาคสวนเขามาเปนหุนสวน จะประสบความสําเร็จหรือไมนั้น ข้ึนอยูกับหนวยงานราชการตาง ๆ จะสนับสนุนใหเกิดการมีสวนรวมของประชาชนมากนอยเพียงใด รวมท้ังตองอาศัยกระบวนการความรวมมือและการมีสวนรวมของทุกฝายในสังคมท่ีเปนพันธมิตรของภาคราชการ ตองรวมมือกันเปดระบบราชการใหประชาชนมีสวนรวม เพื่อทําใหเกิดการบริหารกิจการบานเมืองท่ีดี เกิดการแบงสรรทรัพยากรอยางยุติธรรม และลดความขัดแยงในสังคม และท่ีสําคัญท่ีสุด คือ การสรางกลไกของการพัฒนาระบบราชการท่ียั่งยืน เพื่อประโยชนสุขของประชาชนน่ันเอง

ขอเสนอแนะ จากผลการวิจัยท่ีกลาวมา ผูวิจัยมีขอเสนอแนะดังน้ี 1. ควรเปดโอกาสใหประชาชนมีสวนรวมในการใหขอมูลขอเท็จจริง ดวยวิธีการตาง ๆ มีการสํารวจความคิดเห็น จัดเวทีสาธารณะ แสดงความเห็นผานเว็บไซด 2. ประชาชนในชุมชนควรไดรับรูถึงขอมูล ขาวสาร แผนการดําเนินงานโครงการ /กิจกรรม และทิศทางการพัฒนาขององคการบริหารสวนตําบลเบ้ืองตน 3.ควรปลูกฝงจิตสํานึกใหประชาชนในชุมชนเกิดความรูสึกรวม และความรูสึกรัก และแสดงความเปนเจาของชุมชนของตนเอง 4. เปดโอกาสใหประชาชนมีสวนรวมในการปฏิบัติงานในแตละข้ันตอนตามความเหมาะสม ซึ่งจะทําใหทราบความกาวหนาของโครงการ / กิจกรรม ปญหา อุปสรรคตาง ๆ ท่ีเกิดจากการปฏิบัติงาน 5. ควรทําวิจัยเกี่ยวกับปญหาการมีสวนรวมของประชาชนแบบเจาะจงเปนรายดาน เชน รูปแบบการมีสวนรวมของประชาชนในการพัฒนาชุมชนดานการดําเนินกิจกรรม ซึ่งเปนการเนนปญหาท่ีตรงจุดของแตละพ้ืนท่ี เพ่ือไดมาซ่ึงรูปแบบและวิธีการท่ีเหมาะสม 6. ควรทําวิจัยเกี่ยวกับการประเมินผลตอบรับท่ีไดจากการพัฒนาชุมชนแบบมีสวนรวมของประชาชน

********************

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

122

รายการอางอิง การปกครอง,กรม. (2539). คูมอืพัฒนางานสวนตําบล. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพสวนทองถิ่น. จิตจํานง กิติกีรติ. (2532). การมีสวนรวมของประชาชนในงานพัฒนา. กรุงเทพมหานคร: พัฒนาหลักสูตร. นิรันดร จงวุฒิเวศ. (2539). ประสิทธิผลการบริหารงานขององคการบริหารสวนตําบล ศึกษาอุปสรรค และ

แนวทางแกไข. พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยนเรศวร. บัวพันธ พรรคทิง. (2532) ศักยภาพในการพัฒนาตนเองของชาวนาไทย: กรณศึีกษาชาวนาสามหมูบาน

ในจังหวัดลําพูน. กรุงเทพมหานคร: สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร. ปริศนา โกลละสุต. (2534). การมีสวนรวมในกิจกรรมของชมุชน: ศึกษาเปรียบเทียบ ผูเคยยายถ่ินและ

ผูที่ ไมเคยยายถ่ิน. กรุงเทพมหานคร: สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร. วันเพ็ญ วอกลาง. (2534). การมีสวนรวมของประชาชนในการพัฒนาทองถ่ิน. กรุงเทพมหานคร:โรงพิมพ

สวนทองถิ่น. วิวัฒนชัย อัตถากร. (2530). ปรัชญาพัฒนาเศรษฐกิจไทย. ปริญญานิพนธมหาบัณฑิต, กรุงเทพมหานคร:

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร. สนธยา พลศรี. (2533). ทฤษฎีและหลักการพัฒนาชุมชน. กรุงเทพมหานคร: โอเดียนสโตร. สบพันธ ชิตานนท. (2549). เศรษฐกิจพอเพียง หนทางสูการพัฒนาที่ยั่งยืน. กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพ

มูลนิธิ โกมลคีมทอง. อลงกรณ ปราบไพรี. (2545). การจัดทําแผนพัฒนาอําเภอ 5 ป (พ.ศ. 2545 – 2549) โดยกระบวนการ

ประชาคม : กรณีศึกษาอําเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม. งานคนควาแบบอิสระ มหาวิทยาลัยเชียงใหม.

Arthur Dunham. (1985). Community Welfare Organization : Principles and Practice. New York: Thomas Y, Crowell Company.

Cohen and UpHoff. (1978). Rural development participation: Concept and Measures for Project Design implementation and Evaluation. London: Rural Development Committee Center For International Studies Cornell University.

********************

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

123

การพัฒนาการเรียนรูเรื่องจํานวนเชิงซอน โดยการนําเสนอมโนมติผานกราฟ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 5 โรงเรียนนวมินทราชูทิศ พายัพ*

ไอริน ชุมเมืองเย็น**

รศ.สุนทร ชนะกอก***

ดร.ณัชชา กมล****

บทคัดยอ การวิจัยครั้งน้ีมีวัตถุประสงคเพ่ือศึกษาผลของการสอนเรื่องจํานวนเชิงซอน ระดับช้ันมัธยมศึกษาปที่ 5 โรงเรียนนวมินทราชูทิศ พายัพ จังหวัดเชียงใหม โดยอาศัยการนําเสนอมโนมติของจํานวนเชิงซอนผานกราฟ ดําเนินการวิจัยกับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปที่ 5/4 ในภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2550 จํานวน 43 คน โดยใชรูปแบบการวิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียน 5 วงจร ผูวิจัยดําเนินสอนดวยตนเองตามแผนการจัดการเรียนรู รวม 20 คาบ คาบละ 50 นาที เก็บรวบรวมขอมูลในแตละวงจร โดยการสังเกต การตรวจแบบฝกทักษะ/แบบฝกหัด นําเสนอผลการวิจัยโดยวิธีพรรณนาความ ผลการวิจัยพบวา นักเรียนทุกคนจําแนกความแตกตางระหวางจํานวนเชิงซอน จํานวนจริงและจํานวน จินตภาพได และบอกความแตกตางระหวางสวนจินตภาพกับจํานวน จินตภาพได กําหนดนิยามการบวก ลบ คูณ และหารจํานวนเชิงซอน นิยามของสังยุค ขนาด รูปเชิงขั้ว รากที่ n ของจํานวนเชิงซอนไดอยางถูกตอง ในสวนของทักษะในการคิดคํานวณ นักเรียนจํานวนไมนอยกวา 70% คํานวณหาผลบวก ผลลบ ผลคูณ และผลหารจํานวนเชิงซอน ขนาดของจํานวนเชิงซอน รากที่ n ของจํานวนเชิงซอน และหาคําตอบของสมการพหุนามที่กําหนดไดอยางถูกตอง

คําสําคัญ: จํานวนเชิงซอน/ มโนมติคณิตศาสตร/ กราฟ/ การวิจัยในช้ันเรียน/ การพัฒนาการเรียนรู

* วิทยานิพนธศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาคณิตศาสตรศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม พ.ศ. 2551 ** อาจารยประจําคณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค *** รองศาสตราจารยประจําคณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม (อาจารยท่ีปรึกษาวิทยานิพนธหลัก) **** อาจารยประจําคณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม (อาจารยท่ีปรึกษาวิทยานิพนธรวม)

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

124

Developing Learning on Complex Number by Concept Presentation Through Graphical Approach of Mathayom Suksa 5 Students at Nawamindhrachudhit Payap School

Miss Irene Chummeungyen Assoc. Prof. Sunthon Chanakok

Dr. Natch Kamol

ABSTRACT The purpose of this research was to study the effects of teaching on Complex Numbers by concept presentation through graphical approach of Mathayom Suksa 5 Students at Nawamindhrachudhit Payap School. 43 students in Mathayom Suksa 5/4 participated in this study, which was conducted during the second semester of the 2007 academic year. The researcher collected the data over 5 cycles of action research which included 20 periods of 50 minutes each. The instruments comprised observation notes, skill practicing sheets and lesson plans. The data were analyzed through descriptive analysis. The results showed that all students were able to differentiate among complex numbers, real numbers and imaginary numbers. They also differentiated between imaginary part and imaginary numbers. All students were able to define definitions of basic operations, conjugates, modulus, polar from and the nth root of complex numbers. In addition, for the computational skill, at least 70% of students were able to calculate basic operations of complex numbers, find modulus and the nth root of complex numbers, and also solve polynomial equations correctly.

Keywords: Complex Number/ Mathematical Concept/ Graph/ Action Research/ Developing Learning

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

125

ความเปนมาและความสําคัญของปญหา คณิตศาสตรเปนวิชาท่ีเกี่ยวกับความคิด เราใชคณิตศาสตรพิสูจนอยางมีเหตุผลวาส่ิงท่ีเราคิดน้ันถูกตองหรือไม มนุษยสรางสัญลักษณแทนความคิด และสรางกฎในการนําสัญลักษณมาใช เพื่อส่ือความหมายท่ีเขาใจตรงกัน คณิตศาสตรจึงมีภาษาเฉพาะของตัวเอง ความงดงามของคณิตศาสตรคือความมีระเบียบแบบแผนและความกลมกลืน มนุษยตองตอบคําถามหรือแกปญหาที่ซับซอนยุงยากมากข้ึน แตความรูเดิมไมสามารถตอบคําถามหรือแกปญหาได ทําใหคณิตศาสตรขยายตัวออกไปตามความตองการของมนุษย (ยุพิน พิพิธกุล, 2530, หนา 2-3) แนวโนมของการเรียนการสอนคณิตศาสตรมีทิศทางไปทางคณิตศาสตรบริสุทธิ์มากข้ึนซึ่งเปนเรื่องท่ีตองอาศัยความคิดเชิงจินตนาการ (สุนทร ชนะกอก, 2528, หนา 1) ดวยความเปนนามธรรมของคณิตศาสตร ทําใหการเรียนการสอนคณิตศาสตรไมประสบความสําเร็จเทาท่ีควร จากการทดสอบนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 6 โรงเรียนนวมินทราชูทิศ พายัพ จังหวัดเชียงใหม ภาคเรียนท่ี 1 ปการศึกษา 2550 จํานวน 37 คน ซึ่งเรียนเรื่องจํานวนเชิงซอนมาแลว สรุปไดวา นักเรียนมี

ความสับสนระหวางจํานวนเชิงซอน จํานวนจินตภาพและจํานวนจริง เชน นักเรียนเขาใจวา 2 + 3i เปน

จํานวนเซิงซอน แต 100, 2i, 3 ไมเปนจํานวนเชิงซอนและเขาใจวา 2 i เปนจํานวนจินตภาพ แต 4

+ 7i ไมเปนจํานวนจินตภาพ เปนตน นักเรียนมีมโนมติเกี่ยวกับคา i ไมถูกตอง คือ เขาใจวา i = −1 นักเรียนมีมโนมติเกี่ยวกับการดําเนินการของจํานวนเชิงซอนไมถูกตอง เชน การคูณจํานวนเชิงซอน นักเรียนเอาสวนจริงคูณกับสวนจริงและสวนจินตภาพคูณกับสวนจินตภาพ เปนตน นอกจากน้ียังพบปญหาเกี่ยวกับมโนมติอื่น ๆ ท่ีเกี่ยวกับจํานวนเชิงซอน จากหนังสือเรื่อง ครูคณิตศาสตรกับจํานวนและหนังสือเรื่อง คณิตศาสตรพื้นฐานสําหรับครูมัธยม (สุนทร ชนะกอก, 2543, หนา 39-73 และ 2528, หนา 97) ไดเสนอวิธีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเรื่องจํานวนเชิงซอน โดยนําเสนอมโนมติเกี่ยวกับจํานวนจริง จํานวนจินตภาพ และจํานวนเชิงซอน ตามลําดับ การหารากที่ n ของจํานวนจริงใด ๆ อาศัยรูปวงกลมท่ีมีจุดศูนยกลางอยูท่ีจุดกําเนิด ชวยในการนําเสนอมโนมติของรากท่ี n กอนท่ีจะคิดคํานวณจากสูตรซ่ึงเปนรูปสัญลักษณ และจากหนังสือเรื่อง Elementary Linear Algebra (Howard Anton, 1994, p 521-542) ไดเสนอวา จํานวนเชิงซอนเขียนแทนไดดวยจุดและเวกเตอร ซึ่งเน้ือหาเรื่องจํานวนเชิงซอนนั้นสามารถแสดงไดดวยกราฟไดแทบทุกมโนมติ ผูวิจัยจึงทําการวิจัยในช้ันเรียนเพื่อศึกษาผลการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนมโนมติของจํานวนเชิงซอนโดยการนําเสนอผานกราฟ ท่ีโรงเรียนนวมินทราชูทิศ พายัพ จังหวัดเชียงใหม เพื่อนําผลท่ีไดไปปรับปรุงการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเรื่องจํานวนเชิงซอน

วัตถุประสงคของการวิจัย เพื่อศึกษาผลของการสอนเร่ือง จํานวนเชิงซอน ระดับช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 5 โรงเรียน นวมินทราชูทิศ พายัพ จังหวัดเชียงใหม โดยอาศัยการนําเสนอมโนมติของจํานวนเชิงซอนผานกราฟ

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

126

ขอบเขตของการวิจัย การวิจัยครั้งน้ีมุงท่ีจะศึกษาผลของการสอนเรื่อง จํานวนเชิงซอน ท่ีดําเนินการกับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 5/4 โรงเรียนนวมินทราชูทิศ พายัพ จังหวัดเชียงใหม ในภาคเรียน ท่ี 2 ปการศึกษา 2550 จํานวน 43 คน โดยเน้ือหาท่ีใชในการวิจัยคือเรื่อง จํานวนเชิงซอน ชวงช้ันท่ี 4 ตามหลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐานพุทธศักราช 2544

วิธีดําเนินการวจิัย ดําเนินการวิจัยกับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 5/4 ในภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2550 จํานวน 43 คน โดยใชรูปแบบการวิจัยเชิงปฏิบัติการในช้ันเรียนของ Kemmis and Mc Taggart (อางในผองพรรณ ตรัยมงคลกูล, 2544, หนา 33) โดยแบงเปน 5 วงจร ผูวิจัยดําเนินสอนดวยตนเองตามแผนการจัดการเรียนรู รวมท้ังส้ิน 20 คาบ คาบละ 50 นาที เก็บรวบรวมขอมูลในแตละวงจร โดยการสังเกต การตรวจแบบฝกทักษะ/แบบฝกหัด นําเสนอผลการวิจัยโดยวิธีพรรณนาความ

สรุปผลการวิจัย จากการวิเคราะหผลของการสอนเรื่องจํานวนเชิงซอน สรุปผลการศึกษา ดังน้ี 1. นักเรียนบอกความแตกตางระหวางจํานวนจริงและจํานวน จินตภาพไดอยางถูกตอง และนักเรียนบอกความแตกตางระหวางสวนจินตภาพกับจํานวนจินตภาพไดอยางถูกตอง 2. นักเรียนสวนใหญหาผลลัพธของโจทยท่ีกําหนดใหไดถูกตอง มีนักเรียนเพียงบางสวนท่ีทําผิดเนื่องจากขาดความรูพื้นฐานการลบจํานวนเต็ม นักเรียนสับเพราในการคิดคํานวณ และสับเพราในการตอบ (คํานวณไดถูกตองแตตอบผิด) 3. นักเรียนหาสังยุคของจํานวนเชิงซอนท่ีกําหนดใหไดอยางถูกตอง เชน สังยุคของจํานวน 2–7 i คือ 2 + 7 i เปนตน 4. นักเรียนสวนใหญมีมโนมติขนาดของจํานวนเชิงซอน โดยนักเรียนหาขนาดของจํานวนเชิงซอนไดอยางถูกตอง มีนักเรียนบางสวนหาขนาดของจํานวนเชิงซอนผิดเน่ืองจากคํานวณผิด 5. นักเรียนทุกคนมีมโนมติรากท่ี n ของจํานวนจริง โดยนักเรียนทุกคนบอกไดถูกตองวารากท่ีn ของจํานวนจริงมีท้ังหมด n จํานวน เขียนกราฟแสดงรากที่ n ของจํานวนจริงท่ีกําหนดไดถูกตอง นักเรียนทุกคนบอกไดถูกตองวารากท่ี n ของจํานวนเชิงซอนมีท้ังหมด n จํานวนนักเรียนรอยละ 74.36 หารากท่ี 5

ของ i 22 +− ไดอยางถูกตอง 6. นักเรียนสวนใหญมีมโนมติเกี่ยวกับคําตอบของสมการพหุนามท่ีถูกตอง โดยนักเรียนหาคําตอบ

ของสมการพหุนามท่ีกําหนดไดอยางถูกตอง เชน คําตอบของสมการ 086x2x =++ คือ { 2 , 4 } เปนตน นักเรียนทุกคนเลือกใชสูตรในการหาคําตอบของสมการท่ีกําหนดไดอยางถูกตอง เชน การหาคําตอบ

ของสมการ 086x2x =++ ตองใชสูตร a2

ac4bb 2−±− เพราะ 04(1)(8)26 ≥− เปนตน แต

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

127

นักเรียนบางสวนคํานวณหาคําตอบไดไมถูกตองเพราะการคํานวณผิดพลาด นักเรียนบางคนไมมีพื้นฐานในการบวก ลบ คูณ และหารจํานวนจริง นักเรียนบางคนมีความลังเลไมมั่นใจ นักเรียนสวนใหญเห็นโจทยมีตัวแปรและโจทยยาว แลว รูสึกทอ ไมมีกําลังใจท่ีจะหาคําตอบ

อภิปรายผล จากผลการวิจัย นาจะเปนผลมาจากปจจัยหลาย ๆ ประการ ดังน้ี 1. การใชกราฟเพื่อนําเสนอมโนมติเกี่ยวกับจํานวนจริงและจํานวนจินตภาพ ทําใหนักเรียนมีมโนมติท่ีถูกตองเก่ียวกับจํานวนจริง และจํานวน จินตภาพ นักเรียนบอกความแตกตางระหวางจํานวนจริงและจํานวนจินตภาพไดอยางถูกตอง นอกจากนี้การใชกราฟยังมีสวนชวยใหนักเรียนมีมโนมติของสังยุค ขนาดและรูปเชิงข้ัวของจํานวนเชิงซอน เห็นชัดวากราฟเปนสื่อท่ีเปนรูปธรรมทําใหนักเรียนเขาใจเน้ือหาท่ีเรียนไดงายและรวดเร็วกวาการอธิบายเปนภาษาพูดหรือเขียน ซึ่งสอดคลองกับชุติมา ตะพงษ (2542, หนา 17) ท่ีกลาววา การรับรูจากส่ิงท่ีเปนรูปภาพจะทําใหนักเรียนสามารถเกิดความรูและความคิดอยางรวดเร็วกวาการอานจากภาษาเขียน ทําใหการเรียนการสอนงายแกการเขาใจ และสามารถเช่ือมโยงกระบวนการคิดไดดี นอกจากนั้นการเรียนดวยภาพจะทําใหเรียนไดงายและสนุก เราความสนใจ เกิดการเชื่อมโยงประสบการณ ทําใหจําไดรวดเร็วและไมลืม ในทํานองเดียวกันกับ ยุพิน พิพิธกุล (2530, หนา 39) ท่ีกลาววา การชวยใหนักเรียนเกิดความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตรไดนั้น ควรเริ่มจากการสอนในส่ิงท่ีเปนรูปธรรมเพื่อนําไปสูนามธรรม โดยผูสอนตองพยายามใชสื่อ การเรียนการสอนมาประกอบเพ่ือใหผูเรียนเกิดความรูความเขาใจไดรวดเร็วข้ึน 2. จากการใหมโนมติของการบวก ลบ คูณและหารจํานวนจินตภาพ โดยอาศัยเหตุการณท่ีคลายคลึงกันกับหลักการบวก ลบ และคูณพหุนาม เชน ทบทวนการหาผลบวกของพหุนาม โดยใหนักเรียนหา

ผลลัพธของ (2 + 3x) + (3 + 4x) แลวใหนักเรียนคาดเดาผลบวกของ (2 + 3 i ) + (3 + 4 i ) เปนตน นักเรียนเกิดการเช่ือมโยงความรูเดิมกับความรูใหมทําใหเกิดมโนมติไดอยางรวดเร็ว ซึ่งสอดคลองกับ ทฤษฎีการถายโยงการเรียนรูโดยความคลายคลึงกัน ของ Edward L. Thorndike (อางในอารี พันธมณี, 2534, หนา 171) ซึ่งกลาววา การเรียนรูในสถานการณหนึ่งท่ีมีองคประกอบท่ีเหมือนกันหรือคลายคลึงกันกับอีกสถานการณหนึ่ง ท้ังในดานเน้ือหา วิธีการ และเจตคติ ก็จะทําใหเกิดการถายโยงในทางบวก 3. การเนนย้ํานิยามของรากท่ี n ทําใหนักเรียนจดจํานิยามเก่ียวกับรากท่ี n ของจํานวนจริงไดอยางแมนยํา ซึ่งสอดคลองกับคํากลาวของ วุฒิชัย จํานง (2521, หนา 75) ท่ีวา การเนนย้ําเปนสิ่งสําคัญมาก เพราะหากเนนย้ําแลวจะทําใหปฏิกิริยาโตตอบลดลงอยางฮวบฮาบและหมดส้ินไปในท่ีสุด ทําใหนักเรียนมีมโนมติในเรื่องดังกลาวอยางคงทน และการใชกราฟในการสรางมโนมติเกี่ยวกับรากท่ี n ของจํานวนจริง กอนจะนําเสนอมโนมติโดยการใชสูตร ทําใหนักเรียนเรียนรูอยางเปนลําดับสอดคลองกับ ยุพิน พิพิธกุล (2530, หนา 40) ท่ีกลาวไววา การจัดลําดับเน้ือหาควรเรียงลําดับจากงายไปหายาก โดยเริ่มจากตัวเลขงาย ๆ ไปสูสัญลักษณท่ีซับซอนข้ึน จะทําใหนักเรียนไมเกิดการทอถอยในการเรียน

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

128

4. การฝกทักษะนาจะเปนปจจัยหนึ่งท่ีมีผลตอการเรียนรูของนักเรียน จากการวิจัยพบวาการใหนักเรียนทําแบบฝกทักษะ มีสวนทําใหนักเรียนทําแบบฝกหัดดวยตนเองไดอยางถูกตองและคลองแคลว เพราะเกิดความชํานาญ ซึ่งสอดคลองกับ ปริศนา วิโนสุยะ (2547, หนา 39-40) ท่ีกลาววา การฝกทักษะเปนสิ่งสําคัญและจําเปนมากในการเรียนวิชาคณิตศาสตร เมื่อนักเรียนเรียนรูเนื้อหาใหม คนพบขอเท็จจริง หลักการและวิธีการแลว ตองฝกการนําส่ิงท่ีคนพบหรือสรุปนั้นไปใชใหคลอง รวดเร็ว ถูกตอง แมนยํา 5. จากการประเมินผลผูเรียนมีหลายรูปแบบ เชน การสังเกตการตอบคําถามของนักเรียนการสัมภาษณ การตรวจแบบฝกทักษะและแบบฝกหัด การบันทึกการสอน เปนตน ทําใหผูสอนทราบถึงปญหาในการเรียนการสอนและสามารถแกปญหาเปนรายบุคคลหรือแกปญหาของนักเรียนท้ังหมดไดอยางรวดเร็วและตรงจุด ซึ่งสอดคลองกับ พรอมพรรณ อุดมสิน (2548, หนา 15-20) ท่ีกลาววา การประเมินผลการเรียนรูตามสภาพจริงในสาระการเรียนรูคณิตศาสตร เปนสิ่งท่ีครูผูสอนทุกคนตองตระหนักและนําการประเมินผลการเรียนรูนี้ไปใชกับผูเรียนโดยท้ังสองฝายตองรับผิดชอบรวมกัน เพื่อประโยชนอันเกิดแกผูเรียน สามารถตอบสนองศักยภาพของผูเรียนใหเปนไปอยางเต็มศักยภาพ

ขอเสนอแนะในการทําวิจัยคร้ังตอไป 1. ควรมีการศึกษาการใชโปรแกรมคอมพิวเตอรหรือเทคโนโลยีอื่น ๆ เพื่อนํามาใชรวมกับ การจัดการเรียนการเรียนการสอนเพื่อชวยสรางมโนมติท่ีถูกตองในเรื่องจํานวนเชิงซอน 2. ควรมีการศึกษาถึงการใชชุดการสอนซอมเสริม สําหรับนักเรียนท่ีตองการเรียนเพิ่มเติม หรือนักเรียนท่ีเรียนออน เพื่อนํามาใชรวมกับ การจัดการเรียนการเรียนการสอนเพ่ือชวยสรางมโนมติท่ีถูกตองในเรื่องจํานวนเชิงซอน 3. ควรมีการวิจัยเพ่ือพัฒนาการเรียนรูเรื่องการบวก ลบ คูณ และหารโดยอาศัยเวกเตอรบนระนาบเชิงซอน

********************

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

129

รายการอางอิง ชุติมา ตะพงษ. (2542). การใชเทคนิคการคิดเชิงเห็นภาพในการสอนกลุมสรางเสริมประสบการณชีวิต

สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 2. วิทยานิพนธศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม.

ปริศนา วิโนสุยะ. (2547). การปรับปรุงการสอนคณิตศาสตรเร่ือง จํานวนเต็ม ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนตากพิทยาคม จังหวัดตาก . วิทยานิพนธศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม.

ผองพรรณ ตรัยมงคลกูล. (2544). การวิจัยในชั้นเรียน. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. พรอมพรรณ อุดมสิน. (2548). การประเมินตามสภาพจริง. วารสารครุศาสตร, 33( 3 ), 15-20. ยุพิน พิพิธกุล. (2530). การสอนคณิตศาสตร. กรุงเทพมหานคร: คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. วุฒิชัย จํานงค. (2521). การเรียนรูทฤษฎีเบ้ืองตนและการประยุกต. หางหุนสวนจํากัด บํารุงสาสน

กรุงเทพมหานคร. สุนทร ชนะกอก . (2528). คณิตศาสตรสําหรับครูมัธยม . เ ชียงใหม : คณะศึกษาศาสตร

มหาวิทยาลัยเชียงใหม. สุนทร ชนะกอก. (2543). ครูคณิตศาสตรกับจํานวน. เชียงใหม : คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม. อารี พันธมณี. (2534). จิตวิทยาการเรียนการสอน. พิมพครั้งท่ี 1. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพตนออ. Anton, Howard. (1994). Elementary Linear Algebra. Anton Textbook (7th ed) , p 521-542.

********************

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

130

แนะนําหนังสือ ชื่อหนังสือ : You and Your Action Research Project ผูเขยีน : Jean McNiff, Pamela Lomax and Jack Whitehead ปที่พิมพ : 2003, หนา 201 หนา สํานักพิมพ : RoutledgeFalmer ผูแนะนํา : ผศ.ดร.บัญญัติ ชํานาญกิจ เนื้อหาสาระ หนังสือเลมน้ีไดใหรายละเอียดและแนวทางในการวิจัยเชิงปฏิบัติการท่ีสามารถนําไปปฏิบัติไดเปน

อยางดีและไดผล หนังสือเลมน้ีเปนประโยชนและมีความเหมาะสมเปนอยางยิ่งตอผูที่กําลังฝน ศึกษาตามหลักสูตรตาง ๆ ที่มุงผลสัมฤทธิ์ดานการวิจัยเชิงปฏิบัติการ รวมท้ังเปนประโยชนตอผูที่ตองดําเนินงานโครงการวิจัยเชิงปฏิบัติการในทุกสาขาอาชีพ เพราะมีแนวทางและคําแนะนําตาง ๆ ที่เปนขั้นเปนตอนในการทํางานวิจัยเชิงปฏิบัติการดังน้ี

• การเริ่มตนการทําโครงการวิจัยเชิงปฏิบัติการ • การกํากับดูแลและการหาขอมูลในการดําเนินการวิจัย • เทคนิคการดําเนินการและจัดการเก่ียวกับขอมูล • การตรวจสอบและพิสูจนขอมูลเพ่ือใหไดมาซึ่งความรูและความถูกตองของขอมูล • การเผยแพรผลงานการวิจัยสูสาธารณะ – การสรางหรือทําใหทฤษฎีมีชีวิตหรือปฏิบัติไดจริง

แนวทางที่ปฏิบัติไดจริงในหนังสือเลมน้ี จะทําใหผูที่สนใจหรือตองการฝกฝน หรือศึกษาอยางจริงจัง เขาใจวิธีการดําเนินงานการวิจัยเชิงปฏิบัติการไดเปนอยางดี รวมท้ังกระตุนใหเกิดความพยายามท่ีจะทดลองใชวิธีการใหม ๆ ในการพัฒนางานของพวกเขา หนังสือเลมน้ีเหมาะอยางยิ่งในการอานสําหรับผูที่เปนนักการศึกษา ศึกษานิเทศก หรือผูที่มีหนาที่ในการจัดทําหลักสูตร ไมวาจะเปนระดับโรงเรียน วิทยาลัย หรือสถาบันการศึกษาระดับสูง

ในการพิมพครั้งที่สองของหนังสือเลมที่ขายดีเลมน้ี มีการจัดทําขอมูลใหทันสมัย และมีการปรับปรุงเน้ือหาหลายดาน เพ่ือใหเกิดการเขาถึงขอมูลที่หลากหลาย เพ่ิมเติมเน้ือหาที่เก่ียวของและทันสมัยที่มีการอภิปรายกันในปจจุบัน รวมท้ังแสดงใหเห็นสมรรถนะ ประสิทธิภาพของการทํางานวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบปจเจกบุคคล และในการทําวิจัยเชิงปฏิบัติการโดยองคการหรือสถาบัน

เกี่ยวกับผูเขยีน Jean McNiff เปนนักวิจัยและนักเขียนอิสระ เปน Adjunct Professor ที่มหาวิทยาลัย Limerick เปน

อาจารยแลกเปล่ียนที่มหาวิทยาลัย West of England สวน Pamela Lomax เปนที่ปรึกษาอิสระดานการศึกษา และเปนอดีตผูเช่ียวชาญดานการวิจัยทางการศึกษาที่มหาวิทยาลัย Kingston และ Jack Whitehead เปนอาจารยดานการศึกษาที่มหาวิทยาลัย Bath นอกจากน้ียังเปนอดีตประธานสมาคมการวิจัยทางการศึกษาของ British

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

131

ใบส่ังซ้ือ/ใบบอกรับ

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ช่ือ (นาย/นาง/นางสาว) .............................................................................................................. ในนามหนวยงาน

หนวยงาน ............................................................................................................................................. ท่ีต้ังหนวยงาน ...................................................................................................................................... โทรศัพท .......................โทรสาร ......................... ไปรษณียอีเลกทรอนิกส.......................................... ในนามสวนตัว

สถานท่ีติดตอ ........................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................... โทรศัพท .....................โทรสาร ....................... ไปรษณยีอีเลกทรอนิกส.............................................. มีความประสงคจะบอกรับ/ส่ังซ้ือวารสารวิชาการบัณฑิตศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค บอกรับวารสารเปนรายป ปท่ี .......... พ.ศ. ............... จํานวน ...... ชุด ชุดละ 330 บาท

รวมเปนเงิน ............. บาท ส่ังซ้ือปลีก ฉบับท่ี ......... ปท่ี .......... พ.ศ. ............... จํานวน ...... ฉบับ ฉบับละ 125 บาท

ส่ังซ้ือปลีก ฉบับท่ี ......... ปท่ี .......... พ.ศ. ............... จํานวน ...... ฉบับ ฉบับละ 125 บาท

ส่ังซ้ือปลีก ฉบับท่ี ......... ปท่ี .......... พ.ศ. ............... จํานวน ...... ฉบับ ฉบับละ 125 บาท

รวมเปนเงิน ............. บาท ท้ังนี้ไดสงเงินคาวารสาร จํานวน ............ บาท (........................................................................) โดย ธนาณัติ เช็คไปรษณีย ส่ังจาย ปณ.สวรรควิถี ในนามคุณ วรรฒนา ไวยมิตรา สํานักงานบัณฑิตวิทยาลัย

มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค อ.เมือง จ.นครสวรรค 60000

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค Nakhon Sawan Rajabhat University Graduate Studies Journal

ปที่ 3 ฉบับที่ 8 กันยายน – ธันวาคม 2551

132

วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค

ปท่ี 1 ฉบับท่ี 1 ปท่ี 1 ฉบับท่ี 2

ปท่ี 2 ฉบับท่ี 3 ปท่ี 2 ฉบับท่ี 4 ปท่ี 2 ฉบับท่ี 5

ปท่ี 3 ฉบับท่ี 6 ปท่ี 3 ฉบับท่ี 7 ปท่ี 3 ฉบับท่ี 8