การเปรียบเทียบความพึงพอใจต่อสวัสดิการกับคุณภาพชีวิต...

12
วารสารวไลยอลงกรณ์ปริทัศน์ ปีท3 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2556 57 การเปรียบเทียบความพึงพอใจต่อสวัสดิการกับคุณภาพชีวิต ในการทางานของพนักงานบริษัท เทยิน คอร์ด (ประเทศไทย) จากัด COMPARISON OF SATISFACTION TOWARD WELFARE WITH QUALITY OF WORKING LIFE OF THE TEIJIN CORD (THAILAND) COMPANY LIMITED EMPLOYEE กิตติศักดิ์ สร้อยจิตต1* , บุญทัน ดอกไธสง 1 และเอก ศรีเชลียง 2 Kittisak Soijit, Boonton Dockthaisong and Aek Sichaliang บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความพึงพอใจต่อสวัสดิการและคุณภาพชีวิต ในการทางานของพนักงานบริษัท เทยิน คอร์ด (ประเทศไทย) จากัด 2) เปรียบเทียบปัจจัยส่วนบุคคล กับคุณภาพชีวิตในการทางานของพนักงานบริษัท เทยิน คอร์ด (ประเทศไทย) จากัด และ 3) เปรียบเทียบ ความพึงพอใจต่อสวัสดิการกับคุณภาพชีวิตในการทางานของพนักงานบริษัท เทยิน คอร์ด (ประเทศไทย) จากัด กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาคือ พนักงานบริษัท เทยิน คอร์ด (ประเทศไทย) จากัด ตั้งแต่ ระดับหัวหน้าหน่วยลงไป จานวน 95 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม และสถิติที่ใช้ในการวิจัยคือ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบที การทดสอบความ แปรปรวน และทดสอบรายคู่โดยวิธี Scheffe’s Method ผลการวิจัยพบว่า 1. พนักงานบริษัท เทยิน คอร์ด (ประเทศไทย) จากัด มีความพึงพอใจต่อสวัสดิการและ คุณภาพชีวิตในการทางาน โดยภาพรวมอยู่ในระดับสูง 2. พนักงานบริษัท เทยิน คอร์ด (ประเทศไทย) จากัด ที่มีตาแหน่ง และรายได้แตกต่างกัน มีคุณภาพชีวิตในการทางานภาพรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนปัจจัยอื่น ๆ ไม่แตกต่างกัน 3. พนักงานบริษัท เทยิน คอร์ด (ประเทศไทย) จากัด ที่มีความพึงพอใจต่อสวัสดิการ แตกต่างกันมีคุณภาพชีวิตในการทางานภาพรวมไม่แตกต่างกัน คาสาคัญ: ความพึงพอใจ, สวัสดิการ, คุณภาพชีวิตในการทางาน ____________________________________ 1 หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ จังหวัดปทุมธานี 2 คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ จังหวัดปทุมธานี * ผู้นิพนธ์ประสานงาน E-mail: [email protected]

Upload: others

Post on 07-Feb-2020

6 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: การเปรียบเทียบความพึงพอใจต่อสวัสดิการกับคุณภาพชีวิต ในการท ...acad.vru.ac.th/Journal/journal

วารสารวไลยอลงกรณ์ปรทิัศน์ ปีที่ 3 ฉบับที ่2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2556

57

การเปรียบเทียบความพึงพอใจต่อสวัสดิการกับคุณภาพชีวิต ในการท างานของพนักงานบริษัท เทยิน คอร์ด (ประเทศไทย) จ ากัด

COMPARISON OF SATISFACTION TOWARD WELFARE WITH QUALITY

OF WORKING LIFE OF THE TEIJIN CORD (THAILAND) COMPANY LIMITED EMPLOYEE

กิตติศักดิ์ สร้อยจติต์1*, บุญทัน ดอกไธสง1 และเอก ศรีเชลียง2

Kittisak Soijit, Boonton Dockthaisong and Aek Sichaliang

บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพ่ือ 1) ศึกษาความพึงพอใจต่อสวัสดิการและคุณภาพชีวิต ในการท างานของพนักงานบริษัท เทยิน คอร์ด (ประเทศไทย) จ ากัด 2) เปรียบเทียบปัจจัยส่วนบุคคลกับคุณภาพชีวิตในการท างานของพนักงานบริษัท เทยิน คอร์ด (ประเทศไทย) จ ากัด และ 3) เปรียบเทียบความพึงพอใจต่อสวัสดิการกับคุณภาพชีวิตในการท างานของพนักงานบริษัท เทยิน คอร์ด (ประเทศไทย) จ ากัด กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาคือ พนักงานบริษัท เทยิน คอร์ด (ประเทศไทย) จ ากัด ตั้งแต่ระดับหัวหน้าหน่วยลงไป จ านวน 95 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม และสถิติที่ใช้ในการวิจัยคือ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบที การทดสอบความแปรปรวน และทดสอบรายคู่โดยวิธี Scheffe’s Method ผลการวิจัยพบว่า 1. พนักงานบริษัท เทยิน คอร์ด (ประเทศไทย) จ ากัด มีความพึงพอใจต่อสวัสดิการและคุณภาพชีวิตในการท างาน โดยภาพรวมอยู่ในระดับสูง 2. พนักงานบริษัท เทยิน คอร์ด (ประเทศไทย) จ ากัด ที่มีต าแหน่ง และรายได้แตกต่างกัน มีคุณภาพชีวิตในการท างานภาพรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนปัจจัยอื่น ๆ ไม่แตกต่างกัน 3. พนักงานบริษัท เทยิน คอร์ด (ประเทศไทย) จ ากัด ที่มีความพึงพอใจต่อสวัสดิการแตกต่างกันมีคุณภาพชีวิตในการท างานภาพรวมไม่แตกต่างกัน

ค าส าคัญ: ความพึงพอใจ, สวสัดิการ, คุณภาพชีวิตในการท างาน ____________________________________ 1หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ บณัฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลยัราชภฏัวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ ์จังหวัดปทุมธาน ี2คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร ์มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ ์จังหวัดปทุมธาน ี*ผู้นิพนธ์ประสานงาน E-mail: [email protected]

Page 2: การเปรียบเทียบความพึงพอใจต่อสวัสดิการกับคุณภาพชีวิต ในการท ...acad.vru.ac.th/Journal/journal

Valaya Alongkorn Review Vol. 3 No. 2 July-December 2013

58

ABSTRACT The purposes of this research were 1) to find out the employees’ satisfaction on their welfare and level of quality of the working life at Teijin Cord (Thailand) Company Limited, 2) to compare the individual factors and their quality of working life, and 3) to compare the satisfaction and quality of working life of the employees for Teijin Cord (Thailand) Company Limited. The sample was 95 employees who ranked up to “Supervisor” level. The research tools were the questionnaire with 5 level of evaluation. The statistics used for data analysis consisted of percentage, average, standard deviation, t-test, one way ANOVA and Post Hoc comparison by Scheffe’s Method. The results of this research were as follows: 1. The employee satisfaction of welfare and their quality of working life at Teijin Cord (Thailand) Company Limited was at a high level 2. The employees who had different position rank and income had significant difference at a level of .05. However, others factors were not different. 3. The employees’ satisfaction at Teijin Cord (Thailand) Company Limited was different but the quality of their working life was not different. Keywords: Employee Satisfaction, Welfare, Quality of Working Life บทน า การท างานมีความส าคัญต่อชีวิตมนุษย์เป็นอย่างยิ่ง อาจกล่าวได้ว่าการท างานเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตที่ปฏิบัติมากกว่ากิจกรรมใด ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสังคมอุตสาหกรรม คาดกันว่ามนุษย์ได้ใช้เวลาถึงหนึ่งในสามของชีวิตเป็นอย่างน้อยอยู่ในโรงงานหรือส านักงาน และยังเชื่อว่าในอน าคตอันใกล้นี้ มนุษย์จ าเป็นต้องใช้เวลาของชีวิตเกี่ยวข้องกับการท างานเพ่ิมขึ้นไปอีก การท างานเป็นสิ่งที่ให้ประสบการณ์ที่มีคุณค่าต่อชีวิตมนุษย์ เพราะเป็นโอกาสที่ท าให้เกิดการพบปะสังสรรค์ระหว่างผู้ใช้แรงงานกับบุคคลอ่ืน ๆ กับสถานที่ กับขั้นตอนและเรื่องราวต่าง ๆ ตลอดจนความคิดเห็นทั้งหลายจากผู้เกี่ยวข้อง ดังนั้นการท างานจึงเป็นการเปิดโอกาสให้แสดงออกถึงเชาว์ปัญญา ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ อันจะน ามาซึ่งเกียรติภูมิและความพึงพอใจในชีวิต ในขณะที่ประเทศไทยก้าวเข้าสู่ภาวะของความเป็นประเทศอุตสาหกรรมใหม่ (NICS) เชื่อว่าในอนาคตอันใกล้นี้จะมีคนเป็นจ านวนมากเข้ามาใช้เวลาของชีวิตเกี่ยวข้องกับการท างาน ในภาคอุตสาหกรรมเพ่ิมขึ้นในทุกระดับของการจ้างแรงงาน และถ้าหากว่าเวลาส่วนมากของชีวิต ในการท างานนี้มนุษย์ได้อยู่กับสิ่งที่ตนเองพอใจ ก็จะช่วยให้มีสภาพจิตใจและอารมณ์ที่จะส่งเสริม ให้เกิดสภาพการท างานที่ดี ซึ่งย่อมถือได้ว่ามีคุณภาพชีวิตในการท างานที่ดี และจะส่งผลต่อชีวิต โดยส่วนรวมของบุคคลผู้นั้นให้เป็นสุข ซึ่งแสดงถึงการมีคุณภาพชีวิตที่ดีด้วย อันเป็นเป้าหมายส าคัญ ในการพัฒนาประเทศด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์

Page 3: การเปรียบเทียบความพึงพอใจต่อสวัสดิการกับคุณภาพชีวิต ในการท ...acad.vru.ac.th/Journal/journal

วารสารวไลยอลงกรณ์ปรทิัศน์ ปีที่ 3 ฉบับที ่2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2556

59

ภาคอุตสาหกรรมนับเป็นภาคเศรษฐกิจที่มีบทบาทส าคัญต่อการพัฒนาทางเศรษฐกิจ ของประเทศและจะทวีความส าคัญเพ่ิมมากยิ่งขึ้น ซึ่งสามารถพิจารณาได้จากโครงสร้างของภาคอุตสาหกรรมที่เปลี่ยนไปคือ ส่วนแบ่งของมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศที่เกิดจากภาคอุตสาหกรรมได้เพ่ิมขึ้นทุกปี และจ านวนแรงงานในภาคอุตสาหกรรมก็เพ่ิมขึ้นเช่นกัน อีกทั้ง มีแนวโน้มที่จะเพ่ิมขึ้นต่อไป ประกอบกับภาครัฐบาลได้ให้ความส าคัญและสนับสนุนมาโดยตลอด ดังจะเห็นได้จากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ซึ่งได้ก าหนดแผนพัฒนาอุตสาหกรรม ให้สอดคล้องกับแนวทางการปรับโครงสร้างเศรษฐกิจของประเทศ ในภาวะเช่นนี้ลักษณะของอุตสาหกรรมในประเทศไทยที่ส่วนใหญ่เป็นอุตสาหกรรมการผลิตขนาดเล็กหรือขนาดย่อมคือมีถึงร้อยละ 90-95 จะต้องมีการเติบโตขึ้นเป็นอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดใหญ่ตามล าดับ ประเทศไทยเราได้เริ่มต้นพัฒนาประเทศอย่างจริงจังตามแนวทางนี้โดยมีแผนพัฒนาเศรษฐกิจ แห่งชาติที่ประกาศใช้ในปี พ.ศ. 2504 เป็นแนวทาง ซึ่งนับเป็นการเริ่มต้นของการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางเศรษฐกิจจากประเทศเกษตรกรรมไปสู่ประเทศอุตสาหกรรม และภาคอุตสาหกรรม ได้ทวีความส าคัญเพ่ิมขึ้นตลอดมาเมื่อเปรียบเทียบกับภาคการเกษตร โดยดูได้จากสัดส่วนของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (Gross Domestic Product: GDP) ที่เกิดจากภาคอุตสาหกรรมเพ่ิมขึ้นจากร้อยละ 12.00 ในปี พ.ศ. 2509 เป็นร้อยละ 25.56 ในปี พ.ศ. 2534 ขณะที่สัดส่วน ของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศที่เกิดจากภาคการเกษตรกลับลดลงจาก เดิมร้อยละ 35.10 มาเป็นร้อยละ 14.67 ในช่วงเวลาเดียวกัน การเ พ่ิมสูงขึ้นของสัดส่วนผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศเช่นนี้ ได้ส่ งผลต่อ ความต้องการหรืออุปสงค์ด้านแรงงานเพ่ิมขึ้นด้วยเช่นกัน ดังจะเห็นได้ว่าสัดส่วนการจ้างงานในภาคการเกษตร ในปี พ.ศ. 2524 และสัดส่วนการจ้างงานในภาคอุตสาหกรรมเพ่ิมขึ้นจากร้อยละ 7.54 มาเป็นร้อยละ 13.17 ในช่วงเวลาเดียวกัน และสัดส่วนการจ้างงานในภาคอุตสาหกรรมมีแนวโน้มที่จะเพ่ิมสูงขึ้นต่อไป จากสัดส่วนการจ้างงานที่เพ่ิมขึ้นในปัจจุบัน แสดงถึงแนวโน้มที่จะเพ่ิมสูงขึ้นอีกในอนาคตในทุกสาขาอุตสาหกรรมมีการเพ่ิมขึ้นของการจ้างแรงงานในทุกระดับของการจ้างแรงงาน ในองค์การของภาคอุตสาหกรรม และในวงการอุตสาหกรรมถือว่าคนเป็นปัจจัยที่ส าคัญที่สุด ซึ่งจะมีผลท าให้ อุตสาหกรรมนั้นได้รับการพัฒนามากหรือน้อย เพราะการพัฒนาอุตสาหกรรมโดยความหมายที่แท้จริงแล้วนั้นมิได้หมายความถึงการเปลี่ยนแปลงในด้านการน าเอาความรู้ใหม่ ๆ ทางเทคโนโลยีมาใช้เพ่ือ ให้ได้ผลผลิตให้มากที่สุดเท่านั้น แต่ยังหมายความรวมไปถึงการพัฒนาตัวบุคคลที่ท างานเกี่ยวข้อง ในงานอุตสาหกรรมซึ่งเป็นการพัฒนาให้บุคคลเหล่านี้รู้จักที่จะปรับตัวให้เข้ากับชีวิตการท างาน และสภาพแวดล้อมการท างานได้อย่างมีความสุข เพ่ือที่จะน าไปสู่การเปลี่ยนแปลงชีวิตการท างานไป ในทางท่ีดีขึ้นซึ่งก็คือการมุ่งไปสู่สิ่งที่เรียกว่าการมีคุณภาพชีวิตการท างานที่ดีนั่นเอง เมื่อแต่ละบุคคลได้ใช้ชีวิตการท างานอยู่กับสิ่งที่ตนเองพอใจก็จะท าให้มีสภาพจิตใจและอารมณ์ที่ดีซึ่งส่งผลให้ท างานดีตามไปด้วย ดังนั้นจึงจ าเป็นอย่างยิ่งที่แต่ละองค์การจะต้องศึกษา หรือแสวงหาหนทางให้เกิดความสอดคล้องต้องกันของความพึงพอใจระหว่างพนักงานและองค์การ เพ่ือให้องค์การสามารถบรรลุเป้าหมายสูงสุด เราคงได้ยินได้ฟังหรือเห็นภาพความขัดแย้งภาพการหยุดงานเพ่ือประท้วงหรือเรียกร้องสิทธิอันพึงมีพึงได้ของผู้ใช้แรงงานอยู่เสมอ หรือเหตุการณ์ในบาง

Page 4: การเปรียบเทียบความพึงพอใจต่อสวัสดิการกับคุณภาพชีวิต ในการท ...acad.vru.ac.th/Journal/journal

Valaya Alongkorn Review Vol. 3 No. 2 July-December 2013

60

ประเทศที่มีการประท้วงจนเกิดเรื่องราวใหญ่โตขึ้น นั่นเป็นเพราะผู้ใช้แรงงานมีความรู้สึกว่าก าลัง ถูกลิดรอนสิทธิ์ คุณภาพชีวิตการท างานต่ าลงผลที่ตามมาคือ ความเสียหายอย่างใหญ่หลวงที่เกิดขึ้น ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของการผลิตที่ต้องหยุดชะงัก จนมีผลท าให้การส่งออกไม่สามารถด าเนินการไปตามเป้าหมายได้ ซึ่งนอกจากองค์การจะสูญเสียรายได้จ านวนมหาศาลแล้ว พนักงานเองก็ต้องประสบความล าบาก และขาดรายได้ อีกท้ังส่งผลกระทบต่อสังคมและประเทศชาติโดยรวมด้วย ดังนั้นจะเห็นได้ว่าการทราบถึงระดับคุณภาพชีวิตการท างาน จึงเป็นสิ่งที่จ าเป็นและ มีความส าคัญอย่างยิ่ง คุณภาพชีวิตการท างานในลักษณะของความพึงพอใจในการท างานนั้นจะส่งผลต่อการปฏิบัติงาน และยังเป็นสิ่งจูงใจให้เกิดความต้องการท างาน ซึ่งน าไปสู่ประสิทธิภาพและเกิด การเพ่ิมผลผลิตของบริษัทหรือองค์การในที่สุด เรียกได้ว่าบรรลุเป้าหมายของทั้งบุคคลในฐานะสมาชิกขององค์การและตัวองค์การเอง นอกจากนี้ยังส่งผลต่อเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศอีกด้วย วัตถุประสงค์ของการศึกษา 1. เพ่ือศึกษาความพึงพอใจต่อสวัสดิการและคุณภาพชีวิตในการท างานของพนักงาน บริษัทเทยิน คอร์ด (ประเทศไทย) จ ากัด 2. เพ่ือเปรียบเทียบปัจจัยส่วนบุคคลกับคุณภาพชีวิตในการท างานของพนักงานบริษัท เทยิน คอร์ด (ประเทศไทย) จ ากัด 3. เพ่ือเปรียบเทียบความพึงพอใจต่อสวัสดิการกับคุณภาพชีวิตในการท างานของพนักงาน บริษัท เทยิน คอร์ด (ประเทศไทย) จ ากัด วิธีด าเนินการศึกษา ผู้วิจัยได้ด าเนินการตามข้ึนตอน ดังนี้ 1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากรตัวอย่าง คือ พนักงานบริษัท เทยิน คอร์ด (ประเทศไทย) จ ากัด ที่ปฏิบัติงานอยู่ ณ บริษัท เทยิน คอร์ด (ประเทศไทย) จ ากัด ที่ไม่รวมพนักงานตั้งแต่ระดับผู้จัดการ (Manager) ขึ้นไปจ านวน 124 คน กลุ่มตัวอย่าง ผู้วิจัยก าหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างตามแนวคิดของ Yamane ที่ความผิดพลาดไม่เกินร้อยละ 5 ได้จ านวนกลุ่มตัวอย่างทั้งสิ้น 95 คน การสุ่มกลุ่มตัวอย่างใช้วิธีสุ่มแบ่งชั้น 2. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการท าวิจัย คือ แบบสอบถาม (Questionnaire) เกี่ยวกับความพึงพอใจต่อสวัสดิการ และระดับคุณภาพชีวิตในการท างานของพนักงาน บริษัท เทยิน คอร์ด (ประเทศไทย) จ ากัด ซึ่งประกอบด้วยส่วนส าคัญ 4 ส่วน คือ ส่วนที่ 1 ข้อมูลเกี่ยวกับผู้ตอบแบบสอบถาม ส่วนที่ 2 ข้อมูลเกี่ยวกับความพึงพอใจต่อสวัสดิการของบริษัท ส่วนที่ 3 ข้อมูลเกี่ยวกับระดับคุณภาพชีวิตในการท างาน ส่วนที่ 4 ข้อมูลเกี่ยวกับข้อเสนอแนะในการพัฒนาคุณภาพชีวิตในการท างาน

Page 5: การเปรียบเทียบความพึงพอใจต่อสวัสดิการกับคุณภาพชีวิต ในการท ...acad.vru.ac.th/Journal/journal

วารสารวไลยอลงกรณ์ปรทิัศน์ ปีที่ 3 ฉบับที ่2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2556

61

3. ขั้นตอนการสร้างเครื่องมือ ศึกษาเนื้อหาสาระส าคัญในการสร้างแบบสอบถามให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของ การวิจัยในครั้งนี้ เกี่ยวกับความพึงพอใจต่อสวัสดิการและระดับคุณภาพชีวิตในการท างานของพนักงาน บริษัท เทยิน คอร์ด (ประเทศไทย) จ ากัด จากนั้นน าแนวความคิดมาร่างเป็นแบบสอบถาม และปรับปรุงแบบสอบถามในส่วนที่ยังไม่ชัดเจนให้มีความชัดเจนและถูกต้องยิ่งขึ้น และน าไปหาคุณภาพของแบบสอบถามดังนี้ 3.1 การหาค่าคามเที่ยงตรงของเครื่องมือ น าแบบสอบถามที่ปรับปรุงแก้ไขแล้วให้ผู้ทรงคุณวุฒิ จ านวน 3 ท่าน พิจารณาตรวจสอบความเที่ยงตรงของเนื้อหา มาท าการหาค่าดัชนี ความสอดคล้อง (Index of Objection Congruency: IOC) โดยคัดเลือกเฉพาะข้อค าถามที่มีค่าดัชนีความสอดคล้องตั้งแต่ 0.5 ขึ้นไปมาใช้ ส่วนข้อที่มีค่า IOC น้อยกว่า 0.5 น ามาปรับปรุงให้เหมาะสมโดยค่า IOC ทั้งฉบับเท่ากับ 0.90 3.2 การหาค่าความเชื่อมั่นของเครื่องมือ (Reliability) โดยน าแบบสอบถามที่ได้จากการตรวจสอบของผู้เชี่ยวชาญมาปรับปรุงเนื้อหา และภาษาตามข้อเสนอของผู้เชี่ยวชาญ แล้วน าไปทดลองใช้ (Try Out) กับผู้บริโภคที่เลือกซื้อสินค้าในตลาดนัดจตุจักร จ านวน 30 คน หลังจากนั้น น าแบบสอบถามที่ได้รับคืนมาท าการวิเคราะห์ค่าความเชื่อมั่น โดยใช้ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของ ครอนบาคได้ค่าความเชื่อม่ันทั้งฉบับเท่ากับ 0.94 4. วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล ขั้นตอนการเก็บรวบรวมข้อมูลที่ผู้วิจัยด าเนินการในการเก็บรวบรวมข้อมูลในครั้งนี้ น ามาสรุปเป็นขั้นตอนต่าง ๆ ได้ดังนี ้ ขั้นตอนที่หนึ่ง จากแบบสอบถามระดับคุณภาพชีวิตในการท างานและความพึงพอใจต่อสวัสดิการของพนักงาน บริษัท เทยิน คอร์ด (ประเทศไทย) จ ากัด ที่ผู้วิจัยได้ขอความร่วมมือไปยังหัวหน้าแผนกแต่ละแผนก ในการน าส่งแบบสอบถามไปยังพนักงานทุกคน ในแต่ละแผนก โดยผู้วิจัยใช้ระยะเวลาในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นเวลา 1 สัปดาห์ หลังจากนั้นผู้วิจัยจึงรับแบบสอบถามคืนจากหัวหน้าแผนกแต่ละแผนก ขั้นตอนที่สอง จากข้ันตอนที่หนึ่ง ผู้วิจัยต้องตรวจสอบและประเมินแบบสอบถามที่ได้รับจากพนักงาน และกรณีได้รับแบบสอบถามกลับมาไม่ครบ ผู้วิจัยต้องแจ้งกลับไปยังหัวหน้าแผนกแต่ละแผนกเพ่ือน าส่งแบบสอบถามให้พนักงานที่ยังไม่ได้กรอกแบบสอบถามได้กรอกแบบสอบถามเพ่ิม จนกว่าจะได้จ านวนแบบสอบถามในระดับท่ีเป็นตัวแทนประชากรได้อย่างสมบูรณ์ จากการด าเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลที่กล่าวมาแล้วนั้น ผู้วิจัยได้รับแบบจากพนักงานจ านวน 78 ชุด คิดเป็นร้อยละ 82.11 ของจ านวนพนักงานบริษัท เทยิน คอร์ด (ประเทศไทย) จ ากัด ปัญหาและอุปสรรคในการเก็บข้อมูล จากการแจกแบบสอบถามให้กับพนักงาน บริษัท เทยิน คอร์ด (ประเทศไทย) จ ากัด พบว่าหลังจากผู้วิจัยได้แจกแบบสอบถามให้กับพนักงาน ได้เกิดอุทกภัยกับบริษัท เทยิน คอร์ด (ประเทศไทย) จ ากัด รวมทั้งพ้ืนที่เกือบทั้งหมดของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ซึ่งพนักงานส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในพื้นท่ีจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ท าให้ผู้วิจัยไม่สามารถจัดเก็บแบบสอบถามได้ ประกอบกับสถานการณ์อุทกภัยในครั้งนี้ส่งผลเสียหายต่อบริษัท เทยิน คอร์ด (ประเทศไทย) จ ากัด และที่พักอาศัย

Page 6: การเปรียบเทียบความพึงพอใจต่อสวัสดิการกับคุณภาพชีวิต ในการท ...acad.vru.ac.th/Journal/journal

Valaya Alongkorn Review Vol. 3 No. 2 July-December 2013

62

ของพนักงานเป็นอย่างยิ่ง จึงท าให้แบบสอบถามที่แจกให้กับพนักงานในครั้งแรกไม่สามารถจัดเก็บได้ ดังนั้นหลังจากสถานการณ์เข้าสู่ภาวะปกติ ซึ่งใช้เวลาประมาณ 2 เดือนพนักงานจึงสามารถเข้าปฏิบัติงานในบริษัทได้ ผู้วิจัยจึงได้แจกแบบสอบถามให้กับพนักงานใหม่ท้ังหมด 5. การวิเคราะห์ข้อมูล หลังจากการตรวจสอบความถูกต้องและความสมบูรณ์ของแบบสัมภาษณ์ที่ได้จาก การออกเก็บข้อมูลภาคสนามแล้ว จากนั้นจะน ามาลงรหัสตามคู่มือลงรหัส (Code Book) โดยลงรหัส ส่วนข้อมูลค าถามเปิดแต่ละข้อจะรวบรวมและจัดหมวดหมู่ส าหรับการน าไปใช้ประกอบการวิเคราะห์ เมื่อลงรหัสเรียบร้อยแล้วน าไปบันทึกข้อมูลโดยใช้โปรแกรมส าเร็จรูป ในการหาค่าสถิติเบื้องต้นและ หาสถิติวิเคราะห์ โดยแบ่งออกเป็น 3 ตอนดังนี้ ตอนที่ 1 วิเคราะห์ข้อมูลปัจจัยส่วนบุคคลของพนักงานบริษัท เทยิน คอร์ด (ประเทศไทย) จ ากัด โดยใช้สถิติเชิงพรรณนา คือ ร้อยละ ตอนที่ 2 วิเคราะห์ระดับความคิดเห็นของพนักงานบริษัท เทยิน คอร์ด (ประเทศไทย) จ ากัด เมื่อจ าแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล ความพึงพอใจต่อสวัสดิการ และคุณภาพชีวิตในการท างาน โดยการหาค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ในการวิเคราะห์และอธิบายเกี่ยวกับลักษณะทั่วไปของ กลุ่มตัวอย่าง คุณภาพชีวิตแต่ละด้านรวมทั้งการเปรียบเทียบคุณภาพชีวิตของกลุ่มตัวอย่างในแต่ละด้านด้วยเกณฑ์ในการวิเคราะห์ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เพ่ือแปลความหมายในการวัดคุณภาพชีวิต ได้ก าหนดช่วงคะแนน ดังนี้ ค่าเฉลี่ย ความหมาย 1.00 – 1.80 คุณภาพชีวิตในการท างานอยู่ในระดับต่ ามาก 1.81 – 2.60 คุณภาพชีวิตในการท างานอยู่ในระดับต่ า 2.61 – 3.40 คุณภาพชีวิตในการท างานอยู่ในระดับปานกลาง 3.41 – 4.20 คุณภาพชีวิตในการท างานอยู่ในระดับสูง 4.21 – 5.00 คุณภาพชีวิตในการท างานอยู่ในระดับสูงมาก ตอนที่ 3 เปรียบเทียบระดับความคิดเห็นของพนักงานบริษัท เทยิน คอร์ด (ประเทศไทย) จ ากัด ที่มีต่อความพึงพอใจต่อสวัสดิการและคุณภาพชีวิตในการท างาน โดยจ าแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ ใช้การทดสอบที (t-test) ส่วนจ าแนกตาม อายุ การศึกษา แผนก ต าแหน่ง อายุงาน และระดับรายได้ ใช้การทดสอบเอฟ (F-test) โดยทดสอบสมมติฐานที่ระดับนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และเม่ือพบความแตกต่างเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยรายคู่โดยวิธี Scheffe’s Method ผลการวิจัยและอภิปรายผล 1. ความพึงพอใจต่อสวัสดิการและคุณภาพชีวิตในการท างานของพนักงานบริษัท เทยิน คอร์ด (ประเทศไทย) จ ากัด พบว่า 1.1 ระดับความพึงพอใจต่อสวัสดิการของพนักงานบริษัท เทยิน คอร์ด (ประเทศไทย) จ ากัด พบว่าพนักงานมีระดับความพึงพอใจต่อสวัสดิการของบริษัท เทยิน คอร์ด (ประเทศไทย) จ ากัด ภาพรวมอยู่ในระดับสูง โดยสวัสดิการที่พนักงานมีความพึงพอใจระดับสูงมาก ได้แก่ การจ่ายโบนัส ปีละ 2 ครั้ง สวัสดิการที่พนักงานมีความพึงพอใจสูง ได้แก่ การตรวจร่างกายประจ าปี การจัดให้มีห้อง

Page 7: การเปรียบเทียบความพึงพอใจต่อสวัสดิการกับคุณภาพชีวิต ในการท ...acad.vru.ac.th/Journal/journal

วารสารวไลยอลงกรณ์ปรทิัศน์ ปีที่ 3 ฉบับที ่2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2556

63

พยาบาลและมีพยาบาลประจ า การให้เงินยืมกรณีฉุกเฉิน การจัดงานเลี้ยงสิ้นปี การแจกชุดฟอร์มประจ าปี การจัดงานวันเกิดประจ าเดือน การจัดน าเที่ยวประจ าปี การจัดให้มีโรงอาหาร การให้รางวัล Hiyari-Hatto, Kaizen การมอบทุนส่งเสริมการศึกษาบุตร การปรับเงินขึ้นประจ าปี การให้ค่าเบี้ยขยัน และการให้เงินกองทุนส ารองเลี้ยงชีพ ตามล าดับ ส่วนสวัสดิการที่พนักงานมีความพึงพอใจระดับ ปานกลาง ได้แก่ การให้ค่าอาหารกลางวัน กรณีท าลายสถิติ เช่น ยอดผลิตต่อเดือนและยอดขายต่อเดือนสูงสุด การให้เงินช่วยเหลือค่าท าศพ การให้เงินเยี่ยมไข้กรณีนอนโรงพยาบาล 3 วันขึ้นไป การให้เงินช่วยเหลือค่าเดินทาง การให้ค่ากะ และการให้ค่าอาหารในวันหยุดตามล าดับ 1.2 คุณภาพชีวิตในการท างานของพนักงาน บริษัท เทยิน คอร์ด (ประเทศไทย) จ ากัด ภาพรวมทั้ง 8 ด้าน มีคุณภาพชีวิตในการท างานอยู่ในระดับสูง โดยด้านสภาพแวดล้อมการท างานที่ดีมีความปลอดภัยมีคุณภาพชีวิตในการท างานสูงที่สูด ส่วนด้านผลตอบแทนที่เป็นธรรมและเพียงพอ มีคุณภาพชีวิตในการท างานต่ าสุด และเม่ือพิจารณาเป็นรายด้านปรากฏผลดังนี้ ด้านที่ 1 ผลตอบแทนที่เป็นธรรมและเพียงพอ พนักงานบริษัท เทยิน คอร์ด (ประเทศไทย) จ ากัด มีคุณภาพชีวิตในการท างานภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง และมีคุณภาพชีวิต ในการท างานเรื่อง ผลตอบแทนต่าง ๆ ที่ได้รับจากการท างานมีความยุติธรรมอยู่แล้วสูงที่สุด ส่วนเรื่องผลตอบแทนที่ได้รับเพียงพอกับค่าใช้จ่ายในสภาพเศรษฐกิจในปัจจุบันมีคุณภาพชีวิตในการท างานต่ าสุด ด้านที่ 2 สภาพแวดล้อมการท างานที่ดีมีความปลอดภัย พนักงานบริษัท เทยิน คอร์ด (ประเทศไทย) จ ากัด มีคุณภาพชีวิตในการท างานภาพรวมอยู่ในระดับสูง และมีคุณภาพชีวิต ในการท างานเรื่อง บริษัทมีความมุ่งมั่นในการส่งเสริมและป้องกันด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท างานสูงที่สุด ส่วนเรื่องอุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องจักรที่ใช้ในการท างานมีสภาพดีเหมาะสมต่อการท างานไม่ก่อให้เกิดอันตราย มีคุณภาพชีวิตในการท างานต่ าสุด ด้านที่ 3 โอกาสในการพัฒนาความรู้ความสามารถของพนักงาน พนักงานบริษัท เทยิน คอร์ด (ประเทศไทย) จ ากัด มีคุณภาพชีวิตในการท างานภาพรวมอยู่ในระดับสูง และมีคุณภาพชีวิต ในการท างานเรื่อง พนักงานมีโอกาสในการเรียนรู้งานในแผนกมากกว่า 1 งานสูงที่สุด ส่วนเรื่องการมีโอกาสที่จะถูกส่งไปฝึกงานเพ่ือให้มีความรู้และทักษะในการท างานเพ่ิมข้ึนมีคุณภาพชีวิตในการท างานต่ าสุด ด้านที่ 4 ความก้าวหน้าและความมั่นคงในงาน พนักงานบริษัท เทยิน คอร์ด (ประเทศไทย) จ ากัด มีคุณภาพชีวิตในการท างานภาพรวมอยู่ในระดับสูง และมีคุณภาพชีวิตในการท างานเรื่อง การปฏิบัติงานในบริษัทมีความมั่นคงเพียงพอสูงที่สุด ส่วนเรื่องการได้รับการพิจารณาเลื่อนขั้น เลื่อนต าแหน่ง อย่างเหมาะสมกับผลงานมีคุณภาพชีวิตในการท างานต่ าสุด ด้านที่ 5 การบูรณาการทางสังคมหรือการท างานร่วมกัน พนักงานบริษัท เทยิน คอร์ด (ประเทศไทย) จ ากัด มีคุณภาพชีวิตในการท างานภาพรวมอยู่ในระดับสูง และมีคุณภาพชีวิตในการท างานเรื่อง บริษัทส่งเสริมให้พนักงานมีโอกาสท างานท ากิจกรรมร่วมกันสูงที่สุด ส่วนเรื่อง พนักงานในบริษัทมีความสัมพันธ์ที่ดีและเป็นมิตรต่อกันมีคุณภาพชีวิตในการท างานต่ าสุด ด้านที่ 6 สิทธิของพนักงานหรือธรรมนูญในองค์การ พนักงานบริษัท เทยิน คอร์ด (ประเทศไทย) จ ากัด มีคุณภาพชีวิตในการท างานภาพรวมอยู่ในระดับสูง และมีคุณภาพชีวิตในการท างาน

Page 8: การเปรียบเทียบความพึงพอใจต่อสวัสดิการกับคุณภาพชีวิต ในการท ...acad.vru.ac.th/Journal/journal

Valaya Alongkorn Review Vol. 3 No. 2 July-December 2013

64

เรื่อง การได้รับสิทธิในการดูแลสุขภาพที่ดีจากบริษัทสูงที่สุด ส่วนเรื่อง หากมีความเดือดร้อนและไม่ได้รับความเป็นธรรมเกี่ยวกับการท างานสามารถร้องทุกข์ต่อบริษัทได้มีคุณภาพชีวิตในการท างานต่ าสุด ด้านที่ 7 ความสมดุลระหว่างงานกับชีวิตโดยส่วนตัว พนักงานบริษัท เทยิน คอร์ด (ประเทศไทย) จ ากัด มีคุณภาพชีวิตในการท างานภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง และมีคุณภาพชีวิต ในการท างานเรื่อง การมีเวลาในการพักผ่อนและดูแลสุขภาพของตนเองเพียงพอสูงที่สุด ส่วนเรื่องลักษณะงานที่ท าไม่ก่อให้เกิดความเครียดและมีผลเสียต่อสุขภาพมีคุณภาพชีวิตในการท างานต่ าสุด ด้านที่ 8 ความเกี่ยวข้องและเป็นประโยชน์ต่อสังคม พนักงานบริษัท เทยิน คอร์ด (ประเทศไทย) จ ากัด มีคุณภาพชีวิตในการท างานภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง และมีคุณภาพชีวิต ในการท างานเรื่อง บริษัทมีการปฏิบัติตามข้อบังคับเกี่ยวกับกฎหมายและข้อบังคับอ่ืน ๆ ที่เกี่ยวข้องสูงที่สุด ส่วนเรื่องบริษัทมีส่วนสนับสนุนและส่งเสริมกิจกรรมของชุมชนมีคุณภาพชีวิตในการท างานต่ าสุด 2. การเปรียบเทียบปัจจัยส่วนบุคคลกับคุณภาพชีวิตในการท างานของพนักงานบริษัท เทยิน คอร์ด (ประเทศไทย) จ ากัด 2.1 ตัวแปรเพศ พบว่าพนักงานที่มีเพศต่างกัน มีคุณภาพชีวิตในการท างานภาพรวม ไม่แตกต่างกัน เนื่องจากพนักงานไม่ว่าจะเพศชายหรือเพศหญิงต่างได้รับการปฏิบัติ และการดูแล จากบริษัทตามสิทธิอย่างเท่าเทียมกัน ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ ศิริวรรณ หาญละศิริ (2549) ที่ศึกษาเรื่อง คุณภาพชีวิตการท างานของพนักงานบริษัท ชาร์ป แอพพลายแอนซ์ (ประเทศไทย) จ ากัด พบว่า พนักงานที่มีเพศแตกต่างกันมีความคิดเห็นต่อคุณภาพชีวิตการท างาน ภาพรวมไม่แตกต่างกัน และงานวิจัยของ ปวีณา ผาสุข (2547) ศึกษาเรื่อง คุณภาพชีวิตในการท างานของพนักงานมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต พบว่า พนักงานที่มีเพศต่างกันมีการรับรู้คุณภาพชีวิตในการท างานไม่แตกต่างกัน 2.2 ตัวแปรอายุ พบว่าพนักงานที่มีอายุต่างกัน มีคุณภาพชีวิตในการท างานภาพรวม ไม่แตกต่างกัน เนื่องจากพนักงานที่มีอายุต่างกัน ต่างได้รับการปฏิบัติและดูแลในการปฏิบัติงานตามหน้าที่อย่างเหมาะสมและเท่าเทียมกัน ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ จีรภัทร กาญจนโชติธนกุล (2554) ที่ศึกษาเรื่อง คุณภาพชีวิตในการท างานของพนักงาน ศูนย์ปฏิบัติการธุรกิจส่งออกและน าเข้า ธนาคารกรุงเทพ จ ากัด (มหาชน) ส านักงานใหญ่ 2.3 ตัวแปรระดับการศึกษา พบว่าพนักงานที่มีระดับการศึกษาต่างกัน มีคุณภาพชีวิตในการท างานภาพรวมไม่แตกต่างกัน เนื่องจากพนักงานที่มีระดับการศึกษาในแต่ละระดับจะได้รับสิทธิอย่างเหมาะสมตามระดับการศึกษา ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ สุขชัย สิทธิปาน (2546) ที่ศึกษาเรื่อง คุณภาพชีวิตการท างานของเจ้าหน้าที่งานปฏิบัติการศูนย์ควบคุมจราจรทางอากาศ ของบริษัทวิทยุการบินแห่งประเทศไทย จ ากัด พบว่า เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานศูนย์ควบคุมจราจรทางอากาศที่มีระดับการศึกษาแตกต่างกันมีคุณภาพชีวิตการท างานในด้านต่าง ๆ ไม่ต่างกัน 2.4 ตัวแปรแผนก พบว่าพนักงานที่ปฏิบัติงานในแผนกต่างกัน มีคุณภาพชีวิตในการท างานภาพรวมไม่แตกต่างกัน เนื่องจากพนักงานที่ปฏิบัติงานในแต่ละแผนก ต่างได้รับการปฏิบัติและดูแลให้มีคุณภาพชีวิตในการท างานอย่างเท่าเทียมกัน ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ ปวีณา ผาสุข (2547) ศึกษาเรื่อง คุณภาพชีวิตในการท างานของพนักงานมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต พบว่า พนักงานที่มีหน่วยงานที่สังกัดต่างกันมีการรับรู้คุณภาพชีวิตในการท างานไม่แตกต่างกัน

Page 9: การเปรียบเทียบความพึงพอใจต่อสวัสดิการกับคุณภาพชีวิต ในการท ...acad.vru.ac.th/Journal/journal

วารสารวไลยอลงกรณ์ปรทิัศน์ ปีที่ 3 ฉบับที ่2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2556

65

2.5 ตัวแปรต าแหน่ง พบว่าพนักงานที่ปฏิบัติงานในต าแหน่งต่างกัน มีคุณภาพชีวิต ในการท างานภาพรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญที่ระดับ .05 เนื่องจากพนักงานที่ปฏิบัติงาน ในต าแหน่งแตกต่างกัน ได้รับสิทธิในการปฏิบัติงาน การบังคับบัญชาและการจัดสวัสดิการต่าง ๆ ที่แตกต่างกัน ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ นารีรัตน์ สร้อยสกุล (2544) ที่ศึกษาเรื่อง คุณภาพชีวิต การท างานของข้าราชการจเรต ารวจในส านักงานจเรต ารวจ พบว่า ข้าราชการต ารวจที่มีระดับชั้นยศแตกต่างกันมีผลต่อมาตรฐานคุณภาพชีวิตการท างานที่แตกต่างกัน และงานวิจัยของ จีรภัทร กาญจนโชติธนกุล (2554) ที่ศึกษาเรื่อง คุณภาพชีวิตในการท างานของพนักงาน ศูนย์ปฏิบัติการธุรกิจส่งออกและน าเข้า ธนาคารกรุงเทพ จ ากัด (มหาชน) ส านักงานใหญ่ พบว่า พนักงานที่มีระดับต าแหน่งงานแตกต่างกันมีคุณภาพชีวิตในการท างานภาพรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2.6 ตัวแปรระยะเวลาในการปฏิบัติงาน พบว่าพนักงานที่มีระยะเวลาในการปฏิบัติงานต่างกัน มีคุณภาพชีวิตในการท างานภาพรวมไม่แตกต่างกัน เนื่องจากพนักงานที่มีอายุงานที่แตกต่างกัน แต่ปฏิบัติงานประเภทเดียวกัน จะมีการปฏิบัติงานอย่างเท่าเทียมกัน ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ ปวีณา ผาสุข (2547) ศึกษาเรื่อง คุณภาพชีวิตในการท างานของพนักงานมหาวิทยาลัยราชภัฏ สวนดุสิต พบว่า พนักงานที่มีระยะเวลาในการปฏิบัติงานต่างกันมีการรับรู้คุณภาพชีวิตในการท างาน ไม่แตกต่างกัน และงานวิจัยของ จีรภัทร กาญจนโชติธนกุล (2554) ที่ศึกษาเรื่อง คุณภาพชีวิตในการท างานของพนักงาน ศูนย์ปฏิบัติการธุรกิจส่งออกและน าเข้า ธนาคารกรุงเทพ จ ากัด (มหาชน) ส านักงานใหญ่ พบว่า พนักงานที่มีอายุแตกต่างกันมีคุณภาพชีวิตในการท างานภาพรวมไม่แตกต่างกัน 2.7 ตัวแปรรายได้ พบว่าพนักงานที่มีระดับรายได้ต่างกัน มีคุณภาพชีวิตในการท างานภาพรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญท่ีระดับ .05 เนื่องจากระดับรายได้มีความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตในการท างาน โดยพนักงานที่มีระดับรายได้สูงจะมีคุณภาพชีวิตในการท างานสูง สอดคล้องกับงานวิจัยของ สุขชัย สิทธิปาน (2546) ที่ศึกษาเรื่อง คุณภาพชีวิตการท างานของเจ้าหน้าที่งานปฏิบัติการศูนย์ควบคุมจราจรทางอากาศของ บริษัท วิทยุการบินแห่งประเทศไทย จ ากัด พบว่า เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานศูนย์ควบคุมจราจรทางอากาศที่มีระดับเงินเดือนแตกต่างกันมีคุณภาพชีวิตการท างานในด้านต่าง ๆ ต่างกัน งานวิจัยของ ปวีณา ผาสุข (2547) ศึกษาเรื่อง คุณภาพชีวิตในการท างานของพนักงานมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต พบว่า พนักงานที่มีรายได้ต่างกันมีการรับรู้คุณภาพชีวิตในการท างานแตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญท่ี .05 3. การเปรียบเทียบความพึงพอใจต่อสวัสดิการกับคุณภาพชีวิตในการท างานของพนักงาน บริษัท เทยิน คอร์ด (ประเทศไทย) จ ากัด พบว่า พนักงานที่มีระดับความพึงพอใจต่อสวัสดิการต่างกัน มีคุณภาพชีวิตในการท างานภาพรวมไม่แตกต่างกัน ทั้งนี้อาจเป็นเพระว่าผลิตภัณฑ์และกระบวนการผลิตของบริษัทไม่มีส่วนในการสร้างมลพิษและท าลายสิ่งแวดล้อม และบริษัทมีการปฏิบัติตามข้อบังคับเกี่ยวกับกฎหมายและข้อบังคับอ่ืน ๆ ที่เกี่ยวข้อง จึงท าให้พนักงานที่มีระดับความพึงพอใจต่อสวัสดิการต่างกัน มีคุณภาพชีวิตการท างานไม่แตกต่างกัน ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ อัจฉรา ปุราคม (2540) ที่ศึกษาเรื่อง คุณภาพชีวิตในการท างานของผู้ใช้แรงงานอุตสาหกรรมอิเล็คทรอนิคส์ เขตนิคมอุตสาหกรรมภาคเหนือ พบว่า มีความสอดคล้องระหว่างคุณภาพชีวิตในการท างานของผู้ใช้แรงงานกับการบริหารจัดการเกี่ยวกับสวัสดิการและการคุ้มครองแรงงานตามนโยบายของรัฐ และนโยบายอ่ืน ๆ

Page 10: การเปรียบเทียบความพึงพอใจต่อสวัสดิการกับคุณภาพชีวิต ในการท ...acad.vru.ac.th/Journal/journal

Valaya Alongkorn Review Vol. 3 No. 2 July-December 2013

66

นอกเหนือจากที่กฎหมายก าหนด และงานวิจัยของ วารุณี จันทร์สมบัติ (2550) การศึกษาคุณภาพชีวิตในการท างานที่มีความสัมพันธ์กับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงาน บริษัท ไออาร์พีซี จ ากัด (มหาชน) ศึกษาเฉพาะส านักงานกรุงเทพ พบว่า โดยภาพรวมคุณภาพชีวิตของพนักงานในการท างาน มีความสัมพันธ์กับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงาน ด้านค่าจ่างและสวัสดิการ มีความสัมพันธ์อยู่ในระดับปานกลาง สรุปผลการวิจัย 1. พนักงานบริษัท เทยิน คอร์ด (ประเทศไทย) จ ากัด มีความพึงพอใจต่อสวั สดิการ โดยภาพรวมอยู่ในระดับสูง โดยสวัสดิการที่พนักงานมีความพึงพอใจระดับสูงมาก ได้แก่ การจ่ายโบนัส ปีละ 2 ครั้ง และพนักงานบริษัท เทยิน คอร์ด (ประเทศไทย) จ ากัด มีคุณภาพชีวิตในการท างานอยู่ในระดับสูง โดยด้านสภาพแวดล้อมการท างานที่ดีมีความปลอดภัยมีคุณภาพชีวิตในการท างานสูงที่สูด 2. พนักงานบริษัท เทยิน คอร์ด (ประเทศไทย) จ ากัด ที่มีต าแหน่ง และรายได้แตกต่างกันมีคุณภาพชีวิตในการท างานภาพรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยต าแหน่ง ที่แตกต่างกันคือ พนักงานที่ปฏิบัติงานในต าแหน่งหัวหน้างาน (Supervisor) มีคุณภาพชีวิตในการท างานสูงที่สุด ส่วนต าแหน่งเสมียน (Clerk) ต่ าสุด และรายได้ที่แตกต่างกันคือ พนักงานที่มีรายได้ 15,001 บาทข้ึนไป มีคุณภาพชีวิตในการท างานสูงที่สุด ส่วนรายได้ 7,001-10,000 บาท ต่ าสุด ส่วนปัจจัยอื่น ๆ ไม่แตกต่างกัน 3. พนักงานบริษัท เทยิน คอร์ด (ประเทศไทย) จ ากัด ที่มีความพึงพอใจต่อสวัสดิการแตกต่างกันมีคุณภาพชีวิตในการท างานภาพรวมไม่แตกต่างกัน เมื่อจ าแนกตามความพึงพอใจต่อสวัสดิการ พบว่า พนักงานมีความพึงพอใจต่อสวัสดิการน้อย ปานกลาง และมาก มีคุณภาพชีวิต ในการท างานด้านสภาพแวดล้อมการท างานที่ดีมีความปลอดภัยสูงที่สุด ส่วนด้านผลตอบแทนที่เป็นธรรมและเพียงพอต่ าสุด และมีความพึงพอใจต่อสวัสดิการมากที่สุดมีคุณภาพชีวิตในการท างานด้านการบูรณาการทางสังคมหรือการท างานร่วมกันสูงที่สุด ส่วนด้านโอกาสในการพัฒนาความรู้ความสามารถของพนักงานต่ าสุด ข้อเสนอแนะ 1. ข้อเสนอแนะเชิงปฏิบัติ คุณภาพชีวิตในการท างานของพนักงานบริษัท เทยิน คอร์ด (ประเทศไทย) จ ากัด พบว่า มีคุณภาพชีวิตภาพรวมอยู่ในระดับสูง และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านสภาพแวดล้อม การท างานที่ดีมีความปลอดภัย ด้านการบูรณาการทางสังคมหรือการท างานร่วมกัน ด้านสิทธิ ของพนักงานหรือธรรมนูญในองค์การ ด้านความก้าวหน้าและความมั่นคงในงาน และด้านโอกาส ในการพัฒนาความรู้ความสามารถของพนักงาน พนักงานมีคุณภาพชีวิตในการท างานระดับสูง ส่วนด้านความเกี่ยวข้องและเป็นประโยชน์ต่อสังคม ด้านความสมดุลระหว่างงานกับชีวิตโดยส่วนตัว และด้านผลตอบแทนที่เป็นธรรมและเพียงพอ พนักงานมีคุณภาพชีวิตในการท างานระดับปานกลาง โดยด้านผลตอบแทนที่เป็นธรรมและเพียงพอมีคุณภาพชีวิตในการท างานต่ าสุด ดังนั้น ควรพิจารณารายได้ของพนักงานและสวัสดิการที่เหมาะสมและเป็นธรรม เหมาะสมกับสภาพเศรษฐกิจในปัจจุบัน

Page 11: การเปรียบเทียบความพึงพอใจต่อสวัสดิการกับคุณภาพชีวิต ในการท ...acad.vru.ac.th/Journal/journal

วารสารวไลยอลงกรณ์ปรทิัศน์ ปีที่ 3 ฉบับที ่2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2556

67

ตลอดจนมีระดับรายได้ใกล้เคียงกับบริษัทอ่ืน ๆ ที่ประกอบธุรกิจประเภทเดียวกัน ด้านความสมดุลระหว่างงานกับชีวิตโดยส่วนตัว บริษัทควรจัดสภาพพ้ืนที่การท างาน ลักษณะการท างานรวมทั้งอุปกรณ์ป้องกันความปลอดภัยให้เหมาะสมกับงานที่ท า ก าหนดระยะเวลาการท างานและหน้าที่ ความรับผิดชอบให้เหมาะสม ให้พนักงานมีเวลาพักผ่อนและไม่กระทบต่อการด าเนินชีวิตส่วนตัว และครอบครัว ส่วนด้านความเกี่ยวข้องและเป็นประโยชน์ต่อสังคม บริษัทควรมีส่วนในการสนับสนุนและส่งเสริมกิจกรรมของชุมชน ตลอดจนมีความรับผิดชอบต่อชุมชนรอบข้างในด้านการรักษาสภาพแวดล้อม และปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยสิ่งแวดล้อมอย่างเคร่งครัด 2. ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย คุณภาพชีวิตในการท างานที่ดี มีผลต่อการปฏิบัติงานของพนักงาน ซึ่งน าไปสู่การเพ่ิมประสิทธิภาพและเพ่ิมผลผลิตของบริษัท ดังนั้นบริษัทควรมีนโยบายที่ชัดเจนในการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตในการท างานของพนักงานในทุกๆ ด้าน มีนโยบายในการจ่ายค่าตอบแทนที่เหมาะสมและเป็นธรรม จัดให้มีสภาพแวดล้อมในการท างานที่ดีมีความปลอดภัย ส่งเสริมและพัฒนาความรู้ความสามารถตลอดจนทักษะที่ดีในการท างาน ส่งเสริมหน้าที่การท างานของพนักงานให้มีความก้าวหน้าและม่ันคง ส่งเสริมให้เกิดความสัมพันธ์อันดีต่อกัน เคารพในสิทธิของพนักงานให้ความเป็นธรรมในการท างาน สร้างความสมดุลในการใช้ชีวิตประจ าวันระหว่างการท างานกับการใช้ชีวิตส่วนตัว ตลอดจนปฏิบัติตามข้อบังคับของกฎหมายที่เกี่ยวข้องในการปฏิบัติงาน และสร้างให้เกิดความสัมพันธ์อันดีระหว่างบริษัทและชุมชนโดยรอบเพ่ือการอยู่ร่วมกันอย่างยั่งยืน 3. ข้อเสนอแนะเพ่ือการศึกษาครั้งต่อไป เพ่ือให้การศึกษาในเรื่องการเปรียบเทียบความพึงพอใจต่อสวัสดิการกับคุณภาพชีวิต ในการท างานของพนักงานมีความครอบคลุมมากยิ่งขึ้น อันจะเกิดประโยชน์ในการบริหารจัดการคุณภาพชีวิตในการท างานของพนักงานในภาพรวม ผู้วิจัยขอเสนอหัวข้อที่น่าสนใจเพ่ือการศึกษา ครั้งต่อไป ดังนี้ 3.1 การศึกษาเปรียบเทียบการบริหารจัดการคุณภาพชีวิตในการท างานของกลุ่มบริษัทที่ประกอบธุรกิจประเภทเดียวกัน 3.2 การศึกษาการมีส่วนร่วมของพนักงานในการก าหนดสวัสดิการที่เหมาะสมเพ่ือให้มีคุณภาพชีวิตในการท างานที่ดี 3.3 การศึกษาเปรียบเทียบการจัดสวัสดิการที่เหมาะสมต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต ในการท างานของบริษัทท่ีประสบความส าเร็จในการบริหารจัดการด้านคุณภาพชีวิตในการท างาน เอกสารอ้างอิง จีรภัทร กาญจนโชติธนกุล. (2554). คุณภาพชีวิตในการท างานของพนักงาน ศูนย์ปฏิบัติการธุรกิจ

ส่งออกและน าเข้า ธนาคารกรุงเทพ จ ากัด (มหาชน) ส านักงานใหญ่. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล รัตนโกสินทร์.

Page 12: การเปรียบเทียบความพึงพอใจต่อสวัสดิการกับคุณภาพชีวิต ในการท ...acad.vru.ac.th/Journal/journal

Valaya Alongkorn Review Vol. 3 No. 2 July-December 2013

68

นารีรัตน์ สร้อยสกุล. (2544). คุณภาพชีวิตในการท างานของข้าราชการจเรต ารวจ ในส านักงานจเรต ารวจ. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชารัฐศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยรามค าแหง.

ปวีณา ผาสุข. (2547). คุณภาพชีวิตในการท างานของพนักงานมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต. ภาคนิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการทั่วไป บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.

วารุณี จันทร์สมบัติ. (2550). การศึกษาคุณภาพชีวิตในการท างานที่มีความสัมพันธ์ กับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงาน บริษัท ไออาร์พีซี จ ากัด (มหาชน) ศึกษาเฉพาะส านักงานกรุงเทพ. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเซีย.

ศิริวรรณ หาญละศิริ. (2549). คุณภาพชีวิตการท างานของพนักงานบริษัท ชาร์ป แอพพลายแอนซ์ (ประเทศไทย) จ ากัด. ภาคนิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารธุรกิจ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ จังหวัดปทุมธานี.

สุขชัย สิทธิปาน. (2546). คุณภาพชีวิตการท างานของเจ้าหน้าที่งานปฏิบัติการศูนย์ควบคุมจราจรทางอากาศของ บริษัทวิทยุการบินแห่งประเทศไทย จ ากัด. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.

อัจฉรา ปุราคม. (2540). คณุภาพชีวิตในการท างานของผู้ใช้แรงงานอุตสาหกรรมอิเล็คทรอนิคส์ เขตนิคมอุตสาหกรรมภาคเหนือ. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการส่งเสริมสุขภาพ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.