thai learning

70

Upload: pawat-siriwan

Post on 10-Feb-2016

222 views

Category:

Documents


1 download

DESCRIPTION

เรียนไทยอย่างรวดเร็ว พื้นฐาน

TRANSCRIPT

Page 1: Thai Learning
Page 2: Thai Learning

๑.๑ ความหมายของคํา

๑.๒ หนาที่ของคําในประโยค

๑.๓ การใชคําเพื่อการสื่อสาร

๑.๔ ขอปฏิบัติในการใชถอยคําราชาศัพท

ความหมายของคําอาจมีไดทั้งความหมายตรง ความหมายโดยนัย ความหมายแฝง คําอาจทําหนาที่

ในประโยคไดหลายอยาง การที่จะเขาใจความหมายและหนาที่ของคําจะตองพิจารณาเมื่อปรากฏอยูใน

ประโยครวมกับคําอื่น

การใชคําเพื่อการสื่อสารตองคํานึงถึงความถูกตองตามความหมาย ตามระดับของโอกาสและบุคคล

รวมทั้งถูกตองตามหลักภาษาดวย

๑. อธิบายความหมายแบบตาง ๆ ของคําในภาษาไทยได

๒. บอกหนาที่ของคําในประโยคได

๓. สามารถใชคํา เพื่อการสื่อสารไดอยางถูกตอง

๔. บอกการใชคําใหเหมาะสมกับระดัภาได

Page 3: Thai Learning

คําในภาษาไทยไมมีการเปลี่ยนแปลงรูปคํา ไมวาจะทําหนาที่ใดหรือตําแหนงใดในประโยค คําที่ออก

เสียงอยางเดียวกันอาจมีความหมายไดหลายอยาง เชน คําวาขัน ถาปรากฏอยูลอย ๆ มิไดเขาประโยค

อาจมีความหมายอยางใดอยางหนึ่งตอไปนี้

(๑) เปนคํานาม หมายถึง ภาชนะสําหรับตักหรือใสน้ํา

(๒) เปนคํากริยา หมายถึง ทําใหตึงหรือใหแนนดวยวิธีหมุนกวดเรงเขาไป

(๓) เปนคํากริยา หมายถึง อาการรองอยางหนึ่งของไก หรือนกบางชนิด

(๔) เปนคํากริยา หมายถึง หัวเราะ

(๕) เปนคําวิเศษณ หมายถึง นาหัวเราะ ชวนหัวเราะ

คําในภาษาไทยจะแสดงความหมายที่แทจริงไดก็ตอเมื่อปรากฏชัดวา ทําหนาที่เปนอะไรในประโยค

มีตําแหนงอยูที่ใดดังเชน คําวา “ขัน” ที่กลาวมาแลว เชน

“ผูชนะการประกวดจะไดรับรางวัลเปนขันน้ําพานรอง”

“พอไดฤกษ นายเรือก็ส่ังใหกลาสีเรือขันสมอเตรียมออกเดินทาง”

“ยินเสียงนกเขาขันคู เสียงจูฮุกกรู ขันอยูในปาพนาพฤกษไพร”

“พอเห็นหนาเขา ดิฉันก็นึกขัน ตองกลั้นหัวเราะแทบแย”

“ทาทางที่เขาแสดงตอหัวหนาชวนขันมากกวาจะดูนอบนอม”

นอกจากความหมายของคําจะปรากฏชัดเจนเมื่ออยูในประโยคแลว ความหมายของคํายังปรากฏใน

ลักษณะตอไปนี้ดวย

๑. ความหมายโดยตรง คือความหมายที่ปรากฏตรงตามถอยคํานั้น เชน ขัน แปลวา ภาชนะ

สําหรับตักหรือใสน้ํา หรือแปลวา อาการรองอยางหนึ่งของไกหรือนกบางชนิดดังกลาวแลว

๒. ความหมายโดยนัย คือความหมายที่มิไดตรงตามที่เขาใจอยูทั่วไป แตหมายถึงอยางอื่นที่

เขาใจกันได เชน

“รัฐบาลขันน็อตตํารวจ”

คําวา”ขัน”ในที่นี้มิไดหมายถึง การทําใหตึงหรือแนนดวยวิธีหมุนกวดเรงเขาไป แตมีความหมาย

โดยนัย หมายถึง การเรงรัดใหปฏิบัติหนาที่

“ขอสอบชุดนี้หมูมาก”

Page 4: Thai Learning

คําวา”หมู”ในที่นี้ มีความหมายโดยนัย หมายถึง “งาย”

๓. ความหมายแฝง คือ ความหมายยอยที่แฝงอยูในความหมายใหญ มีลักษณะแนะ

รายละเอียดบางอยางไวในความหมายนั้น ๆ เปนความหมายเงา ๆ ซอนเรนหรือแฝงอยูในคํา ความหมายแฝงมีหลายลักษณะ ดังนี้ ก. บอกทิศทาง เชน

เคลื่อนขึ้นสูง เชน ลอย ชู ระเหย ปน ฯลฯ

เคลื่อนลงต่ํา เชน ยอย หยด หลุด รวง ตก หลน ฯลฯ

ข. บอกอาการเคลื่อนไหว

เคลื่อนไหวตลอดเวลา เชน พลิ้ว หยุกหยิก ไหว กระดิก ระริก ฯลฯ

เคลื่อนไหวจากที่ เชน ขยับ เขยิบ เขยื้อน เลื่อน ไถล ฯลฯ

เคลื่อนไหวทีละมาก ๆ เชน กรู พรู ฮือ แห รุม ฯลฯ

ค. บอกการเคลื่อนไหวที่สัมพันธกับเวลา

การกระทําโดยฉับไว เชน ถลัน ถลา ผลุนผลัน ฯลฯ

การกระทําอยางชา ๆ เชน เนิบนาบ โอเอ อืดอาด ยืดยาด ฯลฯ

ง. บอกลักษณะหรืออาการ

ลักษณะของเด็ก เชน จ้ําม่ํา ตุยนุย เจาเนื้อ ฯลฯ

ลักษณะของผูหญิง เชน ออนแอน กระชดกระชอย กระตุงกระติ้ง กระฟดกระเฟยด ฯลฯ

ลักษณะของผูชาย เชน บึกบึน ทรหด ลํ่าสัน ฯลฯ

ลักษณะของคนแก เชน งกๆ เงิ่นๆ กระยองกระแยง ยักแยยักยัน ฯลฯ

จ. บอกคุณสมบัติบางอยางของกริยา

คํากริยาที่ใชกับของเหลว เชน กระฉูด กระปริบกระปรอย กระเซ็น ฯลฯ

คํากริยาที่ใชกับเสียง เชน ตะเบ็ง กระซิบ ตะโกน กระจูกระจี๋ กระจุงกระจิ๋ง ฯลฯ

๔. ความหมายอุปมา หรือความหมายเปรียบ คือ ความหมายที่ใชเชิงเปรียบเทียบ เชน ลิง (ซน

เหมือนลิง) กลวย (งายเหมือนปอกกลวยเขาปาก) หมู (ขอสอบชุดนี้หมูมาก) ผี (ขณะนี้เทปผีเต็มตลาด) ฯลฯ

๕. ความหมายสัมพันธกับเสียง คําบางคํามีเสียงคลายกัน หรือใกลเคียงกัน และมีความหมายคลายกันดวย มีหลายลักษณะ เชน

เสียงสระสั้น-ยาว เชน วับ-วาบ ฯลฯ

เสียงพยัญชนะตนตางกัน เชน เบาะ-เมาะ ฯลฯ

Page 5: Thai Learning

เสียงพยัญชนะทายตางกัน เชน จุกจิก-จูจี้ จุกจิก-จุบจิบ ฯลฯ

คําในภาษาไทย จําแนกออกตามหนาที่ได ๗ ชนิด ไดแก คํานาม คําสรรพนาม คํากริยา คําวิเศษณ

คําบุพบท คําสันธาน และคําอุทาน คําทั้ง ๗ ชนิดนี้ ทําหนาที่เปนคําหลักและเปนคําชวยในประโยค เราอาจ

จําแนกหนาที่ของคําทั้ง ๗ ไดดังนี้ ๑ คํานาม ทําหนาที่ดังนี้ - เปนประธานของประโยค เชน จระเขกินคน

- เปนกรรมของประโยค เชน ฝายคานอภิปรายไมไววางใจรัฐบาล

- เปนสวนเติมเต็ม เชน ธงไชยเปนนักรอง

- เปนสวนขยายนาม เชน อุตสาหกรรมสิ่งทอของไทยกําลังประสบปญหา

- เปนสวนขยายกริยา เชน เขาหัดขับรถทุกวันอาทิตย

- เปนคําเรียกขาน เชน นักเรียนทุกคน โปรดฟงทางนี้ ๒ คําสรรพนาม ทําหนาที่ดังนี้ - เปนประธานประโยค เชน เขามาถึงกรุงเทพ ฯ เมื่อวานนี้

- เปนกรรมของประโยค เชน รัฐบาลพรอมที่จะชวยเหลือทานเสมอ

- เปนสวนเติมเต็ม เชน ผูไดรับประโยชนคือพวกเราทุกคน

- เปนคําเรียกขาน เชน สวัสดีครับ ทานผูฟงที่เคารพ ๓ คํากริยา ทําหนาที่ดังนี้ - เปนตัวแสดงในประโยคเชน นักเรียนยกมือไหวครูอยางนอบนอม,ประชาชนกราบหลวงพอคูณ

ดวยความศรัทธา

- เปนประธานของประโยค เชน นอนดึกทุกคืน เปนเหตุใหสุขภาพทรุดโทรม

- เปนสวนขยายนาม เชน ขณะนี้ยังไมถึงเวลากินขาว

- เปนสวนขยายกริยา เชน หลอนปลอยลูกเดินเลนตามลําพัง ๔ คําวิเศษณ ทําหนาที่ดังนี้ - ขยายนาม เชน ผูหญิงขาวทวมกําลังเดินเขามาในหอง

- ขยายสรรพนาม เชน เขาเหลานั้น กําลังเดือดรอนเพราะน้ําทวม

- ขยายกริยา เชน เสียงฟาผาดังกึกกอง

Page 6: Thai Learning

- ขยายวิเศษณ เชน บางวันฝนตกไมลืมหูลืมตา ๕ คําบุพบท ทําหนาที่ตอไปนี้ - เชื่อมคํากริยากับคํานาม เชน เขายืนอยูหลังหอประชุม

- เชื่อมคํานามกับคํานาม เชน การพูดกลางฝูงชนอาจไมไดผล

- เชื่อมคํากริยากับคําสรรพนาม เชน เราบริการใหเฉพาะทานเทานั้น

- เชื่อมวิเศษณกับคํานาม เชน เขาทํางานหนักเหมือนพอของเขา ๖ คําสันธาน ทําหนาที่ตอไปนี้

- เชื่อมประโยคกับประโยค เชน ลูกเสือเฝาคนเจ็บจนหมอมาถึง

- เชื่อมกลุมคํานามกับกลุมคํากริยา เชน การทํางานหนักเกินไปในระหวางที่เรียนอยู ทําให

สุขภาพของเขาทรุดโทรม

๗. คําอุทาน ไมมีหนาที่ในประโยค แตชวยใหประโยคนั้นสามารถสื่ออารมณของผูพูดได เชน

- ไชโย ! พวกเราไมมีใครสอบตก

- โอโฮ ! คนมากันเต็มสนามเลย

- ตายแลว ! น้ํามันหมด จะทําอยางไรดีคะนี่ ?

การใชคําเพื่อการสื่อสารในชีวิตประจําวันมุงผลสําคัญคือ ความเขาใจที่ถูกตองตรงกันระหวางผูสงสาร

และผูรับสาร เพื่อใหบรรลุผลดังกลาว ผูสงสารจําเปนตองมีความรูเกี่ยวกับการใชคําเปนอยางดี ความรูเร่ือง

การใชคําเพื่อการสื่อสารมีดังนี้ ๑.๓.๑ ใชคําใหถูกตองตามหลักภาษา การใชคําใหถูกตองตามหลักภาษา ควรศึกษาการใชคําในลักษณะตางๆ ดังนี้ ก. การใชลักษณะนาม คําลักษณะนาม คือ คําที่ใชหลังคําบอกจํานวน หรือตามหลังนามเมื่อตองการเนน หรือ

นําหนาคําบอกลําดับที่ ขอบกพรองของการใชลักษณะนามที่พบมากมีดังนี้

(๑) ใชลักษณะนามผิด เชน

“ในเรื่องรามเกียรติ์ ไดกลาวถึงฤๅษีไวหลายองค” คําลักษณะนาม องค ในที่นี้ตองใชคําวา ตน

Page 7: Thai Learning

“รัฐบาลกําลังแกปญหาอันนี้อยู” คําลักษณะนาม อัน ในที่นี้ตองใชคําวา ขอ “เกิดอุบัติเหตุรถชนกันมีคนตาย ๕ ศพ บาดเจ็บอีกนับสิบ” คําลักษณะ ศพ ในที่นี้ตองใชคําวา คน (ศพ-ใชกับคนที่ตายมากอนแลว เชน “พบศพในที่เกิดเหตุ ๓ ศพ”)

“ในกุฏินั้นมีพระพุทธรูป ๒ องค พระสงฆ ๒ องค” คําลักษณะนามสําหรับพระสงฆตองใชคําวา รูป ฯลฯ

(๒) ใชคํานามไวหลังคําบอกจํานวน แทนการใชลักษณะนาม เชน

“จับสามโจรปลนรถเมลแลว”

“เราชอบใชยาแกไอตราแมลงปองหาตัว และยาหอมแกลมตราหาเสาธง”

“สองนักเรียนไดรางวัลนักประดิษฐรุนเยาว”

ฯลฯ

(๓) ไมใชลักษณะนาม เชน

“จับโจรปลนรถเมลเพิ่มอีกสาม”

“คัดเลือกบริษัทเดินเรือไดสอง”

“รัฐบาลเตรียมตั้งกระทรวงใหมอีกสี่”

ฯลฯ

การใชคํานามวางไวหลังจํานวนนับ และการละลักษณะนามดังเชนที่กลาวมานี้หากใชเขียน

หรือพูดเปนพาดหัวขาวทางสื่อมวลชนตาง ๆ ก็พออนุโลมใหใชได แตไมควรใชกับงานประเภทอื่น ข. การใชอาการนาม อาการนาม เปนคํานามสําหรับส่ิงซึ่งไมอาจสัมผัสจับตองได คําอาการนามจะนําหนาดวย

คําวา การ หรือ ความ แลวเติมดวยกริยาหรือคําวิเศษณ เชน การพูด การบริหาร การสอนความรู ความรัก

ความสบาย เปนตน

ขอบกพรองในการใชอาการนาม ก็คือ การเติมคําบางคําลงหนาอาการนามแลวใชเปน

คํากริยาตามเดิม

เชน

“นักเรียนควรใหความสนใจการเมือง”

Page 8: Thai Learning

ควรตัดใหเหลือเพียง “นักเรียนควรสนใจการเมือง” “ตํารวจทําการจับกุมโจรปลนธนาคาร” ควรตัดใหเหลือเพียง “ตํารวจจับกุมโจรปลนธนาคาร” “รัฐบาลและวุฒิสมาชิก ทําความตกลงกันเรื่องแกไขรัฐธรรมนูญ” ควรตัดใหเหลือเพียง “รัฐบาลและวุฒิสมาชิกตกลงกันเรื่องแกไขรัฐธรรมนูญ” ฯลฯ ค. ใชสรรพนาม สรรพนามเปนคําสําหรับใชแทนคําเรียกคน สัตว สิ่งของ เพื่อที่จะไมตองกลาวชื่อนั้นซ้ํา

ขอบกพรองในการใชสรรพนาม มีหลายประการ คือ

(๑) ใชบุรุษสรรพนาม ผิด ใชสรรพนามบุรุษที่สามแทนสรรพนามบุรุษที่หนึ่ง “เมื่อเชานี้เขาไปตลาด เจอพี่ชายของตัวออกมาซื้อของ” ใชสรรพนามบุรุษที่หนึ่ง เรา ในความหมายแทนผูพูดซ่ึงเปนเอกพจน “เราจะไปหองสมุด เธอจะไปกับเราหรือเปลา” เรา ในที่นี้ควรใชคําวา ฉัน ฯลฯ ใชสรรพนามไมเหมาะสม “จระเขพวกนี้กัดคนไมเปนหรอกคะเพราะเขาไมเคยหาอาหารกินเองมแีตคนคอยเลีย้ง” เขา ในที่นี้ควรใชวา มัน “อาจารยแกไมมาสอน ไปอบรมสามวัน” แก ในที่นี้ควรใชวา ทาน ฯลฯ

(๒) ใชสรรพนามเชื่อมประโยคไมถูกตอง เชน

“เขาเปนอะไรที่หลอมาก” ควรแกไขโดยใชคํานาม แทนคําวา “เปนอะไรที่” เชน “เขาเปนนักรองที่หลอมาก”

“เขาเปนครูที่หลอมาก”

(๓) ใชนิยามสรรพนามโดยไมจําเปน เชน

Page 9: Thai Learning

“ปาไมนี้มีประโยชนตอพวกเรา คือชวยใหเรานั้นไดสูดอากาศที่บริสุทธิ์สดชื่น ทําใหฝน

นั้นตกตองตามฤดูกาล อาหารก็จะมีอุดมสมบูรณ แตปจจุบันปาไมนั้นไดถูกทําลายลงมาก” ขอความขางตนนี้ หากตัดคําที่ขีดเสนออก ก็จะไดใจความเหมือนเดิม ง. การใชคําบุพบท คําบุพบท คือ คําที่ทําหนาที่นําหนาคําหรือกลุมคําหรือประโยคเพื่อใหเกิดความตอเนื่องกับ

คําหรือกลุมคําที่อยูขางหนา

ขอบกพรองในการใชคําบุพบท ที่ปรากฏเสมอ เชน

(๑) ใชคําบุพบทไมถูกตอง เชน

“การที่คนอื่นสละเวลาทําอะไรใหเรานั้น เราควรขอบใจเขาอยางยิ่ง หากบางครั้งเขาจะ

ทําไมถูกใจเรา เราก็ไมควรโกรธเขา เพราะความโกรธเปนความขุนมัวของจิตใจ เปนการกอทุกขใหกับ

ตนเอง”

หากจะใชคําบุพบทใหถูกตอง ขอความจะเปนดังนี้

“การที่คนอื่นสละเวลาทําอะไรใหเรานั้นเราควรขอบใจเขาอยางยิ่ง แมบางครั้งทําเขาจะ

ทําไมถูกใจเรา เราก็ไมควรโกรธเขา เพราะความโกรธเปนความขุนมัวของจิตใจ เปนการกอทุกขใหแก

ตนเอง”

(๒) ใชคําบุพบทฟุมเฟอย เชน

“เอาเนื้อไกที่เตรียมไวคลุกกับเกลือ กับพริกไทยกับ กระเทียมที่ปนละเอียดแลว นําไป

คลุกกับน้ําตาล กับแปงที่เตรียมไว ทิ้งไวสักระยะหนึ่งจึงนําไปทอดในกระทะที่น้ํามันกําลังเดือดรอนจัด” ขอความดังกลาวนี้ ตัดคําบุพบท กับ ออก ก็จะไดใจความเทาเดิม แตฟงดูกระชับรัดกุมกวา (๓) ละคําบุพบท เชน

“ตอไปนี้เปนการแสดงเด็ก” ขอความขางตนนี้ ควรเติมบุพบทเพื่อใหเขาใจชัดเจนวา “ตอไปนี้เปนการแสดงของเด็ก “หรือ ตอไปนี้เปนการแสดงสําหรับเด็ก” จ. การใชคําสันธาน คือคําที่ใชเชื่อมประโยคหรือขอความใหติดตอเปนเรื่องเดียวกัน หรือทําใหประโยคหรือ

ขอความ มีความสละสลวยขึ้น ขอบกพรองเกี่ยวกับการใชคําสันธาน เทาที่พบบอย มีดังนี้

(๑) ใชคําสันธานไมถูกตอง เชน

Page 10: Thai Learning

๑๐

“สินคาที่วางขาย มีทั้งอาหารหรือเสื้อผา” หากใชคําสันธานถูกตอง จะเปนดังนี้ “สินคาที่วางขาย มีทั้งอาหารและเสื้อผา”

“ขณะนี้ในถนนพระรามสอง มีรถหนาแนน การจราจรติดขัดมากซึ่งถนนมีน้ําทวมขัง” หากใชคําสันธานถูกตอง จะเปนดังนี้ “ขณะนี้บนถนนพระรามสองมีรถหนาแนน การจราจรติดขัดมากเพราะถนนมีน้ําทวมขัง

(๒) ใชคําสันธานฟุมเฟอย เชน

“ปกติไมชอบซ้ือเครื่องประดับ แตชอบซื้อหนังสือ แตหนังสือที่ชอบเปนพวกหนังสือ

กลอน แตบางทีก็ซื้อเร่ืองสั้นที่เบาสมอง แตไมชอบอานสารคดีหนัก ๆ แตชอบเรื่องทองเที่ยวคะ”

คําวา แต ที่พิมพตัวหนาทุกคํา หากตัดออกก็จะไดใจความเทาเดิม ๑.๓.๒ ใชคําใหถูกตองตามความหมาย การใชคําใหถูกตองตามความหมาย เปนสิ่งสําคัญเพราะถาเลือกใชคําไมถูกตอง ผลของการ

ส่ือสารก็จะไมถูกตองไปดวย ขอผิดพลาดของการใชคํา เทาที่พบมีดังนี้ (๑) ความสับสนของการใชคําที่มีเสียงใกลเคียงกันแตความหมายตางกัน เชน

“ถาไปสมัครงาน อยาลืมเอาสูจิบัตรไปดวย”

“คณะกรรมการจัดงานไดจัดสงสูติบัตร มาพรอมกับบัตรเขาชมการแสดงนี้แลว” ขอความทั้งสองนี้ ใชคําวา สูจิบัตร กับสูติบัตร สลับที่กัน สูจิบัตร หมายถึง ใบแสดงรายการตาง ๆ ตามกําหนดเวลา

สูติบัตร หมายถึง เอกสารสําคัญที่แสดงถึงชาติกําเนิด วันเดือนปเกิด และบิดา มารดา

ของบุคคล

“การที่เขายอมรับคําตําหนิโดยดุษฎี แสดงใหเห็นวาเขาเปนคนมีน้ําใจนักกีฬาคนหนึ่ง” คําวาดุษฎี ในที่นี้ตองใชคําวา ดุษณี ดุษฎี หมายถึง ความยินดี ความชื่นชม

ดุษณี หมายถึง อาการนิ่งซึมแสดงถึงการยอมรับ

ฯลฯ

Page 11: Thai Learning

๑๑

(๒) ใชคําที่มีความหมายใกลเคียงกัน แตไมถูกตองกับขอความแวดลอม เชน

“หัวหนาคนงานเปนคนรางสูง ผิวเกรียม ใบหนากรานแดด ผมสละสลวยคอนขางยาว

กลามเนื้อแนนดูแข็งแรง สีหนาเหี้ยมเกรียมอยูตลอดเวลา แตประหลาดที่เขาสามารถใชภาษาที่สลวยได”

ขอความนี้ตองแกไขใหถูกตอง ดังนี้ “หัวหนาคนงานเปนคนรางสูงผิวกราน ใบหนาเกรียมแดด ผมสลวยคอนขางยาว กลามเนื้อแนนดูแข็งแรง สีหนาเหี้ยมเกรียมอยูตลอดเวลา ทําใหดูนาเกรงขามแตประหลาดที่เขาสามารถใชภาษาที่สละสลวยได” เกรียม หมายถึง เกือบไหม ถูกความรอนเผาจนเปนสีน้ําตาล

กราน หมายถึง มีผิวดาน สีผิวไมสดใส

สละสลวย หมายถึง เปนระเบียบเรียบรอย (มักใชแกถอยคําสํานวน)

สลวย หมายถึง เรียบรอยงดงาม (ใชแกผม)

เหี้ยมเกรียม หมายถึง ใจดํา , ปราศจากใจกรุณา

(๓) ใชคําที่มีความหมายขัดแยงกัน เชน

“รถคอย ๆ เคลื่อนที่ออกไปอยางรวดเร็ว”

“คนรายรัวกระสุนใสเจาหนาที่หนึ่งนัด”

“เด็กในโรงเรียนนี้สวนใหญยากจนกันทุกคน”

ฯลฯ

ตอไปนี้จะไดนําเสนอคําบางคําที่มีความหมายใกลเคียงกันมาใหดูเปนแนวทางเพื่อจะไดใชคําเหลานี้

ใหถูกตอง

อนุญาต = ยินยอม, ยอมให, ตกลง

อนุมัติ = เห็นชอบตามระเบียบที่กําหนดไว

อนุโลม = ใชแทนกันไดตามความเหมาะสม

ยืนกราน = ยืนคําอยูอยางใดก็อยางนั้น

ยืนยัน = พูดลงคําโดยแนนแฟน, พูดรับรูโดยแนนอน, ย้ําหรือแจงใหรู

ขอเท็จจริง

ยืนหยัด = สูไมยอมถอย

Page 12: Thai Learning

๑๒

ยึดถือ = ถือเอาไว, เหนี่ยว, ร้ัง

ยึดครอง = เขาถือสิทธิครอบครอง

ยึดเหนี่ยว = อาศัยเปนที่พึ่ง จําเจ = เนือง ๆ, บอย ๆ

ซํ้าซาก = ทําแลวทําอีกอยางเดียวกันรํ่าไป(ในบางกรณี จําเจ=ซ้ําซาก)

ประชดประชัน = พูดหรือทําเปนเชิงกระทบกระแทกแดกดัน

เยยหยัน = พูดหรือกระทําใหไดอาย ใหเจ็บใจ

ขมขู = ทําใหกลัว

บังคับ = ใชอํานาจสั่งใหทําหรือปฏิบัติ

ตําหนิ = ติเตียน, ยกโทษขึ้นพูด

เหน็บแนม = (พูด) กระทบกระเทียบแคะไค

เสียดสี = วาเปรียบเปรย วากระทบกระทั่ง วาเหน็บแนม

เปรียบเปรย = อาการที่พูดวาเปรียบไมเจาะจง

ประนีประนอม = ผอนหนักผอนเบาใหกัน, ปรองดองกัน, อะลุมอลวยกัน

ปรองดอง = ออมชอม, ประนีประนอม, ยอมกัน, ไมแกงแยงกัน, ตกลงกัน

ยอมความ = ไกลเกลี่ย, ตกลงกันดวยไมตรีจิต

อะลุมอลวย, = ปรองดอง, ผอนหนักผอนเบาใหกัน

สอบถาม = ถามไลเลียงหาขอเท็จจริง

ไตถาม = สอบถามอยางเอาใจใสหรือหวงใย

สืบถาม = ถามเพื่อเสาะแสวงหาความรูหรือความจริง

ซักถาม = ไตถามไลเลียงใหกระจางแจง

สลวย = เรียบรอยงดงาม (ใชแกผมที่หวีหรือแปรงใหสยายตัว)

สละสลวย = เปนระเบียบเรียบรอย (ใชแกถอยคําสํานวน)

Page 13: Thai Learning

๑๓

เกี่ยวของ = ติดตอ, ยุงเกี่ยว

เกี่ยวพัน = ติดเนื่องกัน

พัวพัน = เกี่ยวโยงพาดพิงถึงกัน

ผูกพัน = เอาใจใส รักใคร เปนหวง พรอมพรัก, พรอมพรั่ง = รวมอยูมากมาย พรักพรอม, พรั่งพรอม, พรอมเพรียง = ครบถวน, รวมใจกัน, เปนอันหนึ่งอันเดียวกัน

พรอมมูล = มีครบทุกอยาง, บริบูรณ กรู = พรอมกันเขาไป, (วิ่ง) ไปพรอมกัน (โดยมีจุดมุงหมาย

รวมกัน)

พรู = อาการเคลื่อนไหวมาพรอม ๆ กันเปนจํานวนมาก, รวงลงมา

พรอมกัน ตก = กิริยาที่ลดลงสูระดับตํ่าในอาการอยางพลัดลง

รวง = หลน, หลุด

หลน = ตกลงมา, รวงลง

บุคลิกภาพ = สภาพนิสัยจําเพาะคน

บุคลิกลักษณะ = ลักษณะจําเพาะตัวของแตละคน

ปฎิญญา = การใหคํามั่นสัญญาหรือการแสดงยืนยัน โดยถือเอาสิ่ง

ศักดิ์สิทธิ์หรือความสุจริตใจเปนที่ต้ัง

ปฎิญาณ = การใหคํามั่นสัญญา โดยมากเปนไปตามแบบพิธี

นิสัย = ความประพฤติที่เคยชิน เชน ทําจนเปนนิสัย

อุปนิสัย = ความประพฤติที่เคยชินจนเกือบเปนนิสัย, ความประพฤติที่

เคยชินเปนพื้นมาในสันดาน

Page 14: Thai Learning

๑๔

กะรุงกะรัง = หอยหรือแขวน (เครื่องประดับ) จนดูรุงรัง

พะรุงระรัง = ปะปนกันจนรุงรัง หิ้ว (ส่ิงของ) หลายอยางจนดูรุงรัง

จับจด = ลักษณะที่ทําไมจริงจัง

รวนเร = ไมแนนอน, ไมแนใจ

โลเล = มีนิสัยไมแนนอน

เหลาะแหละ = เหลวไหล, ไมจริงจัง, ไมแนนอน

สํารวย = ทํากิริยากรีดกรายหยิบหยง, มุงแตจะแตงตัวใหสวยงาม

หยิบหยง = กรีดกราย, ไมทะมัดทะแมง, ไมเอางานเอาการ

ซาบซ้ึง = เอิบอาบซานลึกซึ้งเขาไปในจิตใจ, เชน ซาบซึ้งในบทกวี

ซาบซ้ึง = รูอยางไมมีขอสงสัย เชน ทราบซึ้งในคําอธิบาย

ยืดยาด = ชักชา, นานเวลา, อืดอาด

ยืดเยื้อ = ยาวนาน, ยังไมจบทั้งที่ควรจะจบหรือเสร็จได

สืบสวน = เสาะหาทบทวนเหตุของเรื่องราวที่เกิดขึ้น

สอบสวน = ไลเลียงเพื่อเอาความจริง

ไตสวน = สอบสวนโดยอาศัยพยานหลักฐาน ตามวิธีทางกฎหมาย

กระฉับกระเฉง = คลองแคลวกระปรี้กระเปรา

กระชุมกระชวย = มีผิวพรรณสดใส มีอาการกระปรี้กระเปรา

กระปรี้กระเปรา = แคลวคลองวองไวเพราะมีกําลังวังชา เขมแข็ง = ขยันขันแข็ง, ไมยอทอหวั่นไหว, แข็งแรงในการทํางาน

เขมงวด = กวดขัน, เครงครัด แข็งขัน = ขยัน, ไมยอทอ

Page 15: Thai Learning

๑๕

แข็งแรง = มีกําลังมาก, มั่นคง, เต็มกําลัง

แนนหนา = มั่นคง, แข็งแรง

หนาแนน = คับค่ัง, แออัด

ฐานะ = ลําดับความเปนอยูในสังคม

ถิ่นฐาน = ที่, แดน, ที่อยู

หลักฐาน = พื้นเพที่มั่นคง

จนตรอก = ไมมีทางไป, ไมมีทางออกที่ดีสําหรับแกปญหา

จนแตม = ไมมีทางเดิน, ไมมีทางโตแยง

จนมุม = ไมมีทางหนี

จนใจ = ไมมีทางทําไดอยางคิด ทดแทน = ตอบแทนผูที่เคยทําความดีให เชน ทดแทนพระคุณพอแม

ชดเชย = ใชแทนสิ่งที่มีอยูแลวขาดหายไป

ชดใช = ใชทดแทนสิ่งที่ไปทําใหผูอ่ืนเสียหาย เชน ชดใชคาเสียหาย โปรด = การบอกกลาวหรือขอรองที่คําขอนั้นเปนประโยชนของผูฟง

เชน โปรดงดสูบบุหร่ี

กรุณา = การบอกกลาวหรือขอรองที่คําขอนั้นเปนประโยชนของผูพูด

เชน กรุณาอยาจอดรถขวางประตู, กรุณาแสดงบัตรผาน

เขาตอเจาหนาที่ ฯลฯ ด้ือดัน = ด้ือร้ันไมฟงเหตุผล

ด้ือดาน = ด้ือเสียจนเคยชิน

ด้ือดึง = ด้ือไมฟงเหตุผล

ด้ือแพง = ขัดขืน, ไมยอมปฏิบัติตาม, ไมยอมใหความรวมมือ

ทดรอง = ออกเงินหรือทรัพยไปกอน

Page 16: Thai Learning

๑๖

ทดลอง = ลองทํา, ลองใหทํา

เผยแผ = ทําใหขยายออกไป ใชกับส่ิงที่ดีงาม เชน เผยแผศาสนา, เผย

แผเกียรติคุณ

เผยแพร = โฆษณาใหแพรหลาย

บอก = พูดใหรู

เลา = บอกเรื่องราวใหผูอ่ืนฟง

แจง = บอกความประสงคใหทราบ

สูจิบัตร = เอกสารแสดงรายการกิจกรรม

สูติบัตร = เอกสารที่ทางราชการออกใหเมื่อมีการแจงเกิด, แสดงถึงชาติ

กําเนิด, วันเดือนปเกิด, นามบิดามารดา และสถานที่เกิด

เกลี้ยกลอม = ชักจูงใหทําตามหรือเห็นดวย โดยวิธีโนมนาวชักจูงใจ

หวานลอม = พูดจาชักชวนโดยใชเหตุผลแวดลอม เพื่อใหผูฟงเห็นจริงตาม

เหตุผลที่ยกมานั้น

ชักจูง = จูงใจเพื่อใหเห็นคลอยตาม

โนมนาว = ชักชวนใหเห็นดีเห็นงาม หรือใหโอนออนตาม

วิงวอน = ขอรองดวยการทําใหสงสาร

ออนวอน = ทําใหคลอยตาม ยอมทําตามดวยความสงสารหรือ

รําคาญ

ออดออน = ประจบประแจงผูเปนที่รักดวยการแสดงความรักใครเพื่อ

ขอใหไดตามความประสงคของตน

ชักชวน = ชวนโดยการโนมนาวใจ

Page 17: Thai Learning

๑๗

๑.๓.๓ ใชคําใหเหมาะสมกับระดับภาษา ภาษาไทยแบงระดับการเลือกใชคําใหเหมาะสมกับโอกาสเปน ๓ ระดับ คือ ก. ระดับทางการ เปนการเลือกถอยคําเพื่อนํามาใชกับงานที่เปนพิธีการ เชน การกลาวคํากราบบังคมทูลใน

วโรกาสตางๆ การเปดประชุมที่เปนพิธีการ การกลาวคําปราศรัยในโอกาสวันสําคัญตางๆ การเขียนหนังสือ

ราชการการติดตอธุรกิจในระดับที่มีความสําคัญ ฯลฯ

ตัวอยางการใชภาษาระดบัทางการ

“เปนที่ยอมรับกันแลววา การฝกอบรมเปนกระบวนการที่สําคัญกระบวนการหนึ่งของ

การบริหารราชการ ทั้งนี้เพราะวาประเทศชาติบานเมืองไดเจริญกาวหนาไปตามพัฒนาการของ

โลก ทั้งในดานวัตถุและวิทยาการซึ่งกําลังขยายตัวอยูทุกขณะ เปนผลทําใหมีการเปลี่ยนแปลง

ทั้งในหลักวิชาการที่ตองใชกิจการงานดานตางๆ มีความตองการในงานใหมๆ และพิเศษเฉพาะ

อยางเพิ่มข้ึน และมีการงอกเงยในปญหาการควบคุม บังคับบัญชาและการบริหารสิ่งเหลานี้ทํา

ใหคุณภาพและปริมาณงานของรัฐบาลสูงขึ้นและแผขยายกวางออกไปทุกที่ แตประเทศชาติจะ

เจริญกาวหนาไดก็ตองอาศัยการปฏิบัติงานที่มีประสิทธิภาพของเจาหนาที่ทุกระดับซึ่งเปน

จักรกลและตัวกําลังอันสําคัญในการดําเนินงานของรัฐบาล ดังนั้นการฝกอบรมจึงจําเปนและ

สําคัญ เพราะเปนวิธีที่จะสอนใหเจาหนาที่ไดเรียนรูและเขาใจถึงหลักวิทยาการและวิธี

ปฏิบัติงานที่ถกูตองทันสมัยและเหมาะสม ซึ่งเปนการสรางเสริมคุณวุฒิและสมรรถภาพในการ

ปฏิบัติงานใหมีประสิทธิภาพสูงขึ้น การฝกอบรมจะอํานวยประโยชนใหแกสวนราชการและตัว

บุคคลไมมีที่ส้ินสุด

ตามที่อําเภอเมืองไดจัดใหมีการฝกอบรมกํานันผูใหญบานขึ้นครั้งนี้ นอกจากจะ

อํานวยผลใหกํานันผูใหญบานไดรับความรูและประสบการณเพิ่มเติม ซึ่งจะสงผลใหการปฏิบัติ

หนาที่อํานวยความผาสุกใหแกประชาชนสัมฤทธิ์ผลแลว เทากับเปนการสนับสนุนนโยบายของ

รัฐบาลในการพัฒนาตัวบุคคลดวย ขาพเจาขอชมเชยความคิดริเร่ิมของนายอําเภอเมืองและ

เจาหนาที่ทุกคนไว ณ โอกาสนี้ดวย”

Page 18: Thai Learning

๑๘

ข. ระดับกึ่งทางการ การเลือกใชถอยคําในระดับนี้ มีความเปนพิธีการนอยกวาระดับทางการการใชถอยคํา

คอนขางงาย ลดความเปนการเปนงานลง ทําใหเกิดความรูสึกใกลชิดกันมากขึ้นระหวางผูพูดผูเขียนกับ

ผูอานผูฟง ภาษาระดับนี้นิยมใชกันกวางขวางในการประชุมที่ไมเปนพิธีการ การบรรยายในหองเรียน ขาว

และบทความทั่วไปในหนังสือพิมพเปนตน

ตัวอยางการใชภาษาระดบักึ่งทางการ

โกโรโกโส ความหมายตามพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน แปลวาไมมั่นคง ซวนเซ เกา

ครํ่าคราโคลงเคลง จนกลายเปนศัพทชาวบานใชไปในทางที่ไมเปนมงคลนัก แทที่จริงแลวคําวา

โกโรโกโสนั้น มีความหมายในทางอภิมหามงคล ไพเราะเพราะพริ้ง คํานี้มิใชเปนคําไทยแท แตขอ

ยืมภาษาบาลีมาใชโดยการสนธิจากคําสองคําเปนคําคําเดียว ซึ่งรากศัพทมาจาก กุรุ แปลวา ทุง

หรือ ขุม สนธิกับคําวา กุสุ แปลวา ทอง เมื่อรวมกันแลวจึงแปลวาทุงทองหรือ ขุมทอง อีกทั้งคน

แกเคยบอกและเรียกวาวัดคลังทอง แตดวยเหตุที่วัดเกาแกรางมานาน มีแตส่ิงปรักหักพัง

ชาวบานรุนใหมจึงเรียกตามลักษณะวา วัดโกโรโกโส มาจนทุกวันนี้

ค. ระดับสนทนา หรือระดับไมเปนทางการ เปนการเลือกใชถอยคําสําหรับการสนทนาโตตอบระหวางบุคคลหรือกลุมคนกลุมเล็กๆ ในสถานที่

และโอกาสที่ไมเปนการสวนตัว แมบุคคลกลุมนั้นจะรูจักมักคุนกันอยูหรือการเขียนจดหมายระหวางเพื่อน

การรายงานขาวและการเสนอบทความในหนังสือพิมพบางฉบับ

ตัวอยางการใชภาษาระดับสนทนา “วาไงจะ ชื่ออะไร เรานะ อยูชั้นไหน”

“ ชื่อทน”

“ ออ ชื่อทน อยูชั้นไหนละ”

“ อยูวัดปานี่แหละ อยูกับหลวงตาฟน”

“ก็บอกไปตามความจริงผูหญิงคนนี้กลับยิ้มเขาจะหัวเราะดวยซ้ํา ไมรูหัวเราะเรื่องอะไร

“เอาละ เปนอันวาเธอชื่อนายทน อยูกับหลวงตาฟน ทีนี้เธอเรียนหนังสือชั้นไหน”

Page 19: Thai Learning

๑๙

“ ไมไดอยูชั้นไหนหรอก ก็ขาไมไดเปนนักเรียนนี่”

“ อาว ไมไดเปนนักเรียน ทําไมมายืนแถวนี้ละ”

“ อยากดู”

“ ดูอะไรกัน”

“ ก็เพื่อนที่วัดเขามาเรียนกันทุกคน เหลือขาอยูคนเดียวมันเลยเหงา”

“ อยากเรียนไหมละ”

“ อยาก”

“ ทําไมไมบอกพอแมไหพามาเขาโรงเรียนละ วันนี้วันเปดเทอม กลับไปบอกพอแมไป”

“ ไมมีนี่ มีแตหลวงตา”

ฯลฯ ๔. ใชคําใหเหมาะสมกับบุคคล ในสวนที่เกี่ยวกับบุคคล ภาษาไทยมีคําใชเปนพิเศษสําหรับพระมหากษัตริย พระบรมวงศานุวงศ

พระภิกษุ และสุภาพชนทั่วไป แยกตางหากออกจากกันดวย ก. คําสําหรับใชเพ็ดทูลพระมหากษัตริยและพระบรมวงศานุวงศ (๑) การใชคําวา ทรง

(๑.๑) ใชนําหนาคํากริยาสามัญ ใหเปนคํากริยาราชาศัพท เชน ทรงจุดธูปเทียน ทรง

ใช ทรงเจิม ทรงตัด ฯลฯ

(๑.๒) ใชนําหนาคํานามสามัญ ใหเปนคํากริยาราชาศัพท เชน ทรงมา (ข่ีมา) ทรงปน

(ยิงปน) ทรงระนาด (เลนระนาด) ฯลฯ

คํากริยาที่เปนคําราชาศัพทอยูแลว เชน เสด็จ (ไป) เสวย (กิน) ตรัส (พูด) ประทับนั่ง

(นั่ง) ประทับยืน (ยืน) ฯลฯ ไมตองใชคําวา ทรงนําหนา

(๒) การใชคําวา พระบรม

คําวา พระบรม ใชเฉพาะพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวเทานั้นพระบรมวโรกาส พระบรม

ราชโองการ พระบรมราชานุญาต พระบรมราชวินิจฉัย พระบรมมหาราชวัง ฯลฯ คําเหลานี้ถาใชกับ สมเด็จ

พระบรมราชินี ไมตองมีคําวา บรม เชน ใชวาพระราชวโรกาส พระราชานุญาต พระราชานุเคราะห พระ

ราชูปถัมภ ฯลฯ

(๓) การ ใช คํ า ว า พระราช ใช ไ ด กั บพ ระบาทสม เด็ จพ ระ เ จ า อยู หั ว สม เด็ จ

พระบรมราชินีนาถ และสมเด็จพระยุพราช เชน พระราชหัตถเลขา พระราชโทรเลข พระราชกรณียกิจ ฯลฯ

Page 20: Thai Learning

๒๐

ขอที่พึงสังเกต คือ คําราชาศัพทสําหรับพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ซึ่งใชไดทั้ง พระบรม

ราช และ พระราชปญหามีอยูวาจะแยกไดอยางไร หลักกวาง ๆ คือ พระบรมราช จะใชกับกิจการหรือสถานที่

สําคัญกวา พระราช เชน พระบรมมหาราชวัง หมายถึง วังหลวง ใชเปนสถานที่ประกอบพระราชพิธีสําคัญ

และมีเพียงแหงเดียว สวนพระราชวัง หมายถึง สถานที่ประทับที่มีความสําคัญรองลงไป และมีหลายแหง

เชน พระราชวังดุสิต พระราชวังไกลกังวล เปนตน

(๔) การใชคําวา พระ

คําวา พระ ใชนําหนาคําราชาศัพทที่ใชเรียกอวัยวะ หรือส่ิงของเครื่องใชหรือ นําหนา

คํานามสามัญใหเปนราชาศัพท เชน พระหัตถ (มือ) พระบาท (เทา) พระโอษฐ (ปาก) พระเขนย (หมอน)

พระภูษา (ผานุง) พระมาลา (หมวก) พระเกาอี้ (เกาอี้) ฯลฯ

ก. ใชใหถูกตองตามหลักภาษาไทย เชน

“ประชาชนชาวจังหวัดเพชรบุรี เฝา ฯ รับเสด็จพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวที่บริเวณทางขึ้นพระ

นครคีรีอยางเนืองแนน”

ขอใหสังเกตคําวา “เฝา ฯ รับเสด็จ” ซึ่งเปนการใชราชาศัพทที่ถูกตองไมควรใชคําวา “ถวายการ

ตอนรับ” ซึ่งเปนสํานวนภาษาอังกฤษ (to give a welcome)

(คําวา “เฝา ฯ รับเสด็จ” ตองอานคําเต็มใหถูกตอง เชน ถารับเสด็จพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว

ตองอานวา “เผาทูลละอองธุลีพระบาทรับเสด็จ” แตถารับเสด็จสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราช

กุมารี ตองอานวา “เฝาทูลละอองพระบาทรับเสด็จ” เปนตน)

อนึ่งคําวา “ถวายความจงรักภักดี” ไมใชสํานวนไทย ควรใช “แสดงความจงรักภักดี” จะเหมาะสมกวา

ในการถวายสิ่งของแดพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว หรือสมเด็จพระนางเจาฯ พระบรมราชินีนาถ

ถาเปนของเล็กน้ําหนักเบาเชน สูจิบัตร, เงิน ฯลฯ ใชวา “ทูลเกลา ฯ ถวาย” (อานวา ทูลเกลาทูลกระหมอม

ถวาย) ถาเปนสิ่งของที่มีน้ําหนักมากหรือเปนนามธรรม เชน รถยนตหรือความจงรักภักดี ใชวา “นอมเกลาฯ

ถวาย” (อานวา นอมเกลานอมกระหมอมถวาย)

Page 21: Thai Learning

๒๑

ข. คําที่ใชกับพระภิกษุสงฆ (๑) คําแทนตัวผูพูดที่เปนฆราวาสใชพูดกับพระสงฆใชคําสุภาพทั่วไป ผูชายใชวา ผม, กระผม

ผูหญิงใชวา ดิฉัน

(๒) คําแทนตัวผูฟงที่เปนพระสงฆ

พระภิกษุทั่วไป ใชคําวา ทาน, คุณ

พระราชาคณะ ใชคําวา พระคุณทาน

สมเด็จพระราชาคณะ ใชคําวา พระคุณเจา

สมเด็จพระสังฆราช ใชคําวา ฝาพระบาท

(สมเด็จพระสังฆราช ใชราชาศัพทระดับเดียวกันกับเชื้อพระวงศชั้นพระองคเจา)

(๓) คําขึ้นตนและคําลงทายหนังสือราชการ

สมณศักด์ิ คําขึ้นตน คําลงทาย

สมเด็จพระสังฆราช

สมเด็จพระราชาคณะ

พระราชาคณะ

พระภิกษุทั่วไป

กราบทูล – ทรงกราบ

นมัสการ

นมัสการ

นมัสการ

ควรมิควรแลวแตจะโปรด

ขอนมัสการดวยความเคารพอยางยิ่ง

ขอนมัสการดวยความเคารพอยางยิ่ง

ขอนมัสการดวยความเคารพ

(๔) คํากริยาที่ฆราวาสใชกับพระภิกษุ

คํากริยา ความหมาย

อาราธนา

นิมนต

ประเคน

ถวาย

ฯลฯ

ขอเชิญ

ขอเชิญ

ยกของถวาย

มอบให

ฯลฯ

Page 22: Thai Learning

๒๒

(๕) คํากริยาสําหรับพระภิกษุ

คํากริยา ความหมาย

ฉัน

จําวัด

สรง

ปลงผม

มรณภาพ

อาพาธ

จําพรรษา

ฯลฯ

กิน

นอน

อาบน้ํา

โกนผม

ตาย

ปวย

อยูวัด

ฯลฯ

ค. คําที่ใชสําหรับขาราชการ และสุภาพชน ทั่วไปแลว ใชคําสุภาพตามแบบแผนหรือตามที่นิยมกันโดยปกติ แตก็มีคําที่แสดงถึงความยกยอง

เมื่อตองใชภาษาระดับทางการอยูบาง คือ

(๑) คํานําหนาสําหรับประธานองคมนตรี ประธานรัฐสภา นายกรัฐมนตรี ประธานศาลฎีกา

องคมนตรี รัฐมนตรี และเอกอัครราชทูตตางประเทศใชคําวา ฯพณฯ (อานวา พะ-นะ-ทาน)

(๒) คําลงทายจดหมายถึงบุคคลทั่วไปและขาราชการทุกตําแหนงใชคําวา “ขอแสดงความนับถือ”

ยกเวน ประธานองคมนตรี ประธานรัฐสภา ประธานศาลฎีกา และนายกรัฐมนตรีใชคําวา “ขอแสดงความนับถือ

อยางสูง”

นักศึกษาควรจะไดศึกษา ทําความเขาใจ และสังเกตการใชถอยคําใหเหมาะสมถูกตองการใชถอยคํา

ใหถูกตองเหมาะสม จะเกิดผลดีแกผูใชหลายประการ เชน

(๑) เกิดความเขาใจที่ถูกตอง

(๒) แสดงใหเห็นมารยาทอันดีงาม บงบอกความเปนคนไทยผูมีวัฒนธรรม

(๓) มีผลทางจิตวิทยา เชน ทําใหผูอานหรือผูฟงมีเจตคติที่ดีตอผูเขียนหรือผูพูดเกิดความเชื่อถือ

ศรัทธา

(๔) ทําใหภาษาที่ใชมีความประณีต งดงาม เปนแบบแผน และเขาใจงายแมวันเวลาลวงเลยไปก็

ยังคงเขาใจไดดี

Page 23: Thai Learning

๒๓

๑. ความหมายโดยนัยกับความหมายแฝง ตางกันอยางไร

ตอบ

๒. คําสรรพนามทําหนาที่ใดไดบางในประโยค

ตอบ

๓. คําลักษณะนาม โดยทั่วไปจะพบในตําแหนงใดบางในประโยค

ตอบ

๔. ขอบกพรองในการใชลักษณะนามในหนังสือภาษาไทยเทาที่ทานพบมีอะไรบาง

ตอบ

๕. ประโยคตอไปนี้มีขอบกพรองอยางไรจงแกไขใหถูกตอง

(๕.๑) ประชุมกรรมการจัดงานโรคหัวใจเด็กทั่วโลก

ตอบ

(๕.๒) บริษัทของเรามีทุนการศึกษาสําหรับนักศึกษาในวิทยาลัยที่ยากจน

ตอบ

(๕.๓) อนุชนคนรุนหลังควรรักษาศิลปวัฒนธรรมของธรรมชาติ

ตอบ

(๕.๔) เธอเปนเด็กกําพรา พอแมตายหมดแลว

ตอบ

(๕.๕) เขาถูกเชิญไปรับรางวัลเกษตรกรดีเดน

ตอบ

(๕.๖) ขณะนี้ชื่อเสียงในดานรองเพลงของเธอไดลุกลามไปทั่วประเทศแลว

ตอบ

(๕.๗) เขาหยิบเงินสงใหกับเด็กคนนั้น ๑๐ บาท

ตอบ

(๕.๘) สมาชิกลูกเสือชาวบานรุนที่ ๙ ไดรับหมายกําหนดการซึ่งประธานรุนและคณะกรรมการได

ชวยกันกําหนดใหเดินทางไปปฏิบัติงานในเดือนหนา ตอบ

Page 24: Thai Learning

๒๔

รวบรวมคําที่มีความหมายมากกวา ๑ ความหมายใหไดมากที่สุด (อยางนอยควรหา

ได ๑๐ คํา) แลวแตงประโยคแสดงความหมายของคํานั้น เชน มัน ผมชอบกินมันตมน้ําตาล

เขาขัดรองเทาจนเปนมันวับ

อาหารที่มีมันมากไมเหมาะกับคนสูงอายุ

ฯลฯ

คําสั่ง เลือกตัวเลือกที่ถูกตองที่สุด ความหมายของคํา ๑. คําวา ให ในขอใดมีความหมายตรงตามรูปคํามากที่สุด

ก. พอใหลูกไปเที่ยวได ข. ครูใหนักเรียนทําการบาน

ค. เพื่อนใหขนมฉันบอย ๆ ง. ถึงขูใหตายฉันก็ไมกลัว

๒. ขอใดความหมายของคําวา ลง ตางจากขออ่ืน

ก. ราคาสินคา ขึ้นแลวไมลงเด็ดขาด ข. ที่ประชุมลงความเห็นอยางไร

ค. ลงเขาบอกวาไปเขาก็ตองไป ง. เอะ เร่ืองนี้ยังไมลงเอยกันอีกหรือ

๓. คําในขอใดใหภาพวา แยกไปคนละทาง

ก. กลุมรุม ข. ฮือ

ค. ปะทุ ง. กรู

๔. คําในขอใดใหภาพการเคลื่อนไหวนอยที่สุด

ก. กระเถิง ข. กระดุกกระดิก

Page 25: Thai Learning

๒๕

ค. กระดิกกระเดี้ย ง. ขยับ

๕. คําในขอใดแสดงความหมายเปนพหูพจนชัดเจนที่สุด

ก. เขานัดเจอฉันราว ๆ ทุมคร่ึง

ข. สองคนนี้โหดรายพอ ๆ กัน

ค. บานเงียบเชียว เด็ก ๆ ไปไหนกันหมดเอย

ง. ยายนี่พูดเร็ว รัวออกมาแตละครั้งเปน ชุด ๆ เลย

หนาที่ของคําในประโยค

๖. ขอใดไมใชหนาที่ของคํานาม

ก. เปนประธานของประโยค ข. เปนกรรมของประโยค

ค. เปนตัวแสดงในประโยค ง. เปนสวนขยายนาม

๗. คํากลาวในขอใดไมถูกตอง

ก. คําสรรพนามทําหนาที่แทนคํานามได ข. คําสรรพนามทําหนาที่แทนคํากริยาได

ค. คําวิเศษณทําหนาที่ขยายสรรพนามได ง. สรรพนามทําหนาที่เชื่อมประโยคได

๘. คําวา ขัน ในขอใดเปนสกรรมกริยา

ก. แมใชขันตักน้ํา ข. เขาเปนคนขยันขันแข็ง

ค. นองกําลังขันตะปู ง. เสียงไกขันรับทอดตลอดทุง

๙. ขอใดไมใชหนาที่ของคํากริยา

ก. ทําหนาที่ประธานของประโยค ข. ทําหนาที่ขยายนาม

ค. ทําหนาที่ขยายกริยา ง. ทําหนาที่เปนสวนเติมเต็ม

๑๐. ประโยคตอไปนี้คําวิเศษณกี่คํา “คลื่นซับซอนกระทบหาดสะอาดงามทุก ๆ วัน”

ก. ๓ คํา ข. ๔ คํา

ค. ๕ คํา ง. ๖ คํา การใชคําเพื่อการสื่อสาร

Page 26: Thai Learning

๒๖

๑๑. ขอใดใชลักษณะนามไมถูกตอง

ก. องุนผลนี้หวานดี ข. เขามีสวนอยู ๓ ขนัด

ค. รูปบานนี้สวยจังนะ ง. ขอบุหร่ีใหผมสัก ๒ มวน

๑๒. ขอใดใชลักษณะนามถูกทั้งหมด

ก. เสื้อตัวนั้นมีภาพนกอยู ๒ ตัว

ข. ที่ในถ้ํา มีพระพุทธรูป ๑ องค พระสงฆ ๒ รูป

ค. ในหองทํางานมีเครื่องพิมพดีดอยู ๑ เครื่อง

ง. เขามีชางอยู ๒ เชือก ตัวเล็กเชือกหนึ่ง อีกเชือกหนึ่งตัวใหญ

๑๓. ขอใดใชลักษณะนามผิด ๑ คํา

ก. เปยโน ๒ หลัง พยาน ๒ ปาก จักรยาน ๑ คัน

ข. ธูป ๓ ดอก เครื่องสาย ๑ วง กระเบื้อง ๑ แผน

ค. โทรทัศน ๑ เครื่อง ปศาจ ๑ ตน กรอบรูป ๑ บาน

ง. เข็ม ๑ เลม แถลงการณ ๑ ฉบับ พระบรมราโชวาท ๑ องค

๑๔. ขอใดมีคําสันธาน

ก. เธอควรตั้งใจดูหนังสือเพื่อประโยชนของเธอเอง

ข. เขาเตรียมตัวพรอมที่สุด สําหรับการสอบคราวนี้

ค. ดวยความตั้งใจจริง ดังนั้น เขาจึงสมหวังกับผลการสอบ

ง. เขาเตรียมตัวสอบเหมือนเลน ๆ

๑๕. คําใดเหมาะสําหรับเติมชองวางในประโยคตอไปนี้

เหตุการณตาง ๆ ที่เกิดขึ้น..................บุคคลแตละคนยอมไมเหมือนกัน

ก. กับ ข. แก

ค. แต ง. ตอ

Page 27: Thai Learning

๒๗

ขอปฏิบัติในการใชถอยคําราชาศัพท

คําในขอใดนํามาเติมลงในชองวางแลว ไดความชัดเจนและเหมาะสมที่สุด

๑๖. สีสังเคราะหที่ใสในอาหารเปนสารเคมีที่คนทําขึ้น ตองระวังวาสีสังเคราะหนั้นมี................หรือไมเมื่อ

กินเขาไป ดังนั้น คณะกรรมการอาหารและยาของทุกประเทศจึงตอง.............โดยประกาศวาสี

อะไรบางที่.......ใหเติมลงในอาหารได ถึงครานั้นก็ยังมีคน.......ฝาฝนเติมสีที่กินไมไดลงในอาหาร

ก. อันตราย ดูแล อนุมัติ เห็นแกตัว

ข. พิษภัย ควบคุม อนุญาต เห็นแกตัว

ค. พิษ กวดขัน อนุโลม มักงาย

ง. ภัย เขมงวด ยินยอม มักได

๑๗. เขา............วาเขาจะ...............สูเพื่อความ..............ของชาติและเขา.............อยูเชนนี้ไมเปลี่ยนแปลง

ก. ยันยืน ยืนกราน ยืนยง ยืนหยัด

ข. ยืนยัน ยืนหยัด ยืนยง ยืนกราน

ค. ยืนกราน ยืนหยัด ยืนยง ยืนยัน

ง. ยืนกราน ยืนยัน ยืนหยัด ยืนยัน

๑๘. ไปเยี่ยมคุณยายแลวอยาลืม.........ทุกขสุข

ก. สอบถาม ข. สืบถาม

ค. ไตถาม ง. ซักถาม

๑๙. หัวหนาคนงานเปนคนรางสูงผิว.....ใบหนา......แดดผม........คอนขางยาว กลามเนื้อแนนดูแข็งแรง

และสีหนา...........อยูตลอดเวลาทําใหดูนาเกรงขาม แตประหลาดที่เขาสามารถใชภาษาที่.........ได

ก. เกรียม, กราน, สละสลวย, เหี้ยมเกรียม, สลวย

ข. กราน, เกรียม, สลวย, เหี้ยมเกรียม, สละสลวย

ค. กราน, เหี้ยมเกรียม, สละสลวย, เกรียม, สละสลวย

ง. เกรียม, กราน, สลวย, เหี้ยมเกรียม, สละสลวย

๒๐. การชุมนุมประทวงครั้งนี้มีสวน............กับกบฏเมื่อเดือนกอน และทางการก็สืบทราบวาทานหัวหนา

พรรค..............อยูดวย

ก. เกี่ยวของ, เกี่ยวพัน ข. เกี่ยวพัน, เกี่ยวของ

ค. เกี่ยวพัน, พัวพัน ง. เกี่ยวของ, ผูกพัน

Page 28: Thai Learning

๒๘

การใชคําใหเหมาะสมกับระดับภาษา

๒๑. ขอใดใชภาษาระดับ “ทางการ” ตลอด

ก. วิชิตบอกขาพเจาวา ปจจุบัน บัณฑิตไมมีงานทําประมาณหาหมื่นคน

ข. วิชิตบอกฉันวา ตอนนี้ คนที่จบมหาวิทยาลัยแลววางงาน มีอยูราว ๆ คร่ึงแสน

ค. วิชิตบอบขาพเจาวา ขณะนี้ บัณฑิตตกงานกันประมาณหาหมื่นคน

ง. วิชิตบอกฉันวา ในยุคปจจุบันนี้มีคนจบมหาวิทยาลัยแลวเตะฝุนตกงานอยูประมาณครึ่งแสน

๒๒. ขอใดใชสํานวนโวหารโลดโผน เพื่อใหประทับใจ แตไมควรใชในการเขียนที่เปนทางการ

ก. เหตุการณที่ผมไดประสบ นับวานาสยดสยองยิ่ง

ข. ความประทับใจที่ผมไดรับ ยังคงตรึงใจผมอยูจนบัดนี้

ค. เหตุผลที่กลุมนักวิชาการยกมา นับวาถูกตองตามทฤษฎี

ง. ความสุขที่ผมไดรับจากการทองเที่ยว ชางสาหัสสากรรจจริง ๆ

๒๓. ขอใดใชภาษาไทยไดเหมาะสมแกบุคคล

ก. เขาจะเชิญพระ ๕ รูป มาฉันเพลที่บาน

ข. “ นักเรียน กรุณานั่งเงียบ ๆ ”

ค. ประธานาธิบดีสหภาพโซเวียต ถึงแกอนิจกรรมแลว

ง. สมเด็จพระสังฆราช เสด็จมาประทานพระโอวาท แก ภิกษุใหม

๒๔. ขอความที่วา “เชิญเสด็จลงมาไดแลว อาหารตั้งโตะพรอมแลว” จัดเปนภาษาระดับใด เหมาะสมหรือไม

ก. ระดับสนทนา ไมเหมาะสม

ข. ระดับพิธีการ ไมเหมาะสม

ค. ระดับกึ่งทางการ ไมเหมาะสม

ง. ระดับกันเอง ไมเหมาะสม

๒๕. จากขอ ๒๔ จะแกไขใหเหมาะสมกับภาษากึ่งทางการ ควรใชขอใด

ก. เชิญเสด็จลงไดแลว อาหารเทียบโตะพรอมแลว

ข. ลงมารับประทานอาหารไดแลวจะ อาหารพรอมแลว

ค. มารับประทานอาหารกันเถอะ อาหารจัดไวพรอมแลว

ง. มากินขาวได อาหารพรอมแลว

Page 29: Thai Learning

๒๙

๒๖. ขอใดใชราชาศัพทคําวา “อุปถัมภ” ไมถูกตอง

ก. สมาคมแพทยสตรีแหงประเทศไทย ในพระชินูปถัมภของสมเด็จพระนางเจาพระบรมราชินนีาถ

ข. สมาคมวางแผนครอบครัว ในพระราชูปถัมภของสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี

ค. มูลนิธิสายใจไทย ในพระราชูปถัมภของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

ง. มูลนิธิโรคไต ในพระอุปถัมภของสมเด็จพระเจาพี่นางเธอ กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร

๒๗. ในการแตงฉันทสดุดีพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว จะตองลงทายคําประพันธที่แตงเรียบเรียงแลวตาม

ขอใด

ก. ควรมิควรแลวแตจะทรงพระกรุณาโปรดเกลาโปรดกระหมอม

ข. ดวยเกลาดวยกระหมอม ขอเดชะ

ค. ขอเดชะ พระบารมีปกเกลาปกกระหมอม

ง. พระบารมีปกเกลาปกกระหมอม ขอเดชะ

๒๘. คําราชาศัพทที่ถูกตองของคําวา ภาพวาด ของพระมหากษัตริยคือขอใด

ก. พระบรมรูปสาทิสลักษณ ข. พระบรมรูปฉายาลักษณ

ค. พระบรมสาทิสลักษณ ง. พระบรมฉายาลักษณ

๒๙. การเขียนจดหมายถึงพระภิกษุ ควรใชคําขึ้นตนและคําลงทายในขอใด

ก. นมัสการ ขอเจริญพรดวยความเคารพ

ข. นมัสการ ขอนมัสการดวยความเคารพ

ค. เจริญพร ขอเจริญพรดวยความเคารพ

ง. เจริญพร ขอนมัสการดวยความเคารพ

๓๐. ขอใดใชราชาศัพทคําวา ตาย สําหรับสมเด็จพระสังฆราชไดถูกตอง

ก. ส้ินชีพิตักษัย ข. ส้ินพระชนม

ค. ทิวงคต ง. ถึงแกพิราลัย

Page 30: Thai Learning

๓๐

Page 31: Thai Learning

๓๑

Page 32: Thai Learning

๓๒

๒.๑ โครงสรางของประโยค

๒.๒ การจําแนกประโยค

๒.๓ การผูกประโยค

ประโยคอาจพิจารณาไดทั้งในแงโครงสราง ลักษณะการเรียงคํา การแสดงเจตนา การจะนําประโยค

ไปใชส่ือสารจําเปนตองรูหลักการผูกประโยคที่ถูกตองสาระการเรียนรูโครงสรางของประโยคแบบตาง ๆ

ลักษณะการเรียงคําในประโยค ประโยคกับเจตนา และหลักการผูกประโยค

๑. อธิบายโครงสรางของประโยคแบบตางๆ ได

๒. อธิบายลักษณะการเรียงคําของประโยคได

๓. จําแนกประโยคตามเจตนาได

๔. อธิบายหลักการผูกประโยคได

๕. ตรวจและแกไขประโยคที่บกพรองได

Page 33: Thai Learning

๓๓

ประโยค คือ ถอยคําที่มีเนื้อความครบบริบูรณ เนื้อความครบบริบูรณหมายความวาจะตองมี

องคประกอบครบถวนทั้งภาคประธานและภาคแสดง

๑. ภาคประธาน หมายถึง สวนที่เปนผูแสดงกิริยาหรืออาการใหปรากฏ เปนสวนที่ถูกกลาวอางขึ้นกอน

เพื่อใหผูฟงเขาใจแตเริ่มแรกวาอะไรเปนขอสําคัญ โดยมากเปนคํานาม เชน ชาง มา ปลา ปู นายทหาร พระเจากรุง

จีน ฯลฯ หรือเปนคําสรรพนาม เชน พวกเรา ขาพเจา ทาน เขา มัน ฯลฯ

๒. ภาคแสดง หมายถึง สวนที่แสดงอาการของประธาน เชน

ปลาตายลอยน้ําเปนแพ

พระเจากรุงจีนเสด็จประพาสตางประเทศ

จระเขตัวเล็กๆ กําลังกินไกตัวเขื่องอยางเอร็ดอรอย

ฯลฯ

โครงสรางพืน้ฐานของประโยค จึงประกอบดวย

ภา

ประโยคบางประโยค อาจไมมีบทกรรมก็ได

ภาคแสดง ภาคประธาน

บทประธาน บทกริยา

บทขยายประธาน

บทขยายกริยา

บทกรรม

บทขยายกรรม

Page 34: Thai Learning

๓๔

ประโยคที่มีทั้งบทประธาน กริยา กรรม เชน

“จระเขตัวเล็กๆ กําลังกินไกบานตัวเขื่องอยางเอร็ดอรอย”

บทประธาน คือ จระเข

บทขยายประธาน คือ ตัวเล็กๆ

บทกริยา คือ กําลังกิน

บทขยายกริยา คือ อยางเอร็ดอรอย

บทกรรม คือ ไกบาน

บทขยายกรรม คือ ตัวเขื่อง

ประโยคที่ภาคแสดงไมมีบทกรรม เชน

“ปลาตายลอยน้ําเปนแพ”

บทประธาน คือ ปลา

บทกริยา คือ ตาย

บทขยายกริยา คือ ลอยน้ําเปนแพ

ประโยคภาษาไทย จําแนกออกไดดังนี้ ก. จําแนกตามลักษณะโครงสราง แยกเปน ๓ ชนิด คือ ประโยคความเดียว ประโยคความรวม และประโยคความซอน

(๑) ประโยคความเดียว หมายถึง ประโยคที่มีขอความอันบริบูรณบรรจุอยูเพียงหนึ่งขอความ

เทานั้น (ประโยคชนิดนี้ตําราหลักภาษาไทยแตเดิมเรียกวา เอกัตถประโยค)

เชน “นายทหารจองดูวัตถุประหลาดชิ้นนั้น”

บทประธาน คือ นายทหาร

บทกริยา คือ จองดู

บทกรรม คือ วัตถุประหลาดชิ้นนั้น

Page 35: Thai Learning

๓๕

(๒) ประโยคความรวม หมายถึง ประโยคที่รวมเอาประโยคความเดียว ๒ ประโยคเขาดวยกัน

โดยมีคําสันธานเชื่อมระหวางประโยคทั้งสองนั้น ประโยคชนิดนี้คําภาษาไทยแตเดิมเรียกวา อเนกัตถประโยค

แปลวา ประโยคที่มีขอความอันบริสุทธิ์มากกวาหนึ่งขอความ

“เขาตอวาฉันกอน ฉันจึงตอบโตเขาบาง”

ประโยคความเดียวที่ ๑ เขาตอวาฉันกอน

คําเชื่อม จึง

ประโยคความเดียวที่ ๒ ฉันจึงตอบโตเขาบาง

“นายทหารจองดูวัตถุประหลาดชิ้นนั้น ในขณะที่พลทหารทุกคนขึ้นลําปน”

ประโยคความเดียวที่ ๑ นายทหารจองดูวัตถุประหลาดชิ้นนั้น

คําเชื่อม ในขณะที่

ประโยคความเดียวที่ ๒ พลทหารทุกคนขึ้นลําปน

(๓) ประโยคความซอน หมายถึง ประโยคซึ่งประกอบไปดวยประโยคหลักหรือประโยคสําคัญ

และมีประโยคยอยซึ่งเปนประโยคความเดียวซอนอยู ประโยคยอยที่ซอนอยูอาจทําหนาที่เปนประธาน

บทขยายประธาน กรรม หรือบทขยายกรรมของประโยคหลัก (ประโยคความซอนนี้ ตําราหลักภาษาไทยแต

เดิมเรียกวา สังกรประโยค ซึ่งแปลวา ประโยคที่แตงดวยประโยคยอยๆ อีกชั้นหนึ่ง ประโยคหลักซึ่งเปน

ประโยคสําคัญ เรียกวา มุขยประโยค ประโยคยอยซึ่งเปนสวนของประโยคหลัก เรียกวา อนุประโยค) เชน

“เขาสาดน้ําเขาไปในกรงที่สุนัขนอนอยู”

ประโยคหลัก คือ เขาสาดน้ําเขาไปในกรง

ตัวเชื่อม คือ ที่

ประโยคยอย คือ สุนัขนอนอยู

“เขาตอวาฉันโดยเขายังไมรูเหตุผลของฉัน”

ประโยกหลัก คือ เขาตอวาฉัน

ตัวเชื่อม คือ โดย

ประโยคยอย คือ เขายังไมรูเหตุผลของฉัน

ฯลฯ

Page 36: Thai Learning

๓๖

ข. จําแนกตามลักษณะการเรียงคํา การเรียงคําในประโยคไมจําเปนจะตองเรียงตามลําดับประธาน กริยา กรรม ทุกประโยคไป

บางครั้งอาจวางกรรมหรือกริยาไวหนาประโยคก็ได ประโยคที่มีประธานอยูตนประโยคเรียกวา ประโยค

กรรตุ เชน

จระเขกินคน

น้ําทวมกรุงเทพ ฯ

เงาของโลกกําลังบดบังดวงอาทิตย

ประโยคที่มีกริยาอยูตนประโยค เรียกวา ประโยคกริยา เชน

เกิดน้ําทวมครั้งใหญในป ๒๕๓๘

มีคนเสียชีวิตนับจํานวนรอยคน

ประโยคที่มีกรรมอยูตนประโยค เรียกวา ประโยคกรรม เชน

คนถูกจระเขกิน

กรุงเทพฯ ถูกน้ําทวม

การผูกประโยค คือ การนําคําตางๆ มาเรียบเรียงใหเปนขอความ นักศึกษาเคยทราบแลววา เราไม

สามารถสื่อสารไดโดยไมนําคํามาเรียบเรียงใหเปนประโยคกอน ประโยคที่ดีจะทําใหการใชภาษาเพื่อการ

ส่ือสารเปนไปอยางไดผล การผูกประโยคที่ดีมีขอควรคํานึงดังนี้

ก. การผูกประโยคใหชัดเจน ตองยึดหลักตอไปนี้

(๑) เรียงคําใหถูกที่ คือ ตองวางประธาน กริยา กรรม ใหตรงตามตําแหนงซึ่งจะทําไดโดยการ

ทําความเขาใจเรื่องประโยคแบบตางๆ ที่ไดอธิบายไวแลวตอนตนของบทนี้

(๒) ขยายความใหถูกที่ คือ การวางขอความที่จะขยายใหถูกที่ถาหากวางผิดจะทําใหเขาใจ

ประโยคผิดไปได เชน

“ไฟไดดับลงกอนที่ตลาดจะวอดดวยฝมือของคนขายหมู”

ขอความนี้ อานแลวทําใหเขาใจวา คนขายหมูเปนตนเหตุทําใหเกิดไฟไหมข้ึน

“ไฟไดดับลงดวยฝมือคนขายหมู กอนที่ตลาดจะวอด”

ขอความนี้ อานแลวทําใหเขาใจวา คนขายหมูเปนคนดับไฟกอนที่ไฟจะลุกลามไหมตลาด

Page 37: Thai Learning

๓๗

(๓) ใชขอความที่ผูกขึ้นเปนลักษณะภาษาไทย คือ ไมเลียนแบบการผูกประโยคแบบ

ภาษาตางประเทศ

ตัวอยางขอความที่ผูกประโยคเลียนแบบภาษาตางประเทศ เชน

“ธงไชย มาในชุดสีน้ําเงินเขม”

“หลอนปรากฏตัวข้ึนพรอมกับดอกไมชอใหญ

“นายอํานาจพบตัวเองอยูในหองพยาบาล”

“รัฐบาลถูกควบคุมโดยรัฐสภา”

“พรรคอาณาจักรไทย ภายใตการนําของพลเอกไชโยกาํลังไดรับความนิยมจากประชาชน

(๔) ประโยคตองมีใจความสมบูรณ ประโยคที่ใจความไมสมบูรณคือ ประโยคที่ขาดสวนใด

สวนหนึ่ง เชน ขาดประธาน ขาดกริยา ขาดกรรม (ในประโยคที่ตองการกรรม) ขาดคําเชื่อม เปนตน เชน

“ตนไมที่ปลูกตามทองถนนมีสวนชวยลดอากาศเปนพิษโดยดูดอากาศเสียไปและ

คายออกซิเจน ทําใหส่ิงแวดลอมมีคุณภาพ”

ถาสังเกตจะเห็นวา ขอความนี้บางสวนหายไป ทําใหขาดใจความที่สมบูรณ ซึ่งขอความที่

สมบูรณ ควรเปนดังนี้

“ตนไมที่ปลูกไวตามทองถนนมีสวนชวยลดอากาศเปนพิษโดยดูดอากาศเสียขาไป และคาย

ออกซิเจนออกมา ทําใหส่ิงแวดลอมมีคุณภาพดีขึ้น”

(๕) เวนวรรคตอนใหถูกที่ การเวนวรรคตอนที่ไมถูกตอง อาจทําใหเกิดความเขาใจสับสนได เชน

“วันนี้ผมมารับประทานอาหารดวย ไมไดนัดหมอไว”

“วันนี้ผมมารับประทานอาหารดวยไมได นัดหมอไว” (๖) ประโยคตองมีขอความชัดเจน ไมกํากวม ประโยคกํากวม คือ ประโยคที่ฟงแลวเขาใจไดมากกวา ๑ ประเด็น เชน

“มงคลสนิทกับเมทินีนองสาวของวนิดาที่เปนนักรอง”

ขอความขางตนนี้ ผูที่ไดอานหรือไดยินแลวไมอาจเขาใจไดชัดเจนวา เมทินีหรือวนิดา เปน

นักรอง

นอกจากนี้ ประโยคกํากวมยังหมายถึง ประโยคที่ฟงแลวไมสามารถเขาใจไดชัดเจนวา

หมายถึงอะไรดวย เชน

“กรมพละเผย ไดทีมนักเตะเด็กแลว”

Page 38: Thai Learning

๓๘

คําวา “นักเตะเด็ก” อาจเขาใจกันในกลุมของผูสนใจขาวกีฬาหมายถึง นักฟุตบอลเยาวชน

หรือนักฟุตบอลเด็ก แตผูที่ไมไดอยูในวงการกีฬาฟุตบอล อาจไมเขาใจวาหมายถึง คนกลุมใดก็ได ข. การผูกประโยคใหกระชับรัดกุม ประโยคที่ไมกระชับรัดกุมคือ ประโยคที่มีคําฟุมเฟอย ซ้ําซาก คําที่ฟุมเฟอย หมายถึง คําที่ตัดออก

ไดโดยประโยคนั้นไมเสียความ เชน

“อุบัติเหตุคร้ังนี้ทําใหผูโดยสาร ๑๘๑ คน เสียชีวิตทั้งหมด

ไมมีใครรอดชีวิตมาไดแมแตคนเดียว”

“เขาใชเทาถีบประตูสุดแรง”

“หมูบานนี้อยูใกลชิดกับธรรมชาติมาก บางวันเราจะเห็นกวางปาเปนๆวิ่งเขามาในสนามหญา

หนาบาน”

“การที่นายกรัฐมนตรีผูเปนหัวหนาของรัฐบาล จะไปเยือนตางประเทศบางก็เปนเรื่องของความ

ปรกต ิธรรมดา ไมแปลกประหลาดแตอยางใด”

ขอความขางตนนี้ หากตัดคําหรือกลุมคําที่ขีดเสนใตออกก็ยังคงไดใจความเทาเดิม

ค. การผูกประโยคใหถูกตอง การผูกประโยคใหถูกตองจะตองหลีกเลี่ยงขอบกพรองตอไปนี้

(๑) ใชคําผิดความหมาย เชน

“งานโฆษณาชิ้นนี้ทําใหยอดขายพุงกระฉูดขึ้นทันตาเห็น”

ขอความนี้ช้ําคําผิดความหมายเพราะ “กระฉูด” หมายความวา “พุงออกไป”

และใชไดกับของเหลวเทานั้น

“ฉันไมชอบที่นี่เลย ยุงชุกชุมมาก”

ขอความนี้ใชคําผิดความหมาย ตองใชคําวา “ยุงชุม”

(๒) ใชคําผิดระดับบุคคล เชน

“พระครูวินัย รองเจาอาวาสวัดนี้ถึงแกอนิจกรรมแลว”

ขอความนี้ใชคําผิดระดับบุคคล เพราะคําวา “ถึงแกอนิจกรรม” ใชกับฆราวาสที่เปน

ขาราชการชั้นสูง คําวา “ตาย” สําหรับ พระภิกษุตองใชวา “มรณภาพ”

(๓) ใชคําตางระดับกับคําอ่ืนในประโยค เชน

“สามีควรรักและไววางใจหญิงที่ไดชื่อวาเปนเมียของตน”

ขอความนี้ใชคําไมเปนระดับเดียวกัน เมื่อใชคําวา “สามี” ก็ควรใชคําวา “ภรรยา” ใหเขา

ระดับกัน

Page 39: Thai Learning

๓๙

๑. ขอความตอไปนี้ สวนใดเปนภาคประธาน สวนใดเปนภาคแสดง

“ทุกคนพยายามจองดูเงามืดบนดวงอาทิตย”

ตอบ

๒. ขอความตอไปนี้ สวนใดเปนประโยคความซอน สวนใดเปนประโยคความรวม และสวนใดเปนประโยค

ความเดียว แยกออกใหเห็นชัด

“ขาวโจรปลนรถไฟและเจาหนาที่รถไฟถูกยิงตายแพรกระจายไปอยางรวดเร็ว”

ตอบ

๓. ประโยคที่ไมกระชับรัดกุมเปนอยางไร อธิบายพรอมกับยกตัวอยางมา ๓ ประโยค

ตอบ

แบงนักเรียนเปนกลุม กลุมละ ๔-๕ คน ชวยกันรวบรวมประโยคที่บกพรองตอไปนี้

จากหนังสือตางๆ โดยใชเวลารวบรวม ๑ เดือน แลวนํามาแกไขใหถูกตอง

๑. ขอบกพรองจากการใชลักษณะนาม

๒. ขอบกพรองจากการใชสรรพนาม

๓. ขอบกพรองจากการใชคําเชื่อม (บุพบท, สันธาน)

๔. ขอบกพรองจากการใชคําผิดความหมาย

๕. ขอบกพรองจากการใชคําผิดระดับ

Page 40: Thai Learning

๔๐

แบบฝกหัด คําสั่ง เลือกตัวเลือกที่ถูกตองที่สุด

๑. ขอใดเปนประโยค

ก. กระเปาเล็กในกระเปาใหญ ข. มีน้ําทวมที่ถนนจรัญสนิทวงศ

ค. จานแกวบนโตะอาหารในหอง ง. นองที่สอบคัดเลือกทุกคน

๒. ประโยคใดเปนประโยคความรวม

ก. ไมมีดอกไมใดที่ไมรวงโรย ข. เขาเอามือปองตะเกียงเพื่อใหเห็นเปลวไฟ

ค. ชีวิตยอมลวงลับไปเหมือนเข็มนาฬิกา ง. ฉันมีกระตายตัวหนึ่ง ซึ่งมีขนยาวปุกปุย

๓. ขอใดมีโครงสรางของชนิดประโยค แตกตางจากขออ่ืน

ก. ผูหญิงรูวาตนตองการอะไร แตโอกาสยังไมเปดสําหรับทุกคนทั่วถึงกัน

ข. ผูหญิงไดรับการเตรียมตัวเพื่อจะเปนเมีย และแมมานานแลว

ค. คนญี่ปุนเปนพวกมีจิตธุรกิจ จึงเห็นวาการแตงงานตั้งครอบครัวเปนธุรกิจอยางหนึ่ง

ง. ลักษณะอันพึงประสงคของผูหญิงไทยเปนไปตามความตองการของผูชายไทยมานานแลว

๔. ประโยคในขอใด แสดงวาไดรับอิทธิพลจากภาษาอังกฤษ

ก. พอโดยสารรถไฟไปสงขลา

ข. หนังสือที่ฉันซื้อมา อานเขาใจงาย

ค. เมื่อไปถึงที่นั่น ไดรับการตอนรับจากชาวบานอยางอบอุน

ง. ครูแนะนําใหอานหนังสือนอกเวลา เร่ือง นิทานเวตาล

๕. ขอใดไมใชสํานวนตางประเทศ

ก. เขาถูกจับไปเรียกคาไถ

ข. เธอพบตัวเองนั่งอยูคนเดียวในหอง

ค. เขาปรากฏตัวขึ้นที่สโมสร พรอมกับขนมหลายถุง

ง. เราควรรักษาไวซึ่งความมีวัฒนธรรมของคนไทย

Page 41: Thai Learning

๔๑

๖. ประโยคในขอใดที่ไมไดรับอิทธิพลจากภาษาตางประเทศ

ก. ประเทศไทยสงออกขาวปละหลายแสนตัน

ข. เมื่อลืมตาขึ้น เขาก็พบตัวเองอยูในหองพยาบาล

ค. สามารถซอนราง อยูในเสื้อคลุมสีทอง

ง. เขาถูกคัดชื่อออกจากโรงเรียน

๗. ขอใดเปนประโยคที่สมบูรณ

ก. คนมีน้ําใจและร่ํารวยเงินทอง

ข. ดอกไมที่สวยงามและนานในฤดูหนาว

ค. ลูกหมาตัวเล็กๆ ที่นาอุมตัวนั้น

ง. ลูกขาวเหนียวหมายถึงลูกอีสาน

๘. ประโยคในขอใดมีใจความสมบูรณ

ก. การที่คนไทยชอบทําอะไรตามใจตนเอง ขาดระเบียบวินัย และไมใหความสําคัญแกกฎเกณฑและ

กติกาบานเมืองปรากฏอยูเสมอ

ข. ส่ิงที่เขาเชื่อเพราะในสมัยนั้นไมวาใครก็ตามที่เกิดในร้ัวในวังยอมไดรับอิทธิพลของสิ่งแวดลอมจน

ไมเปนตัวของตัวเอง

ค. เร่ืองตางๆ ในวารสารฉบับนี้ ทั้งดานประวัติศาสตร ศิลปะและประเพณีของสุโขทัยในอดีต

ง. การคุมครองแรงงานเด็กนอกเหนือจากที่กลาวนี้ ใชกฎหมายฉบับเดียวกับกฎหมายคุมครอง

ผูใหญ

Page 42: Thai Learning

๔๒

Page 43: Thai Learning

๔๓

Page 44: Thai Learning

๔๔

๓.๑ ภาษาที่ใชในงานธุรกิจ

๓.๒ แนวทางการใชภาษาไทยเพื่อการสื่อสารทางธุรกิจ

การใชภาษาไทยทางธุรกิจควรเนนการใชภาษาที่ถูกตองตามหลักไวยากรณทั้งการเลือกใชคําและ

คําศัพทรวมทั้งระดับของภาษา

๑. บอกลักษณะใชภาษาไทยทางธุรกิจได

๒. บอกความหมายของศัพทธุรกิจได

๓. จําแนกระดับภาษาไทยและใชไดถูกตอง

๔. ใชประโยคไดถูกตองรัดกุมเพื่อส่ือสารธุรกิจได

Page 45: Thai Learning

๔๕

การใชภาษาไทยเพื่อการสื่อสารทางธุรกิจ แมจะมีหลักการและวัตถุประสงคเชนเดียวกับการใช

ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารโดยทั่วไป แตการดําเนินธุรกิจมีเร่ืองผลประโยชนเขามาเกี่ยวของ จึงจําเปนตองใช

ความระมัดระวังมากเปนพิเศษ เพราะมิฉะนั้นผูอานอาจไมเขาใจหรือมีทัศนคติไมดีตอผูสงสารหรือไม

สามารถปฏิบัติตามไดอยางถูกตอง ก็จะทําใหการดําเนินธุรกิจลาชาไมบรรลุวัตถุประสงค

การใชภาษาเพื่อการสื่อสารธุรกิจจะบรรลุวัตถุประสงคไดดีที่สุด ผูเขียนตองใชภาษาใหไดตรง ถูกตอง

ชัดเจน เหมาะสม ทั้งนี้โดยคํานึงถึงโอกาสและบุคคลที่เราจะติดตอธุรกิจดวย

๑. กะทัดรัด หมายถึง การใชถอยคําที่นอยที่สุด ใหครอบคลุมความหมายมากที่สุด เชน เยาวชนจะ

บรรลุนิติภาวะเปนผูใหญตามกฎหมายเมื่ออายุยี่สิบป

จะเห็นไดวา ขอความนี้ขาดความกะทัดรัด ถาหากจะใหกะทัดรัดอาจจะเขียนอยางใดอยางหนึ่ง

ตอไปนี้

(ก) เยาวชนจะบรรลุนิติภาวะเมื่ออายุยี่สิบป

(ข) เยาวชนจะเปนผูใหญตามกฎหมายเมื่ออายุยี่สิบป

๒. ชัดเจน ภาษาที่ใชในงานธุรกิจตองชัดเจนคือ ตองใหผูรับสารเขาใจหรือปฏิบัติไดอยางถูกตอง

เชน การเขียนจดหมายสั่งซื้อสินคา ผูเขียนตองบอกชื่อสินคา รุน แบบ จํานวน วันกําหนดสง วิธีการรับ

วิธีการสง การชําระเงิน ฯลฯ เพื่อใหผูรับจดหมายเขาใจไดถูกตอง

๓. ถูกตอง ภาษาที่ใชในงานธุรกิจจะตองถูกตอง ทั้งเรื่องการใชคําสํานวน การเรียงคํา และการใช

ประโยค หากเปนการเขียนตองระวังเรื่องการสะกดการันต การใชเครื่องหมายวรรคตอน และอักษรยอดวย

ส่ิงที่ตองระวังในการใชภาษาในงานธุรกิจอีกอยางหนึ่งก็คือ การเขียนหรือการออกเสียงชื่อบุคคล

สถาบัน บริษัท ฯลฯ ที่เกี่ยวของใหถูกตอง หากผิดพลาดจะแสดงใหเห็นวาฝายผูสงสารมิไดใหความสําคัญ

แกผูรับสารอยางแทจริง

๔. สุภาพ ภาษาที่ใชในงานธุรกิจตองสุภาพ ไมใชถอยคําที่แสดงความขุนเคือง กาวราว หรือแสดง

ทาทีที่ขาดไมตรีจิต

๕. เหมาะสม ภาษาที่ใชในงานธุรกิจ ตองใชใหไดถูกตองตามระดับ โดยคํานึงถึงบุคคลผูรับ โอกาส

และจุดมุงหมายของการติดตอส่ือสาร

Page 46: Thai Learning

๔๖

ในรายวิชานี้นักศึกษาจะไดเรียนเกี่ยวกับการใชภาษาไทยเพื่องานธุรกิจตามลักษณะดังกลาว

ขางตน เปนลําดับไป

การสื่อสารทางธุรกิจตองการความรวดเร็ว ถูกตอง และครบถวน ดังนั้น การใชภาษาในทางธุรกิจ จึง

เนนความถูกตองของถอยคํา ความกะทัดรัด กระชับรัดกุมของสํานวนโวหาร แตขณะเดียวกันก็แฝงลักษณะ

ใหเกียรติผูรับสารดวย

การที่จะใชถอยคําสํานวนในการสื่อสารทางธุรกิจใหไดผลตามความประสงคควรปฏิบัติดังนี้ ๓.๒.๑ ทําความเขาใจศัพทธุรกิจและเลือกใชใหถูกตอง ศัพทธุรกิจหมายถึงศัพทที่ใชส่ือความหมายกันเฉพาะกลุมผูประกอบอาชีพธุรกิจ ศัพทธุรกิจ

ในปจจุบันอาจแบงไดดังนี้

ก. คําทับศัพท คือ คําศัพทภาษาตางประเทศที่ใชในงานธุรกิจ สวนใหญเปนคําที่มาจาก

ภาษาอังกฤษ และภาษาจีน คําเหลานี้แมมีความหมายทางภาษาไทยแตนักธุรกิจก็นิยมใชคําทับศัพท

มากกวา อาจจะเปนเพราะมีความกะทัดรัด และมีความหมายเปนที่เขาใจอยูแลว เชน คําที่มาจากภาษาอังกฤษ

คําภาษาอังกฤษ คําทับศัพททีใ่ช ความหมาย

agent เอเยนต ตัวแทนจําหนาย

credit เครดิต อํานาจในการกูยืมเงินจาก

สถาบันหนึ่งสถาบันใด

Cheque เช็ค ใบรับจายเงิน

take over เทคโอเวอร ครอบครองกิจการ

showroom โชวรูม หองแสดงสินคา

ฯลฯ

Page 47: Thai Learning

๔๗

คําที่มาจากภาษาจีน ภาษาจีน ความหมาย

โสหุย คาใชจาย

เซง โอนกิจการใหคนอื่นโดยไดคาตอบแทน

แปะเจี๊ยะ เงินกินเปลา

ยี่ปว ตัวแทนจําหนาย

ยี่หอ เครื่องหมายการคา

ข. ศัพทบัญญัติ ศัพทบัญญัติทางธุรกิจ หมายถึง คําภาษาตางประเทศ (โดยเฉพาะอยางยิ่ง

ภาษาอังกฤษ) ที่คณะกรรมการบัญญัติศัพทของราชบัณฑิตยสถานไดกําหนดคําซึ่ง ตรงกับความหมายเดิม

แลวประกาศใหประชาชนไดใชกันทั่วไป เชน

อุตสาหกรรม industry

ธนาคาร bank

การสงออก export

การนําสินคาเขา import

รัฐวิสาหกิจ state enterprise

กรมธรรม policy

ฯลฯ

ค. ศัพทแปล คือ ศัพทธุ รกิจที่แปลมาจากภาษาตางประเทศ (โดยเฉพาะอยางยิ่ ง

ภาษาอังกฤษ) เปนคําภาษาไทยและนิยมใชในวงการธุรกิจ เชน

trade mark แปลเปนไทยวา เครื่องหมายการคา

common market “ ตลาดรวม

monopoly “ ผูกขาด

private sector “ ภาคเอกชน

value add tax “ ภาษีมูลคาเพิ่ม

World Trade Organization “ องคการคาโลก ฯลฯ

ฯลฯ

Page 48: Thai Learning

๔๘

ง. คําแปลและคําทับศัพท คือ ศัพทธุรกิจที่ใชไดทั้งที่เปนคําแปลและคําทับศัพท เชน

คําภาษาอังกฤษ คําทับศัพท คําแปล

bank แบงค ธนาคาร

agent เอเยนต ตัวแทน

overdraw (O.D) โอ. ดี. เบิกเงนิเกนิบญัช ี

value add tax (VAT) แวต ภาษีมูลคาเพิม่

trust ทรัสต บริษัทเงนิทุนหลักทรัพย

ฯลฯ

ในวงการธุรกิจ มีถอยคําที่ใชในความหมายเฉพาะที่อาจแตกตางไปจากวงการอื่น คําบางคํา

อาจมีความหมายใกลเคียงกันมาก แตก็ไมเหมือนกันและไมอาจใชแทนกันได จึงจําเปนที่จะตองตรวจสอบ

ความหมายของคําที่จะใชใหถูกตองวา คําที่จะใชนั้น มีความหมายในธุรกิจที่ตองสื่อสารนั้นวาอยางไร เพื่อ

จะไดใชคําที่มีความหมายถูกตองตรงกัน

การตรวจสอบความหมายของคําที่ใชในทางธุรกิจ อาจตรวจสอบไดจากแหลงตอไปนี้

(๑) พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน

(๒) ถาคํานั้นไมปรากฏในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตสถานอาจตรวจดูไดจากพจนานุกรม

ศัพทสําหรับวิชาชีพเฉพาะสาขา เชน วิศวกรรมศาสตร สถาปตยกรรมศาสตร แพทยศาสตร เกษตรศาสตร ฯลฯ

(๓) หากคํานั้นไมปรากฏในสองแหลงดังกลาว อาจตรวจสอบและดูแบบอยางการใชคํา

จากเอกสารของทางราชการ

(๔) หากคํานั้นไมปรากฏในแหลงทั้งสามขางตน อาจดูแบบอยางการใชคํานั้นจากเอกสาร

เจาของสินคาหรือบริการ หรือผูจัดจําหนายจัดทําขึ้น เชน จดหมายเชิญชวน แผนพับ ฯลฯ

(๕) แหลงสุดทายที่จะใชตรวจสอบไดคือส่ือมวลชน เชน หนังสือพิมพ โทรทัศน

๓.๒.๒ หลักการใชคําใหถูกตองตามหลักภาษาไทย

Page 49: Thai Learning

๔๙

การใชคําใหถูกตองตามหลักภาษาไทย ควรทําความเขาใจในเรื่องตอไปนี้ ๑) การใชลักษณะนาม ลักษณะนาม คือ คําตามหลังจํานวน และถือวาบอกลักษณะของนามที่อยูขางหนา คํา

ลักษณะนามมีขอกําหนดใหใชตามความนิยมที่สืบทอดกันมาจะใชตามใจชอบไมได เชน จะพูดวา “ปากกา

หลายแทง” “เกาอี้หลายเลม” ฯลฯ ไมได เราจําเปนจะตองสังเกตการใชตามที่สังคมรับรอง คําลักษณะนามมีที่ใชดังนี้ (๑) ใชตามหลังคํานามเพื่อบอกประมาณ หรือจํานวนนับ เชน

“ในหองนี้มีนักเรียน ๓๐ คน”

“เขาแบกไมไผมาคนละ ๒ ลํา”

“ในปอมมีปนใหญติดตั้งไว ๘ กระบอก”

“เราตองใชนํามันหลอล่ืนถึง ๑๒ แกลอน”

“มีการแบงชางศิลปของไทยออกเปน ๑๐ หมู”

ฯลฯ

(๒) ใชตามหลังคํานาม เมื่อตองการจะเนนคํานามนั้น เชน

ละครคณะนี้แสดงดีมาก

ผาผืนนั้นสีสวย

กฎหมายบางฉบับไมมีผลในทางปฏิบัติ

หนังสือชุดนีใ้หความรูดีมาก

ฯลฯ ขอบกพรองในการใชลักษณะนาม ที่พบกันมากมีดังนี้ (๑) ไมใชลักษณะนาม การพูดหรือเขียนโดยไมใชลักษณะนาม มักพบในการเขียน

พาดหัวขาวหนังสือพิมพ เชน

“จับโจรปลนทองไดอีกสอง”

“อนุมัติต้ังธนาคารใหมอีกสาม”

“จระเขหลุดจากบอไปสิบกวา”

ฯลฯ

Page 50: Thai Learning

๕๐

(๒) ใชลักษณะนามผิดตําแหนงของคํา ปกติคําลักษณะนามจะใชตามหลังคํานามเพื่อ

บอกจํานวนนับหรือเพื่อเนนคํานามนั้น แตปรากฏวามีผูใชลักษณะนามตามหลังคําบอกจํานวนนับซึ่งพบใน

การเขียนพาดหัวขาวของหนังสือพิมพเชนกัน ดังตัวอยาง

“จับสามโจรปลนตลาดนัด”

“ส่ีรัฐมนตรียื่นใบลาออกแลว”

“สิบสองนักชกไทยไดรางวัลเหรียญทอง”

“ส่ีธนาคารใหญประกาศลดดอกเบี้ย”

ฯลฯ

(๓) ใชลักษณะนามผิดไปจากความนิยม เชน

“เขาซื้อปากกา ๓ อัน”

“หนาบานของกํานันเหมือนมีเกวียนจอดอยู ๓ คัน”

“มีปญหาหลายอยาง ทําใหรัฐบาลแกปญหาตลาดหุนไมได”

ฯลฯ

การใชลักษณะนามที่ถูก จะตองใช คําวา ดาม เลม และประการ ตามลําดับ

ตอไปนี้เปนตัวอยางคําลักษณะนามจําแนกตาม โอกาสที่ใช

Page 51: Thai Learning

๕๑

๑.๑) ลักษณะนามบอกชนิด

คําบอกลักษณะนาม โอกาสที่ใช

กระแส

ขนาน

ฉบับ

เชือก

ตน

ตัว

เถา

บท

ใบ

กลีบ

กอ

คัน

ซี่

ดวง

ตน

แถบ

รายงานขาว ขาว ฯลฯ

ยา โอสถ ฯลฯ

กฎหมาย กรมธรรม กฏบัตร คําแถลงการณ คําประทวง คําพิพากษา

คํารอง คําใหการ ฉลาก โฉนด เช็ค ฏีกา โทรเลข ตนฉบับ ธรรมนูญ

บันทึก บทบัญญั ติ ประกาศนียบัตร ประกาศ พจนานุกรม

พระราชบัญญัติ มรณบัตร ระเบียบการ ราชสาสน รัฐธรรมนูญ

สนธิสัญญา หมายคน ฯลฯ

ชางบาน

ยักษ ภูตผีปศาจ นักสิทธิ์ ฤาษี วิทยาธร ฯลฯ

สัตวตางๆ เชน กบ กระจิบ กระจอก เสือ แมว ชางปา ฯลฯ

ส่ิงของบางอยาง เชน เครื่องเรือน กระโปรง เสื้อ กางเกงหุนกระบอก

ไมเลื้อย เชน เถาวัลย ฯลฯ เครื่องใช เชน ปนโต

กาพย กลอน คาถา คํานํา คําประพันธ คําอธิบาย คําวิจารณ โคลง

ฉันท ทฤษฏี บทความ ฯลฯ

ภาชนะตางๆ เชน กระจก กระดง กระถาง กระโถน กระทาย กระปุก

กําปน แจกัน ชะลอม ถาด ทะนาน ฯลฯ

กลีบดอกไมทุกชนิด

กอไผ ผักตบ ฯลฯ

ของที่มีสวนสําหรับถือหรือลาก รูปยาวๆ เชน กระบวน คันเบ็ด รมฉัตร

ธนู หนาไม ชอนสอม แรว ไถ ฯลฯ หรือ รถหรือพาหนะ เชน รถยนต

รถจักรยาน ฯลฯ

ของเล็กยาวตั้งเรียงกันเปนแถว เชน ลูกกรง ซี่โครง ฟน ฯลฯ

ของที่เปนรอยกลม ๆ เชน รอยตางๆ เกลื้อน ฯลฯ ของที่มีแสง เชน

ตะวัน ดาว เดือน ไฟ ฯลฯ จิต วิญญาณ ไปรษณียากร ฯลฯ

ของที่เปนตน เชน ตนไมทุกชนิด เสา ซุง ฯลฯ

ของที่แบนแคบแตยาว

Page 52: Thai Learning

๕๒

คําบอกลักษณะนาม โอกาสที่ใช

แทง

บาน

ปาก

ปน

ผืน

แผน

ประการ

พระองค

ราย

รูป

เร่ือง

เลม

เลา

อัน

ของทึบหนามีรูปยาวๆ เชน เหล็ก ตะกั่ว ดินสอ ฯลฯ

ของเปนแผนที่มีกรอบ เชน ประตู หนาตาง กระจกเงา กรอบรูป ฯลฯ

เครื่องดักสัตว มีรูปเปนปากกวาง เชน แห อวน สวิง โพงพาง ฯลฯ

ของที่แบนกวางเปนพืดยาว เชน ดอกที่กวาง เลื่อย ฯลฯ

ของที่มีรูปแบบบาง กวางใหญ เชน ผา เสื่อ พรม หนังสัตว ที่ใชปู ฯลฯ

ของที่มีรูปแบน ๆ เชน กระดาษ กระดาน กระเบื้อง อิฐ ฯลฯ

พร ภัย เหตุผล ฯลฯ

ผูที่นับถืออยางสูง เชน พระพุทธเจา พระราชา เทวดา ผูเปนใหญ

เจานายชั้นสูง

ลูกคา พอคา คนใช เจาจํานํา เจาภาพ เจาหนี้ เจาทุกข อุบัติเหตุ ฯลฯ

รูปภาพตางๆ รูปวาด ฯลฯ

เร่ืองราว ขอความ คดีตางๆ ฯลฯ

กรรไกร ระแทะ เกวียน เข็ม หนังสือ มีด ส่ิว พาย ฯลฯ

ป ขลุย

ส่ิงของตางๆ รูปวาด ฯลฯ

๑.๒) ลักษณะนามบอกหมวดหมู-สมุหนาม

คําบอกลักษณะนาม โอกาสที่ใช

กอง

กลุม

โขลง

คณะ

ตับ

ทัพ ทหาร คนทํางานรวมกัน ของที่กองรวมกันไว เชน อิฐ ทราย กอง

ไฟ กองขยะ ฯลฯ

กลุมคน ฝูงชน ดายกลุม ไหม สายสิญจน ฯลฯ

ชาง

คนที่อยูในสํานักหนึ่ง หรือในหนาที่การงานอยางหนึ่งหรือในปกครอง

รวมกัน เชน คณะสงฆ คณะกรรมการ คณะลิเก ฯลฯ

ของที่ทําเรียงกันเปนพืด เชน จาก พลู ลูกปน ปลายาง ฯลฯ

Page 53: Thai Learning

๕๓

คําบอกลักษณะนาม โอกาสที่ใช

นิกาย

ผูก

ฝูง

พวก เหลา

พรรค

โรง

วง

หมู

นักบวชศาสนาเดียวกันที่แยกออกเปนพวกๆ

หนังสือใบลานที่ใชรอยหูไวมัดหนึ่ง

สัตวจําพวกเดียวกันที่ไปดวยกันเปนพวกๆ เชน ปลา นก ฯลฯ

คน สัตว ส่ิงของ ที่อยูรวมกันและมีลักษณะอยางเดียวกัน เชน นักเลง

นักเรียน กรรมกร สัตว ฯลฯ

พรรคการเมือง

ผูเลนมหรสพที่มีโรงเลน เชน ละคร โขน หนัง ลิเก ฯลฯ

คนชุดหนึ่งที่ลอมวงกัน เชน เตะตะกรอ เลนดนตรี เลนเพลง ดุริยางค

แตรวง มโหรี ฯลฯ

คน สัตว ส่ิงของ ที่อยูรวมกันเปนกลุมๆ

๑.๓ ลักษณะนามสัณฐาน

คําบอกลักษณะนาม โอกาสที่ใช

กอน

ลํา

กาน

วง

สาย

เสน

เสน

หลัง

ของที่มีรูปเปนกอน เชน กรวด หิน ดิน ถาน ฯลฯ

ของกลมยาวแตกลวง เชน ปลองไมไผ ขาวหลาม พลุ ไพฉาย ปน ฯลฯ

กานธูป กานไมขีด กานพลู ฯลฯ

ของกลมยาวที่มีปลองคั่น เชน ไมไผ ออย เรือทุกชนิด ฯลฯ

ของที่มีรูปเปนวง เชน แหวน กําไล ฯลฯ

ของที่เปนทางยาว เชน ถนน คู ทาง แมน้ํา สายบัว ฯลฯ

ของที่เปนเสนเล็กยาว เชน เชือก ลวด ดาย ฯลฯ

ของที่มีรูปเปนหลังคา เชน กระโจม กระทอม ปราสาท เรือน ตึก เกง

บุษบก มุง ฯลฯ

Page 54: Thai Learning

๕๔

๑.๔) ลักษณะนามที่บอกจํานวนและมาตร

คําบอกลักษณะนาม โอกาสที่ใช

กุลี

คู

โหล

ผาหอหนึ่งที่รวมกันมี ๒๐ ผืน

ของที่มีชุดละ ๒ ส่ิง เชน รองเทา ถุงเทา แจกัน เชิงเทียน ตางหู ฯลฯ

ของที่รวมกัน ๑๒ ส่ิง

ชื่อมาตรตางๆ

เชน สตางค สลึง เฟอง

บาท ชั่ง

เงิน

ชื่อมาตราวัด

นิ้ว ศอก คืบ เสน

โยชน เมตร

ของที่ใชวัด

ชื่อมาตราบอกเวลา

วินาที นาที ชั่วโมง

วัน สัปดาห เดือน ป

คําที่บอกระยะเวลา

ชื่อมาตราตวง

เชน ลิตร ทะนาน

ถัง เกวียน ฯลฯ

ของที่ใชตวง

ชื่อภาชนะตางๆ

เชน ชาม ถุง ตุม

ไห ขวด แกว

ชอน ถวย ฯลฯ

ของที่ตวงดวยภาชนะนั้น

๒) การใชคําเชื่อม คําเชื่อม คือ คําที่ใชเชื่อมคํากับคําหรือขอความกับขอความคําเชื่อมในภาษาไทยแตละคํา

มีที่ใชตางกันออกไป จะไดกลาวถึงคําเชื่อมที่ใชกันมากดังนี้

คําวา กับ ใชเชื่อมความบอกลักษณะอาการที่แสดงออกอยางเดียวกัน

Page 55: Thai Learning

๕๕

ดังตัวอยาง รัฐบาลกับพอคาทํางานรวมกัน

พอกับลูกไปดวยกัน

ฯลฯ

คําวา แก ใชกับคํากริยาตางๆ ไดดังนี้

(๑) คํากริยาที่มีความหมายวา ให เชน

เขาใหเงินแกฉัน

บิดามอบหนาที่แกบุตร

กษัตริยยกราชสมบัติใหแกพระโอรส

ฯลฯ

(๒) คํากริยาที่มีความหมายวา บอก เชน

เขาบอกแกฉันวา เขาไปเที่ยว

กรมอุตุนิยมวิทยาแจงแกประชาชนวาจะมีพายุใหญ

ฯลฯ

(๓) คํากริยาที่มีความหมายวา เกิด ปรากฏ มี อยู เจริญ เปน เชน

โรคเอดสเกิดแกพวกเขา

ผลรายปรากฏแกประชาชน

ความดีจงมีแกสาธุชน

บาปตกอยูแกคนทํา

ลาภยอมเจริญแกผูแสวงหา

พรรครวมรัฐบาลทําเชนนี้ เปนภัยแกตัวเอง

ฯลฯ

(๔) คํากริยาที่มีความหมายวา ทําโทษ ปรับ หรือทวงสิทธิ์ เชน

ครูทําโทษแกศิษย

ศาลลงอาญาแกจําเลย

ชาวบานเรียกคาเสียหายแกบริษัทกอสราง

ฯลฯ

Page 56: Thai Learning

๕๖

(๕) คํากริยาที่มีความหมายวา เหมาะ สม ควร สมควร เชน

ผลงานของเขาสมควรแกการไดรางวัล

พูดอยางนี้ควรแกคําตําหนิ

เสื้อตัวนี้ไมเหมาะแกคนผิวดํา

ฯลฯ

ขอสังเกต คํา “แก” และ คํา “กับ” มักใชปนกัน วิธีสังเกตก็คือ คําหรือขอความที่มี

คํา “แก” นําหนายอมทําหนาที่เปนผูรับ สวนคําหรือขอความที่มีคํา “กับ” นําหนา ยอมทํา

หนาที่ เปนเครื่องมือใชหรือเปนผูรวมกัน เชน

เร่ืองนี้เกี่ยวแกรัฐบาล หมายความวา รัฐบาลตองรับผิดชอบจัดการในฐานะเปนผูบริหาร

ประเทศ ฯลฯ แตไมไดรวมมือทําดวยเลย

เร่ืองนี้เกี่ยวกับรัฐบาล หมายความวา รัฐบาลรวมมือดวย ฯลฯ

คําวา เพื่อ ใชในความหมายวาตองการใหรับภายหนา เชน

เรารักษาทรัพยากรธรรมชาติไวเพื่อลูกหลานของเรา

นายกรัฐมนตรียอมลาออกเพื่อใหประเทศชาติพนภาวะวิกฤต ฯลฯ

คําวา ตอ ใชในความหมายวา รับตอหนาธารกํานัล หรือรับโดยเปดเผยโดยผู รับเปน

เจาหนาที่ เชน

ราษฎรยื่นเรื่องราวรองทุกขตอนายอําเภอ

รองนายกรัฐมนตรี เสนอตอที่ประชมุใหระงับการขึ้นภาษี

เร่ืองนี้ชาวบานจะรองเรียนตอผูวาราชการจังหวัดใหแกไข ฯลฯ

คําวา แต ใชในความหมายที่แสดงความขัดแยง หรือใจความไมไดไปในทิศทางเดียวกัน เชน

ครูไหวเปนคนปากรายแตใจดี

เธอหิวมาก แตไมยอมรับประทานอาหารที่เขาหามาให ฯลฯ

คําวา แต อาจใชในความหมายที่หมายถึง เคลื่อนที่มา ปรากฏทางมา เปนผลมาโดยยังไม

ขาดจากกัน เชน

น้ําไหลมาแตภูเขา

Page 57: Thai Learning

๕๗

สินคานี้สงมาแตประเทศอังกฤษ

ควันดําเกิดแตโรงงาน

เปนที่นาสังเกตวา ในปจจุบันนี้นิยมใชคําวา จาก แทนคําวา แต กันมากขึ้น เชน

น้ําไหลมาจากภูเขา

เสื้อตัวนี้สงมาจากประเทศอิตาลี

ควันดําเกิดจากโรงงาน ฯลฯ

คําวา จาก นอกจากจะใชในความหมายเกี่ยวกับคําวา แต ดังกลาวแลวยังใชเชื่อมความใน

ความหมายที่วา หางไกลออกไปพนกัน หรือพรากออกไปพนกัน เชน

เขาไปจากที่ทํางาน

บานที่ถูกไฟไหมอยูหางจากตลาด

ทานผูนี้พนจากตําแหนงรัฐมนตรีแลว

เด็ก ๆ ถูกพรากจากพอแม

เขารอดจากภัยน้ําทวมมาไดหวุดหวิด ฯลฯ

คําวา ใน ใชในความหมายบอกบริเวณภายใน หรืออยูใตความดูแล เชน

ส่ิงใดอยูในตู

มหาวิทยาลัยในความควบคุมของรัฐบาล ฯลฯ

คําวา ใน ใชกับกริยาที่เกี่ยวกับจิตใจไดดวย เชน

เขาหลงใหลในอํานาจและลาภยศ

นักศึกษาควรในใจในวิชาชีพของตน ฯลฯ

การใชคําเชื่อมอ่ืน ๆ ในภาษาไทยยังมีอีกมาก การหมั่นศึกษา ถามผูรู สังเกต และจดจําจะชวยให

ใชคําไทยไดถูกตอง สามารถสื่อสารทั้งกิจการทั่วไปและสื่อสารเพื่อการธุรกิจไดเปนอยางดี ๓.๒.๓ การใชถอยคําใหเหมาะสมกับระดับภาษา ระดับภาษา หมายถึง ความเหมาะสมในการใชภาษาความสัมพันธภาพ ของบุคคลโอกาส

และประชาชน โดยทั่วไปแบงการใชภาษาออกเปน ๓ ระดับคือ ภาษาระดับทางการ ภาษาระดับกึ่งทางการ

ภาษาระดับสนทนา

Page 58: Thai Learning

๕๘

ภาษาแตละระดับ ใชสําหรับโอกาสและสัมพันธภาพระหวางบุคคลตางกันดังนี้

ระดับภาษา โอกาส สัมพันธภาพระหวางบุคคล

ระดับทางการมีลักษณะ

เ ป น ง า น เ ป น ก า ร ต อ ง

ระมัดระวังการใชถอยคําให

ถูกแบบแผนธรรมเนียม

มากวาระดับอ่ืน

คํากราบบังคมทูล การกลาวใน

พิธีการ เชน การเปดประชุม

การกลาวตอนรับ การกลาว

สดุดี การบรรยายหรืออภิปราย

เปนทางการในที่ประชุม หรือ

ใช ในการ เขี ยนบทความที่

ปรากฏตอสาธารณชนอยาง

เปนทางการการประชุมที่ตอง

ทํ า เ ป น พิ ธี ก า ร ก า ร เ ขี ย น

หนังสือราชการ

เปนสัมพันธภาพที่มีตอกันอยาง

ทางการหรือเปนสัมพันธภาพที่

เปนดานธุรกิจหรืองาน แมวา

โ ด ย ส ว น ตั ว จ ะ มี ค ว า ม

สัมพันธภาพใกลชิด แตถาเปน

เ ร่ืองธุรกิจ หรืองานก็ตองใช

ภาษาระดับนี้ เชน ผูวาราชการ

จังหวัด มีหนังสือราชการไปถึง

นายกเหลากาชาดจังหวัด ซึ่ง

ระดับกึ่งทางการ ไมเปนทางการ (ระดับสนทนา)

การเขียนเอกสารติดตอธุรกิจ

การเขียนบทความทางวิชาการ

ใช ในการสนทนาระหว า ง

บุคคลในกลุมเล็ก ๆ ในสถานที่

และโอกาสที่ ไม ใช เปนการ

ส ว นตั ว ใ ช เ ขี ย นจดหมาย

ระหวางเพื่อนใชรายงานขาว

แ ล ะ เ ส น อ บ ท ค ว า ม ใ น

หนังสือพิมพ บางฉบับ รวมไป

ถึงการใชภาษาในครอบครัว

เพื่อนสนิท ในสถานที่เฉพาะ

เปนสัดสวนดวย

เปนภรรยาของตนเองก็ตองใช

ภาษาระดับทางการ เปนตน

บุคคลที่ใกลชิดถึงขั้นสนิทสนม

เพื่อน สนิท บุคคลในครอบครับ

ครอบครัวซึ่งในบางกรณีก็ตอง

รักษามารยาทดวยแตบางกรณี

ก็อนุญาตใหใชคําไดตามความ

สะดวกใจไดเชนกัน

Page 59: Thai Learning

๕๙

สมาคมการอานแหงประเทศไทย เปนสมาคมที่เปนเครือขายของสมาคม

การอาน นานาชาติซึ่งมีสํานักงานอยูที่มลรัฐแมรีแลนด ประเทศสหรัฐอเมริกา

สมาคมนี้มีสมาคมรวม ในเครือขายซึ่ง ต้ังอยูในที่ตาง ๆ ทั่วโลก กิจกรรมของ

สมาคมการอานแหงประเทศไทยในแตละปจะประกอบดวยการจัดฝกอบรม

สัมมนาใหแกผูสอนในระดับตาง ๆ จัดพิมพวารสาร การอานปละ ๒ เลม เพื่อแจก

ใหแกสมาชิก จัดประชุมวิชาการประจําปและรวมมือกับหนวยงานตาง ๆ อาทิเชน

ศูนยพัฒนาหนังสือกรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ ในการจัดกิจกรรม เพื่อให

ความรูความเขาใจเกี่ยวกับเร่ืองการอาน และการสงเสริการอาน ปจจุบันมีสมาชิก

จํานวน ๗๑๕ คน

ในบางครั้งบานเรามักสับสนกันอยูเสมอกับความหมายของการอนุรักษ

ธรรมชาติวามันคือการเก็บรักษาไวเพียงอยางเดียว

ซึ่งนั่นก็เทากับเราพยายามแยกคนออกจากธรรมชาติโดยสิ้นเชิง

ในที่สุด ก็จะไมเหลือคนที่รักและเห็นถึงคุณคาธรรมชาติเพียงพอและถาถึง

เวลานั้น เมื่อมีการทําลายธรรมชาติลงไปคร้ังใด ก็ไมมีผูคนมากมายพอที่จะชวยกัน

ตานกระแสนั้นไปได

เหนือส่ิงอื่นใด การสรางโอกาสใหเกิดความรักและความหวงแหนนั้นตอง

สรางใหเกิดขึ้นแกคนในทองถิ่น

ถามนุษยคือผูทําลายธรรมชาติ ทําไมจึงไมใหโอกาสมนุษยที่เหลืออีกฝายเปน

ผูตอตานการกระทํานั้นเลา

ตัวอยางการใชภาษาระดบัระดับกึ่งราชการ

ตัวอยางการใชภาษาระดบัทางราชการ

Page 60: Thai Learning

๖๐

“วาไงจะ ชื่ออะไร เรานะ อยูชั้นไหน”

“ชื่อทน”

“ออ ชื่อทน อยูชั้นไหนละ”

“อยูวัดปานี่แหละ อยูกับหลวงตาฟน”

ก็บอกไปตามความจริง ผูหญิงคนนีก้ลับยิ้ม เขาจะหวัเราะดวยซ้าํ ไมรูหัวเราะเรื่อง

อะไร

“เอาละ เปนอนัวาเธอชื่อทน อยูกับหลวงตาฟนทนีี้เธอเรยีนหนงัสือชั้นไหน”

“ไมไดอยูชั้นไหนหรอก ก็ขาไมไดเปนนักเรยีนนี”่

“อาว ไมไดเปนนกัเรียน ทําไมมายนืแถวนีล้ะ”

“อยากด”ู

“ดูอะไรกัน”

“ก็เพื่อนทีว่ัดเขามาเรียนกนัทุกคน เหลือขาอยูคนเดยีวมนัเลยเหงา”

“อยากเรียนไหมเลา”

“อยาก”

“ทําไมไมบอกพอแมใหพามาเขาโรงเรียนละ วนันีเ้ปดเทอม กลับไปบอกพอแมไป”

“ไมมีนี่ มีแตหลวงตา”

ตัวอยางการใชภาษาระดบัสนทนา

Page 61: Thai Learning

๖๑

ขอสังเกตเรื่องระดับภาษา

การแบงภาษาออกเปนระดับตาง ๆ เปนการฝกใหสังเกตการใชถอยคําใหเหมาะสมที่จะใชซึ่งเปน

เร่ืองเกี่ยวของกับวัฒนธรรมไทยของเรา ซึ่งมีการแสดงความนับถือซึ่งกันและกันตามระดับและมีการให

ความสําคัญในเรื่องของ “กาลเทศะ”ดวย

นอกจากการใชถอยคําใหเหมาะสมกับระดับภาษาโดยคํานึงถึงบุคคลและโอกาสดังกลาวแลว

ยังตองระวังการใชถอยคําใหเปนระดับเดียวกันตลอดขอความ ไมใชถอยคําตางระดับปะปนกันดวย

ตัวอยางของการใชคําตางระดับในขอความเดียวกัน ซึ่งควรหลีกเลี่ยง เชน

คําระดับเดียวกัน (ควรใช) คําตางระดับ (ไมควรใช)

๑. สามี ควรรักและไววางใจสตรีที่ไดชื่อวาเปน

ภรรยาของตน หรือ ผัวควรรักและไววางใจ

หญิงที่ชื่อวาเปนเมียของตนเสมอ

๒. แมอยากใหดิฉันเปนครู แตพออยากใหเปน

แพทย หรือ มารดาตองการใหดิฉันเปนครู

แตบิดาตองการใหดิฉันเปนแพทย

๓. สมาคมควรเปดการอบรมอาชีพตาง ๆ ที่

นาสนใจใหแกแมบาน เพื่อใหมีรายไดเสริม

และประสบการณเพิ่มข้ึน

ฯลฯ

๑. สามีควรรักและไววางใจหญิงที่ไดชื่อวาเปน

เมียของตน

๒. แมอยากใหดิฉันเปนครู แตบิดาตองการให

เปนหมอ

๓. สมาคมควรเปดการอบรม อาชีพตาง ๆ ที่

นาสนใจใหแกแมบาน เพื่อใหไดหาลําไพ

และประสบการณเพิ่มข้ึน

ฯลฯ

Page 62: Thai Learning

๖๒

๓.๒.๔ หลีกเลี่ยงการใชประโยคที่บกพรอง ประโยคที่บกพรองยอมใชส่ือสารไดไมเต็มที่ การใชประโยคใหถูกตองจึงเปนเรื่องสําคัญ การ

สอนภาษาไทยที่ใหความสําคัญตอการใชภาษา จึงถามเรื่องความบกพรองลักษณะตางๆ ของประโยคเสมอ ประโยคที่บกพรองมีหลายลักษณะ ดังนี้ ๑. ประโยคขาดความสมบูรณ คือ ประโยคที่ขาดบทประธาน หรือบทกรรม หรือบท

ขยายที่จําเปนตองมี เราจะพบขอบกพรองนี้ไดโดยการอานอยางพินิจพิเคราะห ดังตัวอยาง

ขอความโฆษณาขอใดไมใชประโยคสมบูรณ

ก. สเปรยอัดกลีบ ไฮยีน รีดชุดสุดสวย

ข. ชีวิตสุขริมสายธาร แมกไม และเปลวแดดออน

ค. หากยังอยากใหเขากระซิบวา “ผมรักรอยยิ้ม สนใจ...คุณ”

ง. ความสําเร็จสูงคาของสวิส คือ ประดิษฐแบบนาฬิกาขอมือที่รุดหนาในโลกปจจุบัน

ประโยคที่ไมสมบูรณคือ ขอ ค. เพราะยังไมชัดเจนพอที่จะเขาใจไดวาจะตองทําอยางไร เขา

จึงจะกระซิบขอความนั่นตอไป

๒. ประโยคกํากวม คือ ประโยคที่อานแลวเขาใจไดมากกวา ๑ อยางซึ่งมีหลายลักษณะคือ

(๑) กํากวมเพราะไมทราบวาเปนประโยคบอกเลาหรือคําถาม เชน บานนี้จะขายหรือ

ใหเชา

(๒) กํากวมเพราะไมเวนวรรค เชน ผูหญิงมีความจําเปนพิเศษเรื่องเครื่องสําอาง

หากเวนวรรค ผูอานจะเขาใจไดตรงกับความตองการของผูเขียนมากขึ้น

เวนวรรคแบบที่หนึ่ง ผูหญิงมีความจําเปน พิเศษเรื่องเครื่องสําอาง

เวนวรรคแบบที่สอง ผูหญิงมีความจํา เปนพิเศษเรื่องเครื่องสําอาง

(๓) กํากวมเพราะละทิ้งคําบางคําเชน ฉันเปนคนไมกินขาวเย็น เธอก็นาจะรู หากเติม

คํา ผูอานจะเขาใจตรงกับความตองการของผูเขียนมากขึ้น

เติมคําแบบที่หนึ่ง ฉันเปนคนไมกินขาวมื้อเย็น เธอก็นาจะรู

เติมคําแบบที่สอง ฉันเปนคนไมกินขาวที่เย็นเย็น เธอก็นาจะรู

๓. ประโยคแบบภาษาอังกฤษ หรือใชถอยคําสํานวนตามแบบภาษาอังกฤษลักษณะที่

พบบอยๆ ก็คือ เรียงคําขยายไวหลังคําถูกขยาย ใชประโยคแบบประโยคกรรม คือใชกรรมขึ้นกอน และใช

สํานวนภาษาอังกฤษแทนสํานวนไทย

Page 63: Thai Learning

๖๓

ตัวอยาง การใชประโยคกรรม

เอกสารในแฟมนั้น ถูกร้ือคนโดยผูไมมีอํานาจหนาที่

ทานศาสตราจารย ถูกเชิญใหไปรับรางวัลจากคณะกรรมการวิจัย

ตัวอยาง การใชสํานวนแบบภาษาอังกฤษ

ในที่สุด หลอนก็พบตัวเองอยูในหองนอน

นักรองสาวคนนั้น กรุยกรายมาในชุดสีเขียวสด

วิชุรปรากฏกายขึ้นที่หนาหองพักผูโดยสารพรอมกับกระเปาเดินทาง

การดําเนินงานของหางสรรพสินคาอยูภายใตการควบคุมอยางใกลชิดของรัฐบาล

สามารถ ซอนรางอยูในเสื้อคลุมสีทอง ขอสังเกต ๓.๑ การใชคํา “พรอมกับ” ในภาษาไทยใชกับกิริยาอาการที่ผูพูดกระทําในขณะที่ทํากริยา

อ่ืน เชน

เขาพูดพรอมกับจับมือหลอนกุมไว

เขาสวมแหวนที่นิ้วนางขางซายของเธอ พรอมกับยิ้มนอยๆ

ถาพบคําวา “พรอมกับ” แลวตามดวยคํานามมักเปนสํานวนตางประเทศเชน

เขามาพรอมกับพายุฝนที่พัดกระหน่ํา

เขาปรากฏตัวขึ้นพรอมกับปนในมือ ฯลฯ

๓.๒. คําวา“มาใน...” ไมคอยใชในสํานวนไทยถาจะใชจะมีกริยาอื่นนําหนาและคําที่

ตามหลังก็จะเปนคํานามที่สามารถเคลื่อนที่ได เชน

เขานั่งมาในเรือหางยาวลํานั้น

คนจนก็ตองทนยืนเบียดกันมาในรถเมล ฯลฯ

คําวา “มาใน” ที่เปนสํานวนตางประเทศนั้น จะไมมีคํากริยาอื่นนําหนา และคําที่ตามหลังคําวา

“มาใน” ไมใชนามที่จะเคลื่อนไหว เชน

สันติ ดวงสวาง จะมาในเพลง ออนจันทร

จินตหรา มาในชุดสีแดงเพลิงสดใส

สันติสุขมาในมาดใหม ดูเครงขรึม ฯลฯ

Page 64: Thai Learning

๖๔

๓.๓. คําวา “ภายใต” สํานวนไทยไมนิยมใช มีแตภายใน ภายนอก ภายนอก ภายหลัง

สํานวนที่มีคําวา ภายใต จึงใหสันนิษฐานไวกอนวา เปนสํานวนภาษาอังกฤษ โดยเฉพาะอยางยิ่งคําวา

“ภายใต” ที่ตามดวย “การ” หรือ “ความ” เชน

การเลือกตั้งในกัมพูชาเปนไปโดยเรียบรอย เพราะอยูภายใตการควบคุมดูแลของ

สหประชาชาติ ละครเรื่องนี้ ดําเนินไปภายใตความกดดันบางอยางจากรัฐบาล

ฯลฯ

๓.๔. สํานวน “ความ...เกิดขึ้น” ภาษาไทยไมนิยมใช มักใชแต “เกิด...ข้ึน เชน

เกิดความขัดแยงขึ้นในสภา รสช.

เกิดความแหงแลงขึ้นที่ภาคอีสานตอนลาง

เกิดการปะทะกันขึ้นที่ชายแดนกมัพูชา

เกิดไฟไหมคร้ังใหญข้ึนที่โรงงานทําตุกตา

ฯลฯ

ดังนั้น ถาพบสํานวน “ความ . . .เกิดขึ้น” ใหสันนิษฐานไวกอนวา เปนสํานวนภาษา

ตางประเทศ เชน

ความขัดแยงเกิดขึ้นในสภา รสช.

ความตายครั้งใหญปรากฏขึ้นที่โรงงานทําตุกตา

ความแหงแลงอยางรุนแรง เกิดขึ้นที่ภาคอีสาน

ฯลฯ ๔. ประโยคที่ใชคําฟุมเฟอย ประโยคที่ใชคําฟุมเฟอยหรือใชคําเกินความจําเปน คือ ประโยคที่อาจตัดคําบางคําออกได

โดยมีความหมายคงเดิม

ถามีคําถามถามวา ประโยคใดใชคําฟุมเฟอยหรือ ประโยคใดใชคําเกินความจําเปนก็ขอใหดู

วาประโยคใดที่มีคําซึ่งตัดออกไดโดยไมทําใหความหมายเปลี่ยนไปเชน ประโยควา

“การที่นายกรัฐมนตรีซึ่งเปนหัวหนารัฐบาล จะไปเยือนประเทศตางๆ อยางเปนทางการนั้น

เปนเรื่องของความปกติธรรมดา”

เราอาจตัดคําบางคําออก แลวเขียนใหกระชับไดดังนี้

๑. การที่นายกรัฐมนตรีจะไปเยือนประเทศตางๆ อยางเปนทางการนั้น เปนเรื่องปกติ

๒. การที่หัวหนารัฐบาลจะไปเยือนประเทศตางๆ อยางเปนทางการนั้น เปนเรื่องปกติ

Page 65: Thai Learning

๖๕

๓. การที่นายกรัฐมนตรีจะไปเยือนประเทศตางๆ อยางเปนทางการนั้นเปนเรื่องธรรมดา

๔. การที่หัวหนารัฐบาลจะไปเยือนประเทศตางๆ อยางเปนทางการนั้นเปนเรื่องธรรมดา ๕. ประโยคบกพรองเพราะวางตําแหนงคําไมถูก ประโยคที่บกพรองในลักษณะนี้ เปนเพราะวางคําหรือขอความไมถูกที่ทําใหความหมายของ

ประโยคไมชัดเจน เชน

“คุณสมศรีถือรมสีแดงซึ่งมาจากหาดใหญ”

“ใตยางใหญฝากทุง พวกเหลารายนั่งจับกลุมกันอยู ๔ คน ตรงกันขามกับหมูบานละเหมาะ”

ฯลฯ

จากตัวอยาง จะเห็นขอบกพรองของการเรียงคํา ซึ่งหากเรียงใหถูกตองควรเปนดังนี้

“คุณสมศรีซึ่งมาจากหาดใหญ ถือรมสีแดง”

“พวกเหลาราย ๔ คน นั่งจับกลุมกันอยูใตตนยางใหญ ฟากทุงตรงกันขามกับหมูบาน ชาย

ปาละเหมาะ”

การวางตําแหนงคําในภาษาไทย มีหลักงายๆ อยูวาคํา (หรือขอความ) ที่นํามา ขยาย ควรอยู

ใกลกับคํา (หรือขอความ) ที่ถูกขยาย ไมควรมีคํา (หรือขอความอื่นใดมาแทรก) ๖. ประโยคบกพรองเพราะใชคําผิดความหมาย เชน “เด็กคนนี้มือไว กระฉับกระเฉงแคลวคลองรับรองวาทานจะไมผิดหวัง”

ประโยคนี้บกพรอง เพราะ “มือไว” หมายถึง ข้ีขโมย

“พวกเราเขาไปในโรงงานไมได เพราะยามรักษาการณ ทําหนาที่อยางแข็งแรง”

ประโยคนี้บกพรอง เพราะตองใชคําวา “เขมเข็ง” แทน “แข็งแรง”

“ทางออกของอาคาร มีประตูเหล็กกั้นไวอยางหนาแนน”

ประโยคนี้บกพรอง เพราะตองใชคําวา “แนนหนา” แทน “หนาแนน”

ฯลฯ

Page 66: Thai Learning

๖๖

๑. ภาษาไทยสําหรับการสื่อสารทางธุรกิจมีลักษณะอยางไร จงอธิบายพรอมยกตัวอยางประกอบ

ตอบ

๒. ถาทานไมเขาใจความหมายของศัพทธุรกิจหรือไมแนใจวาจะเขียนคําที่ใชในทางธุรกิจไดถูกตอง ทานจะ

ตรวจสอบไดจากแหลงใดบางจงอธิบาย

ตอบ

๓. ภาษาไทยที่ใชในงานธุรกิจ มีกี่ระดับ อะไรบาง จงยกตัวอยางภาษาไทยธุรกิจระดับตาง ๆ มาใหดู

ตอบ

๔. ประโยคลักษณะใดบางที่ไมควรใชส่ือสารทางธุรกิจ จงอธิบายพรอมยกตัวอยาง

ตอบ

ใหนักเรียนแบงกลุมตามจํานวนที่เหมาะสม แลวทํากิจกรรมตอไปนี้

๑. รวบรวมศัพทที่ใชในวงการธุรกิจทั่วไป

๒. รวบรวมศัพทที่ใชในวงการธุรกิจเฉพาะอาชีพ เชน ธุรกิจการเกษตร ธุรกิจการเงิน

ธุรกิจบันเทิง ฯลฯ และอาจรวมกลุมสาขาธุรกิจ หรือกลุมหลากหลายสาขาธุรกิจ

ก็ไดตามความเหมาะสม

๓. รวบรวมการใชภาษาไทยทางธุรกิจระดับตาง ๆ ทั้ง ๓ ระดับจากเอกสารธุรกิจ

หลายๆ ประเภท เชน ขอความโฆษณา แผนพับโฆษณา เอกสารประชาสัมพันธ

คําเชิญชวนจดหมายขาวธุรกิจ จดหมายธุรกิจ ฯลฯ

Page 67: Thai Learning

๖๗

คําสั่ง เลือกตัวเลือกที่ถูกตองที่สุด

๑. ขอใดใชคํากระชับรัดกุมที่สุด

ก. ตลอด ๕ ปที่ผานมา บริษัทของเรามีกําไร ไมขาดทุนเลย

ข. บริษัทเปดทําการระหวาง ๘.๐๐ น. – ๑๖.๓๐ น. ทุกวันไมเวนวันหยุดราชการ

ค. อนุชนคนรุนหลังควรรักษาศิลปวัฒนธรรมของชาติใหคงอยูสืบไป

ง. รัฐควรสงเสริมการเกษตรเปนประการแรกในการพัฒนาชนบท

๒. ขอใดเขียนไดใจความชัดเจนที่สุด

ก. การฟนตัวของเศรษฐกิจอยางเดนชัดยังมีอยูนอย สวนใหญเปนการกระเตื้องขึ้นจากภาวะในป

กอนเทานั้น

ข. คณะกรรมการเอกลักษณของชาติ สํานักนายกรัฐมนตรีไดจัดพิมพหนังสือเร่ือง “พระราชพิธี” ซึ่ง

เปนหนังสือรวมบทความที่เคยอานเผยแพรทางวิทยุกระจายเสียง

ค. คณะกรรมการคุมครองผูบริโภคออกคําสั่งใหเก็บขนมถั่วตัดและขนมผิงจากทองตลาดที่มีเชื้อรา

ประเภท อัลฟาท็อกซิน เพราะสามารถทําใหเกิดโรคมะเร็งได

ง. ปแหงการรณรงค ทุกหมูบานทั่วประเทศจะตองรูเร่ืองงานสาธารณสุขมูลฐาน ตามโครงการ

รณรงคปสาธารณสุขมูลฐานแหงชาติ

๓. ขอใดใชคําไมตรงกับความหมาย

ก. หนวยงานบางแหงหนวงเหนี่ยวสินคาไว ทําใหการสงออกลาชา

ข. หอการคาไทยเขียนคําแถลงการณไดฉาดฉานนาอาน

ค. บริษัทของไทยพายแพคูแขงอยางยับเยิน

ง. กรมการคาภายในตรวจสอบสาเหตุที่ทําใหสินคาราคาแพง

๔. ประโยคใดใชคําผิดความหมาย

ก. หนังสือเลมนี้ครํ่าคราเกินไป

ข. บานหลังนั้นคร่ําคราจริงๆ

ค. เขาคร่ําหวอดในวงการนี้มานาน

ง. ขาวของเครื่องใชของเธอคร่ําเครอะมาก

Page 68: Thai Learning

๖๘

๕. ขอใดถูกตอง

ก. credit หมายถึงอํานาจในการกูยืมเงินจากสถาบันการเงินหรือผูหนึ่งผูใด

ข. common market หมายถึงการทุมตลาด

ค. โพยกวน หมายถึง รายชื่อของกลุมธุรกิจผูกขาด

ง. W.T.O. หมายถึง บริษัทเงินทุนหลักทรัพยระหวางประเทศ

๖. ถาตองการตรวจสอบความหมายของคําที่ทําหนาที่ใชทางธุรกิจ ควรดูจากแหลงใดตามลําดับ

ก. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พจนานุกรมสําหรับวิชาชีพเฉพาะสาขา เอกสารทางราชการ

เอกสารโฆษณาของเจาของสินคา ส่ือมวลชน

ข. พจนานุกรมวิชาชีพเฉพาะสาขา เอกสารทางราชการ เอกสารโฆษณาของเจาของสินคาสื่อมวลชน

พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน

ค. เอกสารของทางราชการ เอกสารโฆษณาของเจาของสินคา ส่ือมวลชน พจนานุกรมฉบับ

ราชบัณฑิตยสถาน พจนานุกรมสําหรับวิชาชีพเฉพาะสาขา

ง. ถูกทุกขอ

๗. ขอใดผิดหลักการใชลักษณะนาม

ก. มี ๑๙ รายการสินคาที่ไดรับการยกเวนภาษี

ข. บริษัทเงินทุนหลักทรัพย ๕๘ แหง ถูกสั่งพักการดําเนินกิจการ

ค. บริษัทฯ ไดรับเบี้ยประกันจากผูเอาประกันเพียง ๑,๗๕๗ ราย

ง. พนักงานของสถาบันมีความเห็นแตกแยกกันเปนหลายกลุม

๘. คําที่มาจากภาษาตางประเทศตอไปนี้ ขอใดใชรูปวรรณยุกตผิด

ก. แท็กซี่ ข. เสื้อเชิ้ต

ค. ไวทอป ง. ปลาสติก

๙. ขอใดใชคําวากับ เปนคําเชื่อมไดถูกตอง

ก. โชคดียอมบังเกิดกับผูพากเพียร ข. ลูกศิษยกําลังปรึกษากับครู

ค. เขาเรียกเงินกับสมุหบัญชี ง. เจาหนาที่พยายามทําดีกับราษฏร

๑๐. ขอใดใชคําเชื่อมไดถูกตอง

ก. BEP เปนยอดซึ่งประดิษฐกรรมยานยนต ข. BEP เปนยอดของประดิษฐกรรมยานยนต

ค. BEP เปนยอดแหงประดิษฐกรรมยานยนต ง. BEP เปนยอดดวยประดิษฐกรรมยานยนต

Page 69: Thai Learning

๖๙

๑๑. ขอความโฆษณาในขอใด ไมใชประโยคสมบูรณ

ก. สเปรยอัดกลีบ ไฮดรา รีดชุดสุดสวย

ข. ชีวิตสุขริมสายน้ํา รมไม และเปลวแดดออน

ค. หากยังอยากใหกระซิบวา “ผมรักรอยยิ้มอันสดใน...ของคุณ”

ง. ความสําเร็จสูงคาของสวิส คือ ประดิษฐกรรมนาฬิกาขอมือที่รุดหนาในโลกปจจุบัน

๑๒. ประโยคขอใดที่มีใจความเปนลักษณะบังคับมากที่สุด

ก. โปรดแจงเรื่องนี้ใหผูที่เกี่ยวของทราบดวย

ข. โปรดพิจารณาและดําเนินการในสวนที่เกี่ยวของตอไป

ค. โปรดแจงผลการพิจารณาใหทราบดวยจะเปนพระคุณยิ่ง

ง. โปรดแจงเรื่องนี้ใหทราบภายในวันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๔๐ ขอบคุณยิ่ง

๑๓. ขอใดใชถอยคําสุภาพที่สุด

ก. ทานเขาใจผิดในเรื่องที่กลาวถึงนั้น

ข. ทานเขาใจผิดอยางมากในเรื่องดังกลาว

ค. ความเขาใจของทานเกี่ยวกับเรื่องดังกลาวยังไมถูกตอง

ง. ความเขาใจของทานในเรื่องดังกลาวนั้นคงคลาดเคลื่อน

๑๔. ขอใดใชถอยคําไดถูกตอง

ก. รถนําเที่ยวสมัยใหม มีเครื่อง

ข. ผูออมเงินควรศึกษาติดตามขอมูลเกี่ยวกับสถาบันการเงินใหเขมงวด

ค. เครื่องใชไฟฟาชวยใหงานบานบางอยางเสร็จส้ินโดยรวดเร็ว

ง. การดูแลรักษาอยางถูกวิธี จะทําใหเครื่องใชไฟฟาใชงานไดอยางมีสมรรถภาพ

๑๕. ประโยคตอไปนี้ บกพรองมาเพราะเหตุใด

ขอเชิญชวนทุกทานมาเลือกตั้งลงคะแนนเสียงโดยพรอมเพรียงกัน

ก. เรียงลําดับคําผิดที่

ข. ใชคําฟุมเฟอย

ค. ใชสํานวนภาษาตางประเทศ

ง. ใชคําผิดความหมาย

Page 70: Thai Learning

๗๐