the development of nang-loeng area · 98...

22
__________________ 1 รองศาสตราจารย ประจำาหมวดวิชาประวัติศาสตร คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตวังทาพระ พัฒนาการยานนางเลิ้ง The Development of Nang-Loeng Area สุภาภรณ จินดามณีโรจน 1 Suphaphorn Jindamaneerojana บทคัดยอ ยานนางเลิ้งเปนยานเกาแกแหงหนึ่งของกรุงเทพมหานครมีพัฒนาการยาวนานกวา 200 ป เทาที่ผานมาการศึกษายานนี้มักเนนศึกษาดานสถาปตยกรรม การอนุรักษและผังเมือง การศึกษาในดาน ประวัติศาสตรเพื่อใหเห็นพัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงของยานนี้ยังศึกษากันไมมากนัก บทความนี้จึงมุ งศึกษาพัฒนาการความเปนมาของยานเกาแหงนี้โดยใชวิธีการทางประวัติศาสตรทองถิ่นดวย การศึกษาและเก็บขอมูลจากเอกสารตางๆ แผนที่ ภาพถายทั้งเกาและใหม รวมทั้งรองรอยตางๆ ในชุมชนโดยการ สำารวจพื้นที่ และสัมภาษณผูรูใหเห็นพัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงยานเกานีจากการศึกษาพบวายานนางเลิ้งในสมัยกรุงรัตนโกสินทรตอนตน (รัชกาลที่ 1 - รัชกาลที่ 3 พ.ศ. 2325 - 2394) เรียกวา บานสนามกระบือ ในขณะนั ้นมีพื ้นที ่สวนใหญเปนนา เปนไรรกรางอยูนอกเขตกำาแพงพระนคร ทางดานตะวันออก มีผูคนทั ้งเขมร ลาว มอญ ญวนและชาวใตกลุมหนึ ่งตั ้งถิ ่นฐานอยูกันอยางเบาบาง มีวัดสนามกระบือเปนศูนยรวมจิตใจ ครั ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว (พ.ศ. 2394 - 2411) โปรดเกลาฯ ใหมีการขยายพระนครโดยการขุดคลองผดุงกรุงเกษมทำาใหพื้นที่บริเวณนี้อยูภายในกำาแพง พระนครและกลายเปนพื้นที่ที่ไดรับการพัฒนาใหเจริญขึ้น และในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา เจาอยูหัว (พ.ศ. 2411 - 2453) มีการตัดถนนหลายสายผานยานนี้ มีการสรางวังเจานาย บานขุนนาง เกิดตลาด นางเลิ้ง ทำาใหยานนางเลิ้งกลายเปนศูนยกลางการคาและแหลงบันเทิงที่สำาคัญแหงหนึ่งของกรุงเทพมหานครมานาน กวารอยป จวบจนเมื่อ 40 ปที่ผานมายานนางเลิ้งเริ่มซบเซาลงเพราะการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและการขยายตัว ของกรุงเทพมหานคร แตวันนี้ชาวนางเลิ้งยังมีความทรงจำามีความภาคภูมิใจในวันวานที่ผานมา ผลของการศึกษาจะชวยใหเกิดความรูความเขาใจเรื่องราวและผูคนยานนีคำาสำาคัญ: 1. บานสนามกระบือ. 2. นางเลิ้ง. 3. ตลาดนางเลิ้ง 4. โรงหนังนางเลิ้ง. 5. ตรอกสะพานยาว. 6. ตรอกละคร.

Upload: others

Post on 13-Jul-2020

0 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: The Development of Nang-Loeng Area · 98 วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 30 ฉบับที่

__________________

1 รองศาสตราจารย ประจำาหมวดวิชาประวัติศาสตร คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตวังทาพระ

พัฒนาการยานนางเลิ้ง

The Development of Nang-Loeng Area

สุภาภรณ จินดามณีโรจน 1

Suphaphorn Jindamaneerojana

บทคัดยอ

ยานนางเลิ้งเป นย านเกาแกแหงหนึ่งของกรุงเทพมหานครมีพัฒนาการยาวนานกวา 200 ป

เทาที่ผานมาการศึกษายานนี้มักเนนศึกษาดานสถาปตยกรรม การอนุรักษและผังเมือง การศึกษาในดาน

ประวัติศาสตรเพื่อใหเห็นพัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงของยานนี้ยังศึกษากันไมมากนัก

บทความนีจ้งึมุงศกึษาพฒันาการความเปนมาของยานเกาแหงนีโ้ดยใชวธิกีารทางประวตัศิาสตรทองถิน่ดวย

การศึกษาและเก็บขอมูลจากเอกสารตางๆ แผนที่ ภาพถายทั้งเกาและใหม รวมทั้งรองรอยตางๆ ในชุมชนโดยการ

สำารวจพื้นที่ และสัมภาษณผูรูใหเห็นพัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงยานเกานี้

จากการศกึษาพบวายานนางเลิง้ในสมยักรงุรตันโกสนิทรตอนตน (รชักาลที ่1 - รชักาลที ่3 พ.ศ. 2325 - 2394)

เรียกวา บานสนามกระบือ ในขณะน้ันมีพ้ืนท่ีสวนใหญเปนนา เปนไรรกรางอยูนอกเขตกำาแพงพระนคร

ทางดานตะวันออก มีผูคนท้ังเขมร ลาว มอญ ญวนและชาวใตกลุมหน่ึงต้ังถ่ินฐานอยูกันอยางเบาบาง

มีวัดสนามกระบือเปนศูนยรวมจิตใจ คร้ันในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว (พ.ศ. 2394 - 2411)

โปรดเกลาฯ ใหมีการขยายพระนครโดยการขุดคลองผดุงกรุงเกษมทำาใหพื้นที่บริเวณนี้อยู ภายในกำาแพง

พระนครและกลายเปนพื้นที่ที่ไดรับการพัฒนาใหเจริญขึ้น และในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา

เจาอยูหัว (พ.ศ. 2411 - 2453) มีการตัดถนนหลายสายผานยานนี้ มีการสรางวังเจานาย บานขุนนาง เกิดตลาด

นางเลิ้ง ทำาใหยานนางเลิ้งกลายเปนศูนยกลางการคาและแหลงบันเทิงที่สำาคัญแหงหนึ่งของกรุงเทพมหานครมานาน

กวารอยป จวบจนเมื่อ 40 ปที่ผานมายานนางเลิ้งเริ่มซบเซาลงเพราะการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและการขยายตัว

ของกรุงเทพมหานคร แตวันนี้ชาวนางเลิ้งยังมีความทรงจำามีความภาคภูมิใจในวันวานที่ผานมา

ผลของการศึกษาจะชวยใหเกิดความรูความเขาใจเรื่องราวและผูคนยานนี้

คำาสำาคัญ:1. บานสนามกระบือ. 2. นางเลิ้ง. 3. ตลาดนางเลิ้ง 4. โรงหนังนางเลิ้ง. 5. ตรอกสะพานยาว.

6. ตรอกละคร.

Page 2: The Development of Nang-Loeng Area · 98 วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 30 ฉบับที่

98

วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย

ปีที่ 30 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2553

Abstract

Nang-Loeng area is one of Bangkok’s oldest communities which has been through two-hundred-years

of development. So far the studies on the area are mostly on architecture, conservation and city planning.

However, an historical study on development and transition is still lacking.

This article, therefore, aims to study the development of this ancient area through the local history

approach. The emphasis will be based upon documents, maps, old and new photos, including ancient traces

found in the community by survey of the area, and interviews of the local people. Consequently all types of

information will be integrated in order to present the development and transition of this area.

The research revealed that the area of Nang- Loeng in the early Rattanakosin period (in the reign

of King Rama I - King Rama III, B.E.2325 – B.E.2394) was called Ban Sanam Krabue. The area was mostly

rice fields and deserted plantations located outside of the eastern city wall. It was sparsely populated by

Khmers, Laotians, Vietnamese and a group of southerners. Sanam Krabue temple was the spiritual centre

for the people. Later on, in the reign of King Rama IV (B.E.2394 - B.E.2411), Phadung Krungkasem canal

was excavated by the royal command to expand the city, which resulted in the inclusion of this area within

the city walls. In the reign of King Rama V (B.E.2411-B.E.2453) Nang-Loeng became a developed area with

residences for royalty and nobility. The establishment of Nang-Loeng market, together with the construction

of many roads through this area made Nang-Loeng the centre of commerce and entertainment for more

than a hundred years. It is only in the past 40 years that Nang-Loeng has declined. At present, people of

Nang-Loeng have proud memories of days gone by and look forward to the renovation of Nang-Loeng to its

former glory.

The results of the study will initiate an understanding of the Nang-Loeng area and the local people.

Keywords:1. Ban Sanam Krabue. 2. Nang-Loeng. 3. Nang-Loeng market. 4. Nang-Loeng theatre.

5. Trok Saphanyao. 6. Trok Lakhor.

Page 3: The Development of Nang-Loeng Area · 98 วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 30 ฉบับที่

พัฒนาการยาน นาง เลิ้ง

สุภา ภรณ จินดามณี โรจน

99

(ที่มา สมุดภาพแหงกรุงเทพมหานคร 220 ป, 2546 หนา 135)

ยานนางเลิง้เปนพืน้ทีอ่ยูระหวางคลองรอบกรงุ

กบัคลองผดงุกรงุเกษม มพีฒันาการยาวนานกวา 200 ป

เคยเปนพื้นที่ทุ งนาและมีผู คนอยูเบาบางนับแตสมัย

กรุงรัตนโกสินทรตอนตน เมื่อเกิดการขยายตัวของ

กรุงเทพฯในสมัยรัชกาลที่ 4 และรัชกาลที่ 5 ทำาให

ย านนางเลิ้งกลายเปนที่อยู อาศัยของผู คนทั้งไทย

เขมร ลาว ญวน และจีน หนาแนนขึ้น และนับตั้งแต

สมัยรัชกาลที่ 5 เปนตนมา ยานนางเลิ้งคอยๆ พัฒนา

กลายเป นย านที่อยู ของเจ านายกลายเป นย าน

ความเจริญ เกิดตลาดนางเลิ้งที่ต อมากลายเปน

ย านศูนยกลางการคาและแหลงบันเทิงท่ีมีช่ือเสียง

ยานหน่ึงของกรุงเทพมหานครและสืบมานานกวา 100 ป

เม่ือประมาณ 40 ปท่ีผานมาความรุงเรืองของยานนางเลิ้ง

ตองพลิกผันกลายเปนเพียงความทรงจำาที่ผู คนทั้งใน

ชุมชนและผูที่เคยไปเยือนไดเลาขานกันมาจนทุกวันนี้

ยานนางเลิ้งทองทุงกวางฝงตะวันออกเฉียงเหนือ

ของพระนคร:บานสนามกระบือ

ในสมัยกรุงรัตนโกสินทรตอนตน (รัชกาล

ท่ี1-รัชกาลท่ี3หรือพ.ศ.2325-2394) 70 ปแรก

ของการสถาปนากรุงเทพมหานคร บริเวณนางเล้ิงมี

สภาพเปนทองทุงอยูนอกกำาแพงเมืองพระนครโดยมี

คลองรอบกรุงค่ันอยู มีคลองมหานาคอยูทางทิศใต

ระยะน้ีจึงมีผูคนอยูเบาบางท้ังชาวไทย เขมรและลาวท่ี

ถูกกวาดตอนมาเปนเชลยศึกและไดเคยชวยขุดคูเมืองและ

สรางกำาแพงพระนคร

ยานนางเล้ิงต้ังอยูทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ

ของพระนคร เปนท่ีอยูประปรายของคนไทยบางและ

เชลยศึกบางท่ีกวาดตอนมาท้ังเขมรและลาวท่ีถูกเกณฑ

ใหขุดคูสรางกำาแพงพระนคร รวมท้ังมอญลองเรือมา

คาขายและต้ังบานเรือน นอกจากน้ียังมีชาวใตท้ัง

Page 4: The Development of Nang-Loeng Area · 98 วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 30 ฉบับที่

100

วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย

ปีที่ 30 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2553

แผนผังแสดงแนวคลองและกำาแพงพระนครในสมัยกรุงรัตนโกสินทร

ตอนตน (ที่มา: กรุงเทพฯ 2489-2539, 2539 หนา 35)

ชาวละคร ชาวตะลุง และชาวสงขลาท่ีติดตามกองทัพ

ของพระยาบรมมหาประยูรวงศ (ดิศ บุนนาค) ซ่ึงไป

ปราบกบฏท่ีภาคใตเขามายังกรุงเทพฯ พระบาทสมเด็จ

พระน่ังเกลาเจาอยูหัวจึงโปรดเกลาฯ ใหต้ังถ่ินฐาน

อยูบริเวณน้ีดวย ซ่ึงปรากฏช่ือเรียกบริเวณน้ีในสมัย

รัชกาลท่ี 3 วา “บานสนามกระบือ” (ทิพากรวงศ (ขำา

บุนนาค), เจาพระยา 2504 : 225-226) แตชาวบานมัก

เรียกวา “บานสนามควาย”

บานสนามควาย หรือ บานสนามกระบือใน

สมัยรัชกาลที่ 3 จึงเปนทุงกวางใหญมีผูคนหลายกลุม

จำานวนไมมากนักอยูกันอยางเบาบาง อันเปนพื้นที่นอก

พระนคร มีการใชเสนทางคมนาคมทางน้ำาเปนหลัก

ทั้งคลองรอบกรุง (คลองบางลำาพู คลองโองอาง) ออก

สูแมน้ำาเจาพระยาทางดานเหนือและดานใต จากคลอง

รอบกรุงผานคลองหลอดเขาคลองคูเมืองเดิมเขาสู

ใจกลางพระนคร และจากคลองรอบกรุงออกคลอง

มหานาคออกไปสูพื้นที่อันโลงกวางทางตะวันออกของ

พระนครได เสนทางเหลานี้ไดกลายเปนเสนทางแลก

เปลี่ยนการคาที่สำาคัญตอมาดวย

ชาวใตกลุมหน่ึงท่ีพระบาทสมเด็จ

พระน่ังเกลาเจาอยูหัวทรงโปรดเกลาฯ ให

ต้ังถ่ินฐานอยูบานสนามควายนั้นโปรดเกลาฯ

ใหเปน “ไพรหลวงเกณฑบุญ” ฝกเปน

ชางปูนชางศิลาหลวง ชาวใตกลุ มนี้ไดมี

การนำาเอาศิลปะการแสดงของทางใต

ประเภทโขน ละครชาตรี หนังตะลุง ลิเก

และดนตรีป พาทยเข ามาจนกลายเปน

เอกลักษณและสรางชื่อเสียงสืบตอกันมา

นาน และปจจุบันยังสืบสานคงอยู คู กับ

ยานนี้ ที่สำาคัญ คือ คณะครูพูน เรืองนนท

และลูกหลานซึ่งเปนที่รูจักกันดีในปจจุบัน

ผูคนทั้งไทย เขมร ลาว มอญ และ

ชาวใตสวนใหญนับถือศาสนาพุทธ มีวัด

สนามกระบือ (หรือวัดสนามควาย) หรือ

วัดแค ซึ่งสรางขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 3 เปน

ศูนยรวมจิตใจและศูนยกลางชุมชน

ในสมยัพระบาทสมเดจ็พระนัง่เกลา

เจาอยูหัวรัชกาลที่ 3 (พ.ศ. 2364 - 2367)

นี้โปรดเกลาฯ ใหขุดคลองแสนแสบตอจากคลอง

มหานาคตัดไปออกแมน้ำาบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา

ทำาใหการคมนาคมจากคลองมหานาคขยายออกไป

สูทองทุง และพื้นที่ดานตะวันออกของพระนครไปจนถึง

จังหวัดนครนายกและปราจีนบุรี ทำาใหเกิดความสะดวก

ตอการคมนาคมและการขนสง จึงมีผู คนสัญจรและ

เกิดการคาแลกเปลี่ยนเพิ่มขึ้น สงผลใหผู คนอพยพ

เขามาบริเวณยานสนามกระบือเพิ่มขึ้น

บานสนามกระบือมิใชพื้นที่นอกพระนครอีกตอไป

เมื่อพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว

รัชกาลที่ 4 (พ.ศ. 2394 - 2411) ทรงเสด็จเสวยราชย

ในปแรกทรงพิจารณาเห็นวาบานเมืองเจริญขึ้นผูคนก็

เพิ่มมากกวาเมื่อเริ่มสรางกรุงจึงโปรดเกลาฯ ใหมีการ

ขยับขยายพระนครออกไปทางดานตะวันออกโดยการ

ขดุ “คลองขดุใหม” หรอื “คลองผดงุกรงุเกษม” ขนาน

กับคลองรอบกรุง พรอมทั้งสรางปอมตามแนวริมคลอง

8 ปอม

Page 5: The Development of Nang-Loeng Area · 98 วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 30 ฉบับที่

พัฒนาการยาน นาง เลิ้ง

สุภา ภรณ จินดามณี โรจน

101

ผลของการขุดคลองน้ีทำาใหบานสนามกระบือ

กลายเปนเขตพ้ืนท่ีในพระนคร และเปนการเปดพ้ืนท่ี

การทำานา ทำาสวนมากข้ึน เกิดเสนทางสัญจรทางน้ำาเพ่ิม

ข้ึนอีก คือ คลองผดุงกรุงเกษมท่ีสามารถออกสูแมน้ำา

เจาพระยาท้ังทางดานเหนือ (บริเวณวัดเทวราชกุญชร หรือ

วัดสมอแครง) ยานเทเวศร หรือผานลงไปทางดานใตผาน

คลองมหานาคและยานวัวลำาพอง (หัวลำาโพง) ไปออกแมน้ำา

เจาพระยาบริเวณวัดแกวแจมฟาบริเวณ ส่ีพระยา

นอกจากน้ีหลังจากขุดคลองผดุงกรุงเกษมแลว

พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัวยังโปรดเกลาฯ

ใหชาวญวนจากเมืองกาญจนบุรีกลุมหน่ึงท่ีถูกกวาด

ตอนมาต้ังแตคร้ังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระน่ังเกลา

เจาอยูหัวใหยายมาต้ังบานเรือนท่ีริมคลองผดุงกรุงเกษม

(ใกลสะพานจตุรพักตรรังสฤษด์ิ) ฝงตรงขามวัดสนาม

กระบือ ชาวญวนกลุมน้ีตอมาไดรวมกันสรางวัดอนัมนิกาย

ของตนข้ึน คือ วัดเก๋ียงเพ้ือกต่ือ หรือท่ีชาวบานเรียกกัน

ตอมาภายหลังวา วัดญวนนางเล้ิง เปนศูนยรวมในการ

ปฏิบัติศาสนกิจ

ชุมชนเริ่มขยายมากขึ้น ต อมาพระบาท

สมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัวโปรดเกลาฯ ใหสราง

วัดโสมนัสราชวรวิหารขึ้นริมคลองผดุงกรุงเกษมนี้

แผนผังแสดงแนวคลองผดุงกรุงเกษมที่ขุดขึ้นใน รัชกาลที่ 4

(ที่มา: กรุงเทพฯ มาจากไหน?, 2548)

วัดสมณานัมบริหาร (วัดญวนนางเล้ิง) (ท่ีมา : เก็บขอมูลวันท่ี 24

พฤศจิกายน 2553)

และโปรดเกลาฯ ใหเปนพระอารามหลวงราชวรวิหาร

ชั้นโท ซึ่งวัดนี้ตั้งอยู ดานตะวันออกเฉียงเหนือของ

วัดสนามกระบือและในรัชกาลนี้ยังโปรดเกลาฯ ให

เปลี่ยนชื่อวัดสนามกระบือหรือวัดแค เปนวัดสุนทร

ธรรมทานดวย

นางเลิ้งกับการพัฒนาสูความทันสมัย

หลังจากการเปดประเทศดวยการทำาสนธิสัญญา

บาวริง ในป พ.ศ. 2398 สยามผูกพันกับเศรษฐกิจโลก

มีชาวตางประเทศทั้งจีน ฝรั่งและแขกตางทยอยกันเขา

มาตั้งหางรานและตัวแทนจำาหนายสินคาในกรุงเทพฯ มี

สนิคาหลากหลายเขามาสูสยาม เกดิธรุกจิโรงแรม ทาเรอื

คาปลีก คาสง

รัฐบาลมีนโยบายสงเสริมการคาและธุรกิจใน

กรุงเทพฯดวยการสรางสาธารณูปโภคที่ทันสมัยแบบ

ตะวนัตก เชน ไฟฟา ประปา รถเจก็ รถลาก รถราง ไปรษณยี

โทรศพัท โทรเลข ถนนหนทาง สะพานขามคลองใหรถ

วิ่งและมีการสรางวัง สถานที่ราชการ อาคารตึกฝรั่ง

Page 6: The Development of Nang-Loeng Area · 98 วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 30 ฉบับที่

102

วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย

ปีที่ 30 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2553

หองแถว ผลักดันใหเกิดการเปลี่ยนแปลงทางโครงสราง

กายภาพของกรุงเทพมหานครทีละนอย เพื่อตอบ

สนองการขยายตัวทางการคาภายในเมืองและการคา

ระดับประเทศ กรุงเทพฯ คอยๆ พัฒนาเปนมหานคร

ทางการคาในที่สุด

ยานสนามกระบือซ่ึงมีวัดสุนทรธรรมทาน

(วัดแค) และวัดโสมนัสราชวรวิหารซ่ึงเปนวัดราษฎรและ

วัดหลวงเปนศูนยกลางของชุมชนก็เชนกันไดคอยๆ

ยานนางเลิ้ง พ.ศ. 2439 (ที่มา : แผนที่กรุงเทพฯ พ.ศ. 2431-2474, 2527)

พัฒนาข้ึน และทวีความสำาคัญอยางเดนชัด หลังจาก

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาอยูหัว (พ.ศ. 2411-2453)

ทรงขยายพระราชวังสวนดุสิตออกมานอกแนวคลอง

ผดุงกรุงเกษม ซ่ึงเปนคลองคูพระนครใหม พรอมกับมีการ

ตัดถนนหลายสาย เชน ถนนราชดำาเนิน (ใน กลาง

และนอก) ถนนสามเสน ถนนกรุงเกษม ถนนหลานหลวง

ถนนลูกหลวง ถนนนครสวรรค ถนนพะเนียง ถนน

จักรพรรดิพงษ ถนนศุภมิตร ถนนพิษณุโลก อีกท้ัง

แผนที่แสดงถนนและคลองที่สำาคัญยานนางเลิ้ง (ที่มา: ดัดแปลงจากแผนที่ Google Map)

Page 7: The Development of Nang-Loeng Area · 98 วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 30 ฉบับที่

พัฒนาการยาน นาง เลิ้ง

สุภา ภรณ จินดามณี โรจน

103

ยังมีการสรางสะพานขามคลองตางๆ เพ่ือใชในการ

สัญจรถึงกันไดสะดวก เปนการเปดพ้ืนท่ีนอกกำาแพง

พระนครท้ังดานทิศเหนือและทิศตะวันออก โดย

เฉพาะทางทิศตะวันออกบริเวณบานสนามกระบือ

ได รับการพัฒนาใหกลายเปนพ้ืนท่ีท่ีมีความเจริญ

และกลายเปนยานท่ีผูคนเขาถึงไดท้ังการคมนาคม

ทางบกและทางน้ำา

นอกจากน้ีพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา

เจาอยูหัวทรงพระราชทานท่ีดินบริเวณพ้ืนท่ีนอกแนว

ขยายตัวริมคลองทั้งทางน้ำากอนในระยะแรกเริ่มและ

ขยายมาบนบกริมคลอง ตอมาเกิดการขยายตัวการคา

ทางบกถัดจากริมคลองเข ามาเล็กน อยเมื่อมีการ

สรางถนนบริเวณบานสนามกระบือหลายสายดังที่

กลาวมาแลว โดยเฉพาะถนนตลาด (หรือตอมาเรียกวา

ถนนนครสวรรค) ซึ่งผานใจกลางยานนี้ พรอมทั้ง

มีการสรางอาคารรานคาที่อยูอาศัยสองฝงถนนตลาดนี้

และสรางอาคารโรงตลาดขึ้นมาซึ่งปรากฎเรียกชื่อเปน

ทางการวาตลาดนางเลิ้ง

ตลาดนางเลิ้งตั้งอยูริมถนนตลาดระหวางวัดโสมนัสราชวรวิหารกับ

วัดสุนทรธรรมทาน (หรือวัดแค) (ถายโดย ฮันท, วิลเล่ียม พ.ศ. 2489

รหัส ภ WH .2 ภาคกลาง กลอง 3 /159 หอจดหมายเหตุแหงชาติ)

คลองผดุงกรุงเกษมท่ีเป ดใหม บริเวณ

บานสนามกระบือและใกลเคียงน้ีใหพระราช

โอรสสรางวังตางๆ 10 กวาวัง บริเวณน้ี

จึงกลายเปน “ยานวัง” เจานาย ไดแก

วังกรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักด์ิ (วังนางเล้ิง)

วังกรมหม่ืนไชยศรีสุริโยภาส วังกรมหลวง

สิงหวิกรมเกรียงไกร (วังสะพานขาว) วัง

สมเด็จกรมพระยาดำารงราชานุภาพ (วัง

วรดิศ) วังจอมพลหลวงนครไชยศรีสุรเดช

(วังมหานาค) วังจันทรเกษม วังสมเด็จเจาฟา

กรมหลวงพิษณุโลกประชานารถ (วัง

ปารุสกวัน) วังสมเด็จเจาฟากรมหลวงลพบุรี

ราเมศร (วังลดาวัลย) วังกรมหลวงปราจิณ

กิติบดี วังกรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธ์ิ (วังบาง

ขุนพรหม) และวังกรมหลวงจันทบุรีนฤนารถ

เปนตน พรอมท้ังเกิดการเปล่ียนแปลงดวยการ

รับวัฒนธรรมตะวันตกในรูปแบบการกอสราง

วังและความนิยมในสินคาอุปโภคและบริโภค

ของตะวันตกตามมามากข้ึน

เมื่อประชากรเพิ่มขึ้นและผูคนทั้ง

พระบรมวงศานุวงศ ขุนนาง เจานาย

ขาราชการ ตางขยับขยายออกมาอยูนอก

กำาแพงพระนครมากขึ้น เครื่องอุปโภค

บริโภคจึงเปนสิ่งจำาเปน เกิดพื้นที่ทำาการ

คาขายใกลริมคลองผดุงกรุงเกษมเปนระยะ

ตั้งแตปากคลองผดุงกรุงเกษมเรื่อยมาจน

ถึงบริเวณบานสนามกระบือ โดยเฉพาะ

บริเวณยานสนามกระบือที่อยู ใกลคลอง

ผดุงกรุงเกษมไดเกิดพื้นที่ทำาการคาขาย

Page 8: The Development of Nang-Loeng Area · 98 วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 30 ฉบับที่

104

วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย

ปีที่ 30 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2553

ตลาดนางเลิ้งตั้งอยูริมถนนตลาดหรือถนน

นครสวรรค เปดอยางเปนทางการ ณ วันที่ 29 มีนาคม

พ.ศ. 2443 (29 มีนาคม รศ.118) จนเปนขาวเดนขาวดัง

ในยุคสมัยนั้นลงในหนังสือพิมพบางกอกสมัย ฉบับ 30

มีนาคม รศ. 118

ยานตลาดนางเลิ้งกลายเปนศูนยกลางเศรษฐกิจ

แหงหนึ่งของกรุงเทพฯ

อยางไรก็ตามตลาดนางเลิ้งมิใชตัวอาคาร

ตลาดเทานั้น แตหมายรวมถึงอาคารตึกหองแถวรอบๆ

ตัวตลาด อันไดแก ตึกหองแถวหนาตลาดริมถนน

นครสวรรค 2 ฝงตอเนือ่งมายงัตกึแถวรมิถนนกรงุเกษม

ซึ่งสวนใหญมีอายุประมาณ 80-100 ป (สรางราวป

พ.ศ. 2443 - 2473) ตอมามีการขยายสรางตึกแถวริม

ถนนพะเนียงและริมถนนศุภมิตรเพิ่มขึ้นอีก ทำาใหตัว

อาคารตลาดเปนใจกลางของยานการคากลุมนี้

ในอดีตตัวอาคารตลาดตรงกลางเปนตลาดสด

เนนขายของสดท้ังเน้ือสัตว ของทะเล ผักและผลไมนานา

ชนิดและตึกแถวรอบๆ ตัวตลาดของของสดบาง ของแหง

เคร่ืองอุปโภคบริโภคหลากหลาย บางเปนรานอาหาร สวน

ตึกแถวริมถนนตลาด ถนนกรุงเกษมจะเปนรานขายของ

อุปโภคบริโภครวมท้ังของใชจากตางประเทศดวย การ

คาจะเปดขายท้ังวัน เจานาย ขาราชการท้ังพลเรือนและ

ทหารบริเวณโดยรอบและใกลเคียงตางมักพากันมาจับจาย

ซ้ือของกันคึกคัก รวมท้ังผูคนท่ีอยูไกลออกมามักเดินทาง

ไปซ้ือของกันในยานน้ีท่ีนับวาขายของท่ีทันสมัยและเปน

ยานศูนยรวมสินคามากมายหลากหลายท่ีโดดเดนของ

กรุงเทพฯในยุคน้ัน

ผู คนโดยเฉพาะคนจีนคอยๆ เคลื่อนยาย

เขามาคาขายและตั้งถิ่นฐานอยูหนาแนนขึ้น สวนกลุม

คนดั้งเดิมยังคงอยูรอบๆ วัดสุนทรธรรมทาน (วัดแค)

และบริเวณรอบวัดโสมนัสราชวรวิหาร สวนชาวญวน

จะอยู บริเวณริมคลองผดุงกรุงเกษมฝงตรงขามโดย

อยูรอบๆ วัดเก๋ียงเพ้ือกต่ือ หรือ วัดญวนนางเล้ิง ซ่ึงตอมา

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวโปรดเกลาฯ

พระราชทานนามวัดน้ีใหใหมคือ วัดสมณานัมบริหาร

แตเน่ืองจากอยูใกลสะพานขาวจึงนิยมเรียกกันในระยะหลัง

วา วัดญวนสะพานขาว

อยางไรก็ตามยานตลาดนางเล้ิงกลายเปนถ่ิน

คาขายและอาศัยของชาวจีนท่ีกระจุกตัวอยูหนาแนนข้ึน

และชาวจีนเหลานี้ไดรวมกันสรางศาลเจาเล็กๆ เปน

ศาลไมไวตรงกลางตวัตลาด มกีารอญัเชญิเจาหลายองค

มาสถิตย เชน เจาพอกวนอู เพื่อสักการะใหเกิด

ศิริมงคลตอชีวิตและการคา ชาวบานเรียกขานศาลนี้วา

ตลาดแหงนี้ได กลายเปนตลาดที่ทันสมัย

ตื่นตา ตื่นใจของผูคนโดยรอบและจากที่ตางๆ มีผูคน

มาจบัจายขาวของกนัมากมาย ดงันริาศพระราชวงัดสุติ

กลาวไววา

“ถึงตลาดนางเลิ้งดูเวิ้งวาง

คณานางนำาชมชางคมสัน

นั่งราน ราย ขายผัก นา รัก ครัน

หมสีสัน แต ราง ดังนางใน

พวกจีนไทยในตลาดก็กลัดกลุม

ทั้งสาวหนุมแซอยูเด็กผูใหญ

นั่งขายของสองขางหนทางไป

ลวนเขาใจพอซัดชำานาญ”

(สุจิตต วงษเทศ 2545 : 239)

Page 9: The Development of Nang-Loeng Area · 98 วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 30 ฉบับที่

พัฒนาการยาน นาง เลิ้ง

สุภา ภรณ จินดามณี โรจน

105

ศาลเจานางเลิ้ง ตอมาภายหลังไดมีการขยับขยาย

สรางเปนศาลเจาจีนขนาดใหญกวาขึ้นแทนและมี

การอัญเชิญสมเด็จกรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์มา

ประทับที่ศาลนี้ดวย ตอมาเสด็จเตี่ยมีความสำาคัญกลาย

เปนเทพประธานของศาลนีเ้นือ่งจากชาวไทยเชือ้สายจนี

และชาวบานยานนางเลิ้งตางเคารพนับถือพระองคและ

วงัของพระองค คอื วงันางเลิง้ยงัตัง้อยูใกลตลาดนางเลิง้

อีกดวย ซึ่งปจจุบัน คือพื้นที่บริเวณสถาบันเทคโนโลยี

ราชมงคล วิทยาเขตพาณิชยการพระนครดานริมถนน

พิษณุโลก เชิงสะพานชมัยมรุเชฐ

ดังนั้นปจจุบันศาลเจานางเลิ้งจึงนิยมเรียกวา

“ศาลเสด็จพอกรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์” หรือ “ศาล

เสด็จเตี่ย” ดวย ซึ่งนอกจากจะมีการไหวเทพเจาจีนตาม

ประเพณีจีนในวันตรุษจีน วันสารทจีนเปนหลักแลว ยัง

มีงานใหญประจำาปที่สำาคัญของศาลนี้และของยานนี้ คือ

งานวันคลายวันประสูติของสมเด็จกรมหลวงชุมพรฯ

ซึง่ตรงกบัวนัที ่19 ธนัวาคมของทกุปโดยจดัเปนงานใหญ

ราว 2-3 วัน มีงิ้ว มีลิเก มีละครชาตรี มีการเซนไหว และ

แหองคเทพประธานของศาล ชาวบานและผูคนมากมาย

เขารวมงาน

เปนท่ีนาสังเกตวา เอกสารเกากอนและในรัชกาล

ท่ี 5 ตอนตนท่ีกองจดหมายเหตุมักเรียกยานน้ีวาบาน

สนามกระบือ (ชาวบานเรียกบานสนามควาย) และตอมา

ปรากฏใชเรียก ถนนสนามกระบือ (ซ่ึงตอมามีการสราง

วังริมถนนน้ี จึงเรียกถนนน้ีใหมวา ถนนหลานหลวง) วัด

สนามกระบือ และตำาบลสนามกระบือ แตนับต้ังแตมี

(ที่มา : พินิจพระนคร 2475*2545 จัดพิมพโดยกรมแผนที่

ทหารสูงสุด และจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2549)

ศาลเจานางเลิ้งและองคกรม

หลวงชุมพรฯ ภายใน

ศาลเจานางเลิ้ง

(ที่มา: เก็บขอมูลวันที่ 3

กันยายน พ.ศ. 2553)

Page 10: The Development of Nang-Loeng Area · 98 วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 30 ฉบับที่

106

วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย

ปีที่ 30 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2553

การสรางตลาดนางเล้ิง และมีการเปดตลาดน้ีอยางเปน

ทางการในปพ.ศ.2443 แลวหลังจากน้ัน ช่ือสนามกระบือ

หรือสนามควายคอยๆ หายไป คำาวา “นางเล้ิง” เร่ิมเปน

ท่ีรับรูและรูจักกันมากข้ึนแทนท่ีไปในท่ีสุด

คำาวานางเลิ้ง นักวิชาการและผูรูตางใหขอคิด

ยงัไมลงตวั บางวามาจากภาษาเขมรวา ฉนงัเฬงิ บางวา

มาจากภาษามอญวา อีเลิ้ง เนื่องจากมีชาวมอญมักนำา

ภาชนะใสน้ำาทีเ่รยีกวา อเีลิง้ใสเรอืลองมาจอดขายทีย่าน

นี้ จึงเรียกบริเวณนี้วา อีเลิ้งที่ตอมาเพี้ยนเปนนางเลิ้ง

อยางไรก็ตามยังไมพบหลักฐานลายลักษณอักษรวามี

การใชเขียนเรียกยานนี้วา ฉนังเฬิง หรือ อีเลิ้ง

การเรียกยานน้ีวา “นางเล้ิง” เร่ิมปรากฏคร้ังแรก

เม่ือใดไมทราบแนชัด แตเทาท่ีปรากฏหลักฐานพบวา

มีการใชคำาวา นางเล้ิงในเอกสาร ในรัชกาลพระบาทสมเด็จ

พระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว (พ.ศ. 2411-2453) เปนตนมา

ไดแก ตำาบลนางเล้ิง อำาเภอนางเล้ิง และตลาดนางเล้ิง ตอมา

ในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว (พ.ศ.

2436-2468) มีการนำาคำาวานางเล้ิงไปใชเรียกสถานท่ีตางๆ

ท่ีต้ังข้ึนมาในพ้ืนท่ีน้ีและบริเวณใกลเคียงอีก เชน โรงพัก

ตลาดนางเล้ิง สนามมานางเล้ิง และโรงหนังนางเล้ิง เปนตน

ยานนางเลิ้งศูนยกลางการคาและแหลงบันเทิง

ในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล า

เจาอยูหัว (พ.ศ. 2453-2468) ทรงขยายและสรางความ

เจริญสูพื้นที่นอกพระนครมาทางดานตะวันออกที่เปน

ทุงนา “ทุงสมปอย” อีก ดวยการสรางตำาหนักจิตร ลดา

รโหฐานที่ประทับของพระองคอีกแหงหนึ่ง บริเวณยาน

นางเลิง้จงึกลายเปนยานกลางกรงุมากขึน้ ตลาดนางเลิง้

คกึคกัขึน้ ตอมามกีารตัง้โรงพกัขึน้ดานหนาตลาดนางเลิง้

ขามคลองผดุงกรุงเกษมไปเล็กนอยมีการตั้งสนามมา

นางเลิ้งและเมื่อผู คนมากขึ้นจึงมีการ สรางโรงหนัง

นางเลิ้ง และขางๆ โรงหนังนางเลิ้งเกิดแหลงผูหญิงขาย

บริการที่เรียกวา “ตรอกสะพานยาว” เกิดมีโรงบอน และ

โรงฝน อีกทั้งการแสดงศิลปะพื้นบาน ของกลุมตรอก

ละครยานนี้โดงดังเฟองฟู

โรงพักตลาดนางเลิ้ง เริ่มแรกเปนอาคารไม

ตั้งอยูริมถนนตลาดหรือถนนนครสวรรคดานหนาตลาด

นางเลิ้งใกลวัดโสมนัสราชวรวิหาร ซึ่งปรากฏในแผนที่

กรงุเทพฯในป พ.ศ. 2450 เรยีก “โรงพกัตลาดนางเลิง้”

แตขอมูลสถานีตำารวจนครบาลนางเลิ้ง กลาววา ตั้งขึ้น

ในป พ.ศ. 2456 เดิมเรียกสถานีตำารวจแขวงนางเลิ้ง

หลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 ไดเปลี่ยนชื่อ

มาเปน “สถานีตำารวจนางเลิ้ง” และตอมาเปลี่ยนเปน

“สถานีตำารวจนครบาลนางเลิ้ง” ในป พ.ศ. 2495 อาคาร

หลังเดิมเปนไม มีสภาพทรุดโทรม คับแคบจึงยายไปอยู

ท่ีใหมใกลแยกสะพานผานฟา

การมีตำารวจไวดูแลชุมชนแสดงใหเห็นถึง

ความสำาคัญของยานตลาดและชุมชนน้ี (พ.ศ. 24536-

2468) มีการนำาคำาวานางเล้ิงไปใชเรียกสถานท่ีตางๆ

ท่ีต้ังข้ึนมาในพ้ืนท่ีน้ีและบริเวณใกลเคียงอีก เชน โรงพัก

ตลาดนางเล้ิง สนามมานางเล้ิง และโรงหนังนางเล้ิง เปนตน

สนามมานางเลิง้ตัง้อยูคลองผดงุกรงุเกษมฝง

ตรงขามกบัตลาดนางเลิง้ เริม่กอตัง้ในป พ.ศ. 2459 โดย

พระยาประดิพัทธภูบาลและพระยาอรรถการประสิทธิ์

ไดทูลเกลาถวายหนังสือขอพระบรมราชานุญาตตั้ง

สโมสรสนามมาแขงขึ้นเพื่อบำารุงพันธุมา โดยใชพื้นที่

หลวงซึ่งอยูใกลยานนางเลิ้งนี้

สนามมานางเลิ้งมีชื่อเรียกอยางเปนทางการ

ว า ราชตฤณมัยสมาคมแหงประเทศไทย ใน

พระบรมราชปูถมัภ สมาคมนีจ้งึมลีกัษณะเปนสโมสรที่

ดำาเนินการบำารุงพันธุมา มีการสั่งพันธุมาผูจากอังกฤษ

อาหรับ ออสเตรเลีย มาเมืองไทยเพื่อใหคนไทยหามา

ตวัเมยีมาผสมพนัธุ และทีส่ำาคญัจะมกีจิกรรมการแขงมา

เปนหลักและตอมาไดมีกีฬาประเภทอื่นๆ ดวย

ปจจบุนัสนามมานางเลิง้มอีายเุกอืบ 100 ปแลว

ทำาใหยานนางเลิ้งมีผูคนมากหนาหลายตาจากหลายทิศ

มาชุมนุมดูการแขงมาและที่ปฏิเสธไมไดก็คือการพนัน

ชาวนางเลิ้งมักพูดถึงคนในชุมชนจำานวนหนึ่งยังชอบดู

ชอบพนันมาดวยเชนกัน

ยานนางเลิ้งเปนยานของศิลปะการแสดงที่

มีชื่อเสียงมานับแตสมัยรัชกาลที่ 5 โดยเฉพาะบริเวณ

“ตรอกละคร” ซึ่งอยูติดถนนหลานหลวง (เดิมเรียกวา

ถนนสนามกระบือ) และอยูติดวัดสุนทรธรรมทาน (หรือ

วัดแค ระยะหลังชาวบานเรียกวาวัดแคนางเลิ้งไปดวย)

มทีัง้โขน ละคร หนงัตะลงุ ลเิก และดนตรปีพาทย มหีลาย

คณะ

Page 11: The Development of Nang-Loeng Area · 98 วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 30 ฉบับที่

พัฒนาการยาน นาง เลิ้ง

สุภา ภรณ จินดามณี โรจน

107

คณะท่ีโดงดังเกาแกมีช่ือเสียงสืบทอดมาจน

ทุกวันน้ี คือ คณะละครท่ีสืบเช้ือสายมาจากละครชาวใต

ท่ียายเขามาต้ังถ่ินฐานในยานน้ีต้ังแตสมัยรัชกาลท่ี 3 คือ

คณะของนายพูน เรืองนนท ดังน้ัน บริเวณปากตรอกละคร

จะมีปายติดไว “นายนนทบิดาคณะครูพูนเรืองนนท

มีละครหนังตะลุงลิเกพิณพาทยไทยมอญ”

บานเรือนในตรอกละครนี้เปนกลุมที่อยูอาศัย

นบัแตบรรพบรุษุครพูนู ครพูนูและภรรยาทัง้หา ปจจบุนั

แผนท่ีกรุงเทพฯ พ.ศ. 2450 ปรากฏช่ือโรงพักตลาดนางเล้ิง (ท่ีมา : แผนท่ีกรุงเทพฯ พ.ศ. 2431 - 2474, 2527)

ราชตฤณมัยสมาคมแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ(สนามมานางเลิ้ง) พ.ศ. 2489 และ ป พ.ศ. 2546

(ที่มา: สมุดภาพกรุงเทพฯ 220 ป : หนา 172 - 173)

ลูกๆ หลานๆ ของครูพูนยังอาศัยอยู เมื่อเดินเขาตรอก

มักพบชุดละครแขวนอยู และเห็นชาวละครปกชุด

ละครอยู

ขุนวิจิตรมาตราหรือนายสงา กาญจนาคพันธุ

(พ.ศ. 2440 - 2523) ไดเลาเรื่องราวเกี่ยวกับกรุงเทพฯ

สมัยเมื่อ 90 ปที่ผานมาวา จากสะพานผานฟาลีลาศ

ลงไปเปนตำาบลสนามควาย เปนถิ่นของกลุมละครชาตรี

มีนายพูน เรืองนนท เปนโตโผละครชาตรีที่มีชื่อเสียง

Page 12: The Development of Nang-Loeng Area · 98 วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 30 ฉบับที่

108

วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย

ปีที่ 30 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2553

ที่หนาบานจะมีเสาเล็กๆ ปกไว ยอดเสามีกรวยใส

ศรพระขรรค กระบองดาบเล็กๆ รวมทั้งธงแดงที่เปน

เครื่องหมายวาที่นี่มีละครชาตรี “รับงานหา” เพื่อไป

เลนในงานตางๆ และแกบนดวย (สงา กาญจนาคพันธุ

2523 : 99)

ในอดีตยานหลานหลวงซ่ึงเปนพ้ืนท่ีสวนหน่ึง

ของยานนางเล้ิงจึงมีช่ือมากเร่ืองศิลปะการแสดง ท่ีขาด

ไมไดคือ การไดแสดงท่ีตลาดนางเล้ิง ชาวบานท้ังใกลและ

ไกลมักเลาถึงการไดชมละครและลิเกท่ีตลาดนางเล้ิงถือ

เปนเร่ืองสนุกสนานนาชมมากในยุคน้ัน

โรงหนังนางเล้ิงต้ังอยูขางตลาดนางเล้ิง เปน

อาคารไมคอนขางใหญ มีสองช้ัน หลังมุงดวยสังกะสี

ชาวบานเลาวาเดิมนาจะเปนโรงลิเกกอนแลวคอยปรับ

สรางเปนโรงหนังเปนหน่ึงในโรงภาพยนตรของบริษัท

พยนตพัฒนาการ เปดฉายภาพยนตรคร้ังแรกในป

พ.ศ. 2461 ไดรับความนิยมมากในขณะน้ัน ระยะแรกเปน

หนังใบกอน ตอมาจึงเปนหนังพากย ภายในโรงหนังจะมีท่ี

น่ังเปนมาน่ังยาวเรียงราย ในป พ.ศ. 2475 ไดมกีารเปลีย่น

ชื่อโรงหนังนางเลิ้งเปน “ศาลาเฉลิมธานี” เพื่อรวมเฉลิม

ฉลองกรุงเทพฯ ครบ 150 ป

ทุกวันน้ีชาวบานยังมีความทรงจำากับการชม

ภาพยนตร กอนการฉายภาพยนตรจะมีแตรวงมาเลนหนา

โรงภาพยนตรเชิญชวนผูคนมาชม บริเวณหนาโรงหนัง

มีขนมของกินตางๆ วางขายและท่ีสำาคัญมิตร ชัยบัญชา

ดาราภาพยนตรยอดนิยมสมัยกอนก็เคยอาศัยอยูยานน้ี

และภาพยนตรเร่ืองท่ีมิตร ชัยบัญชานำาแสดงยังนำามาฉาย

ท่ีโรงน้ีกอนท่ีจะประสบอุบัติเหตุเสียชีวิตจากการแสดง

ตรอกละคร (ที่มา: เก็บขอมูล วันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2553)

บริเวณตรอกละคร (ถายโดย ฮันท, วิลเลี่ยม พ.ศ. 2489 รหัส ภ WH 2 ภาคกลาง กลอง 3 / 159 หอจดหมายเหตุแหงชาติ)

ศพของเขาไดฝงไวท่ีวัดสุนทรธรรมทาน (วัดแค นางเล้ิง)

สิ่งที่ตามมากับความเจริญของยานตลาด

ศูนยกลางการคาที่ผูคนคึกคักนอกจากโรงหนังแลว ใน

ยคุกอนยงัมโีรงฝน โรงบอน แหลงสถานหญงิขายบรกิาร

หรือบานโคมเขียวตามมาดวย

ยานนางเลิ้งก็เชนเดียวกันมี ตรอกสะพาน

ยาวซึง่เปนตรอกเลก็ๆ ขางโรงหนงันางเลิง้ เดมิตรอกนี้

เปนที่อยูอาศัยกอน เมื่อความเจริญเขามาสูยานนางเลิ้ง

ตรอกนี้คอยๆ กลายเปนแหลงที่อยูของหญิงขายบริการ

หรือโสเภณีไป ชาวบานเลาวากลุมผูชายที่มาเที่ยว

Page 13: The Development of Nang-Loeng Area · 98 วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 30 ฉบับที่

พัฒนาการยาน นาง เลิ้ง

สุภา ภรณ จินดามณี โรจน

109

สวนใหญเปนคนตางถิ่นโดยเฉพาะทหารซึ่งอยูไมไกล

จากยานนี้ ยานที่มีความเจริญทางการคาเกือบทุกแหง

ในกรุงเทพฯยุคกอน รวมทั้งยานเยาวราชมักมีสถาน

หญิงขายบริการเสมอ

ในป พ.ศ. 2472 (ตรงกับรัชสมัยพระบาท

สมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 7 พ.ศ. 2468 -

2475) เกิดไฟไหมยานนางเลิ้งหลายครั้ง เชน ในเดือน

มกราคม พ.ศ. 2472 เกิดไหมหองแถวหลังโรงหนัง

นางเลิ้ง 7 หอง และบานเรือนชาวบาน 21 หลัง และใน

เดือนเมษายน พ.ศ. 2472 ไฟไหมตึกแถวเชิงสะพาน

เทวกรรมรงัรกัษอกีหลายหอง (ราชกจิจา นเุบกษา เลม 46

หนา 306 และ 3970) แตการคาขายของยานนางเลิง้กย็งั

โรงหนังนางเลิ้ง (ที่มา: เก็บขอมูลวันที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2553)

มิตร ชัยบัญชา ขณะที่ยังมีชีวิตและโกศของมิตร ชัยบัญชา

ที่วัดสุนทรธรรมทาน (ที่มา: เก็บขอมูลวันที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2553)

ทางน้ำารอบๆ ยานนี้เริ่มคอยๆ ลดความสำาคัญลง

เรื่อยๆ เพราะบริเวณรอบนอกกรุงเทพมหานคร

ไดรับการพัฒนาขึ้นเรื่อยๆ ตามลำาดับ มีการสราง

ถนนหนทางขยายมากขึ้ นทั้ งทางฝ งตะวั นตก

และฝ งตะวันออกของกรุงเทพมหานคร ทำาใหผู คน

ขยับขยายออกไปตั้งบานเรือน หางราน และเกิดหาง

สรรพสินคาที่ทันสมัยกวา ผู คนจึงไมจำาเปนตองไป

จับจายของในยานกลางเมืองเชนยานตลาดนางเลิ้ง

บริเวณยานนางเลิ้งที่เคยเจริญ และคึกคัก

ในฐานะยานการคาที่ทันสมัยเริ่มไดรับผลกระทบ และ

คอยๆ ซบเซาลงอยางตอเนื่อง โดยเริ่มจากการที่

เคยเปน “ยานวัง” ของพระราชโอรสและพระบรม

ฟนและดำาเนินมาจนชวงสงครามโลกครั้งที่

2 (พ.ศ. 2484 - 2489) การคาหยุดชะงัก

ไปอีกระยะหนึ่งแตเมื่อสิ้นสุดสงครามโลก

ครั้งที่ 2 ในชวงตนปพ.ศ. 2489 การคา

ย านนี้ รุ ง เรืองเช นเดิมโดยอาศัยการ

คมนาคมทางบกและทางน้ำา ทางบกคอืถนน

รอบๆ ยานนางเลิ้งและผานนางเลิ้ง โดยมี

ทั้งรถมา รถยนตและรถรางสายสีแดง สวน

ทางน้ำาทีส่ำาคญัคอืคลองผดงุกรงุเกษมยงัคง

คึกคักอยูดังที่เห็นจากภาพถายเกาที่ถาย

ในป พ.ศ. 2489

ภาพเกาเหลานีล้วนถายในป พ.ศ.

2489 โดยนายวิลเลี่ยม ฮันท แสดงใหเห็น

วาชวงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ยานนาง

เลิง้มบีานเรอืนผูคนหนาแนนอยูบรเิวณโดย

รอบวัดสุนทรธรรมทาน ตลาดนางเลิ้ง และ

วดัโสมนสัราชวรวหิาร การคมนาคมทางน้ำา

รอบพระนครยังคงมีอยูและคอนขางคึกคัก

โดยเฉพาะยานนางเลิ้ง

วันนี้นางเลิ้งเปลี่ยนแปลงไป

หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 (หลัง

พ.ศ. 2489) ยานนางเลิ้งและตลาดนางเลิ้ง

ยังรุ งเรืองอยู เสนทางคมนาคมทั้งทาง

น้ำาและทางบกยังคึกคัก แตหลังป พ.ศ.

2500 เป นต นมาเส นทางคมนาคม

Page 14: The Development of Nang-Loeng Area · 98 วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 30 ฉบับที่

110

วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย

ปีที่ 30 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2553

ภาพถายทางอากาศ ชวงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2

(ถายโดย ฮันท, วิลเลี่ยม พ.ศ. 2489 รหัส ภ WH 2 ภาคกลาง กลอง 3 / 159 หอจดหมายเหตุแหงชาติ)

ปากคลองผดุงกรุงเกษมที่เทเวศร เห็นเรือรับสงสินคาคับคั่ง

เสนทางสูยานนางเลิ้ง

(ที่มา: กรม ศิลปากร รวม กับ มูลนิธ ิซิ เมน ตไทย 2539 : 146)

วัดโสมนัสฯ และ ยานตลาดนางเลิ้ง

(ที่มา: ฮันท, วิลเล่ียม พ.ศ. 2489 รหัส ภ WH .2 กลอง 3 /159

หอจดหมายเหตุแหงชาติ)

Page 15: The Development of Nang-Loeng Area · 98 วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 30 ฉบับที่

พัฒนาการยาน นาง เลิ้ง

สุภา ภรณ จินดามณี โรจน

111

วงศานุวงศและขาราชการชั้นผูใหญเริ่มคอยหมดไป

นับตั้งแตเกิดการเปลี่ยนแปลงการปกครอง ในป พ.ศ.

2475 และเมื่อตอมาเกิดการเปลี่ยนแปลงเศรษฐกิจ

สังคมสงผลใหหลายวังถูกปรับเปนอาคารพานิช ที่อยู

อาศยัทีท่นัสมยั สถานทีร่าชการและหนวยงานตางๆ จงึ

เหลือวังในยานนี้เพียงไมกี่วังที่ทายาทที่ยังสืบตอมา

โรงฝนที่ริมถนนกรุงเกษมยานตลาดนางเลิ้ง

ที่มีผู คนจากที่ต างๆมาใชบริการตองปดตัวลงในป

พ.ศ. 2506 เนื่องจากการสูบฝ นและการมีฝ นไวใน

ครอบครองกลายเปนเรื่องผิดกฎหมายในสมัยรัฐบาล

จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต

ตรอกสะพานยาวดานขางโรงหนงัเฉลมิธานี

ซึ่งเปนแหลงบันเทิงเริงรมยหรือยานโสเภณีราคาถูก

ของตลาดนางเลิ้งที่โดงดังมานานไดถูกไหมเกือบหมด

สิ้น ในป พ.ศ. 2513 เหลือบานผูหญิงโสเภณีอยูเพียงไม

กีห่ลงั อกี 3 ปตอมาทางวดัสนุทรธรรมทานเจาของทีด่นิ

ไดนำาพื้นที่บริเวณตรอกสะพานยาวพัฒนาเปนตึกและ

อาคารที่อยู อาศัยแทน ตรอกสะพานยาวจึงเหลือแต

ตำานานการเลาสูกันจนทุกวันนี้

คลองผดุงกรุงเกษมหนาวัดโสมนัสฯ และหนายานตลาดนางเลิ้ง

เห็นเรือชนิดตางๆขึ้นลองตลอดลำาคลองขนานคูกับถนน

กรุงเกษมและถนนลูกหลวง

(ที่มา: ฮันท, วิลเล่ียม พ.ศ. 2489 รหัส ภ WH .2 กลอง 3 /159

หอจดหมายเหตุแหงชาติ)

ภาพตลาดนางเลิ้ง(ดานซาย) คลองผดุงกรุงเกษมที่ถูกขนาบ

ดวยถนนกรุงเกษมและถนนลูกหลวง

ผูคนยังสัญจรทางเรืออยู ในป พ.ศ. 2489

(ที่มา: ฮันท, วิลเล่ียม พ.ศ. 2489 รหัส ภ WH. 2

กลอง 3 /159 หอจดหมายเหตุแหงชาติ)

ตรอกละคร ถัดตลาดนางเลิ้งเขาไปทาง ดาน

ถนนหลานหลวงและติดกับวัดสุนทรธรรมทาน เปน

กลุมบานเรือนศิลปนนักแสดงทั้งดนตรีปพาทย ละคร

ชาตรี ลิเก หนังตะลุงที่มีชื่อเสียงยานหนึ่งของกรุงเทพ

มหานคร โดยเฉพาะของคณะของครูพูน เรืองนนท

ที่สืบเชื้อสายศิลปะการแสดงมาจากบรรพบุรุษที่อพยพ

มาจากเมอืงนครศรธีรรมราชนบัแตสมยัรชักาลพระบาท

สมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว แตในป พ.ศ. 2525 ไดเกิด

เพลิงไหมบานเรือนยานตรอกละครรวมทั้งไดเผาผลาญ

อุปกรณการแสดงและตัวหนังตะลุงเสียหายอยางหนัก

จนการสืบทอดการเลนหนังตะลุงตองเลิกไปโดยปริยาย

อยางไรกต็ามลกูหลานนายพนู เรอืงนนท ทีบ่างสวนยงั

สรางที่อยูใหมบริเวณที่เดิมไดพยายามรวบรวมอุปกรณ

ที่เหลืออยู และสรางขึ้นมาใหมเพื่อสืบสานและดำารง

ภูมิปญญาดานศิลปะการแสดง โดยเฉพาะดานดนตรี

ปพาทย และละครชาตรีตอมาทามกลางกระแสความ

นิยมที่ลดนอยถอยลงอยางมากมายในปจจุบัน

ทุกวันนี้โขน หนังตะลุง ลิเก ยานนี้ไมมีแลว

ยังคงมีแตละครหรือที่เรียกวาละครชาตรีหลานหลวง

Page 16: The Development of Nang-Loeng Area · 98 วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 30 ฉบับที่

112

วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย

ปีที่ 30 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2553

และดนตรีปพาทยฝมือชั้นครูที่เปนทายาทของครูพูน

เรืองนนท

ปจจุบันทายาทของคณะครูพูน เรืองนนทท่ี

ยังสืบทอดศิลปะการแสดงโดยเฉพาะละครชาตรี ไดแก

คณะครูทองใบเรืองนนทของคุณบัวสาย เรืองนนท

คณะกัญญาลูกแมแพน (หรือละครรำาชาตรีกัญญา

ทิพโยสถ) ของคุณกัญญา ทิพโยสถ คณะวันดีนาฏศิลป

(หรือคณะวันดีลูกสาวครูพูนเรืองนนท) ของคุณวันดี

เรืองนนท คณะครูพูนเรืองนนท ของคุณสุภาภรณ

ฤกษะสาร และคณะกนกพรทิพโยสถของคุณกนกพร

ทิพโยสถ

สวนดนตรีปพาทยนั้นที่โดดเดนคือ ครูพิณ

เรืองนนท ผูมีฝมือกลองและเครื่องหนังชั้นบรมครูใน

ขณะนี้ และมีคณะศิษยเรืองนนทของคุณบุญสราง

เรืองนนทผูสืบสานดนตรีปพาทยจากครูพูน เรืองนนท

นอกจากนีย้งัมลีกูหลานครพูนู เรอืงนนทอกีหลายคนทีม่ี

ความสามารถเรือ่งเครือ่งหนงั ดนตรปีพาทยซึง่มกัไดรบั

เชิญไปรวมเลนกับคณะอื่นๆ อยูเสมอ

ในอดีตยานหลานหลวงซ่ึงเปนพ้ืนท่ีสวนหน่ึง

ของยานนางเล้ิงจึงข้ึนช่ือเร่ืองศิลปะการแสดง ท่ีขาด

ไมไดคือ การไดแสดงท่ีตลาดนางเล้ิง ชาวบานท้ังใกลและ

ไกลมักเลาถึงการไดชมละครและลิเกท่ีตลาดนางเล้ิงถือ

เปนเร่ืองสนุกสนานนาชมมากในยุคน้ัน

โรงหนังนางเลิ้งหรือโรงหนังเฉลิมธานี เริ่ม

กลายเปนโรงหนังที่ลาสมัย เดิมเคยมีผูคนมาชมภาพ

ยนตร200-300 คน ตอมาเหลือเพียง 10-20 คนจน

โรงหนังประสบภาวะการขาดทุน สภาพโรงหนัง

ทรุดโทรมลง ถึงจะทำาการซอมบำารุงก็ไมคุมทุน ทาย

ทีส่ดุโรงหนงัจำาตองปดตวัลงในปพ.ศ. 2536 และไดกลาย

เปนกดุงัเกบ็ของ แตดวยรปูแบบอาคารโรงหนงัเรอืนไมที่

เกาและหาดูไดยากในกรุงเทพมหานคร เมื่อ 5 ปที่ผาน

ชาวบานยานนางเลิ้งตระหนักเห็นความสำาคัญและตื่น

คุณกัญญา ทิพโยสถ

ครูพิณ เรืองนนท

(ที่มา: เก็บขอมูลวันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2553)

การเลนละครชาตรี (ที่มา: เก็บขอมูลวันที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2553)

Page 17: The Development of Nang-Loeng Area · 98 วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 30 ฉบับที่

พัฒนาการยาน นาง เลิ้ง

สุภา ภรณ จินดามณี โรจน

113

ตวัพยายามชวยกนัรณรงคการอนรุกัษและอยากฟนโรง

หนงันีใ้หมชีวีติและใชเปนพืน้ทีพ่ลกิฟนความเปนนางเลิง้

ขึ้นมากอนที่จะหายไปกลับการเปลี่ยนแปลงที่กำาลังเกิด

ขึ้นอยางรุนแรงและรวดเร็วในปจจุบัน

ตลาดนางเลิ้งทั้งตลาดสดและอาคารรานคา

โดยรอบเริ่มคอยๆ ซบเซาลง ผูคนมาจับจายซื้อของ

อุปโภคบริโภคน อยลงเพราะผลกระทบจากการ

เปลี่ยนแปลงดังกลาวที่เกิดขึ้น รานคาตึกแถวโดยรอบ

เริ่มปดตัวลง บางอพยพออกไปอยูแถบรอบนอก ที่ยัง

คงเปดรานคาอยูก็ดำาเนินกิจการเล็กๆ นอยๆ ที่ขาย

ของสดประเภทเนื้อสัตว ปลา ของทะเล ผัก ผลไม มี

ขายบาง แตไมมากนกั เกดิการปรบัตวัของตลาดสดและ

รานคาโดยรอบที่เดิมเปดขายของสด อาหาร ของใชทั้ง

วัน มาเปลี่ยนเปนเนนการขายอาหารสำาเร็จรูป เชน

กวยเตี๋ยวเปด เปดยางหมูแดง ขาวแกง ขาวขาหมู

มะหมี่เปด ขนมผักกาด ขนมกุยชาย อาหารตามสั่ง

ไสกรอกปลาแหนม ขนมหวานชนดิตางๆ มากมาย เนน

การขายชวงพกัรบัประทานอาหารกลางวนัเปนหลกัเพือ่

รองรบัขาราชการ พนกังานบรษิทั และชาวบานในยานนัน้

และลูกคาขาประจำาในอดีตทียังติดใจในรสชาดราน

อาหารและขนมที่อรอยสืบตอกันมาชานานของยานนี้

สนามมานางเลิ้งหรือราชตฤณมัยสมาคม

แหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภซึ่งปจจุบัน

มีอายุ 90 กวาปแลวทำาใหยานนางเลิ้งยังพอมีผูคนมาก

หนาหลายตาจากหลายทิศมาชุมนุมชมการแขงมาใน

วันอาทิตยเวนอาทิตย และบางก็แวะมารับประทาน

อาหารกันบางในชวงกลางวันและชวงค่ำาเมื่อเลิกการ

แขงมา ชาวนางเลิ้งจำานวนหนึ่งก็ชอบดู บางที่ติดพัน

กบัการพนนัมาคงมบีาง แตสนามมามไิดมแีตการแขงมา

แตยงัมกีฬีาอืน่ๆ ใหเลน เชน กอลฟ เทนนสิ แบทมนิตนั

และวายน้ำา เปนตน

บานญวนนางเลิ้ง ริมคลองผดุงกรุงเกษมซึ่ง

มีวัดสมณานัมบริหารหรือที่เรียกกันวา วัดญวนนางเลิ้ง

Page 18: The Development of Nang-Loeng Area · 98 วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 30 ฉบับที่

114

วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย

ปีที่ 30 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2553

หรอื วดัญวนสะพานขาว ทีอ่พยพมาจากเมอืงกาญจนบรุี

ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัวนั้น

ปจจุบันลูกหลานกลายเปนไทย แตยังคงสืบทอดการ

นบัถอืพทุธศาสนาแบบอนมันกิายและประเพณพีธิกีรรม

โดยเฉพาะพิธีไหวบูชานพเคราะห เปนตน

ทกุวนันีย้านนางเลิง้ยงัมผีูคนทัง้ไทย ลกูหลาน

ไทยเชือ้สายจนี และลกูหลานไทยเชือ้สายญวนยงัอยูรวม

กนัอยางเขาใจกนั มปีฏสิมัพนัธกนัมาแตอดตีจนปจจบุนั

โดยมีตลาดนางเลิ้งเปนศูนยกลาง

การคมนาคมมายานนางเล้ิงปจจุบันใชเสนทาง

คมนาคมบกทางเดียว ถึงยานนางเล้ิงและโดยรอบจะมี

บรรยากาศภายใน อาคารตลาดนางเลิ้ง (ที่มา: เก็บขอมูลวันที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2553)

บรรยากาศภายในตลาดนางเลิ้ง

ถนนมากมาย แตสภาพการจราจรท่ีหนาแนนในปจจุบัน

และการเดินรถในถนนโดยรอบมักเปนการเดินรถทาง

เดียว ทำาใหการมาเยือนยานนางเล้ิงไมสะดวกเพราะรถติด

Page 19: The Development of Nang-Loeng Area · 98 วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 30 ฉบับที่

พัฒนาการยาน นาง เลิ้ง

สุภา ภรณ จินดามณี โรจน

115

เก้ือกูลกัน ผูคนท่ียายไปอยูท่ีอ่ืนมักกลับมาเย่ียมเยือนมิตร

สหาย มาทำาบุญ เพราะยังผูกพันคิดถึงนางเล้ิงและมักพูด

เสมอวา “ฉันรักนางเล้ิง”

วันน้ีนางเล้ิงเปล่ียนแปลงไป แตผูคนยาน

นางเล้ิงตางมีความทรงจำาท่ีภาคภูมิใจในอดีตของตน

มีตลาดนางเล้ิงตลาดโบราณท่ีชาวบานเห็นคุณคา มี

โรงหนังศาลาเฉลิมธานี (โรงหนังนางเล้ิง) ท่ีอยูในสภาพ

ทรุดโทรมแตชาวบานภาคภูมิใจในความเปนโรงหนังเกา

โบราณท่ีหาดูไดยากในยานเกากรุงเทพมหานคร

มีละครชาตรี ปพาทย ของทายาทครูพูน เรืองนนทท่ี

พยายามสืบทอดมาจนทุกวันน้ีทามกลางกระแสความ

นิยมการแสดงสมัยใหม ความสำานึกการเปนคนนางเล้ิงยัง

ปรากฏใหเห็น ทุกคนมีศูนยรวมจิตใจท่ีวัดสุนทรธรรมทาน

วัดโสมนัสราชวรวิหาร และศาลเจาตลาดนางเล้ิง

วันนี้ถึงนางเลิ้งจะเปลี่ยนแปลงไปอยางไรคน

นางเลิ้งยังรักถิ่นฐานและภาคภูมิใจบานเกิดของตน

และไมมีท่ีจอดรถ รานคาพานิชและตลาดนางเล้ิงจึงย่ิง

ซบเซา หลายบานตองปดตัวลงอีกและจำานวนไมนอย

อพยพออกไปหาท่ีอยูใหม แตในขณะเดียวกันมีผูอพยพ

เขามาอยูใหมเพ่ือเปนแรงงานและทำางานยานกลางเมือง

ทำาใหหลายจุดของยานน้ีกลายเปนชุมชนแออัด

แตเปนท่ีนาสังเกตวา ชาวบานท้ังท่ีอยูมานาน

และท่ีอพยพเขามาอยูใหมมักอยูรวมกันไดอยางสมานฉันท

ทุกคนสวนใหญมักไปทำาบุญท่ีวัดสุนทรธรรมทาน รูจักกัน

Page 20: The Development of Nang-Loeng Area · 98 วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 30 ฉบับที่

116

วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย

ปีที่ 30 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2553

บรรณานุกรม

หนังสือ

กรมแผนที่ทหาร. (2542). แผนที่กรุงเทพฯพ.ศ.2431-2474.กรุงเทพฯ: กองบัญชาการทหารสูงสุด.

กรมแผนที่ทหาร. (2527).แผนที่กรุงเทพฯพ.ศ.2431-2474.กรุงเทพฯ: กรม.

กรมแผนที่ทหาร และจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. (2549). พินิจพระนคร2475-2545. กรุงเทพฯ: กรม.

กรมศิลปากรรวมกับมูลนิธิซิเมนตไทย. (2539).กรุงเทพฯ2489-2539.กรุงเทพฯ: กรม.

กฤตพร หาวเจริญ. (2546). บทบาทและการพัฒนาพื้นที่ยานนางเลิ้ง กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธการวางแผน

ภาคและเมืองมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

กรุงเทพมหานคร. สำานักผังเมือง. (2546). สมุดภาพแหงกรุงเทพมหานคร220ป. กรุงเทพฯ: สำานัก.

ณรงค โพธิพ์ฤกษานนัท. (2547). รายงานการวจิยัฉบบัสมบรูณเรือ่งความผกูพนัของประชาชนทีม่ตีอชมุชน:

กรณีศึกษาชุมชนตลาดนางเลิ้งกรุงเทพมหานคร. กรุงเทพฯ: สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขต

พาณิชยการพระนคร.

ทิพากรวงศ (ขำา บุนนาค), เจาพระยา. (2504). พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร. กรุงเทพฯ: องคการคุรุสภา.

เทียมสูรย สิริศรีศักดิ์. (2543). การศึกษาเพื่อการอนุรักษยานนางเลิ้ง. วิทยานิพนธสถาปตยกรรมศาสตร

มหาบัณฑิต จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

ปราณี กล่ำาสม. (2549).ยานเกาในกรุงเทพฯเลม2.กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ.

พระครูวิจารณวรกิจและศิษยานุศิษย. (ม.ป.ป.). ประวัติวัดสุนทรธรรมทานกับพระราชธรรมวิจารณ(ธูปเขมสิริ).

กรุงเทพฯ: บางกอกบล็อก.

วิจิตรมาตรา (สงา กาญจนาคพันธุ), ขุน. (2542).กรุงเทพฯเมื่อวานนี้. กรุงเทพฯ: สารคดี.

ส. พลายนอย. (2544).เลาเรื่องบางกอกเลม1-2. พิมพครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ: สายธาร.

สงา กาญจนาคพันธุ. (2523). ถนนราชดำาเนิน. เมืองโบราณ 6 (3) : 91-113.

สุจิตต วงษเทศ, บรรณาธิการ. (2545). กวีสยามนำาเที่ยวกรุงเทพฯ. กรุงเทพฯ: มติชน.

_______________________. (2548). กรุงเทพฯมาจากไหน?. กรุงเทพฯ: มติชน.

อลงกรณ เอี่ยมสกุลวิวัฒน. (2550). ปจจัยความตองการดานกายภาพของผูมีสวนไดสวนเสียที่มีผลตอการ

พัฒนาเชิงอนุรักษตลาดเกานางเลิ้ง. วิทยานิพนธการวางแผนชุมชนเมืองและสภาพแวดลอมมหาบัณฑิต

มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ฮันท, วิลเลี่ยม. ภาพถายทางอากาศบริเวณนางเลิ้งปพ.ศ.2489. รหัส ภ WH 2 ภาคกลาง กลอง 3 / 159 จาก

หอจดหมายเหตุแหงชาติ

สื่ออิเล็กทรอนิกส

ประวัติสมาคมราชตฤณมัยสมาคมแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ (สนามมานางเลิ้ง). [ออนไลน].

สืบคนเมื่อ 3 กันยายน 2553. จาก http://www.rtcot.com/pic%20total/history.htm

ประวตัหินวยงานสถานตีำารวจนครบาลนางเลิง้.[ออนไลน]. สบืคนเมือ่ 5 กนัยายน 2553. จาก http://nangleng.

metro.police.go.th/index.php?cat=1

แผนที่แสดงถนนและคลองยานนางเลิ้ง. [ออนไลน]. สืบคนเมื่อ 3 กันยายน 2553. จาก http://googlemap.com

Page 21: The Development of Nang-Loeng Area · 98 วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 30 ฉบับที่

พัฒนาการยาน นาง เลิ้ง

สุภา ภรณ จินดามณี โรจน

117

สัมภาษณ

คุณกนกพร ทิพโยสถ วันที่ 21 กันยายน พ.ศ. 2553

คุณกัญญา ทิพโยสถ วันที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2553

คุณบัวสาย เรืองนนท วันที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2553

คุณบุษบา ทัพผล วันที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2553

คุณพรศรี เรืองนนท วันที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2553

คุณพัฒนา เรืองนนท วันที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2553

คุณพิณ เรืองนนท วันที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2553

คุณยอดหญิง จุยประเสริฐ วันที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2553

คุณวันดี เรืองนนท วันที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2553

คุณสุภาภรณ กฤษะสาร วันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2553

คุณสุวัน แววพลอยงาม วันที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2553

คุณอำาพัน วันที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2553

ชาวตลาดนางเลิ้ง สิงหาคม-กันยายน พ.ศ. 2553

Page 22: The Development of Nang-Loeng Area · 98 วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 30 ฉบับที่