· web viewงช าง ท ม องค ความร...

9
ขขขขขขขขขขขขขขขขขขขขขขขขขขขขขขขขขขขขขขขขขขขขขขขขขขขขขขข (ขขขขขข 1 ขขขขขขขข ขขขขขขขขขขขขขขขข) ขขขขขขขขขขขขขขขขขขขขขข http://203.151.20.206/FTP/MOOC/ ขขขข 1/ ขขขขขขขขขขขข ขขขขขขขขขขขขขขขขขขขขขขขขขขขขขข ขขขขขขขขขขขขขขขขขขขขขข 1 ขขขขขขขขขขขขขขขขขขขขข ขขขขขขขขขขขขขขขขขขข ขขขขขขขขขขขขขขขขขขขขขขขขขขขขขขขขขขขขขขขขขขขขขขขขขขขขขข ขขขขขข

Upload: others

Post on 22-Sep-2020

4 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1:  · Web viewงช าง ท ม องค ความร และความชำนาญในการ งว ดพ นท และการใช เคร อง (Geographic

ขอ้พจิารณาในการจดัทำาขอบเขตพื้นท่ีปกปักทรพัยากรท้องถ่ิน (งานท่ี 1 งานปกปักทรพัยากรท้องถ่ิน)

ขอ้มูลประกอบการพจิารณา http://203.151.20.206/FTP/MOOC/ อพสธ 1/ ในสว่นของคำาแนะนำางานปกปักทรพัยากรท้องถิ่น ลำาดับการดำาเนินงานท่ี 1 กำาหนดขอบเขตพื้นที่ปกปักทรพัยากรท้องถิ่น มรีายละเอียดประกอบการพจิารณาซึ่งเป็นคำาอธบิายเพิม่เติม ดังนี้

Page 2:  · Web viewงช าง ท ม องค ความร และความชำนาญในการ งว ดพ นท และการใช เคร อง (Geographic

จากขอ้มูลเชงิประจกัษ์ ของ อปท. ท่ีเป็นแบบอยา่งท่ีดีในงานฐานทรพัยากรท้องถิ่น 35 อปท. นัน้ พบวา่พื้นท่ีปกปักทรพัยากรท้องถิ่นไมไ่ด้จำากัดอยูแ่ค่เพยีงพื้นท่ีสาธารณะประโยชน์เท่านัน้ แต่มคีวามหลากหลายทั้งประเภทของพื้นท่ี และกฎหมายในการบรหิารจดัการพื้นที่ นอกจาก พื้นท่ีราชพสัด ุ(น.ส.ล.) ยงัมพีื้นท่ีประเภทอื่นๆ อีก อาทิ มท้ัีงเอกสารสทิธิป์ระเภทโฉนด (รายบุคคล) พื้นที ส.ป.ก. พื้นท่ีป่าสงวนแห่งชาติ พื้นที่ธรณีสงฆ ์เป็นต้น

Page 3:  · Web viewงช าง ท ม องค ความร และความชำนาญในการ งว ดพ นท และการใช เคร อง (Geographic
Page 4:  · Web viewงช าง ท ม องค ความร และความชำนาญในการ งว ดพ นท และการใช เคร อง (Geographic

1. วางแผนโดยการใชแ้ผนท่ีของพื้นท่ีเป้าหมาย มาพจิารณาดำาเนินการเป็นพื้นท่ีปกปักฯ ตามความเหมาะสม ซึง่ประเภทของพื้นท่ีท่ีจะนำามาทำาเป็นพื้นท่ีปกปักฯ แบง่ออกเป็น

กรณีใชพ้ื้นท่ีมเีอกสารสทิธิม์าทำาพื้นท่ีปกปักฯ การใชพ้ื้นท่ีท่ีเป็นของหน่วยงานอื่น/พื้นท่ีทับซอ้น1. เชน่ อปท. ใชพ้ื้นท่ีสาธารณะประโยชน์มาเป็นพื้นท่ีปกปัก

ทรพัยากรท้องถิ่น ขอ้มูลขอบเขตของพื้นท่ีจะเป็นรายละเอียดในเอกสารสทิธิ ์ซึ่งจะมแีผนท่ีรูปแปลงท่ีดินดังกล่าวแนบท้าย สามารถวางแผนการจดัทำาขอบเขตของพื้นท่ีปกปักโดยอิงจากขอ้มูลแผนท่ีดังกล่าวได้

1. กรณีพื้นท่ีเป็นของหน่วยงานอ่ืนๆ อาทิ ส.ป.ก./ท่ีราชพสัด ุ(ม ีน.ส.ล.) พื้นท่ีป่าสงวนแหง่ชาติ (กรมป่าไม)้ ควรต้องมกีารหารอืกับเจา้ของพื้นท่ี ซึ่งโดยหลักการตามนโยบาย หากเจา้ของพื้นท่ียนิยอม สามารถนำามาดำาเนินการเป็นพื้นท่ีปกปักทรพัยากรท้องถ่ินได้ ยกตัวอยา่งเชน่ พื้นท่ีปกปักทรพัยากรท้องถิ่น อพ.สธ. - อบต.กื้ดชา้ง จ.เชยีงใหม ่กันพื้นท่ีป่าสงวนแหง่ชาติ (ป่าสนักื้ด) สว่นหนึ่ง เน้ือท่ี 60 ไร ่จากเนื้อท่ีทัง้หมด 200 ไร ่นำามาเป็นพื้นท่ีปกปักทรพัยากรท้องถิ่น โดยได้รบัความเหน็ชอบจากสำานักงานป่าไมจ้งัหวดัเชยีงใหม ่และสำานักงานจดัการป่าชุมชน กรมป่าไม ้เป็นต้น

2. กรณีใชโ้ฉนดท่ีดินมาเป็นพื้นท่ีปกปักทรพัยากรท้องถิ่น ต้องได้รบัความยนิยอมจากเจา้ของ ซึ่งต้องเขา้ใจตรงกันก่อนวา่ (ไมใ่ชก่ารน้อมเกล้าฯ ถวายท่ีดิน สทิธิย์งัคงเป็นของเจา้ของท่ีดินตามเอกสารสทิธิ ์และไมค่วรนำาการสนองพระราชดำารใินพื้นท่ีดังกล่าวไปอ้างเพื่อหาผลประโยชน์) สามารถวางแผนการจดัทำาขอบเขตของพื้นท่ีปกปักโดยอิงจากขอ้มูลแผนท่ีดังกล่าวได้

2. เพื่อเป็นการป้องกันปัญหาทางกฎหมายเรื่องพื้นท่ีท่ีจะตามมา พื้นท่ีปกปักฯ ในงานปกปักทรพัยากรท้องถิ่น อพ.สธ. จะไมใ่ช่พื้นท่ีป่าอนุรกัษ์ (อุทยานแหง่ชาติ เขตรกัษาพนัธุส์ตัวป์่า และเขตหา้มล่าสตัวป่์า ที่อยูใ่นควาดแูลของกรมอุทยานแหง่ชาติ สตัวป์่า และพนัธุพ์ชื) สว่นการท่ีทางกรมอุทยานฯ นำาพื้นท่ีดังกล่าวมาสนองพระราชดำาร ิเป็นเรื่องการสนองพระราชดำาร ิอพ.สธ. โดยกรมอุทยานฯ ซึ่งอาจจะมกีารบูรณาการรว่มกับ อปท. เป็นคราวๆ ไป เชน่ มกีารใชพ้ื้นท่ีเป็นแหล่งฝึกอบรมตามกรอบการสรา้งจติสำานึก กิจกรรมท่ี 8 กิจกรรมพเิศษสนับสนุนการอนุรกัษ์ทรพัยากร ซึ่งเป็นบทบาทของกรมอุทยานฯ ในการใช้

Page 5:  · Web viewงช าง ท ม องค ความร และความชำนาญในการ งว ดพ นท และการใช เคร อง (Geographic

พื้นท่ีเพื่อเป็นแหล่งเรยีนรู ้ฝึกอบรม เพื่อสรา้งจติสำานึกในการอนุรกัษ์ทรพัยากร ใหก้ับเป้าหมายท่ีเป็นบุคลากรของ อปท. /โรงเรยีนสมาชกิ

3. กระบวนการพจิารณาคัดเลือกพื้นท่ีปกปักฯ สดุท้ายจะต้องผ่านความเหน็ชอบ (มติเป็นเอกฉันท์) จากคณะทำางาน อพ.สธ. - อปท.

3. กระบวนการพจิารณาคัดเลือกพื้นท่ีปกปักฯ สดุท้ายจะต้องผ่านความเหน็ชอบ (มติเป็นเอกฉันท์) จากคณะทำางาน อพ.สธ. - อปท. อยา่งไรก็ตามหากเจา้ของพื้นท่ีไมอ่นุญาต หรอื ขอบเขตของพื้นท่ีไมช่ดัเจน/เป็นพื้นท่ีทับซอ้น ทาง อพ.สธ. ไมแ่นะนำาให้นำามาดำาเนินงานปกปักทรพัยากรท้องถิ่น เพราะจะเกิดปัญหายุง่ยากตามมา และท่ีสำาคัญจะผิดกฎหมาย

2. การกำาหนดตัวบุคลากรของทาง อปท. ท่ีจะชว่ยในการจดัทำาขอบเขตพื้นท่ีปกปักฯ โดยมบุีคลากรท่ีเป็นสว่นสำาคัญ คือ กองชา่ง ท่ีมอีงค์ความรูแ้ละความชำานาญในการงัวดัพื้นท่ี และการใชเ้ครื่อง (Geographic Positioning System; GPS) อยูแ่ล้ว ซึง่ตัวชีว้ดัด้านพื้นท่ีของงานปกปักทรพัยากรท้องถ่ิน คือ ขอบเขตของพื้นท่ีปกปักฯ (ไร-่งาน-ตารางวา) โดยสามารถจดัทำาแผนท่ีรูปแปลงแสดงพื้นท่ีปกปักฯ ได้ชดัเจน ควรมกีารดำาเนินการรว่มกันเพื่อไมไ่ห้เกิดความสบัสน

Page 6:  · Web viewงช าง ท ม องค ความร และความชำนาญในการ งว ดพ นท และการใช เคร อง (Geographic

*การปักหมุดหลักฐานด้วยเครื่อง GPS และการจดัทำาหมุดหลักฐานจรงิๆ ในพื้นท่ีควรพจิารณาระยะหา่งตามความเหมาะสม ทัง้นี้ขึ้นกับรูปรา่งของพื้นท่ีปกปักด้วยวา่เป็นรูปรา่งสมมาตร (สีเ่หล่ียม สามเหล่ียม วงกลม) หรอืไมส่มมาตร ประเด็นท่ีวา่หารฝังหมุดหลักฐานอาจฝัง ทกุระยะ 4-5 เมตร นัน้ เป็นแค่การยกตัวอยา่ง แต่ในทางปฏิบติัหากพื้นที่ปกปักฯ มีเน้ือท่ีตำ่ากวา่ 16-25 ตร.กม. การฝังหมุดหลักฐานทกุระยะ 4-5 กม. ก็คงทำาไมไ่ด้ ขอ้แนะนำาในการปักหมุดหลักฐาน

Page 7:  · Web viewงช าง ท ม องค ความร และความชำนาญในการ งว ดพ นท และการใช เคร อง (Geographic

อาจพจิารณาปักทกุๆ 4-5 เมตร (กรณีที่พื้นท่ีมขีนาดเล็ก) ท่ีสำาคัญควรปักหมุดตรงท่ีเป็นจุดหกัมุมของขอบเขตพื้นท่ี หรอืจุดท่ีเป็นจุดที่มคีวามชนั/ความต่างของระดับพื้นที่ หรอืแนวทางลาด (slope) ของพื้นท่ี เป็นต้น

**ไมจ่ำาเป็นท่ีจะต้องจดัทำาหมุดหลักฐานแบบถาวร แนะนำาใหป้ักหมุดเป็นการทำาหลักหมาย (Stake) ท่ีใชใ้นการรงัวดัและบนัทึกขอ้มูลลงในเครื่อง GPS ซึ่งไมใ่ชห่ลักเขตถาวร (หลักการ/การปฏิบติัน้ีทางกองชา่งของ อปท. มคีวามเชีย่วชาญอยู่แล้ว) เพราะสดุท้ายขอบเขตของพื้นท่ีปกปักฯ จะถกูแสดงให้เห็นด้วยแนวรัว้ (ซีง่เป็นการดำาเนินการเพิม่เติมในงานท่ี 6 งานสนับสนุนในการอนุรกัษ์และจดัทำาฐานทรพัยากรท้องถิ่น)

*** การคำานวณขนาดพื้นที่ปกปัก หากเรารงัวดัขอบเขตและบนัทึกขอ้มูลพกิัดหมุดหลักฐาน ซึ่งเป็นขอ้มูลแบบจุด (Point) ในเครื่อง GPS รวมทัง้บนัทึกขอ้มูลระยะหา่งระหวา่งจุดหมุดหลักฐาน ซึ่งเป็นขอ้มูลแบบเสน้ (Line) ขอบเขตของพื้นที่ปกปักฯ ในเครื่อง GPS เมื่อโอนถ่ายขอ้มูลดังกล่าวมายงัเครื่องคอมพวิเตอร ์และใชโ้ปรแกรม GIS (Geographic Information System) เขา้มาชว่ยในการคำานวณขนาดพื้นที่ การวางแผนนำาชัน้ขอ้มูลขอบเขตพื้นท่ี Point-Line มาซอ้นกับชัน้ขอ้มูลแผนท่ี (เป็นการใชแ้ผนที่เป็นหลัก) เพื่อท่ีจะสามารถจดัทำาแผนท่ีรูปแปลงปกปักฯ ออกมาประกอบการรายงานผล หรอืใชป้ระกอบในการสำารวจทรพัยากรท้องถิ่นภาคสนามในพื้นที่ได้ต่อไป – ในสว่นนี้ทางกองชา่ง สำานักปลัด และกองคลัง สามารถรว่มกันดำาเนินการได้ สว่นการใชภ้าพถ่ายดาวเทียมนัน้ ใชใ้นการวเิคราะหพ์ื้นท่ี (Spatial Analysis) เชน่ การวเิคราะหค์่าดัชนีพชืพรรณ (Vegetation Index) ซึ่งเป็นการดำาเนินการสนับสนุนด้านวชิาการจากทาง อพ.สธ. /หน่วยงาน ต่อไป