บทที่ 10

6
บทที10 ภาษามือหมวด อาหาร การรับประทานอาหารทาให้ร่างกายของคนเราสมบูรณ์แข็งแรง มีพลังในการทางาน การศึกษาเล่าเรียนซึ่งอาหารนั้นมีหลายรสชาติ ตามแต่ใครชื่นชอบ ภาษามืออาหารจะนาเสนออาหาร ที่รับประทานในชีวิตประจาวันของทุกท่านเพื่อจะได้นาไปใช้ประโยชน์ได้จริง 1. ภาษามือหมวดอาหาร อาหารเป็นสิ่งที่คนทุกคนต้องรับประทานเพื่อมีชีวิตอยู่ ในแต่ละชาติจะมีอาหารที่แตกต่าง หลากหลาย คนไทยรับประทานข้าวส่วนชาวต่างชาตินั้นรับประทานขนมปัง ภาษามือก็มีครอบคลุม คาศัพท์ต่างๆ เพื่อให้บุคคลที่มีความบกพร่องทางการได้ยินสามารถสนทนากันอย่างมีแบบแผน เช่น คาว่า อาหาร ข้าว ขนมปัง นม และยังมีอาหารในแบบอื่นๆ ดังต่อไปนีอาหาร ขยุ้มมือและทำท่ำ ตำมภำพ ข้าว นิ้วโป้งแตะนิ้วก้อยและดีดนิ้วโป้งขึ้น ขนมปัง มือข้ำงหนึ่งแนบลำตัว มืออีกข้ำงลำกที่แขน นม กำมือสองข้ำงและทำ ตำมภำพ

Upload: pop-jaturong

Post on 09-Aug-2015

31 views

Category:

Education


3 download

TRANSCRIPT

Page 1: บทที่ 10

บทท่ี 10 ภาษามือหมวด อาหาร

การรับประทานอาหารท าให้ร่างกายของคนเราสมบูรณ์แข็งแรง มีพลังในการท างาน การศึกษาเล่าเรียนซึ่งอาหารนั้นมีหลายรสชาติ ตามแต่ใครชื่นชอบ ภาษามืออาหารจะน าเสนออาหารที่รับประทานในชีวิตประจ าวันของทุกท่านเพ่ือจะได้น าไปใช้ประโยชน์ได้จริง

1. ภาษามือหมวดอาหาร อาหารเป็นสิ่งที่คนทุกคนต้องรับประทานเพ่ือมีชีวิตอยู่ ในแต่ละชาติจะมีอาหารที่แตกต่าง

หลากหลาย คนไทยรับประทานข้าวส่วนชาวต่างชาตินั้นรับประทานขนมปัง ภาษามือก็มีครอบคลุมค าศัพท์ต่างๆ เพ่ือให้บุคคลที่มีความบกพร่องทางการได้ยินสามารถสนทนากันอย่างมีแบบแผน เช่น ค าว่า อาหาร ข้าว ขนมปัง นม และยังมีอาหารในแบบอื่นๆ ดังต่อไปนี้

อาหาร

ขยุ้มมือและท ำท่ำ ตำมภำพ

ข้าว นิ้วโป้งแตะนิ้วก้อยและดีดนิ้วโป้งข้ึน

ขนมปัง

มือข้ำงหนึ่งแนบล ำตัว มืออีกข้ำงลำกท่ีแขน นม

ก ำมือสองข้ำงและท ำ ตำมภำพ

Page 2: บทที่ 10

82

อาหารจ าพวกข้าวที่คนทุกชนชาตินิยมรับประทานกันมีหลากหลายซึ่งน าข้าวมาปรุงและบางอย่างมีส่วนประกอบของข้าว ในภาษามือใช้ค าศัพท์เหมือนกับทุกคนทั่วไปเพียงต่อน ามาประดิษฐ์เป็นภาษามือ ดังภาพต่อไปนี้

ข้าวผัด ท ำท่ำมือ ข้ำว และท ำท่ำมือ ผัด ตำมภำพ

ข้าวต้ม ท ำท่ำมือ ข้ำว และตักเข้ำปำก

ข้าวมันไก่ ท ำท่ำมือ ไก่ ท ำท่ำมือ มัน และท ำท่ำมือ ข้ำว

ข้าวหมูแดง ท ำท่ำมือ สีแดง แล้วท ำท่ำมือ หม ูและท ำท่ำมือข้ำว

อาหารจ าพวกเส้นใช้ท่ามือเป็นการกระท าร่วมกับลักษณะของอาหารนั้นๆ เช่น ค าว่า ผัดไทย

เวลาท าภาษามือ ท าท่ามือ เลขหนึ่ง แตะที่ปลายจมูก ค านี้คือค าว่าไทย และแบมือพร้อมกับขยับมือขึ้นลง เหมือนกันการผัด รวมแล้วได้ค าว่าผัดไทย ตามภาพต่อไปนี้

ก๋วยเตี๋ยว

ก ำมือและท ำท่ำขยับขึ้นลง ขนมจีน

แบมือสองข้ำงและหมุนออก ตำมภำพ

Page 3: บทที่ 10

83

ผัดไทย

ท ำท่ำมือ เลขหนึ่ง แตะที่ปลำยจมกู และแบมือพร้อมกับขยับมือข้ึน

เย็นตาโฟ ท ำท่ำมือสีแด และท ำท่ำมือ เลขสองคีบ

ขึ้นแตะที่ปำก

2. ภาษามือหมวดเครื่องปรุงอาหาร ภาษามือเครื่องปรุงอาหารที่ใช้กันอย่างแพร่หลายนั้นมีการคิดภาษามือที่สามารถท าได้

โดยการน าลักษณะของเครื่องปรุงเหล่านั้นไม่ว่าจะเป็น ลักษณะของขวดน้ าปลา หรือลักษณะของน้ าตาลทราย เป็นต้น

น้ าปลา

ท ำท่ำมือ ย และขยับ ตำมภำพ

น้ าตาลทราย ท ำท่ำมือ หวำน ใช้นิ้วก้อยกับนิ้วโป้งแตะกันและถไูปมำ

ตำมภำพ

น้ ามันพืช

ก ำมือและน ำนิ้วโป้งใส่ลงในมือ แล้วรูดมือโดยน ำนิ้วโป้งแตะที่ก้อย นำง กลำง ช้ี ตำมภำพ

น้ าส้มสายชู ท ำท่ำมือ ส้ม และ ท ำท่ำมือ น้ ำปลำ

Page 4: บทที่ 10

84

ผงชูรส

ก ำมือข้ำงหนึ่งและนิ้วก้อยใสล่งในมือแล้วสลัด

ไข่ ท ำท่ำมือ เลขสอง และน ำทั้งสองมอืมำตีกัน

3. การสนทนาในหมวดอาหาร การสนทนาในหมวดอาหารสามารถสนทนากันได้หลายรูปแบบ เช่นสถานการณ์ที่บ้าน

ที่ร้านอาหาร เป็นต้น ในที่นี้ขอยกตัวอย่างเพียงสถานการณ์เดียว ดังนี้

ก : หิวไหม ข : หิว

ข : กินอะไร ก : กินก๋วยเตี๋ยว

Page 5: บทที่ 10

85

สรุป ภาษามือหมวดอาหารมีค าศัพท์ที่ช่วยให้การสื่อสารในชีวิตประจ าวันสมบูรณ์ขึ้น โดยที่ เริ่มจากค าศัพท์ภาษามือที่เป็นเครื่องปรุงที่ส าคัญในอาหารแล้วจึงค่อยเริ่มฝึกหัดการท าภาษามืออาหารจานเดียวที่ทุกคนรู้จักกันดี ท าให้การท าภาษามือเป็นไปตามล าดับขั้นและไม่ยาก สามารถน าไปใช้ได้ต่อไป

แบบฝึกท้ายบท 1. ให้นักศึกษาท าแบบฝึกท้ายบทดังนี้

1.1 เขียนค าศัพท์ภาษามือหมวดอาหาร 1.2 จับกลุ่มเพื่อน กลุ่มละ 5 คน เพ่ือพูดคุยค าศัพท์ 1.3 น าเสนอบทสนทนาหน้าชั้นเรียน

เอกสารอ้างอิง

กองการศึกษาพิเศษ. (2526). ภาษามือ เล่ม 2. กรุงเทพฯ : ส านักพิมพ์จงเจริญการพิมพ์. ปทานุกรมภาษามือไทย. (2533). ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษามือไทย เล่ม 1. กรุงเทพฯ : ส านักพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช. สมาคมคนหูหนวกแห่งประเทศไทย. (2542). หนังสือภาษามือไทย เล่ม 1. กรุงเทพฯ : ส านักพิมพ์บพิธการพิมพ์. สมาคมคนหูหนวกแห่งประเทศไทย. (2542). หนังสือภาษามือไทย เล่ม 3. กรุงเทพฯ : ส านักพิมพ์บพิธการพิมพ์. สมาคมคนหูหนวกแห่งประเทศไทย. (2542). หนังสือภาษามือไทย เล่ม 5. กรุงเทพฯ : ส านักพิมพ์บพิธการพิมพ์.

Page 6: บทที่ 10

86