รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

68
รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report) ภาควิชาคณิตศาสตร คณะวิทยาศาสตรประยุกต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ รอบปการศึกษา 2553 (ระหวางวันที1 มิถุนายน 2553 ถึงวันที31 พฤษภาคม 2554) 31 พฤษภาคม 2554

Upload: math-kmutnb

Post on 10-Mar-2016

226 views

Category:

Documents


1 download

DESCRIPTION

รายงานการประเมินตนเองของภาควิชาคณิตศาสตร์ ปี 2553

TRANSCRIPT

Page 1: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report)

ภาควิชาคณิตศาสตร

คณะวิทยาศาสตรประยุกต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ

รอบปการศึกษา 2553

(ระหวางวนัที่ 1 มิถุนายน 2553 ถึงวันที่ 31 พฤษภาคม 2554)

31 พฤษภาคม 2554

Page 2: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

คํานํา

ภาควิชาคณิตศาสตร คณะวิทยาศาสตรประยุกต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระ

นครเหนือ มีเปาหมายและความมุงมั่น ท่ีจะผลิตบัณฑิตในระดับปริญญาบัณฑิตและบณัฑิตศึกษา

ทางดานคณิตศาสตรประยุกตท่ีมีคุณภาพ มีความรูความสามารถทางวิชาการเพียงพอท่ีจะนําไปใชใน

การทํางานในหนวยงานตาง ๆ ของภาครัฐและเอกชนเพื่อพฒันาประเทศชาติ บัณฑิตท่ีจบออกไปจะตอง

มีความรู คูคุณธรรม มีความรับผิดชอบตอสังคม นอกจากน้ีภาควิชาฯ ยังมภีาระงานอื่น ๆ คือ งานบริการ

สอนวิชาคณิตศาสตรใหกับคณะตาง ๆ ในมหาวิทยาลัยฯ งานวิจัยของบุคลากรในภาควิชาฯ งานบริการ

วิชาการสูสังคม และงานทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม

เพื่อใหภาระงานทุกดานบรรลุเปาหมาย สวนหน่ึงท่ีตองดําเนินการ คือ การจัดทําระบบประกัน

คุณภาพการศึกษาท่ีมีประสิทธิภาพเปนมาตรฐานสากล ภาควิชาคณิตศาสตร ไดดําเนินการประกัน

คุณภาพโดยใชระบบเดียวกับคณะและมหาวทิยาลัย และไดจัดทํารายงานการประเมินตนเองฉบับน้ีขึ้น

โดยมีวัตถุประสงคของการประเมินดังน้ี

1. เพือ่รายงานผลการปฏิบัติงานและผลการวิเคราะหการดําเนินงานระหวางวันท่ี 1 มิถุนายน

2553 ถึง 31 พฤษภาคม 2554 ซึ่งประกอบดวย 7 องคประกอบ ดังน้ี

- องคประกอบท่ี 2 การผลิตบณัฑิต

- องคประกอบท่ี 3 กจิกรรมการพัฒนาการศึกษา

- องคประกอบท่ี 4 การวจิัย

- องคประกอบท่ี 5 การบริการวิชาการแกสังคม

- องคประกอบท่ี 7 การบริหารและการจัดการ

- องคประกอบท่ี 9 ระบบและกลไลการประกันคุณภาพการศึกษา

- องคประกอบท่ี 10 อัตลักษณ

2. เพือ่รับการตรวจสอบการดําเนินงานของภาควิชาฯ ตามระบบและกลไกของการประกัน

คุณภาพการศึกษาภายใน

3. เพือ่ใหบุคลากรในภาควิชาฯ ไดทราบถึงผลการดําเนินงานของภาควิชาฯ ในชวงท่ีผานมา

พรอมท้ังไดมีสวนรวมในการปรับปรุงแกไขปญหาและพัฒนา เพื่อใหบรรลุตามเปาหมายที่ต้ังไว

4. เพือ่ใหคณะไดรับทราบถึงผลการดําเนินงานของภาควิชาฯ ในภาพรวม ตลอดจนถึงปญหา

และอุปสรรค เพื่อรวมกันหาแนวทางแกไขปญหาและสนับสนุนการดําเนินงานของภาควิชาฯ รวมท้ัง

สามารถตรวจสอบคุณภาพการดําเนินงานของภาควิชาฯ ได

(รองศาสตราจารยเสนอ คุณประเสริฐ)

หัวหนาภาควิชาคณิตศาสตร

31 พฤษภาคม 2554

Page 3: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

สารบัญ

หนา

คํานํา ข

สารบัญ ค

สารบัญแผนภูมิ ง

ขอมูลเบื้องตนของสวนงาน 4

ประวัติความเปนมาและสภาพปจจบุัน 5

ปรัชญา ปณิธาน วิสัยทัศน พันธกิจ วัตถปุระสงค 5

หลักสูตรและสาขาวิชาท่ีเปดสอน 9

คณาจารย/บุคลากร 9

นักศึกษา 10

งบประมาณ 11

ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษา 11

ผลสัมฤทธิ์ของการดําเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาภายใน รอบปการศึกษา 2552 11

จุดแข็ง 15

จุดท่ีควรพัฒนา 15

แนวทางการพัฒนา 15

รายงานผลการดําเนินงานตามองคประกอบ/ตัวบงชี้การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน 16

องคประกอบท่ี 2 การผลิตบัณฑิต 17

องคประกอบท่ี 3 กิจกรรมการพัฒนานักศึกษา 36

องคประกอบท่ี 4 การวิจัย 42

องคประกอบท่ี 5 การบริการทางวิชาการแกสังคม 51

องคประกอบท่ี 7 การบริหารและการจัดการ 53

องคประกอบท่ี 9 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ

องคประกอบท่ี 10 อัตลักษณ

56

61

ขอมูลพื้นฐาน 64

Page 4: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

สารบัญแผนภูมิ

หนา

แผนภูมิท่ี 1 แผนภูมิโครงสรางของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ 7

แผนภูมิท่ี 2 แผนภูมิการบริหารงาน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ 8

แผนภูมิท่ี 3 โครงสรางการแบงสวนงานภาควิชาคณิตศาสตร 9

Page 5: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

ขอมูลเบื้องตนของภาควิชา

Page 6: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 5 -

ขอมูลเบื้องตนของภาควิชา

ประวัติความเปนมาและสภาพปจจุบนั เดิมภาควิชาคณิตศาสตร สังกัดคณะครุศาสตรอุตสาหกรรมและวิทยาศาสตร ต้ังแตป พ.ศ. 2517 และตอมา

ไดเปล่ียนชื่อเปนภาควิชาคณติศาสตรและวิทยาการคอมพิวเตอร สังกัดคณะวิทยาศาสตรประยุกต เมื่อ พ.ศ. 2530

โดยภาควิชามภีาระงานในการจัดการศึกษาดานคณิตศาสตรบริการ ใหแกนักศึกษาคณะวิทยาศาสตรประยุกต คณะ

ครุศาสตรอุตสาหกรรม และคณะวิศวกรรมศาสตร นอกจากน้ียังมีภาระงานในการผลิตบัณฑิตอีก 3 สาขา คือ

สาขาวิชาสถิติประยุกต ซึ่งเร่ิมรับนักศึกษาในป พ.ศ. 2528 สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอรประยุกตในป พ.ศ. 2530

และคณิตศาสตรประยุกตในป พ.ศ. 2534 ตอมาในแผนพฒันาการศึกษาอุดมศึกษาระยะท่ี 7 สาขาสถิติประยุกตและ

สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอรประยุกตไดขยายงานไปจัดต้ังเปนภาควิชาสถิติประยุกต และภาควิชาวิทยาการ

คอมพิวเตอรและสารสนเทศตามลําดับ สวนภาควิชาคณิตศาสตรและวิทยาการคอมพิวเตอรไดเปล่ียนชื่อเปน

ภาควิชาคณิตศาสตร

ปจจบุันภาควชิาคณิตศาสตรมีภาระงานในการจัดการศึกษาดานคณิตศาสตรบริการใหแกนักศึกษาคณะ

วิทยาศาสตรประยุกต คณะวิศวกรรมศาสตร คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม คณะเทคโนโลยีและจัดการอุตสาหกรรม

และคณะอุตสาหกรรมเกษตร นอกจากน้ียงัมีการผลิตบัณฑิตในระดับปริญญาบัณฑิต และบัณฑิตศึกษาในสาขา

คณิตศาสตรประยุกต

ปรัชญา ปณิธาน วิสัยทัศน พันธกิจ วัตถุประสงค ปรัชญา

พัฒนาคน พฒันาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

ปณิธาน

มุงมั่นท่ีจะพฒันา ทรัพยาการมนุษยใหมีความเปนเลิศทางวิชาการดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

และวิชาการชั้นสูงท่ีเก่ียวของ ใหมีความรูคูคุณธรรม เพื่อเปนผูพัฒนาคนพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีท่ี

เหมาะสมกอใหเกิดการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคมและส่ิงแวดลอมท่ียั่งยืน

วิสัยทัศน

“เปนเลิศดานวิทยาศาสตร เทคโนโลยี วิชาการกาวไกล วจิยักาวหนา สูสากล”

พันธกิจ

ดานการผลิตบัณฑิต

ดานการวิจัย

ดานการบริหารจัดการ

ดานบริการวิชาการแกสังคม

ดานทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม

Page 7: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 6 -

วัตถุประสงค

ภาควิชาฯ มวีตัถุประสงคท่ีสอดคลองกันพันธกิจของมหาวทิยาลัย ในการผลิตบัณฑิตท่ีมีคุณภาพ

มีคุณธรรมและจริยธรรมท้ังในระดับปริญญาบัณฑิตและบณัฑิตศึกษา ในสาขาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีตรงตาม

ความตองการของอุตสาหกรรมและการพัฒนาประเทศ การใหบริการวิชาการในรูปแบบตาง ๆ ท่ีเหมาะสม บริการการ

สอนคณิตศาสตรและวิทยาศาสตรในหมวดวิชาศึกษาท่ัวไปแกนักศึกษาทั้งในคณะและนอกคณะ ดําเนินการวิจัย

พัฒนาองคความรูและประยุกตใชในอุตสาหกรรม พรอมท้ังสงเสริมและสนับสนุนกิจกรรมการทํานุบํารุงศิลประและ

วัฒนธรรมของชาติ

Page 8: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 7 -

แผนภูมิที ่1 แผนภูมิโครงสรางของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ

Page 9: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 8 -

แผนภูมิที ่2 แผนภูมิการบริหารงาน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ

สภามหาวิทยาลัย (นายกสภามหาวทิยาลัย)

สภาคณาจารยและพนักงาน

สภาวิชาการ

มหาวิทยาลัย (อธิการบดี)

(รองอธิการบด)ี

กรรมการบริหารงานบุคคล

กรรมการนโยบายและแผน

กรรมการการเงินและทรัพยสิน

สํานักงานคณบดี/

สํานักงานผูอํานวยการ

(หัวหนาสํานักงาน)

คณะ/วท/ บัณฑิตวิทยาลัย

(คณบดี/ผอ.)

คณะกรรมการ

ประจําสํานักงาน

อธิการบดี

สํานักงาน

อธิการบดี (หัวหนาสํานักงาน)

สํานัก (ผูอํานวยการ

สํานัก)

คณะกรรมการ

ประจําสํานัก คณะกรรมการ

ประจําคณะ/วท/ บัณฑิตวิทยาลัย

ภาควิชา/ฝาย/ศูนย

(หัวหนาภาควิชา/หัวหนา

ฝาย/หัวหนาศูนย)

กอง/ศูนย

(ผูอํานวยการกอง/

ผูอํานวยการศูนย)

สํานักงานผูอํานวยการ (หัวหนาสํานักงาน)

ฝาย/ศูนย (หัวหนาฝาย/ หัวหนาศูนย)

Page 10: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 9 -

แผนภูมิที่ 3 โครงสรางการแบงสวนงานภาควิชาคณิตศาสตร

หลักสูตรและสาขาวิชาที่เปดสอน

ภาควิชาคณิตศาสตร จัดการศึกษาในระดับปริญญาบัณฑิต และระดับบณัฑิตศึกษา โดยในมีการศึกษา

2553 มีหลักสูตรท่ีเปดสอน 3 หลักสูตร จําแนกตามหลักสูตรระดับปริญญาบัณฑิต 2 หลักสูตร และระดับ

บัณฑิตศึกษา 1 หลักสูตร

ระดับ ช่ือหลักสูตร ช่ือปริญญา

ปริญญาบัณฑิต วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาคณิตศาสตรประยุกต วิทยาศาสตรบัณฑิต (คณิตศาสตรประยุกต)

ปริญญาบัณฑิต วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาคณิตศาสตรเชิงคอมพิวเตอร วิทยาศาสตรบัณฑิต (คณิตศาสตรเชิงคอมพิวเตอร)

บัณฑิตศึกษา วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาคณิตศาสตรประยุกต วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (คณิตศาสตรประยุกต)

คณาจารย/บคุลากร

ปการศึกษา 2553 ภาควิชาคณิตศาสตรมีอาจารยประจํารวมท้ังท่ีปฏิบัติงานและลาศึกษาตอจํานวนท้ังหมด

28 คน และมีบคุลากรสายสนับสนุนวิชาการ 3 คน รายละเอียดดังตาราง อาจารย สายสนับสนุนวิชาการ

ปฏิบัติงานจริง ลาศึกษาตอ

เต็มเวลา

รวมทั้งหมด พนักงาน

มหาวิทยาลัย

พนักงาน

พิเศษ

รวม

รวม

22.5 6 28.5 1 2 3 31.5

Page 11: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 10 -

จํานวนอาจารยจําแนกตามวุฒิการศึกษา

จํานวนอาจารย รอยละอาจารย

ตรี โท เอก รวม ตรี โท เอก

1 16 11.5 28.5 3.51 56.14 40.35

จํานวนอาจารยจําแนกตามตําแหนงวิชาการ จํานวนอาจารย(คน) รอยละอาจารย

อ. ผศ. รศ. ศ. รวม อ. ผศ. รศ. ศ.

17.5 4 7 0 28.5 61.40 14.04 24.56 0.00

นักศึกษา ปการศึกษา 2553 มีจํานวนนักศึกษาทุกระดับและทุกชั้นป รวมท้ังส้ิน 388 คน โดยจาํแนกเปนนักศึกษา

ระดับปริญญาบัณฑิต จาํนวน 372 คน และระดับบัณฑิตศึกษา จาํนวน 16 คน รายละเอียดดังตาราง

ระดับ รหัสนักศึกษา

ชั้นป ปกต ิ สมทบ ลาพักการศึกษา

รวม

53 1 59 15 74 ปริญญาตรี (MA) 52 2 53 16 69

51 3 53 41 94

50 4 44 14 58

ตกคาง 10 8 18

53 1 42 17 0 59 ปริญญาตรี (MC)

รวม 261 111 372 ปริญญาโท 53 1 8 8

52 2 2 2

ตกคาง 6 6

รวม 16 0 0 16 รวมทั้งหมด 388

Page 12: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 11 -

งบประมาณ ปงบประมาณ 2553 ภาควิชาคณิตศาสตรไดรับการจัดสรรงบประมาณแผนดินจํานวน 1,237,240.00 บาท

และงบประมาณเงินรายไดจํานวน 4,610,200.00 บาท

ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษา ภาควิชาคณิตศาสตร ใหความสําคัญกับงานประกันคุณภาพการศึกษา โดยมีนโยบายใหบุคลากรมคีวาม

รับผิดชอบรวมกัน มีแผนการดําเนินงานและดําเนินการจัดทําเอกสารเพื่อเตรียมรับการประเมินจากคณะฯ และนําผล

การประเมินมาปรับปรุงงานประกันคุณภาพการศึกษาของภาควิชาฯ ในปการศึกษาตอไป โดย มหาวิทยาลัย

เทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ จดัตัวเองอยูในกลุมสถาบันเฉพาะทางท่ีเนนการผลิตบัณฑิตระดับ

บัณฑิตศึกษา (ค1)

ผลสัมฤทธ์ิของการดําเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาภายใน รอบปการศึกษา 2552 (การ

ดําเนินงานตามแผนพัฒนาคุณภาพเพื่อรองรับผลการประเมิน และขอเสนอแนะของการประเมินคุณภาพภายใน รอบ

ปท่ีผานมา และผลการพัฒนา)

ดานการผลติบัณฑิต ภาควิชาฯ มีการสนับสนุนส่ิงอํานวยความสะดวกและบุคลากรท่ีเอื้อตอการพัฒนาคุณภาพของบัณฑิต และ

มีจํานวนอาจารยประจําท่ีมีคุณวุฒิปริญญาเอกและดํารงตําแหนงทางวิชาการเพิ่มมากขึน้กวาปท่ีผานมา

ดานการวิจัย

คณาจารยในภาควิชาฯ สามารถผลิตผลงานวิจัยท่ีตีพิมพในวารสารระดับชาติและนานาชาติในปริมาณท่ี

เพิ่มขึ้น และยังไดรับเงินสนับสนุนงานวิจัยเพิ่มขึ้นอยางตอเน่ือง

ดานการบริการวิชาการแกสงัคม

บุคลากรในภาควิชาฯ มีความกระตือรือรนและมีความพรอมในการใหบริการทางวิชาการแกสังคม

โดยเฉพาะการบริการวิชาการดานการเรียนการสอน

ดานการพัฒนานักศึกษา ภาควิชาฯ มีการสงเสริมกิจกรรมของนักศึกษาท่ีสอดคลองกับคุณลักษณะของบัณฑิตท่ีพึงประสงค ท่ี

ครอบคลุมทุก ๆ ดาน และสนับสนุนส่ิงอํานวยความสะดวกตาง ๆ ท่ีเอื้อตอการเรียนรูของนักศึกษา

ดานการบริหารและจดัการ ภาควิชาฯ มีการบริหารจัดการท่ีโปรงใส เปดโอกาสใหทุกคนสามารถแสดงความคิดเห็นและขอเสนอแนะใน

การบริหารงานของภาควิชา

Page 13: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 12 -

ดานระบบและกลไกการประกันคุณภาพ ภาควิชาฯ สามารถดําเนินงานตามระบบและกลไกของการประกันคุณภาพการศึกษาภายในไดอยาง

ครบถวน และเปนไปตามเกณฑท่ีมหาวิทยาลัยกําหนด

Page 14: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 13 -

ตารางที ่1 เปาหมายการดําเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปการศึกษา 2553

องคประกอบ/ตัวบงชี ้เกณฑ

มาตรฐาน เปาหมาย

องคประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต 2.1 ระบบและกลไกการพัฒนาและบริหารหลักสูตร ขอ 4 2.2 อาจารยประจาํท่ีมีคุณวุฒิปริญญาเอก รอยละ 48 2.3 อาจารยประจาํท่ีดํารงตําแหนงทางวิชาการ รอยละ 24 2.4 ระบบการพฒันาคณาจารยและบุคลากรสายสนับสนุน ขอ 5 2.6 ระบบและกลไกการจัดการเรียนการสอน ขอ 6 2.7 ระบบและกลไกการพัฒนาสัมฤทธิผลการเรียนตามคุณลักษณะของ

บัณฑิต ขอ 4

องคประกอบที่ 3 กิจกรรมการพัฒนานักศึกษา 3.1 ระบบและกลไกการใหคําปรึกษาและบริการดานขอมูลขาวสาร ขอ 6 3.2 ระบบและกลไกการสงเสริมกิจกรรมนักศึกษา ขอ 5 องคประกอบที่ 4 การวิจัย 4.1 ระบบและกลไกการพัฒนางานวิจัยหรืองานสรางสรรค ขอ 6 4.2 ระบบและกลไกการจัดการความรูจากงานวจิยัหรืองานสรางสรรค ขอ 4 4.3 เงินสนับสนุนงานวิจัยและงานสรางสรรคตอจํานวนอาจารยประจําและ

นักวิจัยประจํา บาท : คน 108,000

องคประกอบที่ 5 การบริการทางวิชาการแกสังคม 5.1 ระบบและกลไกการบริการทางวิชาการแกสังคม ขอ 4 องคประกอบที่ 7 การบริหารและการจดัการ 7.1 ภาวะผูนําของคณะกรรมการประจําสวนงานและผูบริหารทุกระดับของ

สวนงาน ขอ 6

องคประกอบที่ 9 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ 9.1 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ขอ 7 9.20.2 ระบบและกลไกการปรับปรุงตามขอเสนอแนะ ขอ 4 องคประกอบที่ 10 อตัลักษณ 10.30.1 ระบบและกลไลการพัฒนานักศึกษาตามอัตลักษณใหเปนบัณฑิตท่ี

คิดเปน เดนประยุกต ขอ 5

Page 15: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 14 -

ตารางที่ 2 แสดงผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปการศึกษา 2553 (เฉพาะตัวบงชี้ของ สกอ.) จาํแนกตาม

องคประกอบ และมิติของระบบประกันคุณภาพ

มิติของระบบประกันคุณภาพ องคประกอบ ปจจัย

นําเขา กระบวนการ ผลผลิต รวม

ผลการประเมิน

2. การผลิตบัณฑิต 3.73 4 - 3.91 ดี

3. กิจกรรมการพัฒนานักศึกษา - 4.5 - 4.5 ดี

4. การวิจัย 1.78 4.5 - 3.59 ดี

5. การบริการทางวิชาการแกสังคม - 4 - 4 ดี

7. การบริหารและการจัดการ - 5 - 5 ดีมาก

9. ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ - 4.5 - 4.5 ดี

รวม 3.08 3.92 - 4.08 ดี

ผลการประเมิน พอใช ดี - ดี

Page 16: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 15 -

ตารางที่ 3 แสดงผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปการศึกษา 2553 (รวมตัวบงชี้ทุกประเภท) จําแนกตาม

องคประกอบ และมิติของระบบประกันคุณภาพ

มิติของระบบประกันคุณภาพ องคประกอบ ปจจัย

นําเขา กระบวนการ ผลผลิต รวม

ผลการประเมิน

2. การผลิตบัณฑิต 3.73 4 - 3.91 ดี

3. กิจกรรมการพัฒนานักศึกษา - 4.5 - 4.5 ดี

4. การวิจัย 1.78 4.5 - 3.59 ดี

5. การบริการทางวิชาการแกสังคม - 4 - 4 ดี

7. การบริหารและการจัดการ - 5 - 5 ดีมาก

9. ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ - 4.5 - 4.5 ดี

10. อัตลักษณ - - 4 4 ดี

รวม 3.08 3.92 4 4.08 ดี

ผลการประเมิน พอใช ดี ดี ดี

จุดแข็ง (ภาพรวม)

ภาควิชาฯ มีการพัฒนาและปรับปรุงการดําเนินงานในทุก ๆ องคประกอบใหมีคุณภาพและประสิทธิภาพมาก

ขึ้น โดยเฉพาะการบริหารและการจัดการในภาควิชา การดําเนินการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน และกิจกรรม

การพัฒนานักศึกษา จุดที่ควรพัฒนา (ภาพรวม)

การพัฒนางานวิจัย ท่ีจะสามารถนําไปใชใหเกิดประโยชนและการบรูณาการการวิจัยกับการจัดการเรียนการ

สอน รวมถึงการประยุกตใชผลงานจากวิทยานิพนธของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาใหมกีารใชประโยชนจริง แนวทางการพัฒนา (ภาพรวม)

วางแผนการทําวิจัย และสนับสนุนงานวิจัยท่ีเกิดจากความรวมมอืกันระหวางภาครัฐ หรือภาคเอกชน หรือ

ชุมชน ใหมากข้ึน

Page 17: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 16 -

รายงานผลการดําเนินงาน

ตามองคประกอบและตัวบงชี้ การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน

Page 18: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 17 -

องคประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต ตัวบงชี้ที่ 2.1 ระบบและกลไกการพัฒนาและบริหารหลักสูตร ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ

เกณฑมาตรฐาน : ขอ

การดําเนินงาน เกณฑมาตรฐาน มีการ

ดําเนินงาน ครบถวน

ไมไดดําเนินงาน

เอกสาร อางอิง

หมายเลข

1. มีระบบและกลไกการเปดหลักสูตรใหมและปรับปรุงหลักสูตรตามแนวทาง

ปฏิบัติท่ีกําหนดโดยคณะกรรมการการอุดมศึกษา และดําเนินการตามระบบ

ท่ีกําหนด √

2.1-01 2.1-02 2.1-03 2.1-04

2. มีระบบและกลไกการปดหลักสูตรตามแนวทางปฏิบัติท่ีกําหนดโดย

คณะกรรมการการอุดมศึกษา และดําเนินการตามระบบท่ีกาํหนด √

2.1-03 2.1-05 2.1-06

3. ทุกหลักสูตรมีการดําเนินงานใหเปนไปตามเกณฑมาตรฐานหลักสูตร

ระดับอุดมศึกษา และกรอบมาตรฐานคุณวุฒริะดับอุดมศึกษาแหงชาติ

สําหรับหลักสูตรสาขาวิชาชีพตองไดรับการรับรองหลักสูตรจากสภาหรือ

องคกรวิชาชพีท่ีเก่ียวของดวย

√ 2.1-07

4. มีคณะกรรมการรับผิดชอบควบคุมกํากับใหมกีารดําเนินการไดครบถวนท้ัง

ขอ 1 ขอ 2 และขอ 3 ขางตนตลอดเวลาท่ีจัดการศึกษา และมีการประเมิน

หลักสูตรทุกหลักสูตรอยางนอยตามกรอบเวลา

ท่ีกําหนดในเกณฑมาตรฐานหลักสูตรฯ กรณีหลักสูตรท่ีดําเนินงานตาม

กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ จะตองควบคุมกํากับให

การดําเนินงานตามตัวบงชีใ้นขอ 3 ผานเกณฑ

การประเมิน 5 ขอแรกและอยางนอยรอยละ 80 ของตัวบงชีท่ี้กําหนดในแต

ละป ทุกหลักสูตร

2.1-03 2.1-08

5. มีคณะกรรมการรับผิดชอบควบคุมกํากับใหมกีารดําเนินการไดครบถวนท้ัง

ขอ 1 ขอ 2 และขอ 3 ขางตนตลอดเวลาท่ีจัดการศึกษา และมีการพฒันา

หลักสูตรทุกหลักสูตรตามผลการประเมินในขอ 4 กรณีหลักสูตรท่ีดําเนินงาน

ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดม ศึกษาแหงชาติ จะตองควบคุมกํากับ

ใหการดําเนินงานตามตัวบงชีใ้นขอ 3 ผานเกณฑการประเมนิครบทุกตัวบงชี้

และทุกหลักสูตร

2.1-03 2.1-08

6. มีความรวมมอืในการพัฒนาและบริหารหลักสูตรระหวางสวนงานกับภาครัฐ

หรือภาคเอกชนท่ีเก่ียวของกับวิชาชีพของหลักสูตร มากกวารอยละ 30 ของ

จํานวนหลักสูตรวิชาชพีท้ังหมดทุกระดับการศึกษา* √ 2.1-09

Page 19: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 18 -

7. หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาท่ีเนนการวิจัยท่ีเปดสอน (ปริญญาโท เฉพาะ

แผน ก และปริญญาเอก) มีจาํนวนมากกวารอยละ 50 ของจํานวนหลักสูตร

ท้ังหมดทุกระดับการศึกษา*

8. หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาท่ีเนนการวิจัยท่ีเปดสอน (ปริญญาโท เฉพาะ

แผน ก และปริญญาเอก) มีจาํนวนนักศึกษาท่ีศึกษาอยูในหลักสูตรมากกวา

รอยละ 30 ของจํานวนนักศึกษาท้ังหมดทุกระดับการศึกษา*

เกณฑการประเมิน :

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 มีการดําเนินการ

1 ขอ

ตามเกณฑท่ัวไป

มีการดําเนินการ

2 ขอ

ตามเกณฑท่ัวไป

มีการดําเนินการ

3 ขอ

ตามเกณฑท่ัวไป

มีการดําเนินการ

4 หรือ 5 ขอ

ตามเกณฑท่ัวไป

มีการดําเนินการ ครบ 5 ขอ

ตามเกณฑท่ัวไป และครบถวน

ตามเกณฑมาตรฐานเพิ่มเติม

เฉพาะกลุม

ขอมูลพื้นฐานประกอบตัวบงชี้ :

ขอมูลพื้นฐานประกอบตัวบงชี้ หนวยวัด ผลการดําเนินงาน

1. จํานวนหลักสูตรท่ีเปดสอนท้ังหมด หลักสูตร 3

1.1 ระดับปริญญาตรี หลักสูตร 2

1.2 ระดับปริญญาโท หลักสูตร 1

1.3 ระดับปริญญาเอก หลักสูตร -

2. จํานวนหลักสูตรท่ีมีการดําเนินการเปนไปตามเกณฑมาตรฐานหลักสูตร

และกรอบ TQFหรือเกณฑมาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2548

หลักสูตร 1

2.1 ระดับปริญญาตรี หลักสูตร 2

2.2 ระดับปริญญาโท หลักสูตร 1

2.3 ระดับปริญญาเอก หลักสูตร -

3. จํานวนหลักสูตรท่ีมีการประเมนิหลักสูตรตามกรอบเวลาท่ีกําหนด หลักสูตร -

3.1 จํานวนหลักสูตรท่ีครบรอบระยะเวลาของหลักสูตร หลักสูตร -

3.2 จํานวนหลักสูตรท่ีมีการประเมนิหลักสูตรตามรอบระยะเวลาที่กําหนด หลักสูตร -

4. จํานวนหลักสูตรท่ีดําเนินการตามกรอบ TQF (นับเฉพาะหลักสูตร TQF)

4.1 จํานวนหลักสูตรท้ังหมดท่ีดําเนินการตามกรอบ TQF หลักสูตร 1

4.2 จํานวนหลักสูตรท่ีมีการประเมนิตามตัวบงชี้ของกรอบ TQF หลักสูตร -

4.3 จํานวนหลักสูตรท่ีดําเนินงานตามกรอบ TQF ท่ีผานเกณฑ

การประเมิน 5 ขอแรก และอยางนอยรอยละ 80 ของตัวบงชีท่ี้กําหนด

หลักสูตร -

Page 20: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 19 -

ขอมูลพื้นฐานประกอบตัวบงชี้ หนวยวัด ผลการดําเนินงาน

4.4 จํานวนหลักสูตรท่ีดําเนินงานตามกรอบ TQF ท่ีผานเกณฑ

การประเมินครบทุกตัวบงชี ้

หลักสูตร -

5. จํานวนหลักสูตรสาขาวิชาชีพ

5.1 จํานวนหลักสูตรสาขาวิชาชีพท้ังหมด หลักสูตร 3

5.2 จํานวนหลักสูตรสาขาวิชาชีพท่ีไดรับการรับรองหลักสูตรจากสภาหรือ

องคกรวิชาชพี

หลักสูตร 3

5.3 จํานวนหลักสูตรวิชาชพีท่ีมีความรวมมือในการพัฒนาและบริหาร

หลักสูตรกับภาครัฐหรือภาคเอกชนที่เก่ียวของกับวิชาชีพ

หลักสูตร -

5.3 รอยละของหลักสูตรวิชาชีพท่ีมีความรวมมอืในการพัฒนาและบริหาร

หลักสูตรกับภาครัฐหรือภาคเอกชนที่เก่ียวของกับวิชาชีพของหลักสูตร

ตอหลักสูตรวิชาชีพท้ังหมด

หลักสูตร -

6. จํานวนหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาท่ีเนนการวิจัยท่ีเปดสอน หลักสูตร 1

6.1 ระดับปริญญาโท (ท่ีมีนักศึกษาลงทะเบียนเรียนในแผน ก) หลักสูตร 1

6.2 ระดับปริญญาเอก หลักสูตร -

6.3 รอยละของหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาท่ีเนนการวิจัยท่ีเปดสอนตอ

จํานวนหลักสูตรท้ังหมดทุกระดับการศึกษา

รอยละ 33.33

7. จํานวนนักศึกษาท้ังหมดทุกระดับการศึกษา คน 388

7.1 ระดับปริญญาตรี คน 372

7.2 ระดับปริญญาโท คน 16

- นักศึกษาระดับปริญญาโทท่ีเลือกเรียนแผน ก คน 16

- นักศึกษาระดับปริญญาโทท่ีเลือกเรียนแผน ข คน -

7.3 ระดับปริญญาเอก คน -

7.4 รอยละของนักศึกษาระดับบณัฑิตศึกษาท่ีเนนการวิจัยท่ีอยูใน

หลักสูตรตอจํานวนนักศึกษาท้ังหมดทุกระดับการศึกษา

รอยละ 4.12

ขอมูลการดําเนินงาน :

เกณฑ ผลการดําเนินงาน

ขอ 1 แตงต้ังคณะกรรมการจัดทําหลักสูตรใหม ผูทรงคุณวุฒิเพื่อพจิารณาหลักสูตรและผูชวยหัวหนา

ภาควิชาฝายวชิาการ เพื่อดําเนินการจัดทําหลักสูตรใหมและปรับปรุงหลักสูตรตามข้ันตอนของทาง

มหาวิทยาลัย (2.1-01, 2.1-02, 2.1-03, 2.1-04)

ขอ 2 ผูชวยหัวหนาภาควิชาฝายวชิาการ จัดทําแบบสอบถามบัณฑิตเพื่อสอบถามความสําคัญเก่ียวกับ

Page 21: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 20 -

เกณฑ ผลการดําเนินงาน

หลักสูตรและวุฒิการศึกษาท่ีไดรับมีความเพยีงพอและมปีระโยชนตอการทํางาน และดําเนินการ

ตามข้ันตอนการขอปดหลักสูตรของทางมหาวทิยาลัย (2.1-03, 2.1-05, 2.1-06)

ขอ 3 ภาควิชาฯ ไดดําเนินงานตามเกณฑมาตรฐานและกรอบมาตรฐานคุณวุฒริะดับอุดมศึกษาแหงชาติ

ในทุกหลักสูตรท่ีเปดสอน (2.1-07)

ขอ 4 มีแตงต้ังคณะกรรมการจัดทําหลักสูตร แตงต้ังอาจารยประจาํหลักสูตร และอาจารยท่ีเปนหัวหนา

สาขาวิชาในแตละหลักสูตร มีหนาท่ีรับผิดชอบควบคุมกาํกับใหมีการดําเนินการและมีการประเมิน

หลักสูตรตามกรอบเวลาท่ีกําหนด (2.1-08)

ขอ 5 มีแตงต้ังคณะกรรมการจัดทําหลักสูตร แตงต้ังอาจารยประจาํหลักสูตร และอาจารยท่ีเปนหัวหนา

สาขาวิชาในแตละหลักสูตร มีหนาท่ีรับผิดชอบควบคุมกํากับใหมีการดําเนินการและการพัฒนา

หลักสูตรตามผลประเมินในขอ 3 (2.1-08)

ขอ 6 มีความรวมมอืกับภาครัฐในพจิารณาและตรวจสอบหลักสูตร (2.1-09)

ขอ 7 -

ขอ 8 -

การประเมนิตนเองจากผลการดําเนินงาน :

ตัวบงชี/้ขอมูลพื้นฐานประกอบตัวบงชี ้ หนวยวัด เปาหมาย ผลการ

ดําเนนิงาน คะแนน ที่ได

ระบบและกลไกการพัฒนาและบริหารหลักสูตร ขอ 4 ขอ 6 ขอ 4

การประเมนิผลเทียบกับเปาหมาย : สูงกวาเปาหมาย เปนไปตามเปาหมาย ตํ่ากวาเปาหมาย

จุดแข็ง :

ไมม ี จุดที่ควรพัฒนา : ควรมีการปรับปรุงหลักสูตรทุกหลักสูตร ใหเปนไปตามเกณฑมาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา และกรอบ

มาตรฐานคุณวฒุิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ

แนวทางการพัฒนา : ภาควิชาฯ จะเรงดําเนินการจัดทําหลักสูตรปรับปรุงใหเปนไปตามเกณฑมาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา

พ.ศ. 2548 และกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2552 ใหเสร็จส้ินภายใน เดือนกันยายน 2554

เพื่อใหทันกับการลงทะเบียนของนักศึกษาใหมในปการศึกษา 2555

Page 22: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 21 -

รายการเอกสารอางอิง : เอกสารหมายเลข 2.1–01 - ขั้นตอนการขอเปดหลักสูตรใหม

- หนังสือขอสงหลักการและนโยบายการขอเปดหลักสูตรใหม

- คําส่ังเปล่ียนแปลงและแตงต้ังคณะกรรมการรางหลักสูตรปรัชญาดุษฎบีณัฑิต

สาขาวิชาคณติศาสตรประยุกต (หลักสูตรภาษาอังกฤษ)

- หนังสือขอเสนอแตงต้ังผูทรงคุณวุฒิเพื่อพจิารณาหลักสูตรปรัชญาดุษฎบีัณฑิต

สาขาคณิตศาสตรประยุกต (หลักสูตรภาษาอังกฤษ)

เอกสารหมายเลข 2.1–02 - ขั้นตอนการขอปรับปรุงหลักสูตร

- บันทึกขอความการปรับปรุงหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอดุม

ศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2552

เอกสารหมายเลข 2.1–03 คําส่ังแตงต้ังผูชวยหัวหนาภาควิชาฝายวิชาการ

เอกสารหมายเลข 2.1–04 รายงานการประชมุภาควิชาฯ คร้ังท่ี 2/54

เอกสารหมายเลข 2.1–05 ขั้นตอนการขอปดหลักสูตร

เอกสารหมายเลข 2.1–06 สรุปแบบสอบถามการติดตามภาวะการทํางานของบัณฑิต

เอกสารหมายเลข 2.1–07 - หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาคณิตศาสตรประยุกต

(หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2551)

- หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาคณิตศาสตรเชิงคอมพิวเตอร

(หลักสูตรใหม พ.ศ. 2553)

- หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบณัฑิต สาขาวิชาคณิตศาสตรประยุกต (หลักสูตร

ปรับปรุง พ.ศ. 2552)

เอกสารหมายเลข 2.1–08 - อาจารยประจําหลักสูตร MA, MC, MMA

- คําส่ังแตงต้ังคณาจารยทําหนาท่ีธรุการ

เอกสารหมายเลข 2.1–09 - คําส่ังแตงต้ังผูทรงคุณวุฒิภายนอกเพื่อพิจารณาหลักสูตรปรับปรุงหลักสูตร

วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาคณิตศาสตรประยุกต

- คําส่ังแตงต้ังผูทรงคุณวุฒิภายนอกตรวจสอบหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต

สาขาคณิตศาสตรประยุกต

Page 23: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 22 -

ตัวบงชี้ที่ 2.2 อาจารยประจาํที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก ชนิดของตัวบงชี้ : ปจจัยนําเขา

เกณฑการประเมิน : สามารถเลือกใชเกณฑการประเมินจาก 2 แนวทางตอไปน้ี

1. แปลงคารอยละของอาจารยประจําท่ีมีคุณวุฒิปริญญาเอกเปนคะแนนระหวาง 0 – 5 หรือ

2. แปลงคาการเพิ่มขึ้นของคารอยละของอาจารยประจําท่ีมีคุณวุฒิปริญญาเอกเปรียบเทียบกับปท่ีผานมา

เปนคะแนนระหวาง 0 – 5 เกณฑเฉพาะสถาบันกลุม ค1 และ ง

1. คารอยละของอาจารยประจําท่ีมีคุณวุฒิปริญญาเอกท่ีกําหนดใหเปนคะแนนเต็ม 5 = รอยละ 60

ขึ้นไป หรือ

2. คาการเพิ่มขึ้นของรอยละของอาจารยประจําท่ีมีคุณวุฒิปริญญาเอกเปรียบเทียบกับปท่ีผานมา

ท่ีกําหนดใหเปนคะแนนเต็ม 5 = รอยละ 12 ขึ้นไป

สูตรการคํานวณ :

1. คํานวณคารอยละของอาจารยประจําท่ีมีวุฒปิริญญาเอก

รอยละของอาจารยประจําท่ีมคุีณวุฒิปริญญาเอก =

จํานวนอาจารยประจําที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก

จํานวนอาจารยประจําทั้งหมด x 100

2. แปลงคารอยละท่ีคํานวณไดในขอ 1 เทียบกับคะแนนเต็ม 5

รอยละของอาจารยประจําที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก คะแนนท่ีได =

60 x 5

หรือ

1. คาการเพิ่มขึ้นของรอยละของอาจารยประจําท่ีมีคุณวุฒิปริญญาเอกเปรียบเทียบกับปท่ีผานมา =

รอยละของอาจารยประจําท่ีมีคุณวุฒิปริญญาเอกในปท่ีประเมิน ลบดวย รอยละของอาจารยประจําท่ีมีคุณวุฒิ

ปริญญาเอกในปกอนหนาปท่ีประเมิน

2. แปลงคาการเพิ่มขึ้นของรอยละของอาจารยประจําท่ีมีคุณวุฒิปริญญาเอกเปรียบเทียบกับปท่ีผานมา

ท่ีคํานวณไดในขอ 1 เทียบกับคะแนนเต็ม 5

คาการเพิ่มขึ้นของรอยละของอาจารยประจําที่มีคุณวุฒิปริญญาเอกเปรียบเทียบกับปที่ผานมา คะแนนท่ีได =

12 x 5

Page 24: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 23 -

ขอมูลพื้นฐานประกอบตัวบงชี้ : ขอมูลพื้นฐานประกอบตัวบงชี้ หนวยวัด ผลการดําเนินงาน

1. จํานวนอาจารยประจําท้ังหมด (รวมอาจารยท่ีลาศึกษาตอ) คน 28.5

1.1 จํานวนอาจารยประจําท้ังหมดวุฒิปริญญาตรีหรือเทียบเทา คน 1

1.2 จํานวนอาจารยประจําท้ังหมดวุฒิปริญญาโทหรือเทียบเทา คน 16

1.3 จํานวนอาจารยประจําท้ังหมดวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเทา คน 11.5

2. จํานวนอาจารยประจําท่ีมีวุฒปิริญญาเอกในรอบปกอนหนาท่ีผานมา คน 2.5

การประเมนิตนเองจากผลการดําเนินงาน :

ตัวบงชี/้ขอมูลพื้นฐานประกอบตัวบงชี ้ หนวยวัด เปาหมาย ผลการ

ดําเนนิงาน คะแนน ที่ได

1. รอยละของอาจารยประจําท่ีมีวฒุิปริญญาเอก รอยละ รอยละ 48 รอยละ 40.35 3.36

2. คาการเพิ่มขึ้นของรอยละของอาจารยประจําท่ีมีวุฒิ

ปริญญาเอกเทียบกับปท่ีผานมา รอยละ รอยละ 9.6 รอยละ 5.73 2.39

การประเมนิผลเทียบกับเปาหมาย : สูงกวาเปาหมาย เปนไปตามเปาหมาย ตํ่ากวาเปาหมาย

จุดแข็ง : รอยละของอาจารยประจําท่ีมีวฒุิปริญญาเอกสูงขึ้นกวาปท่ีแลว เน่ืองจากมีอาจารยท่ีลาศึกษาตอ นักเรียน

ทุนบางสวน และอาจารยใหมเขามาปฏบิัติงาน จุดที่ควรพัฒนา : เพิ่มจํานวนอาจารยท่ีมีวฒุิปริญญาเอกใหมากข้ึน แนวทางการพัฒนา : สนับสนุนและผลักดันใหอาจารยท่ีมีวุฒิปริญญาตรีและโท ไปศึกษาตอในระดับปริญญาเอกใหมากข้ึน รายการเอกสารอางอิง :

เอกสารหมายเลข 2.2–01 รายชื่ออาจารยประจํา ภาควิชาคณิตศาสตร ณ วันท่ี 31 พ.ค. 2554

เอกสารหมายเลข 2.2–02 สรุปจํานวนอาจารยประจํา ณ วนัท่ี 31 พ.ค. 2554

เอกสารหมายเลข 2.2–03 คําส่ังพนักงานมหาวิทยาลัยลาศึกษาตอ กลับเขาปฏิบัติงาน

เอกสารหมายเลข 2.2–04 คําส่ังบรรจุและแตงต้ังพนักงานมหาวิทยาลัย

Page 25: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 24 -

ตัวบงชี้ที่ 2.3 อาจารยประจาํที่ดํารงตําแหนงทางวิชาการ ชนิดของตัวบงชี้ : ปจจัยนําเขา

เกณฑการประเมิน : สามารถเลือกใชเกณฑการประเมินจาก 2 แนวทางตอไปน้ี

1. แปลงคารอยละของอาจารยประจําท่ีดํารงตําแหนงทางวิชาการเปนคะแนนระหวาง 0-5 หรือ

2. แปลงคาการเพิ่มขึ้นของคารอยละของอาจารยประจําท่ีดํารงตําแหนงทางวิชาการเปรียบเทียบกับ

ปท่ีผานมาเปนคะแนนระหวาง 0 – 5

เกณฑเฉพาะสถาบันกลุม ค1 และ ง 1. คารอยละของอาจารยประจําท่ีดํารงตําแหนงรองศาสตราจารยและศาสตราจารยรวมกัน

ท่ีกําหนดใหเปนคะแนนเต็ม 5 = รอยละ 30 ขึ้นไป หรือ

2. คาการเพิ่มขึ้นของรอยละของอาจารยประจําท่ีดํารงตําแหนงรองศาสตราจารย และศาสตราจารย

รวมกัน เปรียบเทียบกับปท่ีผานมา ท่ีกําหนดใหเปนคะแนนเต็ม 5 = รอยละ 6 ขึ้นไป

สูตรการคํานวณ :

1. คํานวณคารอยละของอาจารยประจําท่ีดํารงตําแหนงทางวิชาการ รอยละของอาจารยประจําท่ีดํารงตําแหนงทางวิชาการ =

จํานวนอาจารยประจําที่ดํารงตําแหนงทางรองศาตราจารยและศาสตราจารย

จํานวนอาจารยประจําทั้งหมด x 100

2. แปลงคารอยละท่ีคํานวณไดในขอ 1 เทียบกับคะแนนเต็ม 5

รอยละของอาจารยประจําที่ดํารงตําแหนงทางวิชาการ คะแนนท่ีได =

30 x 5

หรือ 1. คาการเพ่ิมขึ้นของรอยละของอาจารยประจําท่ีดํารงตําแหนงทางวิชาการเปรียบเทียบกับปท่ีผานมา =

รอยละของอาจารยประจําท่ีดํารงตําแหนงรองศาสตราจารยและศาสตราจารยรวมกันในปท่ีประเมิน ลบดวย รอยละ

ของอาจารยประจําท่ีดํารงตําแหนงรองศาสตราจารยและศาสตราจารยรวมกันในปกอนหนาปท่ีประเมิน

2. แปลงคาการเพิ่มขึ้นของรอยละของอาจารยประจําท่ีดํารงตําแหนงทางวิชาการเปรียบเทียบกับ

ปท่ีผานมา ท่ีคํานวณไดในขอ 1 เทียบกับคะแนนเต็ม 5

คาการเพิ่มขึ้นของรอยละของอาจารยประจําที่ดํารงตําแหนงทางวิชาการ

เปรียบเทียบกับปที่ผานมา คะแนนที่ได =

6

x 5

Page 26: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 25 -

ขอมูลพื้นฐานประกอบตัวบงชี้ : ขอมูลพื้นฐานประกอบตัวบงชี้ หนวยวัด ผลการดําเนินงาน

1. จํานวนอาจารยประจําท้ังหมด (รวมอาจารยประจําท่ีลาศึกษาตอ) คน 28.5

1.1 จํานวนอาจารยประจําท้ังหมดท่ีไมมีตําแหนงทางวิชาการ คน 17.5

1.2 จํานวนอาจารยประจําท้ังหมดท่ีมีตําแหนงผูชวยศาสตราจารย คน 4

1.3 จํานวนอาจารยประจําท้ังหมดท่ีมีตําแหนงรองศาสตราจารย คน 7

1.4 จํานวนอาจารยประจําท้ังหมดท่ีมีตําแหนงศาสตราจารย คน -

2. จํานวนอาจารยประจําท้ังหมดท่ีมีตําแหนงรองศาสตราจารย และ

ศาสตราจารยรวมกันในรอบปการศึกษาท่ีผานมา

คน 1

การประเมนิตนเองจากผลการดําเนินงาน :

ตัวบงชี/้ขอมูลพื้นฐานประกอบตัวบงชี ้ หนวยวัด เปาหมาย ผลการ

ดําเนนิงาน คะแนน ที่ได

1. รอยละของอาจารยประจําท่ีดํารงตําแหนง

รองศาสตราจารย และศาสตราจารย

รอยละ รอยละ 24 รอยละ

24.56

2. คาการเพิ่มขึ้นของรอยละของอาจารยประจําท่ีดํารง

ตําแหนงรองศาสตราจารย และศาสตราจารยรวมกัน

เทียบกับปท่ีผานมา

รอยละ รอยละ 4.8 รอยละ 0.86

4.09

การประเมนิผลเทียบกับเปาหมาย : สูงกวาเปาหมาย เปนไปตามเปาหมาย ตํ่ากวาเปาหมาย

จุดแข็ง : สัดสวนของอาจารยประจําท่ีมีตําแหนงทางวิชาการเพิ่มสูงขึ้น จุดที่ควรพัฒนา : เพิ่มจํานวนอาจารยท่ีดํารงตําแหนง รศ. และ ศ. ใหมากข้ึน เน่ืองจากจะมีอาจารยประจําท่ีดํารงตําแหนง รศ.

เกษียณอายุในปการศึกษา 2554 แนวทางการพัฒนา : สนับสนุนและผลักดันใหอาจารยขอตําแหนงทางวิชาการใหมากขึ้นและตอเน่ือง โดยการสนับสนุนดานขอมูล

ขั้นตอน เทคนิคในการขอตําแหนงทางวิชาการ

Page 27: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 26 -

รายการเอกสารอางอิง : เอกสารหมายเลข 2.3–01 รายชื่ออาจารยประจํา ภาควิชาคณิตศาสตร ณ วันท่ี 31 พ.ค. 2554

เอกสารหมายเลข 2.3–02 สรุปจํานวนอาจารยประจํา ณ วนัท่ี 31 พ.ค. 2554

เอกสารหมายเลข 2.3–03 คําส่ังแตงต้ังใหพนักงานมหาวิทยาลัยดํารงตําแหนง ผศ. และ รศ.

Page 28: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 27 -

ตัวบงชี้ที่ 2.4 ระบบการพัฒนาคณาจารยและบุคลากรสายสนับสนุน ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ

เกณฑมาตรฐาน : ขอ

การดําเนินงาน เกณฑมาตรฐาน มีการ

ดําเนินงาน ครบถวน

ไมไดดําเนินงาน

เอกสาร อางอิง

หมายเลข

1. มีแผนการบริหารและการพัฒนาคณาจารยท้ังดานวิชาการ เทคนิคการสอน

และการวัดผล และมีแผนการบริหารและพัฒนาบุคลากรสายสนับสนุนท่ีมี

การวิเคราะหขอมูลเชิงประจกัษ √

2.4-01 2.4-02

2. มีการบริหารและการพัฒนาคณาจารยและบคุลากรสายสนับสนุนใหเปนไป

ตามแผนท่ีกําหนด √ 2.4-03

3. มีสวัสดิการเสริมสรางสุขภาพท่ีดี และสรางขวัญและกําลังใจใหคณาจารย

และบุคลากรสายสนับสนุนสามารถทํางานไดอยางมปีระสิทธิภาพ √ 2.4-04

4. มีระบบการติดตามใหคณาจารยและบุคลากรสายสนับสนุนนําความรูและ

ทักษะท่ีไดจากการพัฒนามาใชในการจัดการเรียน

การสอนและการวัดผลการเรียนรูของนักศึกษา ตลอดจน

การปฏิบัติงานที่เก่ียวของ

√ 2.4-05

5. มีการใหความรูดานจรรยาบรรณอาจารยและบุคลากรสายสนับสนุน และ

ดูแลควบคุมใหคณาจารยและบุคลากรสายสนับสนุนถือปฏบิัติ √ 2.4-06 2.4-07

6. มีการประเมินผลความสําเร็จของแผนการบริหารและการพัฒนาคณาจารย

และบุคลากรสายสนับสนุน √ 2.4-08

7. มีการนําผลการประเมินไปปรับปรุงแผนหรือปรับปรุงการบริหารและการ

พัฒนาคณาจารยและบุคลากรสายสนับสนุน √ 2.4-09

เกณฑการประเมิน :

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 มีการดําเนินการ

1 ขอ

มีการดําเนินการ

2 ขอ

มีการดําเนินการ 3

หรือ 4 ขอ

มีการดําเนินการ

5 หรือ 6 ขอ

มีการดําเนินการ

7 ขอ

ขอมูลการดําเนินงาน :

เกณฑ ผลการดําเนินงาน

ขอ 1 จัดทําแผนการบริหารและพัฒนาคณาจารยและบุคลากรสายสนับสนุน (2.4-01, 2.4-02)

ขอ 2 ดําเนินการตามแผนการบริหารและพัฒนาฯ ในขอ 1 (2.4-03)

ขอ 3 สรางบรรยากาศภายในท่ีทํางานใหนาอยู จดัสวัสดิการและการเอาใจใสดูแลบุคลากรทุกคนอยาง

Page 29: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 28 -

เกณฑ ผลการดําเนินงาน

เสมอภาค มีการยกยองใหเกียรติผูท่ีไดรับรางวัล และสนับสนุนใหบุคลากรดําเนินการตรวจ

สุขภาพประจาํป (2.4-04)

ขอ 4 มีการกําหนดแนวทางการติดตามผลสัมฤทธิ์ของการอบรม หรือการพฒันา โดยการทําสรุปผล

ความรูและทักษะท่ีไดรับจากการเขารวมอบรม หรือการพฒันาน้ัน ๆ (2.4-05)

ขอ 5 ประชาสัมพันธและเผยแพร คูมือจรรยาบรรณบุคลากร และแนะนําบุคลากรใหปฏิบัติตาม

จรรยาบรรณท่ีกําหนดอยางเหมาะสม (2.4-06, 2.4-07)

ขอ 6 มีการสรุปประเมินผลความสําเร็จของแผนการบริหารและพัฒนาฯ ในขอ 1 โดยคณะทํางาน

ภาควิชาฯ (2.4-08)

ขอ 7 นําผลการประเมินมาวิเคราะหและหาแนวทางการปรับปรุงการบริหารและพัฒนาฯ สําหรับป

การศึกษา 2554 ตอไป (2.4-09)

ตัวบงชี/้ขอมูลพื้นฐานประกอบตัวบงชี ้ หนวยวัด เปาหมาย ผลการ

ดําเนนิงาน คะแนน ที่ได

ระบบการพฒันาคณาจารยและบุคลากรสายสนับสนุน ขอ 5 ขอ 7 ขอ 5

การประเมนิผลเทียบกับเปาหมาย : สูงกวาเปาหมาย เปนไปตามเปาหมาย ตํ่ากวาเปาหมาย

จุดแข็ง : บุคลากรมีความกระตือรือรนและเห็นความสําคัญของการเขารวมกิจกรรมตาง ๆ ตามแผนท่ีภาควิชาฯ

กําหนดไว

จุดที่ควรพัฒนา : การจัดทําแผนการบริหารและพัฒนาฯ ท่ีสอดคลองกับการปฏิบัติงานในสายงาน และ ควรมีการแลกเปล่ียน

ความรูและทักษะท่ีไดรับจากเขารวมประชุมฯ หรืออบรม

แนวทางการพัฒนา :

ทําการสํารวจความตองการและสนใจของบุคลากร วิเคราะห และจัดทําแผนการบริหารและพัฒนาฯ และจัด

กิจกรรมแลกเปล่ียนเรียนรูเก่ียวกับ การนําความรูและทักษะที่ไดรับจากการเขารวมประชมุฯ หรืออบรม ทุก ๆ 3 – 4

เดือน พรอมท้ังเผยแพรตอภาควิชาฯ

Page 30: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 29 -

รายการเอกสารอางอิง : เอกสารหมายเลข 2.4–01 แผนพัฒนาคณาจารย ภาควิชาคณิตศาสตร

เอกสารหมายเลข 2.4–02 แผนการบริหารและพัฒนาคณาจารยและบุคลากรสายสนับสนุน

ภาควิชาคณิตศาสตร

เอกสารหมายเลข 2.4–03 ผลการบริหารและพัฒนาคณาจารยและบุคลากรสายสนับสนุน

- หนังสือขออนุมัติตัวบุคคลเขารวมประชุมทางวิชาการ

- หนังสือขอเสนอผลงานเพื่อขอดํารงตําแหนงทางวิชาการ

- หนังสือขออนุมัติจัดบรรยายพิเศษทางวิชาการ

- หนังสือขอสงชื่อบุคลากรเขารวมอบรม

เอกสารหมายเลข 2.4–04 - ขาววิทยาศาสตรประยุกต มจพ. ปท่ี 8 ฉบบัท่ี 1

- รูปหองทํางาน หองปฏิบัติการคอมพิวเตอร และหองธุรการภาควิชาฯ

- รายงานการประชุมภาควชิาฯ คร้ังท่ี 4/53 คร้ังท่ี 5/53 และคร้ังท่ี 2/54

- บันทึกขอความ โครงการตรวจสุขภาพประจาํป 2554

เอกสารหมายเลข 2.4–05 สรุปผลการเขารวมประชมุทางวชิาการ อบรม ของคณาจารยและบุคลากรสาย

สนับสนุน

เอกสารหมายเลข 2.4–06 รายงานการประชมุภาควิชาฯ คร้ังท่ี 3/53

เอกสารหมายเลข 2.4–07 คูมือจรรยาบรรณบุคลากร มจพ. พ.ศ. 2550

( http://www.hrd.kmutnb.ac.th/?name=page&file=page&op=janyaban )

เอกสารหมายเลข 2.4–08 ประเมินผลความสําเร็จของแผนการบริหารและพัฒนาคณาจารยและบุคลากร

สายสนับสนุน

เอกสารหมายเลข 2.4–09 แนวทางการปรับปรุงแผนการบริหารและพัฒนาคณาจารยและบุคลากรสาย

สนับสนุน ประจําปการศึกษา 2554

Page 31: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 30 -

ตัวบงชี้ที่ 2.6 ระบบและกลไกการจัดการเรียนการสอน ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ

เกณฑมาตรฐาน : ขอ

การดําเนินงาน เกณฑมาตรฐาน มีการ

ดําเนินงาน ครบถวน

ไมไดดําเนินงาน

เอกสาร อางอิง

หมายเลข

1. มีระบบและกลไกการประกันคุณภาพการจัดการเรียนการสอนท่ีเนนผูเรียน

เปนสําคัญทุกหลักสูตร √ 2.6-01 2.6-02

2. ทุกรายวิชาของทุกหลักสูตร มีรายละเอียดของรายวิชาและของประสบการณ

ภาคสนาม (ถามี) กอนการเปดสอนในแตละภาคการศึกษา ตามท่ีกําหนดใน

กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ

3. ทุกหลักสูตรมีรายวิชาท่ีสงเสริมทักษะการเรียนรูดวยตนเอง และ

การใหผูเรียนไดเรียนรูจากการปฏิบัติท้ังในและนอกหองเรียนหรือจากการทํา

วิจัย √ 2.6-01

4. มีการใหผูมปีระสบการณทางวิชาการหรือวชิาชีพจากหนวยงานหรือชุมชน

ภายนอกเขามามีสวนรวมในกระบวนการเรียนการสอนทุกหลักสูตร √ 2.6-03

5. มีการจัดการเรียนรูท่ีพัฒนาจากการวิจัย หรือจากกระบวนการจัดการความรู

เพื่อพัฒนาการเรียนการสอน √ 2.6-04 2.6-05

6. มีการประเมินความพึงพอใจของผูเรียนท่ีมีตอคุณภาพการจัดการเรียนการ

สอนและส่ิงสนับสนุนการเรียนรูทุกรายวิชา ทุกภาคการศึกษา โดยผลการ

ประเมินความพึงพอใจแตละรายวิชาตอง

ไมตํ่ากวา 3.51 จากคะแนนเต็ม 5

√ 2.6-06

7. มีการพัฒนาหรือปรับปรุงการจดัการเรียนการสอน กลยุทธการสอน หรือการ

ประเมินผลการเรียนรูทุกรายวิชา ตามผลการประเมินรายวิชา √ 2.6-07 2.6-08

เกณฑการประเมิน :

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 มีการดําเนินการ

1 ขอ

มีการดําเนินการ

2 หรือ 3 ขอ

มีการดําเนินการ 4

หรือ 5 ขอ

มีการดําเนินการ

6 ขอ

มีการดําเนินการ

7 ขอ

ขอมูลพื้นฐานประกอบตัวบงชี้ :

ขอมูลพื้นฐานประกอบตัวบงชี้ หนวยวัด ผลการดําเนินงาน

1. จํานวนหลักสูตรท้ังหมดทุกระดับท่ีเปดสอน หลักสูตร 3

2. จํานวนหลักสูตรท่ีมีระบบและกลไกการประกันคุณภาพการจัดการเรียน หลักสูตร 3

Page 32: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 31 -

การสอนท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญ

3. จํานวนหลักสูตรท่ีมีรายวิชาท่ีสงเสริมทักษะการเรียนรูดวยตนเอง และ

การใหผูเรียนไดเรียนรูจากการปฏิบัติท้ังในและนอกหองเรียนหรือจาก

การทําวิจัย

หลักสูตร 3

4. จํานวนหลักสูตรท่ีมีการใหผูมปีระสบการณทางวิชาการหรือวิชาชีพจาก

หนวยงานหรือชุมชนภายนอกเขามามีสวนรวมในกระบวนการเรียน

การสอน

หลักสูตร 3

5. จํานวนรายวิชาท่ีเปดสอนท้ังหมด รายวิชา 26

6. จํานวนรายวิชาท่ีมีรายละเอียดของรายวิชาตามท่ีกําหนดในกรอบ TQF รายวิชา 15

7. จํานวนรายวิชาท่ีมีการประเมินความพึงพอใจของผูเรียน รายวิชา 26

8. จํานวนรายวิชาท่ีมีผลประเมินความพึงพอใจของผูเรียน 3.51 ขึ้นไป รายวิชา 26

ขอมูลการดําเนินงาน :

เกณฑ ผลการดําเนินงาน

ขอ 1 มีการจัดการเรียนการสอนท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญทุกหลักสูตรท่ีเปดสอน (2.6-01, 2.6-02)

ขอ 2 -

ขอ 3 หลักสูตรท่ีเปดสอนทุกหลักสูตรกําหนดใหมีวิชาสัมมนา และโครงงานพิเศษหรือวิทยานิพนธ

(2.6-01)

ขอ 4 มีการเชิญบุคลากรภายนอกมาเปนอาจารยพเิศษสอนท้ังรายวิชาในภาคการศึกษาท่ี 2/2553

(2.6-03)

ขอ 5 จัดกิจกรรมแลกเปล่ียนเรียนรูเก่ียวกับประสบการณการจัดการเรียนการสอนระหวางคณาจารยใน

ภาควิชาฯ เพื่อปรับปรุงและพฒันาการเรียนการสอนใหมีประสิทธิภาพย่ิงขึ้น (2.6-04, 2.6-05)

ขอ 6 มีการประเมินความพึงพอใจของผูเรียนตอคุณภาพการจัดการเรียนการสอนและส่ิงสนับสนุนบาง

รายวิชา ทุกภาคการศึกษา เน่ืองจากความขัดของของระบบการเขาถึงของคณะฯ (2.6-06)

ขอ 7 วิเคราะหผลการประเมินจากภาคเรียนท่ี 1/2553 และทําการปรับปรุงการจดัการเรียนการสอนและ

การวัดผลในภาคเรียน 2/2553 (2.6-07, 2.6-08)

การประเมนิตนเองจากผลการดําเนินงาน :

ตัวบงชี/้ขอมูลพื้นฐานประกอบตัวบงชี ้ หนวยวัด เปาหมาย ผลการ

ดําเนนิงาน คะแนน ที่ได

ระบบและกลไกการจัดการเรียนการสอน ขอ 6 ขอ 6 ขอ 4

การประเมนิผลเทียบกับเปาหมาย : สูงกวาเปาหมาย เปนไปตามเปาหมาย ตํ่ากวาเปาหมาย

Page 33: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 32 -

จุดแข็ง : มีระบบและกลการจัดการเรียนการสอนท่ีเปนไปตามเกณฑมาตรฐานทุกหลักสูตร มีรายวิชาท่ีสงเสริมให

นักศึกษาเรียนรูดวยตนเอง และจากการทําวจิัย จุดที่ควรพัฒนา :

ระบบการติดตามแผนการสอนรายวิชาตาง ๆ ท่ีเปดสอน แนวทางการพัฒนา :

ภาควิชาฯ จะติดตามและกําหนดสง แผนการสอนทุกรายวิชาท่ีเปดสอนในชวง 2 สัปดาหแรกของการเปด

ภาคการศึกษา ท่ีธุรการของภาควิชาฯ

รายการเอกสารอางอิง : เอกสารหมายเลข 2.6–01 - หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวชิาคณิตศาสตรประยุกต (หลักสูตร

ปรับปรุง พ.ศ. 2551)

- หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาคณิตศาสตรเชิงวิทยาการคอมพิวเตอร

(หลักสูตรใหม พ.ศ. 2553)

- หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบณัฑิต สาขาวิชาคณิตศาสตรประยุกต (หลักสูตร

ปรับปรุง พ.ศ. 2552)

เอกสารหมายเลข 2.6–02 รายงานการประชมุภาควิชาฯ คร้ังท่ี 3/53 คร้ังท่ี 5/53 และคร้ังท่ี 6/53

เอกสารหมายเลข 2.6–03 หนังสือขออนุมัติจางอาจารยพิเศษในภาคเรียนการศึกษาท่ี 2/2553

เอกสารหมายเลข 2.6–04 รายงานการประชมุภาควิชาฯ คร้ังท่ี 1/54

เอกสารหมายเลข 2.6–05 สรุปองคความรูจากกิจกรรมแลกเปล่ียนความรูเก่ียวกับการจดัการเรียนการสอน

ใหมีประสิทธิภาพ

เอกสารหมายเลข 2.6–06 สรุปผลการประเมนิการสอนของคณาจารยโดยนักศึกษา ภาคการศึกษา 2/2553

เอกสารหมายเลข 2.6–07 รายงานการประชมุภาควิชาฯ คร้ังท่ี 6/53

เอกสารหมายเลข 2.6–08 แผนการสอนรายวิชา General Mathematics สําหรับภาคการศึกษา 1/2553 และ

2/2553

Page 34: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 33 -

ตัวบงชี้ที่ 2.7 ระบบและกลไกการพัฒนาสัมฤทธิผลการเรียนตามคณุลักษณะของบัณฑิต ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ

เกณฑมาตรฐาน : ขอ

การดําเนินงาน เกณฑมาตรฐาน มีการ

ดําเนินงาน ครบถวน

ไมไดดําเนินงาน

เอกสาร อางอิง

หมายเลข

1. มีการสํารวจคุณลักษณะของบัณฑิตท่ีพึงประสงคตามความตองการของผูใช

บัณฑิตอยางนอยสําหรับทุกหลักสูตรระดับปริญญาตรี ทุกรอบระยะเวลา

ตามแผนกําหนดการศึกษาของหลักสูตร

2. มีการนําผลจากขอ 1 มาใชในการปรับปรุงหลักสูตร การจัดการเรียนการ

สอน การวัดผลการศึกษาและสัมฤทธิผลทางการเรียนท่ีสงเสริมทักษะอาชพี

และคุณลักษณะของบัณฑิตท่ีพึงประสงค ตามความตองการของผูใชบัณฑิต

3. มีการสงเสริมสนับสนุนทรัพยากรท้ังดานบุคลากร เทคโนโลยีสารสนเทศ

และงบประมาณท่ีเอื้อตอการพัฒนาคุณลักษณะของบัณฑิต √ 2.7-01 2.7-02

4. มีระบบและกลไกการสงเสริมใหนักศึกษาระดับปริญญาตรีและ

บัณฑิตศึกษาเขารวมกิจกรรมการประชมุวิชาการหรือนําเสนอผลงานทาง

วิชาการในที่ประชุมระหวางสถาบัน หรือท่ีประชุมระดับชาติหรือนานาชาติ √

2.7-03 2.7-04

5. มีกิจกรรมเสริมสรางคุณธรรมจริยธรรมใหแกนักศึกษาระดับ

ปริญญาตรีและบัณฑิตศึกษาที่จัดโดยมหาวิทยาลัยหรือสวนงาน √ 2.7-05

6. มีระบบและกลไกสนับสนุนการประยุกตใชผลงานจากวิทยานิพนธของ

นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา และมีการรับรองการใชประโยชนจริงจาก

หนวยงานภาครัฐ หรือเอกชน หรือหนวยงานวิชาชีพ*

เกณฑการประเมิน :

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 มีการดําเนินการ

1 ขอ

ตามเกณฑท่ัวไป

มีการดําเนินการ

2 ขอ

ตามเกณฑท่ัวไป

มีการดําเนินการ

3 ขอ

ตามเกณฑท่ัวไป

มีการดําเนินการ

4 หรือ 5 ขอ

ตามเกณฑท่ัวไป

มีการดําเนินการ ครบ 5 ขอตาม

เกณฑท่ัวไป และครบถวนตามเกณฑ

มาตรฐานเพิ่มเติมเฉพาะกลุม

ขอมูลพื้นฐานประกอบตัวบงชี้ :

ขอมูลพื้นฐานประกอบตัวบงชี้ หนวยวัด ผลการดําเนินงาน

1. จํานวนผลงานจากวิทยานิพนธของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาท่ีม ี

การรับรองการใชประโยชนจริงจากหนวยงานภาครัฐ หรือเอกชน หรือ

หนวยงานวิชาชีพ

โครงการ/

กิจกรรม -

Page 35: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 34 -

ขอมูลการดําเนินงาน : เกณฑ ผลการดําเนินงาน

ขอ 1 -

ขอ 2 -

ขอ 3 ภาควิชาฯ มกีารจัดสรรงบประมาณดานการพัฒนาบุคลากรและกิจการนักศึกษา เพื่อสนับสนุน

การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนและสนับสนุนบุคลากรท่ีมีคุณภาพ (2.7-01, 2.7-02)

ขอ 4 มีการเผยแพรโปรแกรมการประชุมวิชาการผานบอรดประชาสัมพันธและสนับสนุนใหนักศึกษาเขา

รวมประชุมวชิาการ (2.7-03, 2.7-04)

ขอ 5 ภาควิชาฯ จดัโครงการธรรมมะกับนักศึกษา เพื่อเปนการเสริมสรางคุณธรรมและจริยธรรมแก

นักศึกษา (2.7-05)

ขอ 6 -

การประเมนิตนเองจากผลการดําเนินงาน :

ตัวบงชี/้ขอมูลพื้นฐานประกอบตัวบงชี ้ หนวยวัด เปาหมาย ผลการ

ดําเนนิงาน คะแนน ที่ได

ระบบและกลไกการพัฒนาสัมฤทธิผลการเรียนตาม

คุณลักษณะของบัณฑิต

ขอ 4 ขอ 3 ขอ 3

การประเมนิผลเทียบกับเปาหมาย : สูงกวาเปาหมาย เปนไปตามเปาหมาย ตํ่ากวาเปาหมาย

จุดแข็ง : ภาควิชาฯ มีการสนับสนุนทรัพยากรท้ังดานบุคลากรท่ีมีคุณภาพ เทคโนโลยีสารสนเทศ และงบประมาณ ท่ี

สงผลตอการพัฒนาคุณภาพของบัณฑิต

จุดที่ควรพัฒนา :

ระบบการสํารวจคุณลักษณะของบัณฑิตท่ีพึงประสงคตามความตองการของผูใชบัณฑิต และการประยุกตใช

ผลงานวิทยานิพนธของนักศึกษา

แนวทางการพัฒนา :

จัดทําแบบสํารวจคุณลักษณะของบัณฑิตท่ีพงึประสงค และสงแบบสํารวจใหกับผูใชบณัฑิตสําหรับบัณฑิตท่ี

สําเร็จการศึกษา ปการศึกษา 2552 และ 2553

สนับสนุนใหมีการประยุกตใชผลงานวิทยานิพนธของนักศึกษา และการมีการรับรองการใชประโยชนจริงจาก

หนวยงานภายนอก

Page 36: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 35 -

รายการเอกสารอางอิง : เอกสารหมายเลข 2.7–01 งบประมาณภาควชิาฯ ประจําปงบประมาณ 2554

เอกสารหมายเลข 2.7–02 - เอกสารขออนุมติัจางอาจารยพเิศษ ภาคเรียนท่ี 2/2553

- คําส่ังใหพนักงานมหาวิทยาลัยลาศึกษาตอ กลับเขาปฏิบติังาน

- คําส่ังใหขาราชการขยายเวลาศึกษาตอภายในประเทศและตางประเทศ

- คําส่ังขยายการจางพนักงานพิเศษ ประจาํปงบประมาณ 2554

- คําส่ังบรรจุและแตงต้ังพนักงานมหาวิทยาลัย

เอกสารหมายเลข 2.7-03 รูปบอรดประชาสัมพันธภาควชิาฯ

เอกสารหมายเลข 2.7–04 ผลงานของนักศึกษาท่ีเขารวมประชุมวิชาการ ประจําป 2553

เอกสารหมายเลข 2.7–05 คําส่ังขออนุมัติโครงการธรรมะกับนักศึกษา

Page 37: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 36 -

องคประกอบที่ 3 กิจกรรมการพัฒนานักศึกษา ตัวบงชี้ที่ 3.1 ระบบและกลไกการใหคาํปรึกษาและบรกิารดานขอมูลขาวสาร ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ

เกณฑมาตรฐาน : ขอ

การดําเนินงาน เกณฑมาตรฐาน มีการ

ดําเนินงาน ครบถวน

ไมไดดําเนินงาน

เอกสาร อางอิง

หมายเลข

1. มีการจัดบริการใหคําปรึกษาทางวิชาการและแนะแนวการใชชีวิตแก

นักศึกษา √ 3.1-01 3.1-02

2. มีการจัดบริการขอมูลขาวสารท่ีเปนประโยชนตอนักศึกษา √ 3.1-03 3.1-04

3. มีการจัดกิจกรรมเพื่อพฒันาประสบการณทางวิชาการและวชิาชีพแก

นักศึกษา √ 3.1-05

4. มีการจัดบริการขอมูลขาวสารท่ีเปนประโยชนตอศิษยเกา √ 3.1-03 3.1-06

5. มีการจัดกิจกรรมเพื่อพฒันาความรูและประสบการณใหศิษยเกา √

6. มีผลการประเมินคุณภาพของการใหบริการในขอ 1 – 3 ทุกขอ

ไมตํ่ากวา 3.51 จากคะแนนเต็ม 5 √ 3.1-07

7. มีการนําผลการประเมินคุณภาพของการใหบริการมาใชเปนขอมูลในการ

พัฒนาการจัดบริการท่ีสนองความตองการของนักศึกษา √ 3.1-08 3.1-09

เกณฑการประเมิน :

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 มีการดําเนินการ

1 ขอ

มีการดําเนินการ

2 หรือ 3 ขอ

มีการดําเนินการ 4

หรือ 5 ขอ

มีการดําเนินการ

6 ขอ

มีการดําเนินการ

7 ขอ

ขอมูลพื้นฐานประกอบตัวบงชี้ :

ขอมูลพื้นฐานประกอบตัวบงชี้ หนวยวัด ผลการดําเนินงาน

1. ผลการประเมินคุณภาพของการจัดบริการใหคําปรึกษาทางวิชาการและ

แนะแนวการใชชีวิตแกนักศึกษา

คาเฉล่ีย 4.09

2. ผลการประเมินคุณภาพของการจัดบริการขอมูลขาสารท่ีเปนประโยชนตอ

นักศึกษา

คาเฉล่ีย 4.06

3. ผลการประเมินคุณภาพของการจัดกิจกรรมเพื่อพฒันาประสบการณทาง

วิชาการและวชิาชีพแกนักศึกษา

คาเฉล่ีย 4.13

Page 38: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 37 -

ขอมูลการดําเนินงาน :

เกณฑ ผลการดําเนินงาน

ขอ 1 แตงต้ังอาจารยท่ีปรึกษาประจาํชั้นปและกรรมการกิจการนักศึกษา (3.1-01, 3.1-02)

ขอ 2 มีเว็บไซดและบอรดประชาสัมพันธของภาควชิาฯ (3.1-03, 3.1-04)

ขอ 3 จัดโครงการ “Are U Ready to Get a Job?” เตรียมความพรอมเต็มท่ีสูศักยภาพเต็มรอย (3.1-05)

ขอ 4 จัดโครงการกิจกรรมกีฬาสัมพนัธ MA ประจาํป 2554 (3.1-03, 3.1-06)

ขอ 5 -

ขอ 6 ทําแบบสอบถามเพื่อประเมินคุณภาพของการใหบริการท้ัง 3 เร่ือง (3.1-07)

ขอ 7 ใชผลประเมินคุณภาพเพื่อพฒันาการจัดบริการแกนักศึกษาและศิษยเกาสําหรับการจัดกจิกรรมใน

ปถัดไป (3.1-08, 3.1-09)

การประเมนิตนเองจากผลการดําเนินงาน :

ตัวบงชี/้ขอมูลพื้นฐานประกอบตัวบงชี ้ หนวยวัด เปาหมาย ผลการ

ดําเนนิงาน คะแนน ที่ได

ระบบและกลไกการใหคําปรึกษาและบริการดานขอมูล

ขาวสาร

ขอ 6 ขอ 6 ขอ 4

การประเมนิผลเทียบกับเปาหมาย : สูงกวาเปาหมาย เปนไปตามเปาหมาย ตํ่ากวาเปาหมาย

จุดแข็ง : ภาควิชาฯ ตระหนักถึงการบริการดานส่ิงอํานวยความสะดวกท่ีเอื้อตอการพัฒนาการเรียนรูของนักศึกษาจึง

ใหมีการปรับปรุงและดูแลหองปฏิบัติการคอมพิวเตอรและหองเรียนใหมีความทันสมัย และสะอาดอยูเสมอ เพือ่ใหมี

บรรยากาศท่ีดี นอกจากน้ันภาควิชาฯ ยังจัดซื้อส่ือการเรียนการสอนและส่ิงอํานวยความสะดวกท่ีเอื้อตอการ

พัฒนาการเรียนรูของนักศึกษา มีระบบอาจารยท่ีปรึกษาท่ีปฏิบัติงานอยางเขมแข็งคอยใหคําปรึกษาทางดานกิจกรรม

นักศึกษาอีก 2 ทาน นักศึกษาปจจุบันและศิษยเกาสามารถรับขอมูลขาวสารของภาควิชาฯ ไดจากสํานักงานภาควิชา

ฯ บอรดติดประกาศ เว็บไซดของภาควิชาฯ (http://www.ma.kmutnb.ac.th) และมีบริการเครือขายทางสังคม

(http://www.facebook.com) ซึ่งเปนกลุมกจิกรรมหลายกลุม พรอมท้ังยังมีแบบสอบถามความพึงพอใจและนําผล

การประเมินน้ันมาปรับปรุงกิจกรรมสําหรับปถัดไป

จุดที่ควรพัฒนา : ศิษยเกาของภาควิชาฯ ท่ีจบไปแลวน้ัน สวนใหญจะไมสะดวกมารวมกิจกรรมกับภาควชิาฯ ได เน่ืองจากติด

ภาระงานหรือขาดการติดตอ ท่ีผานมาภาควิชาฯ สามารถติดตอกับศิษยเกาไดจํานวนนอย ดังน้ันภาควิชาฯ ควรจัดทํา

Page 39: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 38 -

ระบบฐานขอมลูของศิษยเกาผานทางเว็บไซดและจัดใหมีผูประสานงานกับศิษยเกาโดยตรง และควรจัดหากิจกรรม

เพื่อพัฒนาความรูใหศิษยเกา

แนวทางการพัฒนา : จัดใหมีการพฒันาเว็บไซดของภาควิชาฯ ในสวนการประชาสัมพันธกจิกรรมนักศึกษาและระบบขอมูลศิษย

เกา และจัดกิจกรรมพัฒนาความรูและประสบการณใหศิษยเกา รายการเอกสารอางอิง :

เอกสารหมายเลข 3.1–01 หนังสือแตงต้ังอาจารยท่ีปรึกษาประจําชั้นป

เอกสารหมายเลข 3.1–02 คําส่ังแตงต้ังคณาจารยทําหนาท่ีธุรการ ตําแหนงผูชวยหัวหนาภาควิชาฝาย

กิจการนักศึกษา

เอกสารหมายเลข 3.1–03 รูปภาพบอรดประชาสัมพันธของภาควิชาฯ และ http://www.ma.kmutnb.ac.th

เอกสารหมายเลข 3.1–04 โครงการ“Are U Ready to Get a Job?” เตรียมความพรอมเต็มท่ีสูศักยภาพ

เต็มรอย

เอกสารหมายเลข 3.1–05 โครงการเตรียมความพรอมในการทํางานและศึกษาตอของนักศึกษาชั้นปท่ี 4

เอกสารหมายเลข 3.1–06 โครงการกิจกรรมกีฬาสานสัมพันธ MA ประจาํป 2554

เอกสารหมายเลข 3.1–07 รายงานสรุปผลการประเมินคุณภาพใหบริการแกนักศึกษา

เอกสารหมายเลข 3.1–08 รายงานการประชมุภาควิชาฯ คร้ังท่ี 3/54

เอกสารหมายเลข 3.1–09 แผนการดําเนินงานของภาควิชาฯ

Page 40: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 39 -

ตัวบงชี้ที่ 3.2 ระบบและกลไกการสงเสริมกิจกรรมนักศึกษา ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ

เกณฑมาตรฐาน : ขอ

การดําเนินงาน เกณฑมาตรฐาน มีการ

ดําเนินงาน ครบถวน

ไมไดดําเนินงาน

เอกสาร อางอิง

หมายเลข

1. สวนงานจัดทําแผนการจัดกิจกรรมพัฒนานักศึกษาท่ีสงเสริมผลการเรียนรู

ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติทุกดาน √ 3.2-01

2. มีกิจกรรมใหความรูและทักษะการประกันคุณภาพการศึกษาแกนักศึกษา √ 3.2-02 3.2-03

3. มีการสงเสริมใหนักศึกษานําความรูดานการประกันคุณภาพไปใชในการจดั

กิจกรรมท่ีดําเนินการโดยนักศึกษาอยางนอย 5 ประเภทสําหรับระดับ

ปริญญาตรี และอยางนอย 2 ประเภทสําหรับระดับบัณฑิตศึกษา ไดแก

- กิจกรรมวิชาการท่ีสงเสริมคุณลักษณะบัณฑิตท่ีพึงประสงค

- กิจกรรมกฬีาหรือการสงเสริมสุขภาพ

- กิจกรรมบําเพญ็ประโยชนหรือรักษาส่ิงแวดลอม

- กิจกรรมเสริมสรางคุณธรรมและจริยธรรม

- กิจกรรมสงเสริมศิลปะและวฒันธรรม

3.2-04

4. มีการสนับสนุนใหนักศึกษาสรางเครือขายพัฒนาคุณภาพภายใน

มหาวิทยาลัยหรือระหวางมหาวิทยาลัย และมกีิจกรรมรวมกนั √ 3.2-05

5. มีการประเมินความสําเร็จตามวัตถุประสงคของแผนการจัดกิจกรรมพัฒนา

นักศึกษา √ 3.2-06

6. มีการนําผลการประเมินไปปรับปรุงแผนหรือปรับปรุงการจดักิจกรรมเพื่อ

พัฒนานักศึกษา √ 3.2-07

เกณฑการประเมิน :

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 มีการดําเนินการ

1 ขอ

มีการดําเนินการ

2 ขอ

มีการดําเนินการ 3

หรือ 4 ขอ

มีการดําเนินการ

5 ขอ

มีการดําเนินการ

6 ขอ

ขอมูลการดําเนินงาน :

เกณฑ ผลการดําเนินงาน

ขอ 1 มีการประชุมวางแผนในการดําเนินกิจกรรม (3.2-01)

ขอ 2 จัดโครงการปฐมนิเทศและคายสัมมนารวมกบัคณะวิทยาศาสตร (3.2-02, 3.2-03)

ขอ 3 สงเสริมใหจัดกิจกรรมนักศึกษาครบ 5 ประเภท (3.2-04)

Page 41: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 40 -

เกณฑ ผลการดําเนินงาน

ขอ 4 จัดโครงการกีฬาเชื่อมความสัมพันธภาควชิาคณิตศาสตร (Union Games) คร้ังท่ี 7 (3.2-05)

ขอ 5 กําหนดใหทุกโครงการมีกระบวนการติดตามและประเมินผลโครงการหรือกิจกรรม (3.2-06)

ขอ 6 วิเคราะหผลการประเมินและอปุสรรคในขอ 5 และนําไปปรับปรุงแผนการจัดกิจกรรมในปตอไป

(3.2-07)

การประเมนิตนเองจากผลการดําเนินงาน :

ตัวบงชี/้ขอมูลพื้นฐานประกอบตัวบงชี ้ หนวยวัด เปาหมาย ผลการ

ดําเนนิงาน คะแนน ที่ได

ระบบและกลไกการสงเสริมกิจกรรมนักศึกษา ขอ 5 ขอ 6 ขอ 5

การประเมนิผลเทียบกับเปาหมาย : สูงกวาเปาหมาย เปนไปตามเปาหมาย ตํ่ากวาเปาหมาย

จุดแข็ง : ภาควิชาฯ มีการสงเสริมกิจกรรมของนักศึกษาท่ีสอดคลองกับคุณลักษณะของบัณฑิตท่ีพึงประสงค กิจกรรม

นักศึกษาท่ีภาควิชาฯ ใหการสนับสนุนครอบคลุมทุกดานดังน้ี

1. กจิกรรมทางวิชาการที่สงเสริมคุณลักษณะบัณฑิตท่ีพึงประสงค

2. กจิกรรมกีฬาหรือการสงเสริมสุขภาพ

3. กจิกรรมบาํเพ็ญประโยชนหรือรักษาส่ิงแวดลอม

4. กจิกรรมเสริมเสรางคุณธรรมและจริยธรรม

5. กจิกรรมสงเสริมศิลปะและวัฒนธรรม

โดยภาควิชาฯ มีกระบวนการติดตามและประเมินผลโครงการทุกโครงการเปนประจําทุกปและไดนําผลการ

ประเมินไปปรับปรุงการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนานักศึกษาอยางตอเน่ือง

จุดที่ควรพัฒนา : ภาควิชาฯ ควรจัดกิจกรรมเกี่ยวกับการพัฒนาความรูความเขาใจแกนักศึกษาดานการประกันคุณภาพ

การศึกษาใหมากข้ึน

แนวทางการพัฒนา : สนับสนุนใหนักศึกษาจัดกิจกรรมเก่ียวกับการพัฒนาความรูความเขาใจแกนักศึกษาดานการประกันคุณภาพ

การศึกษา

Page 42: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 41 -

รายการเอกสารอางอิง : เอกสารหมายเลข 3.2–01 คําส่ังแตงต้ังผูชวยหัวหนาภาควิชาฝายกิจการนักศึกษา

เอกสารหมายเลข 3.2–02 โครงการปฐมนิเทศของคณะวิทยาศาสตรประยุกต

เอกสารหมายเลข 3.2–03 โครงการคายสัมมนาของคณะวิทยาศาสตรประยุกต

เอกสารหมายเลข 3.2–04 แผนการดําเนินงานและกิจกรรมการพัฒนานักศึกษา

- กิจกรรมกฬีาหรือการสงเสริมสุขภาพ คือ โครงการกิจกรรมกีฬาสานสัมพันธ MA

- กิจกรรมทางวิชาการที่สงเสริมคุณลักษณะบัณฑิตท่ีพึงประสงค คือ โครงการปฐมนิเทศภาควิชาฯ

- กิจกรรมสงเสริมศิลปะและวฒันธรรม คือ โครงการทําบุญภาควิชาฯ

- กิจกรรมบําเพญ็ประโยชนหรือรักษาส่ิงแวดลอม คือ โครงการปลูกปาชายเลน

- กิจกรรมเสริมสรางคุณธรรมและจริยธรรม คือ โครงการธรรมะกับนักศึกษา

เอกสารหมายเลข 3.2–05 โครงการกีฬาเชื่อมความสัมพันธภาควิชาคณิตศาสตร (Union Games) คร้ังท่ี 7

เอกสารหมายเลข 3.2–06 รายงานผลการประเมินโครงการตาง ๆ

- โครงการกิจกรรมกีฬาสานสัมพันธ MA

- โครงการปฐมนิเทศภาควิชาฯ

- โครงการทําบญุภาควิชาฯ

- โครงการปลูกปาชายเลน

- โครงการธรรมะกับนักศึกษา

เอกสารหมายเลข 3.2–07 แผนการจัดกิจกรรมเพื่อพฒันานักศึกษา ประจําปการศึกษา 2554

Page 43: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 42 -

องคประกอบที่ 4 การวิจัย

ตัวบงชี้ที่ 4.1 ระบบและกลไกการพัฒนางานวิจัยหรืองานสรางสรรค ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ

เกณฑมาตรฐาน : ขอ

การดําเนินงาน เกณฑมาตรฐาน มีการ

ดําเนินงาน ครบถวน

ไมไดดําเนินงาน

เอกสาร อางอิง

หมายเลข

1. มีระบบและกลไกบริหารงานวิจัยหรืองานสรางสรรค เพื่อใหบรรลุเปาหมาย

ตามแผนดานการวิจัยของสวนงาน และดําเนินการตามระบบท่ีกําหนด √

4.1-01 4.1-02

2. มีการบูรณาการกระบวนการวจิัยหรืองานสรางสรรคกับการจัด

การเรียนการสอน √

4.1-03

3. มีการพัฒนาศักยภาพดานการวิจัยหรืองานสรางสรรคและใหความรูดาน

จรรยาบรรณการวิจัยแกอาจารยประจําและนักวิจัย √

4.1-04 4.1-05 4.1-06 4.1-07

4. มีการจัดสรรงบประมาณของมหาวิทยาลัย หรือสวนงาน เพื่อเปน

ทุนวิจัยหรืองานสรางสรรค √

4.1-08

5. มีการสนับสนุนพันธกิจดานการวิจัยหรืองานสรางสรรคตาม

อัตลักษณของมหาวิทยาลัยหรือสวนงาน อยางนอยในประเด็นตอไปน้ี

- หองปฏิบัติการวิจัยฯ หรือหนวยวิจัยฯ หรือศูนยเคร่ืองมือ หรือศูนย ให

คําปรึกษาและสนับสนุนการวิจัยฯ

- หองสมุดหรือแหลงคนควาขอมูลสนับสนุนการวิจัยฯ

- ส่ิงอํานวยความสะดวกหรือการรักษาความปลอดภัยในการวิจัย เชน

ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ระบบรักษาความปลอดภัยใน

หองปฏิบัติการวิจัย

- กิจกรรมวิชาการท่ีสงเสริมงานวิจัยฯ เชน การจัดประชมุวิชาการ การจัด

แสดงงานสรางสรรค การจัดใหมีศาสตราจารยอาคันตุกะ หรือศาสตราจารย

รับเชิญ (visiting professor)

4.1-10

4.1-10 4.1-11

4.1-03

6. มีการติดตามและประเมินผลการสนับสนุนในขอ 4 และขอ 5

อยางครบถวนทุกประเด็น √

4.1-12

7. มีการนําผลการประเมินไปปรับปรุงการสนับสนุนพันธกิจดานการวิจัยหรือ

งานสรางสรรคของมหาวิทยาลัย หรือสวนงาน √

4.1-04 4.1-13

Page 44: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 43 -

เกณฑการประเมิน :

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 มีการดําเนินการ

1 ขอ

มีการดําเนินการ

2 หรือ 3 ขอ

มีการดําเนินการ

4 หรือ 5 ขอ

มีการดําเนินการ

6 ขอ

มีการดําเนินการ

7 ขอ

ขอมูลการดําเนินงาน :

เกณฑ ผลการดําเนินงาน

ขอ 1 แตงต้ังผูชวยหัวหนาภาควิชาฝายวิจัยและวิเทศสัมพันธ รับผิดชอบในการวางแผน ติดตาม

ประเมินและปรับปรุงแผนการวิจัยของภาควชิาฯ เพื่อใหบรรลุเปาหมาย (4.1-01, 4.1-02)

ขอ 2 กําหนดใหนักศึกษาบัณฑิตศึกษาเขารวมฟงบรรยายพิเศษโดยศาสตราจารยรับเชิญจาก

ตางประเทศ (4.1-03)

ขอ 3 จัดกิจกรรมแลกเปล่ียนเรียนรูดานการวิจัยเก่ียวกับเทคนิคการเขียนผลงานวิจัยเพื่อเผยแพรใน

วารสารระดับนานาชาติ (4.1-04, 4.1-05) ใหความรูดานจรรยาบรรณของนักวิจัยแกคณาจารย

(4.1-06) และ จัดบอรดแสดงผลงานวิจัยของคณาจารยท่ีไดรับการเผยแพร (4.1-07)

ขอ 4 ประชาสัมพันธและสนับสนุนการเสนอขอทุนวิจัยท้ังแหลงทุนจากภายในและภายนอก

มหาวิทยาลัย (4.1-08)

ขอ 5 จัดเตรียมหองทํางานและหองปฏิบัติงาน (4.1-09) แหลงคนควาทางวิชาการ (4.1-10) และส่ิง

อํานวยความสะดวก (4.1-11) ตลอดถึงการสนับสนุนการบรรยายพิเศษโดยศาสตรจารยรับเชิญ

(4.1-03)

ขอ 6 จัดทําแบบประเมินผลสําเร็จของการสนับสนุนทุก ๆ ดานโดยคณาจารยภาควิชาฯ (4.1-12)

ขอ 7 จัดทําแผนการปรับปรุงจากผลการประเมินในขอ 6 (4.1-04, 4.1-13)

การประเมนิตนเองจากผลการดําเนินงาน :

ตัวบงชี/้ขอมูลพื้นฐานประกอบตัวบงชี ้ หนวยวัด เปาหมาย ผลการ

ดําเนนิงาน คะแนน ที่ได

ระบบและกลไกการพัฒนางานวิจัยหรืองานสรางสรรค ขอ 6 ขอ 7 ขอ 5

การประเมนิผลเทียบกับเปาหมาย : สูงกวาเปาหมาย เปนไปตามเปาหมาย ตํ่ากวาเปาหมาย

จุดแข็ง : ภาควิชาฯ มีระบบและกลไกการบริหารงานวิจัย เพื่อใหบรรลุตามแผนดานการวิจัย รวมท้ังมีการสนับสนุน

สงเสริม และประชาสัมพันธ เก่ียวกับแหลงทุนวิจัยท้ังภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย หรือแหลงคนควาท่ีสนับสนุน

งานวิจัย

Page 45: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 44 -

จุดที่ควรพัฒนา : การประชาสัมพันธแหลงทุนวิจัยตาง ๆ ท้ังภายในประเทศและตางประเทศ

แนวทางการพัฒนา : จัดใหมีอาจารยหรือพี่เล้ียงท่ีมีความเชี่ยวชาญตรวจสอบขอเสนอโครงการวิจัยของคณาจารยท่ีเสนอขอทุน

วิจัยไปยังแหลงทุนตาง ๆ และชวยปรับปรุงโครงการใหเหมาะสม เพื่อเพิม่โอกาสในการไดรับทุน

รายการเอกสารอางอิง :

เอกสารหมายเลข 4.1–01 คําส่ังแตงต้ังคณาจารยทําหนาท่ีธุรการ ตําแหนงผูชวยหัวหนาภาควชิาฝายวจิัย

และวิเทศสัมพันธ

เอกสารหมายเลข 4.1–02 แผนการดําเนินงานวิจัย ประจําปการศึกษา 2553

เอกสารหมายเลข 4.1–03 โครงการบรรยายพิเศษทางวิชาการโดยศาสตราจารยรับเชิญจากตางประเทศ

และรายชื่อผูเขารวมฟงบรรยาย

เอกสารหมายเลข 4.1–04 รายงานการประชมุภาควิชาฯ คร้ังท่ี 1/54 และคร้ังท่ี 3/54

เอกสารหมายเลข 4.1–05 สรุปองคความรูท่ีไดจากกิจกรรมแลกเปล่ียนเรียนรู ดานการวิจยั

เอกสารหมายเลข 4.1–06 จรรยาบรรณนักวิจัยและแนวทางปฏิบัติ

เอกสารหมายเลข 4.1–07 รูปบอรดแสดงผลงานวิจัยของคณาจารย

เอกสารหมายเลข 4.1–08 - งบประมาณของภาควิชาฯ ประจําปงบประมาณ 2554

- ประกาศรับสมัครทุนวิจัยท่ัวไปและนักวิจัยรุนใหมของ มจพ.

- ประกาศรับสมัครทุนนักวิจัยและนักวิจัยรุนใหม ของคณะวิทยาศาสตรประยุกต

- ประกาศหลักเกณฑทุนวิจัย จากศูนยความเปนเลิศดานคณิตศาสตร

เอกสารหมายเลข 4.1–09 รูปหองทํางานของคณาจารยและหองปฏิบัติการคอมพิวเตอร

เอกสารหมายเลข 4.1–10 www.library.kmutnb.ac.th

เอกสารหมายเลข 4.1–11 คําส่ังสงซีดีโปรแกรม Maple และโปรแกรม Matlab

เอกสารหมายเลข 4.1–12 ผลการประเมินการพัฒนางานวจิัย ประจําปการศึกษา 2553

เอกสารหมายเลข 4.1–13 สรุปแนวทางการปรับปรุงการพฒันางานวิจัย ประจําป 2554

Page 46: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 45 -

ตัวบงชี้ที่ 4.2 ระบบและกลไกการจัดการความรูจากงานวิจัยหรืองานสรางสรรค ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ

เกณฑมาตรฐาน : ขอ

การดําเนินงาน เกณฑมาตรฐาน มีการ

ดําเนินงาน ครบถวน

ไมไดดําเนินงาน

เอกสาร อางอิง

หมายเลข

1. มีระบบและกลไกสนับสนุนการเผยแพรผลงานวิจัยหรืองานสรางสรรคในการ

ประชุมวิชาการหรือการตีพิมพในวารสารระดับชาติหรือนานาชาติ และมีการ

เผยแพรผลงานวิจัยหรืองานสรางสรรคในการประชุมวิชาการหรือการตีพิมพ

ในวารสารระดับชาติหรือนานาชาติ

4.2-01 4.2-02 4.2-03 4.2-04

2. มีระบบและกลไกการรวบรวม คัดสรร วิเคราะหและสังเคราะหความรูจาก

งานวิจัยหรืองานสรางสรรค เพื่อใหเปนองคความรูท่ี

คนท่ัวไปเขาใจได และดําเนินการตามระบบที่กําหนด √

4.2-01 4.2-04 4.2-05

3. มีการประชาสัมพันธและเผยแพรองคความรูจากงานวิจัยหรืองานสรางสรรค

ท่ีไดจากขอ 2 สูสาธารณชนและผูเก่ียวของ √ 4.2-06 4.2-07

4. มีการนําผลงานงานวิจัยหรืองานสรางสรรคไปใชใหเกิดประโยชน และมีการ

รับรองการใชประโยชนจริงจากหนวยงานภายนอกหรือชุมชน √

5. มีระบบและกลไกเพื่อชวยในการคุมครองสิทธิ์ของงานวิจัยหรืองาน

สรางสรรคท่ีนําไปใชประโยชน และดําเนินการตามระบบท่ีกาํหนด √ 4.2-08

6. มีระบบและกลไกสงเสริมการจดสิทธิบัตรหรืออนุสิทธิบัตร และม ี

การยื่นจดสิทธิบัตรและอนุสิทธิบัตร* √ 4.2-08

เกณฑการประเมิน :

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 มีการดําเนินการ

1 ขอ

ตามเกณฑท่ัวไป

มีการดําเนินการ

2 ขอ

ตามเกณฑท่ัวไป

มีการดําเนินการ

3 ขอ

ตามเกณฑท่ัวไป

มีการดําเนินการ

4 หรือ 5 ขอ

ตามเกณฑท่ัวไป

มีการดําเนินการ ครบ 5 ขอตาม

เกณฑท่ัวไป และครบถวนตามเกณฑ

มาตรฐานเพิ่มเติมเฉพาะกลุม

ขอมูลพื้นฐานประกอบตัวบงชี้ :

ขอมูลพื้นฐานประกอบตัวบงชี้ หนวยวัด ผลการดําเนินงาน

1. จํานวนผลงานวิจัยหรืองานสรางสรรคท่ีมีการรับรองการใชประโยชนจริง

จากหนวยงานภายนอกหรือชมุชน

ผลงาน -

2. จํานวนการยื่นจดสิทธิบัตรและอนุสิทธิบัตร เร่ือง -

Page 47: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 46 -

ขอมูลการดําเนินงาน : เกณฑ ผลการดําเนินงาน

ขอ 1 แตงต้ังผูชวยหัวหนาภาควิชาฝายวิจัยและวิเทศสัมพันธ (4.2-01) ควบคุมดูแล แหลงสนับสนุนดาน

งบประมาณเพื่อการเขารวมประชุมทางวชิาการและการตีพิมพผลงานวิจัยในวารสารตาง ๆ (4.2-

02, 4.2-03, 4.2-04)

ขอ 2 ผูชวยหัวหนาภาควิชาฝายวจิยัฯ ติดตามและรวบรวมผลงานวิจัยของคณาจารยประจําป 2553

(4.2-05) และคัดสรรผลงานท่ีเปนท่ีนาสนใจท่ีบุคคลท่ัวไปสามารถเขาได รวมท้ังวิเคราะหและ

สังเคราะหผลงานวิจัยรวมกบัอาจารยเจาของผลงานน้ัน (4.2-05)

ขอ 3 นําองคความรูท่ีไดจากขอ 2 (4.2-06) เผยแพรใหคณาจารยผานการประชุมภาควิชาฯ และติด

บอรดผลงานวิจัยของคณาจารย เพื่อเผยแพรใหผูท่ีสนใจท่ัวไป (4.2-07)

ขอ 4 -

ขอ 5 ภาควิชาฯ ดําเนินตามระเบียบของทางมหาวิทยาลัย วาดวยการบริหารผลประโยชนอนัเกิดจาก

ทรัพยสินทางปญญา พ.ศ. 2550 (4.2-08)

ขอ 6 ภาควิชาฯ ดําเนินตามระเบียบของทางมหาวิทยาลัย วาดวยการบริหารผลประโยชนอนัเกิดจาก

ทรัพยสินทางปญญา พ.ศ. 2550 (4.2-08)

การประเมนิตนเองจากผลการดําเนินงาน :

ตัวบงชี/้ขอมูลพื้นฐานประกอบตัวบงชี ้ หนวยวัด เปาหมาย ผลการ

ดําเนนิงาน คะแนน ที่ได

ระบบและกลไกการจัดการความรูจากงานวจิยัหรืองาน

สรางสรรค

ขอ 4 ขอ 5 ขอ 4

การประเมนิผลเทียบกับเปาหมาย : สูงกวาเปาหมาย เปนไปตามเปาหมาย ตํ่ากวาเปาหมาย

จุดแข็ง : คณาจารยในภาควิชาฯ สามารถผลิตผลงานวิจัยท่ีตีพิมพในวารสารระดับชาติและนานาชาติในปริมาณท่ี

เพิ่มขึ้นอยางตอเน่ือง

จุดที่ควรพัฒนา : การเชื่อมโยงผลงานวิจัยท่ีสามารถนําไปใชประโยชนจากหนวยงานภายนอกหรือชุมชน แนวทางการพัฒนา : สนับสนุนการนําผลงานวิจัยไปใชประโยชน โดยผูชวยหัวหนาภาควิชาฝายวิจัยฯ จะเปนผูประสานงาน

ระหวางอาจารยในภาควิชาฯ ท่ีเปนเจาของผลงานวิจัยกับหนวยงานภายนอก

Page 48: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 47 -

รายการเอกสารอางอิง : เอกสารหมายเลข 4.2–01 คําส่ังแตงต้ังคณาจารยทําหนาท่ีธุรการ ตําแหนงผูชวยหัวหนาภาควิชาฝายวจิัย

และวิเทศสัมพันธ

เอกสารหมายเลข 4.2–02 งบประมาณของภาควิชาฯ ประจาํปงบประมาณ 2554

เอกสารหมายเลข 4.2–03 - รายงานการประชุมภาควชิาฯ คร้ังท่ี 1/54 และ 2/54

- ประกาศหลักเกณฑและอัตราการจายเงินสมนาคุณการเขียนบทความวจิยัท่ีได

รับการตีพิมพ

- ขอกาํหนดในการขอรับการสนับสนุนเงินสมนาคุณตีพิมพในวารสารระดับชาติ

และนานาชาติ

เอกสารหมายเลข 4.2–04 - สรุปผลงานวิจัยของคณาจารยภาควิชาฯ ประจําปการศึกษา 2553

- บทคัดยอผลงานวิจัยคณาจารยภาควิชาฯ ประจําปการศึกษา 2553

เอกสารหมายเลข 4.2–05 ผลงานวิจัยท่ีไดรับการคัดสรร

เอกสารหมายเลข 4.2–06 สรุปองคความรูท่ีไดจากผลงานวิจัยท่ีไดการคัดสรร

เอกสารหมายเลข 4.2–07 รูปบอรด ผลงานวจิัยของคณาจารย

เอกสารหมายเลข 4.2–08 ระเบียบวาดวย การบริหารผลประโยชนอันเกิดจากทรัพยสินทางปญญา

พ.ศ. 2550

Page 49: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 48 -

ตัวบงชี้ที่ 4.3 เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสรางสรรคตอจํานวนอาจารยประจําและนักวิจัยประจํา ชนิดของตัวบงชี้ : ปจจัยนําเขา

เกณฑการประเมิน : โดยการแปลงจํานวนเงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสรางสรรคตอจํานวนอาจารยประจําและ

นักวิจัยประจําเปนคะแนน ระหวาง 0 – 5

เกณฑประเมนิเฉพาะสถาบันกลุม ค1 และ ง จําแนกเปน 3 กลุมสาขาวิชา 1. กลุมสาขาวิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

จํานวนเงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสรางสรรคจากภายในและภายนอกสถาบันท่ีกําหนดใหเปน

คะแนนเต็ม 5 = 180,000 บาทขึ้นไปตอคน 2. กลุมสาขาวิชาวิทยาศาสตรสุขภาพ

จํานวนเงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสรางสรรคจากภายในและภายนอกสถาบันท่ีกําหนดใหเปน

คะแนนเต็ม 5 = 150,000 บาทขึ้นไปตอคน 3. กลุมสาขาวิชามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

จํานวนเงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสรางสรรคจากภายในและภายนอกสถาบันท่ีกําหนดใหเปน

คะแนนเต็ม 5 = 75,000 บาทขึ้นไปตอคน

สูตรการคํานวณ :

1. คํานวณจํานวนเงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสรางสรรคจากภายในและภายนอกสถาบันตอจํานวน

อาจารยประจําและนักวิจัยประจํา

จํานวนเงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสรางสรรคตออาจารยประจําและนักวิจัยประจํา =

จํานวนเงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสรางสรรคจากภายในและภายนอก

จํานวนอาจารยประจําและนักวิจัยประจํา

2. แปลงจํานวนเงินท่ีคํานวณไดในขอ 1 เทียบกับคะแนนเต็ม 5

จํานวนเงินสนับสนุนงานวิจัยฯ ตออาจารยประจําและนักวิจัยประจํา คะแนนท่ีได =

180,000 (=จํานวนเงินสนับสนุนงานวิจัยฯ ที่กําหนดใหเปนคะแนนเต็ม 5) x 5

หมายเหต ุ: กรณีท่ีสวนงานประกอบดวยภาควิชา/สาขาวิชาหลายกลุมสาขาวิชา คะแนนท่ีไดในระดับ

คณะวิชา เทากับ คาเฉล่ียของคะแนนท่ีไดของทุกกลุมสาขาวิชาในคณะวิชา

Page 50: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 49 -

ขอมูลพื้นฐานประกอบตัวบงชี้ : ขอมูลพื้นฐานประกอบตัวบงชี้ หนวยวัด ผลการดําเนินงาน

1. จํานวนอาจารยประจําและนักวิจัยประจาํที่ปฏิบัติงานจริง คน

1.1 จํานวนอาจารยประจํา คน 22.5

1.2 จํานวนนักวิจัยประจํา คน -

2. จํานวนเงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสรางสรรค บาท

2.1 จากภายในมหาวิทยาลัย/สวนงาน บาท 781,100

2.2 จากภายนอกมหาวิทยาลัย บาท 660,000

3. จํานวนเงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสรางสรรคตอจาํนวนอาจารยประจําและนกัวิจัยประจํา

บาท : คน 64,048.89

การประเมนิตนเองจากผลการดําเนินงาน :

ตัวบงชี/้ขอมูลพื้นฐานประกอบตัวบงชี ้ หนวยวัด เปาหมาย ผลการ

ดําเนนิงาน คะแนน ที่ได

คะแนนท่ีไดในระดับคณะวิชา คาเฉล่ีย คาเฉล่ีย

108,000

คาเฉล่ีย

64,048.89 1.78

การประเมนิผลเทียบกับเปาหมาย : สูงกวาเปาหมาย เปนไปตามเปาหมาย ตํ่ากวาเปาหมาย

จุดแข็ง : จํานวนเงินสนับสนุนงานวิจัยของภาควิชาฯ เพิ่มมากขึ้นกวาปท่ีผานมา

จุดที่ควรพัฒนา : เพิ่มจํานวนเงินสนับสนุนงานวิจัยตออาจารยประจําใหมากข้ึน

แนวทางการพัฒนา : สนับสนุน กระตุน และใหคําแนะนํา ในการเขียนขอเสนอโครงการวิจยัใหมีคุณภาพและไดรับทุนอุดหนุนการ

วิจัยท้ังภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย

Page 51: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 50 -

รายการเอกสารอางอิง : เอกสารหมายเลข 4.3–01 รายชื่ออาจารยประจํา ภาควิชาคณิตศาสตร

เอกสารหมายเลข 4.3–02 ตารางทุนวิจัยเงินรายไดคณะวิทยาศาสตรประยุกต ประจาํปงบประมาณ 2554

เอกสารหมายเลข 4.3–03 ประกาศทุนวิจัยคณะวิทยาศาสตรประยุกต คร้ังท่ี 1 คร้ังท่ี 2 และ คร้ังท่ี 3

เอกสารหมายเลข 4.3–04 สัญญารับทุนสนับสนุนนักวิจัยท่ัวไป สํานักวจิยัฯ มจพ. ปงบประมาณ 2553

เอกสารหมายเลข 4.3–05 สัญญารับทุนอุดหนุนการวิจัยโครงการสงเสริมการวิจัยในอดุมศึกษา

ประจาํปงบประมาณ 2554

เอกสารหมายเลข 4.3–06 สัญญารับทุนอุดหนุนเพื่อสงเสริมงานวิจัยในลักษณะกลุมวจิยั

เอกสารหมายเลข 4.3–07 ประกาศผูท่ีไดรับทุนวิจัยจากศูนยความเปนเลิศดานคณิตศาสตร ประจําป 2554

เอกสารหมายเลข 4.3–08 ประกาศผูท่ีไดรับทุนวิจัยกลุมจากศูนยความเปนเลิศดานคณิตศาสตร

Page 52: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 51 -

องคประกอบที่ 5 การบริการทางวิชาการแกสังคม ตัวบงชี้ที่ 5.1 ระบบและกลไกการบริการทางวิชาการแกสังคม ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ

เกณฑมาตรฐาน : ขอ

การดําเนินงาน เกณฑมาตรฐาน มีการ

ดําเนินงาน ครบถวน

ไมไดดําเนินงาน

เอกสาร อางอิง

หมายเลข

1. มีระบบและกลไกการบริการทางวิชาการแกสังคม และดําเนินการตามระบบ

ท่ีกําหนด √

5.1-01 5.1-02 5.1-03

2. มีการบูรณาการงานบริการทางวิชาการแกสังคมกับการเรียน

การสอน √ 5.1-04

3. มีการบูรณาการงานบริการทางวิชาการแกสังคมกับการวจิัย √

4. มีการประเมินผลความสําเร็จของการบูรณาการงานบริการทางวิชาการแก

สังคมกับการเรียนการสอนและการวิจัย √ 5.1-05

5. มีการนําผลการประเมินไปปรับปรุงการบูรณาการงานบริการทางวิชาการแก

สังคมกับการเรียนการสอนและการวิจัย √ 5.1-06

เกณฑการประเมิน :

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 มีการดําเนินการ

1 ขอ

มีการดําเนินการ

2 ขอ

มีการดําเนินการ

3 ขอ

มีการดําเนินการ

4 ขอ

มีการดําเนินการ

5 ขอ

ขอมูลการดําเนินงาน :

เกณฑ ผลการดําเนินงาน

ขอ 1 แตงต้ังคณะกรรมการใหบริการทางวิชาการแกสังคม (5.1-01) และจัดทําแผนการดําเนินงานของ

การใหบริการวชิาการแกสังคม ประจําป 2553 (5.1-02, 5.1-03)

ขอ 2 จัดโครงการกิจกรรมนําไปสูโครงงานคณิตศาสตร สําหรับนักเรียน ระดับมัธยมศึกษา (5.1-04)

ขอ 3 ประเมินผลการจัดกิจกรรมในขอ 2 (5.1-05)

ขอ 4 สรุปผลการประเมินการจัดกิจกรรม เพื่อนําไปปรับปรุงการใหบริการทางวิชาการแกสังคมในครั้ง

ตอไป (5.1-06)

Page 53: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 52 -

การประเมนิตนเองจากผลการดําเนินงาน :

ตัวบงชี/้ขอมูลพื้นฐานประกอบตัวบงชี ้ หนวยวัด เปาหมาย ผลการ

ดําเนนิงาน คะแนน ที่ได

ระบบและกลไกการบริการทางวิชาการแกสังคม ขอ 4 ขอ 4 ขอ 4

การประเมนิผลเทียบกับเปาหมาย : สูงกวาเปาหมาย เปนไปตามเปาหมาย ตํ่ากวาเปาหมาย

จุดแข็ง : บุคลากรในภาควิชาฯ มีความพรอมในการใหบริการวิชาการที่ตอบสนองความตองการและสรางความ

เขมแข็งของสังคม

จุดที่ควรพัฒนา : ควรมีการจัดทําแผนการเชื่อมโยงและบรูณาการการใหบริการวิชาการแกสังคมกับการจัดการเรียนการสอน

และการวิจัยใหชัดเจน

แนวทางการพัฒนา : จัดต้ังทีมคณะทํางาน ทําการสํารวจและวิเคราะหความตองการของชมุชนหรือภาครัฐหรือภาคเอกชน เพื่อ

ประกอบการกาํหนดทิศทางและจัดทําแผนการใหบริการทางวิชาการแกสังคมในปตอไป

รายการเอกสารอางอิง :

เอกสารหมายเลข 5.1–01 คําส่ังแตงต้ังคณะกรรมการการบริการวิชาการแกสังคม

เอกสารหมายเลข 5.1–02 แผนและผลการดําเนินงานการใหบริการวิชาการแกสังคม

ประจําปการศึกษา 53

เอกสารหมายเลข 5.1–03 - โครงการกิจกรรมนําไปสูโครงงานทางคณิตศาสตรสําหรับนักเรียนระดับ

มธัยมศึกษา

- โครงการศึกษาดูงานภาควิชาคณิตศาสตร โดยมหาวิทยาลัยราชภัฎเลย

- โครงการอบรมครูวิทยาศาสตร คณิตศาสตร คอมพวิเตอร โลก ดาราศาสตร

และอวกาศ

เอกสารหมายเลข 5.1–04 คําส่ังแตงต้ังคณะกรรมการดําเนินการจัดโครงการกิจกรรมนําไปสูโครงงาน

ทางคณิตศาสตร

เอกสารหมายเลข 5.1–05 ผลประเมินการจัดโครงการกิจกรรมนําไปสูโครงงานทางคณิตศาสตร

เอกสารหมายเลข 5.1–06 รายงานการประชมุภาควิชาฯ คร้ังท่ี 2/54

Page 54: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 53 -

องคประกอบที่ 7 การบริหารและการจดัการ ตัวบงชี้ที่ 7.1 ภาวะผูนําของคณะกรรมการประจําสวนงานและผูบริหารทุกระดับของสวนงาน ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ

เกณฑมาตรฐาน : ขอ

การดําเนินงาน เกณฑมาตรฐาน มีการ

ดําเนินงาน ครบถวน

ไมไดดําเนินงาน

เอกสาร อางอิง

หมายเลข

1. คณะกรรมการบริหารภาควิชาปฏิบัติหนาท่ีตามท่ีกําหนดครบถวนและมีการ

ประเมินตนเองตามหลักเกณฑท่ีกําหนดลวงหนา

7.1-01 7.1-02 7.1-03

2. ผูบริหารมีวิสัยทัศน กําหนดทิศทางการดําเนินงาน และสามารถถายทอดไป

ยังบุคลากรทุกระดับ มีความสามารถในการวางแผน

กลยุทธ มีการนําขอมูลสารสนเทศเปนฐานในการปฏิบัติงานและพัฒนา

ภาควิชา

√ 7.1-04

3. ผูบริหารมีการกํากับ ติดตามและประเมินผลการดําเนินงานตาม

ท่ีมอบหมาย รวมท้ังสามารถส่ือสารแผนและผลการดําเนินงานของภาควิชา

ไปยังบุคลากรในภาควิชา √

7.1-05 7.1-06

4. ผูบริหารสนับสนุนใหบุคลากรในภาควิชามีสวนรวมในการบริหารจัดการ ให

อํานาจในการตัดสินใจแกบุคลากรตามความเหมาะสม √

7.1-01 7.1-07 7.1-08

5. ผูบริหารถายทอดความรูและสงเสริมพัฒนาผูรวมงาน เพื่อใหสามารถ

ทํางานบรรลุวัตถุประสงคของสวนงานเต็มตามศักยภาพ √ 7.1-09

6. ผูบริหารบริหารงานดวยหลักธรรมาภิบาล โดยคํานึงถึงประโยชนของ

มหาวิทยาลัยหรือสวนงานหรือภาควิชาและผูมีสวนไดสวนเสีย √ 7.1-10

7. คณะกรรมการบริหารภาควิชาประเมินผลการบริหารงานของ

ภาควิชา และผูบริหารนําผลการประเมินไปปรับปรุงการบริหารงานอยางเปน

รูปธรรม √ 7.1-06

เกณฑการประเมิน :

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 มีการดําเนินการ

1 ขอ

มีการดําเนินการ

2 หรือ 3 ขอ

มีการดําเนินการ

4 หรือ 5 ขอ

มีการดําเนินการ

6 ขอ

มีการดําเนินการ

7 ขอ

Page 55: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 54 -

ขอมูลการดําเนินงาน : เกณฑ ผลการดําเนินงาน

ขอ 1 แตงต้ังคณะกรรมการบริหารภาควิชาคณิตศาสตร (7.1-01) โดยกําหนดหนาท่ีรับผิดชอบในแตละ

ตําแหนง และมีการประเมินตนเองพรอมท้ังเปดเผยตอภาควิชาฯ (7.1-02, 7.1-03)

ขอ 2 หัวหนาภาควิชาฯ แสดงวิสัยทัศน กําหนดนโยบายและแผนพัฒนาภาควชิาฯ ในท่ีประชุมภาควิชาฯ

(7.1-04)

ขอ 3 มีการประชุมภาควิชาฯ และประชมุยอยคณะกรรมการบริหารภาควิชาฯ เพื่อติดตามและ

ประเมินผลการดําเนินงานอยางสม่ําเสมอ (7.1-05, 7.1-06)

ขอ 4 หัวหนาภาควิชาฯ มอบอํานาจในการตัดสินใจใหแก คณะกรรมการบริหารภาควิชาฯ และบุคลากร

ตามความเหมาะสม พรอมท้ังกํากับ ติดตามและตรวจสอบผลการดําเนินงานนั้น ๆ (7.1-07,

7.1-08)

ขอ 5 หัวหนาภาควิชาฯ เปนวิทยากรบรรยายเรื่องกลยุทธการขอตําแหนงทางวิชาการ ผศ. รศ. และ ศ.

ใหกับคณาจารย (7.1-09)

ขอ 6 มีการประเมินผลงาน แสดงความคิดเห็นและขอเสนอแนะในการบริหารงานดวยหลักธรรมาภิบาล

ของหัวหนาภาควิชาฯ พรอมท้ังเปดเผยตอภาควิชาฯ (7.1-10, 7.1-03)

ขอ 7 คณะกรรมการบริหารภาควิชาฯ และหัวหนาภาควิชาฯ ประเมินผลการบริหารภาควิชาฯ และนําผล

การประเมินไปปรับปรุงการบริหารงานตอไป (7.1-06)

การประเมนิตนเองจากผลการดําเนินงาน :

ตัวบงชี/้ขอมูลพื้นฐานประกอบตัวบงชี ้ หนวยวัด เปาหมาย ผลการ

ดําเนนิงาน คะแนน ที่ได

ภาวะผูนําของคณะกรรมการประจําสวนงานและผูบริหาร

ทุกระดับของสวนงาน

ขอ 6 ขอ 7 ขอ 5

การประเมนิผลเทียบกับเปาหมาย : สูงกวาเปาหมาย เปนไปตามเปาหมาย ตํ่ากวาเปาหมาย

จุดแข็ง : ภาควิชาฯ มีการดําเนินงานตามแผนฯ พรอมท้ังสนับสนุนใหบุคลากรมีสวนรวมในการบริหารจัดการ และ

พัฒนาภาควชิาฯ อยางตอเน่ือง

จุดที่ควรพัฒนา :

ไมม ี

Page 56: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 55 -

แนวทางการพัฒนา : ไมม ี

รายการเอกสารอางอิง :

เอกสารหมายเลข 7.1–01 คําส่ังแตงต้ังคณะกรรมการบริหารภาควิชาคณิตศาสตร ประจําปการศึกษา 2553

เอกสารหมายเลข 7.1–02 ผลการประเมินตนเองของคณะกรรมการบริหารภาควิชาฯ

เอกสารหมายเลข 7.1–03 รายงานการประชมุภาควิชาฯ คร้ังท่ี 3/54

เอกสารหมายเลข 7.1–04 รายงานการประชมุภาควิชาฯ คร้ังท่ี 7/53

เอกสารหมายเลข 7.1–05 รายงานการประชมุภาควิชาฯ คร้ังท่ี 3/53 คร้ังท่ี 4/53 คร้ังท่ี 5/53 และคร้ังท่ี 6/53

เอกสารหมายเลข 7.1–06 รายงานการประชมุคณะกรรมการบริหารภาควิชาฯ

เอกสารหมายเลข 7.1–07 คําส่ังรักษาการแทนหัวหนาภาควิชาฯ

เอกสารหมายเลข 7.1–08 จดหมายเชิญประชุมภาควชิาฯ

เอกสารหมายเลข 7.1–09 กิจกรรมบรรยายกลยุทธการขอตําแหนงทางวิชาการ

เอกสารหมายเลข 7.1–10 ผลการประเมินการปฏิบัติงานของหัวหนาภาควิชาฯ ประจําปการศึกษา 2553

Page 57: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 56 -

องคประกอบที่ 9 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ ตัวบงชี้ที่ 9.1 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ

เกณฑมาตรฐาน : ขอ

การดําเนินงาน เกณฑมาตรฐาน มีการ

ดําเนินงาน ครบถวน

ไมไดดําเนินงาน

เอกสาร อางอิง

หมายเลข

1. มีระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายในท่ีเหมาะสมและ

สอดคลองกับพนัธกิจและพัฒนาการของสวนงานหรือภาควิชา และ

ดําเนินการตามระบบท่ีกําหนด √

9.1-01 9.1-02 9.1-03

2. มีการกําหนดนโยบายและใหความสําคัญเร่ืองการประกันคุณภาพการศึกษา

ภายใน โดยคณะกรรมการบริหารภาควิชาและผูบริหารสูงสุดของภาควิชา √ 9.1-03

3. มีการกําหนดตัวบงชี้เพิ่มเติมตามอัตลักษณของสวนงานหรือภาควิชา √ 9.1-04

4. มีการดําเนินงานดานการประกันคุณภาพการศึกษาภายในท่ีครบถวน

ประกอบดวย 1) การควบคุม ติดตามการดําเนินงาน และประเมินคุณภาพ

2) การจัดทํารายงานประจําปท่ีเปนรายงานประเมินคุณภาพเสนอตอ

มหาวิทยาลัยตามกําหนดเวลา โดยเปนรายงานท่ีมีขอมูลครบถวนตามท่ี

สํานักงานคณะกรรมการการอดุม

ศึกษากําหนดใน CHE QA Online และ 3) การนําผลการประเมินคุณภาพ

ไปทําแผนการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของภาควิชา

9.1-05 9.1-06 9.1-07

5. มีการนําผลการประกันคุณภาพการศึกษาภายในมาปรับปรุง

การทํางาน และสงผลใหมีการพัฒนาผลการดําเนินงานของตัวบงชี้ตามแผน

กลยุทธทุกตัวบงชี้ √ 9.1-08

6. มีระบบสารสนเทศท่ีใหขอมูลสนับสนุนการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน

ครบท้ัง 9 องคประกอบคุณภาพ √ 9.1-09

7. มีสวนรวมของผูมีสวนไดสวนเสียในการประกันคุณภาพการศึกษา

โดยเฉพาะนักศึกษา ผูใชบัณฑิต และผูใชบริการตามพันธกิจของภาควิชา √ 9.1-10

8. มีเครือขายการแลกเปล่ียนเรียนรูดานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน

มหาวิทยาลัยหรือระหวางมหาวิทยาลัยและมกีิจกรรมรวมกนั √ 9.1-11

9. มีแนวปฏบิัติท่ีดีหรืองานวิจัยดานการประกันคุณภาพการศึกษาท่ีหนวยงาน

พัฒนาข้ึน และเผยแพรใหหนวยงานอื่นนําไปใชประโยชน √

Page 58: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 57 -

เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5

มีการดําเนินการ

1 ขอ

มีการดําเนินการ

2 หรือ 3 ขอ

มีการดําเนินการ

4 หรือ 5 หรือ 6 ขอ

มีการดําเนินการ

7 หรือ 8 ขอ

มีการดําเนินการ

9 ขอ

ขอมูลการดําเนินงาน :

เกณฑ ผลการดําเนินงาน

ขอ 1 แตงต้ังกรรมการบริหารภาควิชาฯ ตําแหนงผูชวยหัวหนาภาควิชาฝายประกันคุณภาพการศึกษา

(9.1-01) และดําเนินการตามมาตรฐานตัวบงชี้และเกณฑคุณภาพท่ีสํานักคณะกรรมการ

อุดมศึกษากําหนด (9.1-02)

ขอ 2 กําหนดหนาท่ีและแบงความรับผิดชอบใหแกคณะกรรมการบริหารภาควิชาฯ ตามความเหมาะสม

(9.1-03)

ขอ 3 มีการกําหนดตัวบงชี้และเกณฑมาตรฐานเพิม่เติมตามอัตลักษณของคณะวิทยาศาสตรประยุกต

“คิดเปน เดนประยุกต” (9.1-04)

ขอ 4 มีการดําเนินงานดานการประกันคุณภาพการศึกษาภายในและจัดทํารายงานการประเมินตนเอง

ประจําป 2552 ท่ีครบถวน ท้ังการควบคุม ติดตามการดําเนินงาน การประเมินคุณภาพการศึกษา

(9.1-05) และจดัทําแผนการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของภาควิชาฯ ประจาํป 2553 (9.1-06) โดย

พิจารณาจากผลการประเมินคุณภารการศึกษาของภาควิชาฯ ปท่ีผานมา (9.1-07)

ขอ 5 นําผลการประกันคุณภาพการศึกษาฯ มาปรับปรุงแผนปฏิบติัการประจําปงบประมาณ 2553

(9.1-08)

ขอ 6 จัดทําระบบฐานขอมูล ท่ีสนับสนุนการประกันคุณภาพการศึกษา (9.1-09)

ขอ 7 จัดทําแบบประเมินใหนักศึกษาและผูมีสวนไดเสีย มีสวนรวมในการประกันคุณภาพการศึกษาฯ

(9.1-10)

ขอ 8 จัดกิจกรรมแลกเปล่ียนเรียนรูดานการประกันคุณภาพการศึกษา ระหวางภาควิชาคณิตศาสตร

ภาควิชาสถิติประยุกต และภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอรและสารสนเทศในประเด็น “การบริหาร

จัดการการประกันคุณภาพการศึกษาภายในภาควิชา” (9.1-11)

ขอ 9 -

การประเมนิตนเองจากผลการดําเนินงาน :

ตัวบงชี/้ขอมูลพื้นฐานประกอบตัวบงชี ้ หนวยวัด เปาหมาย ผลการ

ดําเนนิงาน คะแนน ที่ได

ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ขอ 7 ขอ 8 ขอ 4

การประเมนิผลเทียบกับเปาหมาย : สูงกวาเปาหมาย เปนไปตามเปาหมาย ตํ่ากวาเปาหมาย

Page 59: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 58 -

จุดแข็ง : ภาควิชาฯ ไดดําเนินการตามระบบและกลไกของการประกันคุณภาพการศึกษาภายในอยางครบถวน รวมท้ัง

ยังไดนําผลการประเมินในรอบปกอนหนามาปรับปรุงเพื่อจดัทําแผนการพัฒนาคุณภาพ ประจาํป 2553 และ

ดําเนินการตามแผนพัฒนาฯ น้ัน ๆ

จุดที่ควรพัฒนา : ระบบและกลไลของการประกันคุณภาพการศึกษาของภาควิชาฯ และการมีสวนรวมของผูมีสวนไดเสียในการ

ประกันคุณภาพการศึกษาฯ

แนวทางการพัฒนา :

1. แบงหนาท่ีความรับผิดชอบใหกับอาจารยท่ีเปนเจาหนาท่ีธุรการอยางนอยคนละ 1 ตัวบงชี้ จัดบรรยาย

ใหความรูเก่ียวกับเกณฑมาตรฐานของการประกันคุณภาพการศึกษาฯ ใหกับบุคลากรในภาควิชา

2. การจัดทําแบบประเมินและกลองรับฟงความคิดเห็นเกี่ยวกับการเรียนการสอน หลักสูตร โดยนักศึกษา

ผูใชบัณฑิตและผูใชบริการตามพันธกิจของภาควิชาฯ

รายการเอกสารอางอิง :

เอกสารหมายเลข 9.1–01 คําส่ังแตงต้ังผูชวยหัวหนาภาควิชาฝายประกันคุณภาพการศึกษา

เอกสารหมายเลข 9.1–02 คูมือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําป 2553

เอกสารหมายเลข 9.1–03 เปาหมายและผูรับผิดชอบในแตละองคประกอบของภาควชิาฯ

เอกสารหมายเลข 9.1–04 เกณฑมาตรฐานเพิ่มเติมตามอัตลักษณ

เอกสารหมายเลข 9.1–05 รายงานการประเมินตนเอง รอบปการศึกษา 2552

เอกสารหมายเลข 9.1–06 รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน รอบปการศึกษา 2552

เอกสารหมายเลข 9.1–07 แผนการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ประจําปการศึกษา 2553

เอกสารหมายเลข 9.1–08 - แผนปฏิบัติการภาควิชาฯ ประจาํปงบประมาณ 2552

- แผนปฏิบัติการภาควิชาฯ ประจําปงบประมาณ 2553

- ผลปฏิบัติการภาควิชาฯ ประจําปงบประมาณ 2553

เอกสารหมายเลข 9.1–09 - รายชื่อบุคลากรของภาควิชาฯ ณ วันท่ี 31 พ.ค. 53

- ขอมูลจํานวนนักศึกษาทุกหลักสูตร

- สรุปขอมูลผลงานวิจัยของคณาจารย ภาควิชาฯ ประจําป 2553

เอกสารหมายเลข 9.1–10 - ผลการประเมินการเรียนการสอนโดยนักศึกษา

- ผลประเมินนักศึกษาฝกงาน

เอกสารหมายเลข 9.1–11 รายงานสรุปองคความรูจากเครือขายแลกเปล่ียนเรียนรูเก่ียวกับ การประกัน

คุณภาพภายใน

Page 60: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 59 -

ตัวบงชี ้9.20.2 มีระบบและกลไกการปรับปรุงตามขอเสนอแนะของคณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ

เกณฑมาตรฐาน : ขอ

การดําเนินงาน เกณฑมาตรฐาน มีการ

ดําเนินงาน ครบถวน

ไมไดดําเนินงาน

เอกสาร อางอิง

หมายเลข

1. มีการนําผลการประเมินคุณภาพภายในของรอบปการศึกษา

ท่ีผานมา ไปจัดทําแผนพัฒนาคุณภาพ และคณะกรรมการบริหารภาควิชา

ใหความเห็นชอบ √ 9.20.2-01

2. มีการดําเนินการตามแผนพัฒนาคุณภาพ √ 9.20.2-01

3. มีการติดตามผลการดําเนินงานตามแผนพัฒนาคุณภาพอยางนอย

ปละ 2 คร้ัง และรายงานผลตอผูบริหารเพื่อพิจารณา √ 9.20.2-02

4. มีการประเมินผลการดําเนินงาน และรายงานตอผูบริหาร √ 9.20.2-03

5. มีรายงานผลการดําเนินงาน และผลสัมฤทธิ์ของการดําเนินงานตอคณะ

กรรมการบริหารภาควิชาเพื่อพิจารณา และรายงานตอสวนงาน √

9.20.2-04 9.20.2-05 9.20.2-06

เกณฑการประเมิน :

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 มีการดําเนินการ

1 ขอ

มีการดําเนินการ

2 ขอ

มีการดําเนินการ 3

ขอ

มีการดําเนินการ

4 ขอ

มีการดําเนินการ

5 ขอ

ขอมูลการดําเนินงาน :

เกณฑ ผลการดําเนินงาน

ขอ 1 จัดทําแผนพัฒนาคุณภาพประจําป 2553 โดยพิจารณาจากผลการประเมินคุณภาพการศึกษา

ภายในของรอบปท่ีผานไป (9.20.2-01)

ขอ 2 ดําเนินงานตามแผนฯ ในขอ 1(9.20.2-01)

ขอ 3 ติดตามและรายงานผลการดําเนินงานตอหัวหนาภาควิชาฯ ปละ 2 คร้ัง (9.20.2-02)

ขอ 4 ประเมินผลการดําเนินงานตามแผนฯ และรายงานตอหัวหนาภาควิชา (9.20.2-03)

ขอ 5 มีการรายงานผลการดําเนินงานและผลสัมฤทธิ์ของการดําเนินการประกันคุณภาพการศึกษา

ภายใน รอบปการศึกษา 2553 ตอคณะกรรมการบริหารภาควิชาฯ และภาควิชาฯ (9.20.2-04,

9.20.2-05, 9.20.2-06)

Page 61: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 60 -

การประเมนิตนเองจากผลการดําเนินงาน :

ตัวบงชี/้ขอมูลพื้นฐานประกอบตัวบงชี ้ หนวยวัด เปาหมาย ผลการ

ดําเนนิงาน คะแนน ที่ได

มีระบบและกลไกการปรับปรุงตามขอเสนอแนะของ

คณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน

ขอ 4 ขอ 5 ขอ 5

การประเมนิผลเทียบกับเปาหมาย : สูงกวาเปาหมาย เปนไปตามเปาหมาย ตํ่ากวาเปาหมาย

จุดแข็ง : มีระบบและกลไกการดําเนินงานตามแผนพัฒนาฯ ซึ่งพิจารณาจากผลการประเมินของคณะกรรมการ

ประเมินคุณภาพการศึกษาภายในรอบปท่ีผานไป

จุดที่ควรพัฒนา : ควรกําหนดชวงเวลาของการติดตามและรายงานผลการดําเนินงานอยางชัดเจน

แนวทางการพัฒนา : กําหนดชวงของการติดตามผลการดําเนินงานตามแผนพัฒนาฯ คร้ังท่ี 1 (1 มิ.ย. 54 – 31 ต.ค. 54) และคร้ังท่ี

2 (1 พ.ย. 54 – 31 พ.ค. 55) เพื่อประเมินผลการดําเนินงานและปรับปรุงแผนพัฒนาฯ ตอไป

รายการเอกสารอางอิง :

เอกสารหมายเลข 9.20.2-01 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปการศึกษา 2553

เอกสารหมายเลข 9.20.2-02 - รายงานผลการดําเนินงานตามแผนพัฒนาคุณภาพ คร้ังท่ี 1

- รายงานผลการดําเนินงานตามแผนพัฒนาคุณภาพ คร้ังท่ี 2

เอกสารหมายเลข 9.20.2-03 ประเมินผลการดําเนินงานตามแผนพัฒนาคุณภาพ

เอกสารหมายเลข 9.20.2-04 รายงานการประเมินตนเอง รอบปการศึกษา 2553

เอกสารหมายเลข 9.20.2-05 รายงานการประชุมคณะกรรมการบริหารภาควิชาฯ

เอกสารหมายเลข 9.20.2-06 รายงานการประชุมภาควิชาฯ คร้ังท่ี 3/54

Page 62: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 61 -

องคประกอบที่ 10 อัตลักษณ ตัวบงชี้ที่ 10.30.1 ระบบและกลไกการพัฒนานักศึกษาตามอัตลักษณใหเปนบัณฑิตที่ คิดเปน เดนประยุกต ชนิดของตัวบงชี้ : ผลผลิต

เกณฑมาตรฐาน : ขอ

การดําเนินงาน เกณฑมาตรฐาน มีการ

ดําเนินงาน ครบถวน

ไมไดดําเนินงาน

เอกสาร อางอิง

หมายเลข

1. มีการกําหนดกลยุทธการปฏิบัติงานเพื่อพัฒนานักศึกษาใหเปนบัณฑิตท่ี คิด

เปน √ 10.30.1-01

2. ทุกหลักสูตรมีรายวิชาท่ีใหนักศึกษาไดเรียนรูจากการปฏิบัติท้ังในและนอก

หองเรียน หรือจากการวิจัย √ 10.30.1-02

3. ทุกหลักสูตรมีการใหนักศึกษาจัดทําโครงงาน หรือปญหาพิเศษ หรือสาร

นิพนธ หรือวิทยานิพนธ √ 10.30.1-02

4. มีกจิกรรมสงเสริมการพัฒนาใหนักศึกษาคิดเปน เดนประยุกต √ 10..30.1-03 10..30.1-04

5. มีการประเมนิผลความพึงพอใจดานระบบและกลไกในการสงเสริมหรือ

พัฒนานักศึกษาตามอัตลักษณโดยบุคลากรหรือนักศึกษา และมีผลการ

ประเมินไมตํ่ากวา 3.51 จากคะแนนเต็ม 5

6. มีนักศึกษา หรือผลงานของนักศึกษาไดรับการยอมรับ หรือเผยแพร หรือ

ได รับการยกยอง หรือได รับรางวัลระดับชาติหรือนานาชาติ หรือนําไป

ประยุกตใชใหเกิดประโยชนแกสังคม √ 10.30.1-05

7. ผลประเมินจากผูใชบัณฑิตวาบัณฑิตมีคุณลักษณะคิดเปน เดนประยุกต

ต้ังแตรอยละ 50 ขึ้นไป ของผูใชบัณฑิตท่ีตอบแบบสอบถาม √

เกณฑการประเมิน :

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5

ดําเนนิการ 1 ขอ

ดําเนนิการ 2 ขอ

ดําเนนิการ 3 หรือ 4 ขอ

ดําเนนิการ 5 หรือ 6 ขอ

ดําเนนิการ 7 ขอ

Page 63: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 62 -

ขอมูลการดําเนินงาน : เกณฑ ผลการดําเนินงาน

ขอ 1 ภาควิชาฯ มีการดําเนินงานตามแผนยุทธศาสตรการพัฒนาคณะวิทยาศาสตรประยุกต โดยมุงเนน

พัฒนานักศึกษาใหเปนบัณฑิตท่ีคิดเปน เดนประยุกต (10.30.1-01)

ขอ 2 ทุกหลักสูตร มรีายวิชาท่ีใหนักศึกษาไดเรียนรูจากการปฏิบัติท้ังในและนอกหองเรียน (10.30.1-02)

ขอ 3 หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต กําหนดใหนักศึกษาตองสอบผานวิชาโครงงานพิเศษ และ หลักสูตร

วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต กําหนดใหนักศึกษาตองสอบผานวิชาวิทยานิพนธ กอนท่ีจะสําเร็จ

การศึกษา (10.30.1-02)

ขอ 4 สนับสนุนใหนักศึกษามีโอกาสเขาฝกงานกับองคกรหรือหนวยงานภายนอกในชวงปดภาค

การศึกษา (10.30.1-03, 10.30.1-04)

ขอ 5 -

ขอ 6 สนับสนุนและสงเสริมใหนักศึกษาเขารวมประชุมและเสนอผลงานทางวิชาการ (10.30.1-05)

ขอ 7 -

การประเมนิตนเองจากผลการดําเนินงาน :

ตัวบงชี/้ขอมูลพื้นฐานประกอบตัวบงชี ้ หนวยวัด เปาหมาย ผลการ

ดําเนนิงาน คะแนน ที่ได

ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ขอ 5 ขอ 5 ขอ 4

การประเมนิผลเทียบกับเปาหมาย : สูงกวาเปาหมาย เปนไปตามเปาหมาย ตํ่ากวาเปาหมาย

จุดแข็ง : ทุกหลักสูตรของภาควิชาฯ มีการเนนใหบัณฑิตเปนบัณฑิตท่ี “คิดเปน เดนประยุกต” มีรายวิชาท่ีใหนักศึกษา

เรียนรูท้ังในและนอกหองเรียน และกําหนดใหนักศึกษามีการจัดทําโครงงานพิเศษและวิทยานิพนธ จุดที่ควรพัฒนา :

ควรสงเสริมกิจกรรมท่ีเปนการพัฒนาใหนักศึกษาคิดเปน และสามารถนําความรูไปประยุกตใชจริง

แนวทางการพัฒนา :

วางแผนจัดกิจกรรมท่ีสงเสริมใหนักศึกษาฝกคิด วางแผน และนําความรูไปประยุกตใชจริง

Page 64: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 63 -

รายการเอกสารอางอิง : เอกสารหมายเลข 10.30.1–01 แผนยุทธศาสตรการพัฒนาคณะวิทยาศาสตรประยุกต มจพ.

(พ.ศ.2553-2562)

เอกสารหมายเลข 2.6–01 - หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาคณิตศาสตรประยุกต (หลักสูตร

ปรับปรุง พ.ศ. 2551)

- หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาคณิตศาสตรเชิงวิทยาการคอมพิวเตอร

(หลักสูตรใหม พ.ศ. 2553)

- หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบณัฑิต สาขาวิชาคณิตศาสตรประยุกต (หลักสูตร

ปรับปรุง พ.ศ. 2552)

เอกสารหมายเลข 10.30.1–03 หนังสือสงตัวนักศึกษาฝกงาน ปการศึกษา 2553

เอกสารหมายเลข 10.30.1–04 รายงานผลการฝกงานของนักศึกษา ปการศึกษา 2552

เอกสารหมายเลข 10.30.1–05 - บทคัดยอของนักศึกษาท่ีเขารวมเสนอผลงานในการประชุมทางวชิาการ

Page 65: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 64 -

ตารางที่ 4 แสดงผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปการศึกษา 2553 รายตัวบงชี้

ภาควิชาคณิตศาสตร

ผลการดําเนินงาน องคประกอบ/ตัวบงช้ี เปาหมาย

ขอมูล ผลลัพธ

การบรรลุเปาหมาย

คะแนนประเมิน

องคประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต

2.1 ระบบและกลไกการพัฒนาและบริหาร

หลักสูตร 4 - 6 บรรลุ 4

2.2 อาจารยประจําทั้งหมดวุฒิปริญญาเอก 11.5 x 100

อาจารยประจําทั้งหมด 48

28.5 40.35 ไมบรรลุ 3.36

2.3 อาจารยประจําทั้งหมดที่มีตําแหนงรอง

ศาสตราจารยและศาสตราจารย 7 x 100

อาจารยประจําทั้งหมด

24

28.5

24.56 บรรลุ 4.09

2.4 ระบบการพัฒนาคณาจารยและบุคลากร

สายสนับสนุน 5 - 7 บรรลุ 5

2.6 ระบบและกลไกการจัดการเรียนการสอน 6 - 6 บรรลุ 4

2.7 ระบบและกลไกการพัฒนาสัมฤทธิผลการ

เรียนตามคุณลักษณะของบัณฑิต 4 - 3 ไมบรรลุ 3

คาเฉล่ีย 4

องคประกอบที่ 3 กิจกรรมการพัฒนา นักศึกษา

3.1 ระบบและกลไกการใหคําปรึกษาและ

บริการดานขอมูลขาวสาร 6 - 6 บรรลุ 4

3.2 ระบบและกลไกการสงเสริมกิจกรรม

นักศึกษา 5 - 6 บรรลุ 5

คาเฉล่ีย 4.5

องคประกอบที่ 4 การวิจัย

4.1 ระบบและกลไกการพัฒนางานวิจัยหรือ

งานสรางสรรค 6 - 7 บรรลุ 5

4.2 ระบบและกลไกการจัดการความรูจาก

งานวิจัยหรืองานสรางสรรค 4 - 5 บรรลุ 4

4.3 เงินสนับสนุนงานวิจัย 1,441,100

จํานวนอาจารยประจํา และนักวิจัยประจํา

ที่ปฏิบัติงานจริง

108,000 22.5

64,048.89 ไมบรรลุ 1.78

คาเฉล่ีย 3.59

Page 66: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 65 -

ผลการดําเนินงาน องคประกอบ/ตัวบงช้ี เปาหมาย

ขอมูล ผลลัพธ

การบรรลุเปาหมาย

คะแนนประเมิน

องคประกอบที่ 5 การบริการทางวิชาการแกสังคม

5.1 ระบบและกลไกการบริการทางวิชาการแก

สังคม 4 - 4 บรรลุ 4

คาเฉล่ีย 4

องคประกอบที่ 7 การบริหารและการจัดการ

7.1 ภาวะผูนําของคณะกรรมการประจําสวน

งานและผูบริหารทุกระดับของสวนงาน 6 - 7 บรรลุ 5

คาเฉล่ีย 5

องคประกอบที่ 9 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ

9.1 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ

การศึกษาภายใน 7 - 8 บรรลุ 4

9.20.2 ระบบและกลไกการปรับปรุงตาม

ขอเสนอแนะ 4 - 5 บรรลุ 5

คาเฉล่ีย 4.5

องคประกอบที่ 10 อัตลักษณ

10.30.1 ระบบและกลไกการพัฒนานักศึกษา

ตามอัตลักษณใหเปนบัณฑิตที่ คิดเปน

เดนประยุกต

5 - 5 บรรลุ 4

คาเฉล่ีย 4

คาเฉล่ีย 10 องคประกอบ 4.08

Page 67: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 66 -

ตารางที่ 5 (ส. 2) แสดงผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปการศึกษา 2553 (เฉพาะตัวบงชี้ของ สกอ.)

จําแนกตามองคประกอบ และมิติของระบบประกันคุณภาพ

มิติของระบบประกันคุณภาพ องคประกอบ

ปจจัยนําเขา กระบวนการ ผลผลิต รวม

ผลการประเมิน

2. การผลิตบัณฑิต 3.73 4 - 3.91 ดี

3. กิจกรรมการพัฒนานักศึกษา - 4.5 - 4.5 ดี

4. การวิจัย 1.78 4.5 - 3.59 ดี

5. การบริการทางวิชาการแกสังคม - 4 - 4 ดี

7. การบริหารและการจัดการ - 5 - 5 ดีมาก

9. ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษา

ภายใน - 4.5 - 4.5 ดี

รวม 3.08 3.92 - 4.08 ดี

ผลการประเมิน พอใช ดี - ดี

ผลการประเมินตามองคประกอบคุณภาพ 9 องคประกอบ (เฉพาะตัวบงชี้ของ สกอ.) อยูในระดับดี

(คาเฉล่ีย 4.08)

โดยมีองคประกอบท่ีอยูในระดับดีมาก จํานวน 1 องคประกอบ ไดแก องคประกอบท่ี 7 การบริหารและการ

จัดการ

องคประกอบท่ีอยูในระดับดี จํานวน 6 องคประกอบ ไดแก องคประกอบท่ี 2 การผลิตบัณฑิต องคประกอบ

ท่ี 3 กิจกรรมการพัฒนานักศึกษา องคประกอบท่ี 4 การวิจัย องคประกอบท่ี 5 การบริการทางวิชาการแกสังคม และ

องคประกอบท่ี 9 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน หมายเหตุ : เกณฑการประเมิน คะแนน 0.00 – 1.50 หมายถึง การดําเนินงานตองปรับปรุงเรงดวน

คะแนน 1.51 – 2.50 หมายถึง การดําเนินงานตองปรับปรุง

คะแนน 2.51 – 3.50 หมายถึง การดําเนินงานระดับพอใช

คะแนน 3.51 – 4.50 หมายถึง การดําเนินงานระดับดี

คะแนน 4.51 – 5.00 หมายถึง การดําเนินงานระดับดีมาก

Page 68: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 67 -

ตารางที่ 6 (ตวับงชี้รวม) แสดงผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปการศึกษา 2553 (รวมตัวบงชี้ทุก

ประเภท) จําแนกตามองคประกอบ และมิติของระบบประกันคุณภาพ

มิติของระบบประกันคุณภาพ องคประกอบ

ปจจัยนําเขา กระบวนการ ผลผลิต รวม

ผลการประเมิน

2. การผลิตบัณฑิต 3.73 4 - 3.91 ดี

3. กิจกรรมการพัฒนานักศึกษา - 4.5 - 4.5 ดี

4. การวิจัย 1.78 4.5 - 3.59 ดี

5. การบริการทางวิชาการแกสังคม - 4 - 4 ดี

7. การบริหารและการจัดการ - 5 - 5 ดีมาก

8. การเงินและงบประมาณ - - - - -

9. ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษา

ภายใน - 4.5 - 4.5 ดี

10. อัตลักษณ - - 4 4 ดี

รวม 3.08 3.92 4 4.08 ดี

ผลการประเมิน พอใช ดี ดี ดี

ผลการประเมินตามองคประกอบคุณภาพ 10 องคประกอบ (รวมตัวบงชี้ของ สมศ., มจพ.) อยูในระดับดี

(คาเฉล่ีย 4.08)

โดยมีองคประกอบท่ีอยูในระดับดีมาก จํานวน 1 องคประกอบ ไดแก องคประกอบท่ี 7 การบริหารและการ

จัดการ

องคประกอบท่ีอยูในระดับดี จํานวน 6 องคประกอบ ไดแก องคประกอบท่ี 2 การผลิตบัณฑิต องคประกอบ

ท่ี 3 กิจกรรมการพัฒนานักศึกษา องคประกอบท่ี 4 การวิจัย องคประกอบท่ี 5 การบริการทางวิชาการแกสังคม

องคประกอบท่ี 9 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน และองคประกอบท่ี 10 อัตลักษณ

หมายเหตุ : เกณฑการประเมิน คะแนน 0.00 – 1.50 หมายถึง การดําเนินงานตองปรับปรุงเรงดวน

คะแนน 1.51 – 2.50 หมายถึง การดําเนินงานตองปรับปรุง

คะแนน 2.51 – 3.50 หมายถึง การดําเนินงานระดับพอใช

คะแนน 3.51 – 4.50 หมายถึง การดําเนินงานระดับดี

คะแนน 4.51 – 5.00 หมายถึง การดําเนินงานระดับดีมาก