ÿ îÖ ÿö éÖ - thapra.lib.su.ac.th ·...

765
การศึกษาเปรียบเทียบเรื ่องจักรวาลวิทยาในคัมภีร์วิษณุปุราณะและไตรภูมิพระร ่วง โดย นางสาวสุภาพร พลายเล็ก วิทยานิพนธ์นี้เป็ นส่วนหนึ ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาภาษาสันสกฤต ภาควิชาภาษาตะวันออก บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปีการศึกษา 2557 ลิขสิทธิ ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

Upload: others

Post on 12-Sep-2019

7 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

  • การศึกษาเปรียบเทียบเร่ืองจักรวาลวิทยาในคัมภีร์วิษณุปุราณะและไตรภูมิพระร่วง

    โดย นางสาวสุภาพร พลายเล็ก

    วิทยานิพนธ์นีเ้ป็นส่วนหน่ึงของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑติ สาขาวิชาภาษาสันสกฤต ภาควิชาภาษาตะวันออก

    บัณฑติวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปีการศึกษา 2557

    ลิขสิทธ์ิของบัณฑติวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • การศึกษาเปรียบเทียบเร่ืองจักรวาลวิทยาในคัมภีร์วิษณุปุราณะและไตรภูมิพระร่วง

    โดย นางสาวสุภาพร พลายเล็ก

    วิทยานิพนธ์นีเ้ป็นส่วนหน่ึงของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑติ

    สาขาวิชาภาษาสันสกฤต ภาควิชาภาษาตะวันออก

    บัณฑติวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปีการศึกษา 2557

    ลิขสิทธ์ิของบัณฑติวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • A COMPARATIVE STUDY OF COSMOLOGY IN VIṢṆU PURĀṆA AND TEBHŪMIKATHĀ

    By Miss Supaporn Plailek

    A Thesis submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for the Degree Doctor of Philosophy Program in Sanskrit

    Department of Oriental Languages Graduate school, Silpakorn University

    Academic Year 2014 Copyright of Graduate School, Silpakorn University

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร อนุมัติให้วิทยานิพนธ์เ ร่ือง “การศึกษาเปรียบเทียบเร่ืองจักรวาลวิทยาในคัมภีร์วิษณุปุราณะและไตรภูมิพระร่วง ” เสนอโดย นางสาวสุภาพร พลายเล็ก เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรดุษฎีบณัฑิต สาขาวิชาภาษาสนัสกฤต .................................................................. (รองศาสตราจารย์ ดร. ปานใจ ธารทศันวงศ์) คณบดีบณัฑิตวิทยาลยั วนัท่ี.........เดือน......................พ.ศ............ อาจารย์ท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ์

    1. อาจารย์ ดร. ชยัณรงค์ กลิ่นน้อย 2. ผู้ชว่ยศาสตราจารย์ ดร. จิรพฒัน์ ประพนัธ์วิทยา

    คณะกรรมการตรวจสอบวิทยานิพนธ์ ....................................................ประธานกรรมการ (ผู้ชว่ยศาสตราจารย์ ดร. สมบตั ิ มัง่มีสขุศริิ) ............/........................../........... ....................................................กรรมการ (รองศาสตราจารย์ ดร. ประเทือง ทินรัตน์) ............/........................../.............. ..............................................กรรมการ .............................................กรรมการ(อาจารย์ ดร. ชยัณรงค์ กลิ่นน้อย) (ผู้ชว่ยศาสตราจารย์ ดร. จิรพฒัน์ ประพนัธ์วิทยา) ............/........................../.............. ............/........................../...............

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • 53105907: สาขาวชิาภาษาสนัสกฤต ค าส าคญั: จกัรวาลวิทยา / การศกึษาเปรียบเทยีบ สุภาพร พลายเล็ก : การศึกษาเปรียบเทียบเร่ืองจักรวาลวิทยาในคัมภีร์วิษณุปุราณะและ ไตรภูมิพระร่วง. อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ : อ. ดร. ชัยณรงค์ กลิ่นน้อย และ ผศ. ดร. จิรพัฒน์ ประพนัธ์วิทยา. 753 หน้า วิทยานิพนธ์นีม้ีวตัถปุระสงค์เพื่อศึกษาแนวคิดเร่ืองจกัรวาลวิทยาที่ปรากฏในคมัภีร์วิษณปุรุาณะและไตรภมูิพระร่วงซึง่มีลกัษณะทัง้ที่แตกตา่งและคล้ายคลงึกนั ผลการศกึษาพบวา่คมัภีร์วิษณปุรุาณะและไตรภมูิพระร่วงเป็นวรรณกรรมต่างถ่ินกนั มีผู้ ประพนัธ์ ระยะเวลาในการประพนัธ์และเนือ้หาหลกัค าสอนศาสนาที่แตกตา่งกนั แตเ่ป็นวรรณกรรมสอนศาสนาที่มีเนือ้หาเร่ืองจกัรวาลซึง่สบืรากเหง้าทางความคิดมาจากประเทศอินเดีย จึงจดัอยู่ในปรัชญาอินเดียเช่นเดียวกนั ท าให้มีแนวคิดเร่ืองจกัรวาลวิทยาที่มีลกัษณะสมัพนัธ์สอดคล้องกนั จักรวาลในคัมภีร์วิษณุปุราณะและไตรภูมิพระร่วงมีจ านวนมากมาย จักรวาลในคัมภีร์วิษณุปุราณะ มีลกัษณะกลมเหมือนไข่ ดาวเหนือเป็นศูนย์กลางจักรวาล แต่จักรวาลในไตรภูมิพระร่วงมีลกัษณะทรงกระบอก โลกเป็นศนูย์กลางของจกัรวาล พืน้ที่ภายในจกัรวาลในคมัภีร์วิษณปุรุาณะและไตรภมูิพระร่วงมีลกัษณะเป็นวงกลมเรียงซ้อนกันเป็นชัน้ ประกอบด้วยพืน้ที่ใต้แผ่นดิน แผ่นดินและพืน้ที่เหนือแผ่นดิน มีภูมิสูงสุดอันเป็นพืน้ที่ที่มนุษย์หลุดพ้นจากความทุกข์เรียกว่า “โมกษะ” หรือ “นิพพาน” การจัดเรียงพืน้ที่ในวรรณกรรมทัง้สองมีลกัษณะที่แตกตา่งกนัแตม่ีเขาเมรุหรือเขาพระสเุมรุเป็นแกนกลางของแผ่นดิน ล้อมรอบด้วยทวีปและมหาสมทุร มีแดน “ภารตะ” หรือ “ชมพทูวีป” เป็นศนูย์กลางในการสร้างกรรมที่คล้ายกนั คมัภีร์วิษณปุรุาณะและไตรภมูิพระร่วงมีแนวคิดวา่จกัรวาลด าเนินไปตามวฏัจกัร คือ เกิดขึน้ ด ารงอยูแ่ละดบัสญูไป จกัรวาลและสรรพสิง่ในคมัภีร์วิษณปุรุาณะเกิดขึน้จากการสร้างของพระวิษณ ุ มนษุย์มีหน้าที่ตามที่ถกูก าหนดไว้ จกัรวาลในไตรภมูิพระร่วงเกิดขึน้ตามวิวฒันาการ มนษุย์และสรรพสิ่งเกิดขึน้ตามธรรมชาติด้วยผลกรรมและจะด าเนินไปตามผลแห่งการกระท า จักรวาลในคมัภีร์วิษณปุุราณะด ารงอยู่ตามการควบคุม ดแูลของพระวิษณ ุ สว่นจกัรวาลในไตรภมูิพระร่วงด ารงอยูด้่วยผลจากการกระท าและทา่ทีของมนษุย์ที่ปฏิบตัิต่อธรรมชาติ จกัรวาลในคมัภีร์วิษณปุรุาณะจะดบัสญูไปตามระยะเวลาที่ก าหนดด้วยอ านาจของเทพเจ้า แตผ่ลจากการท าผิดศีลธรรมของมนษุย์จะท าให้จกัรวาลในไตรภมูิพระร่วงดบัสญูลงด้วยภยัธรรมชาติตา่งๆ แนวคิดเร่ืองจักรวาลในวรรณกรรมทัง้ 2 เร่ืองแสดงให้เห็นวัฏจักรของชีวิตมนุษย์และสรรพสิ่ง ที่มีเกิดขึน้ ตัง้อยู่และดบัไป ด าเนินหมุนเวียนเป็นวงกลมสืบเนื่องกันไป วฏัสงัสารของมนุษย์จะสิน้สดุลงเมื่อปฏิบตัิจนบรรลโุมกษะหรือนิพพาน คมัภีร์วิษณปุรุาณะแสดงแนวความคิดว่าจกัรวาลและสรรพสิ่งเป็นไปตามการก าหนดของเทพเจ้า แต่ไตรภูมิพระร่วงแสดงให้เห็นว่าจักรวาลและสรรพสิ่งด าเนินไปตามวัฏจักรของธรรมชาติอนัเกิดจากการกระท าของมนษุย์ ภาควิชาภาษาตะวนัออก บณัฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลยัศิลปากร ลายมือชื่อนกัศกึษา………………………………………… ปีการศกึษา 2557 ลายมือช่ืออาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ 1.………………….......... 2…………………………..

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • 53105907: MAJOR: SANSKRIT KEY WORD: COSMOLOGY / COMPARATIVE STUDY SUPAPORN PLAILEK: A COMPARATIVE STUDY OF COSMOLOGY IN VIṢṆU PURĀṆA AND TEBHŪMIKATHĀ. THESIS ADVISORS: CHAINARONG KLINNOI, Ph.D. ASST. PROF. CHIRAPAT PRAPANDVIDYA, Ph.D. 753 pp. This thesis aims to explore comparatively both similar and contrastive ideas of cosmology as stated in Viṣṇu Purāṇa and Tebhūmikathā.

    According to previous researches of Viṣṇu Purāṇa and Tebhūmikathā, they are different in particulars of origins, authors, time periods, and themes. However, both are religious literatures based on cosmological thoughts of Indian philosophy. It stated in both texts that there are an infinite number of universes. In Viṣṇu Purāṇa, each universe is said to be shaped like an egg with the North Star as the center, whereas the other’s are in cylindrical shape with Earth at the center. Within a universe of both, there are regions in circle shape, hierarchically stacked into four levels: the lower, the middle, the top, and the topmost called Loguttara or heavenly planets.Albeit the different geographical layouts, Mount Meru or Sumeru is the center of their regions surrounded by mountains, oceans, and continents. Bharata or Jambudvīpa is the realm of Samsara origins. Viṣṇu Purāṇa and Tebhūmikathā share the theory of world going through many such cycles of being created, sustained and then destroyed. Viṣṇu Purāṇa indicates that the universes and their animate and inanimate things are created, and destined by Viṣṇu; Tebhūmikathā that all things including human beings are under evolution of life and natural aspect of karma. The former believes in Viṣṇu who is the supreme controller of all, and is both the instrumental and material cause of the universe dissolution. The latter describes that universes are subject to the law of karma and human behavior towards Nature. Immoral actions result in natural disasters, and finally lead to the periods of dissolution. These two religious texts depicts the belief of samsara, therefore, the universes take the endless cycle of existence, birth-life-death. In the other words, everything is in the hand of God in Viṣṇu Purāṇa while in Tebhūmikathā, all actions by human beings have consequences in the natural cycles of universes. Department of Oriental Languages Gradate School, Silpakorn University Student’s signature…………………………….. Academic year 2014 Thesis Advisors’ signature 1……………………… 2…………………………

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • กิตตกิรรมประกาศ ผู้ วิจัยขอกราบขอบพระคุณอาจารย์ ดร. ชัยณรงค์ กลิ่นน้อย อาจารย์ท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ์ และผู้ ช่วยศาสตราจารย์ ดร. จิรพัฒน์ ประพันธ์วิทยา ท่ีกรุณาให้ค าปรึกษาและค าแนะน าอนัมีคณุคา่ยิ่งตอ่การแปลข้อมลูสนัสกฤตและการเขียนเรียบเรียงวิทยานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ฉบบันีจ้ะไม่ส าเร็จโดยสมบูรณ์หากปราศจากค าแนะน าอันมีคณุค่ายิ่งของรองศาสตราจารย์ ดร. ประเทือง ทินรัตน์ และผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สมบตัิ มัง่มีสุขศิริ ผู้วิจยัจงึขอกราบขอบพระคณุไว้ ณ ท่ีนี ้ ขอกราบขอบพระคณุคณาจารย์ประจ าสาขาวิชาภาษาสนัสกฤตทกุท่านท่ีให้โอกาสในการศึกษาภาษาสนัสกฤต ให้ความรู้ ค าแนะน า ตลอดจนความช่วยเหลือต่างๆ ตลอดระยะเวลา ในการเรียน ขอขอบคณุอาจารย์ ดร. สาโรจน์ บวัพนัธุ์งาม ท่ีช่วยเหลือให้ค าแนะน าในการเรียนและช่วยเหลือในการแปลข้อมูลสันสกฤตตลอดระยะเวลาท่ี เ รียนและท าวิ ทยานิพนธ์ ขอขอบพระคณุภาควิชาภาษาไทย คณะศลิปศาสตร์ มหาวิทยาลยัธรรมศาสตร์ท่ีอนมุตัิให้ลาเรียนตลอดระยะเวลา 5 ปี ขอขอบพระคุณมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ท่ีอนุมัติให้ลาเรียนและมอบทนุการศกึษาให้ตลอดหลกัสตูร ขอขอบคุณเพ่ือนๆ ผู้ ร่วมเรียนภาษาสนัสกฤตทุกท่านท่ีช่วยเหลือสนบัสนุนและให้ก าลังใจกันตลอดระยะเวลาท่ีเรียนและท าวิทยานิพนธ์ ขอบคณุทุกท่านท่ีคอยให้ก าลังใจ ดูแล ช่วยเหลือและห่วงใยผู้ วิจัยมาโดยตลอด ผู้ วิจัยซาบซึง้กับก าลังใจ ค าแนะน า ตลอดจน ความชว่ยเหลือของทกุท่าน ซึ่งมีมากมายจนมิสามารถเอ่ยนามได้ในพืน้ท่ีจ ากดัแห่งนี ้แตจ่ะจดจ าสิ่งเหลา่นีไ้ว้ตราบนานเทา่นาน ผู้วิจยัขอกราบขอบพระคณุบิดา มารดา พ่ีๆ และน้องชายท่ีคอยสนบัสนนุช่วยเหลือดแูลและเป็นก าลงัใจท่ีส าคญัยิ่งของผู้วิจยัตลอดระยะเวลาของการศกึษา สดุท้ายขอขอบพระคณุ “พระวิษณุลิขิต” ท่ีท าให้ได้มีโอกาสเรียนภาษาสนัสกฤต และได้พิสจูน์วา่ความส าเร็จจะบงัเกิดได้เม่ือใช้ “กรรมลิขิต”

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • สารบัญ หน้า

    บทคดัย่อภาษาไทย ............................................................................................................. ง บทคดัย่อภาษาองักฤษ ...................................................................................................... จ กิตตกิรรมประกาศ ............................................................................................................ ฉ สารบญัภาพ....................................................................................................................... ญ บทท่ี 1 บทน า ความเป็นมาและความส าคญัของปัญหา ............................................................ 1 ความมุง่หมายของการศกึษา ............................................................................. 8 สมมตฐิานของการศกึษา……………………………………………………………. 8 ขอบเขตของการศกึษาวิจยั ................................................................................ 8 ข้อตกลงเบือ้งต้น .............................................................................................. 9 วิธีด าเนินการศกึษา ......................................................................................... 11 เอกสารและงานวิจยัท่ีเก่ียวข้อง .......................................................................... 11 ประโยชน์ท่ีคาดว่าจะได้รับ ............................................................................... 1 6 2 แนวคิดเร่ืองจกัรวาลวิทยาในคมัภีร์วิษณปุรุาณะ ....................................................... 17 ความเป็นมาและความส าคญัของคมัภีร์วิษณุปรุาณะ................................................. 17 แนวคิดเร่ืองจกัรวาลวิทยาในคมัภีร์วิษณปุรุาณะ........................................................ 31 ความหมายของค าวา่ “จกัรวาล”......................................................................... 31 การก าเนิดของจกัรวาลและสรรพสิ่ง.................................................................... 36 การก าเนิดจกัรวาลในคมัภีร์วิษณปุรุาณะ........................................................ 39 การก าเนิดสิ่งมีชีวิตทัง้หลายในคมัภีร์วิษณปุรุาณะ.......................................... 75 ลกัษณะของจกัรวาล.......................................................................................... 99 โครงสร้างของจกัรวาล………………………………………………………………106 แผน่ดินหรือพืน้โลก......................................................................................107 พืน้ท่ีเหนือแผน่ดิน........................................................................................123 พืน้ท่ีเบือ้งลา่งแผ่นดนิ..................................................................................135

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • บทท่ี หน้า โลกตุรภมูิ............................................................................................ 143 การสิน้สดุของจกัรวาล................................................................................. 150 บทสรุปแนวความคดิเร่ืองจกัรวาลวิทยาในคมัภีร์วิษณปุรุาณะ......................... 160 3 แนวคิดเร่ืองจกัรวาลวิทยาในไตรภมูิพระร่วง ............................................................ 162 ความเป็นมาและความส าคญัของไตรภมูิพระร่วง .............................................. 162 แนวคิดเร่ืองจกัรวาลวิทยาในไตรภมูิพระร่วง....................................................... 192 ความหมายของค าวา่ “จกัรวาล”................................................................ 192 การก าเนิดของจกัรวาลและสรรพสิ่ง............................................................ 199 ลกัษณะของจกัรวาล................................................................................. 215 โครงสร้างของจกัรวาล............................................................................... 219 กามภมูิ................................................................................................ 219 รูปภมูิ................................................................................................. 272 อรูปภมูิ............................................................................................... 276 โลกตุรภมูิ............................................................................................ 279 การสิน้สดุของจกัรวาล.............................................................................. 285 บทสรุปแนวความคดิเร่ืองจกัรวาลในไตรภมูิพระร่วง................................. 293 4 การเปรียบเทียบแนวคิดเร่ืองจกัรวาลวิทยาในคมัภีร์วิษณุปรุาณะและไตรภมูิพระร่วง 298 ลกัษณะท่ีสมัพนัธ์กนัระหว่างคมัภีร์วิษณปุรุาณะและไตรภมูิพระร่วง.......... 298 การเปรียบเทียบแนวคิดเร่ืองจกัรวาลวิทยาในคมัภีร์วิษณุปรุาณะ และไตรภมูิพระร่วง.............................................................................. 352 ความหมายของจกัรวาล...................................................................... 352 การก าเนิดของจกัรวาลและสรรพสิ่ง...................................................... 354 ลกัษณะของจกัรวาล............................................................................ 368 โครงสร้างของจกัรวาล…...................................................................... 371 การสิน้สดุของจกัรวาล......................................................................... 408 บทสรุปแนวความคดิเร่ืองจกัรวาล......................................................... 413 5 บทสรุปและข้อเสนอแนะ ........................................................................................ 422 บทสรุป ..........................................................................................................422

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • บทท่ี หน้า ข้อเสนอแนะ .................................................................................................. 425 รายการอ้างอิง ................................................................................................................. 426 ภาคผนวก ....................................................................................................................... 435 ภาคผนวก ก ตารางเทียบอกัษรแลหลกัการปริวรรต……………………………… 436 ภาคผนวก ข บทปริวรรต……………………………….………………………….. 440 ภาคผนวก ค บทแปลคมัภีร์วิษณปุรุาณะ…………………………………………. 597 ประวตัผิู้วิจยั .................................................................................................................. 753

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • สารบัญภาพ ภาพท่ี หน้า

    1 พระวิษณอุยูใ่นรูปของพระนารายณ์ ทรงตื่นจากบรรทมและอยูใ่นรูป ของพระพรหมาเพ่ือสร้างจกัรวาล……………………………………...…… 82 2 ลกัษณะดนิแดนชมพทูวีป………………………………………………………….113 3 ลกัษณะจกัรวาลในคมัภีร์วิษณปุรุาณะ……………………………………………120 4 แผนท่ีภเูขาในประเทศอินเดีย…………………………………………………….. 122 5 พืน้ท่ีดนิแดนเหนือจากพืน้ดิน……………………………………………………...133 6 ลกัษณะของจกัรวาลในไตรภมูิพระร่วง…………………………………………….218 7 รูปนรกในไตรภมูิพระร่วง…………………………………………………………...229 8 สถานท่ีตัง้ของโลกนัตนรก……………………..…………………………………..231 9 วิถีการโคจรของดวงอาทิตย์และดวงจนัทร์ในไตรภมูิพระร่วง……………………..254 10 จกัรวาลในไตรภมูิพระร่วง………………………………………………………….259 11 ชมพทูวีปในไตรภมูิพระร่วง……………………………………………………….. 260 12 แผนท่ีแมน่ า้ในประเทศอินเดียสมยัพทุธกาล………………………………………263 13 พืน้ท่ีจกัรวาลสว่นบนในไตรภมูิพระร่วง…………………………………………... 278 14 กระบวนการการเสนอตวัแบบในไตรภมูิพระร่วง…………………………………. 284 15 วฏัจกัรของชีวิต…………………………………………………………………… 295 16 วฏัจกัรของชีวิตตามหลกักฎปฏิจจสมปุบาท…………………………………….. 296 17 จกัรวาลในคมัภีร์วิษณุปรุาณะมีลกัษณะกลมเหมือนผลมะขวิด………………….369 18 ลกัษณะของทวีปและมหาสมทุรท่ีแวดล้อมเขาเมรุ………………………………..369 19 ลกัษณะภายนอกของจกัรวาลในไตรภมูิพระร่วง………….……………………….370 20 ลกัษณะแผน่ดนิในจกัรวาลชัน้กลาง………………………….……………………385 21 ลกัษณะจกัรวาลชัน้กลางในไตรภมูิพระร่วง……………………………………… 386 22 ต้นชมพหูรือต้นหว้า…………………………………………………..……………392

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • 1

    บทที่ 1

    บทน ำ

    1. ควำมเป็นมำและควำมส ำคัญของปัญหำ

    ความหมายของค าว่า “โลก” และ “จักรวาล” ตามความเข้าใจของคนในปัจจุบัน

    มกัจะเป็นการรับรู้ตามนยัขององค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ของชาวตะวนัตกท่ีเกิดขึน้เม่ือประมาณ

    สองพนัปีซึ่งเช่ือถือความจริงทางรูปธรรมเฉพาะท่ีประจกัษ์ในขอบเขตของประสาทสมัผสัเท่านัน้

    หากแต่ในอดีตกาลเม่ือวิทยาศาสตร์ยังไม่เจริญก้าวหน้าจนสามารถตอบค าถามเร่ืองโลกและ

    จกัรวาลได้ ดินแดน “อินเดีย” อนัเป็นแหล่งอารยธรรมโบราณท่ีส าคญัในซีกโลกตะวนัออกได้ให้

    ก าเนิดและเผยแพร่ความรู้เร่ืองจักรวาลวิทยาไปยังดินแดนอ่ืนๆ โดยเฉพาะในภูมิภาคเอเชีย

    ตะวนัออกเฉียงใต้ พร้อมๆ กบัการเผยแผ่ศาสนาอนัมีคติเร่ืองจกัรวาลซึ่งอธิบายถึงลกัษณะท่ีเป็น

    นามธรรมท่ีเช่ือในสิ่งเหนือธรรมชาตแิละเช่ือมโยงมนษุย์เข้าเป็นสว่นหนึง่ไว้เป็นสาระส าคญั1

    แนวคิดและทฤษฎีท่ีว่าด้วย “จกัรวาลวิทยา” ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดท่ีูก าเนิดขึน้

    ในอินเดียนัน้แรกเร่ิมมีวิวฒันาการมาจากสิ่งตา่งๆ ท่ีอยูร่อบตวัซึง่สมัพนัธ์กบัวิถีชีวิตและการด าเนิน

    ชีวิตในแต่ละวัน จนกลายมาเป็นการสร้างทฤษฎีขึน้จากความเช่ือและจินตนาการของตนเอง

    ตอ่มาในยุคพระเวทพฒันาการเก่ียวกับจกัรวาลวิทยามีความชดัเจนมากขึน้ จากแนวคิดเดิมท่ีมี

    เพียงเทพเจ้าเก่ียวกับดิน น า้ ลม ไฟ ความร้อน ความสว่าง เป็นต้น ก็พฒันาไปสู่แนวความคิดท่ี

    สลบัซบัซ้อนมากยิ่งขึน้ จนพฒันาไปสู่การแบ่งชัน้การด ารงอยู่ของเทพประจ าโลก อากาศ สวรรค์

    และมีพฒันาการไปสู่แนวคิดเก่ียวกับการสร้างโลกและจกัรวาลตามท่ีปรากฏในคมัภี ร์ปรุาณะซึ่ง

    ถือเป็นคมัภีร์ท่ีแสดงให้เห็นแนวความคิดและทฤษฎีท่ีว่าด้วย “จกัรวาล” ไว้อย่างชดัเจน โดยให้

    ข้อมลูเก่ียวกบัภมูิศาสตร์และข้อมลูความเป็นไปของจกัรวาลทัง้หมดไว้อยา่งสมบรูณ์2

    1 วิไลรัตน์ ยังรอด, “การศึกษาภาพภูมิจักรวาลจากภาพจิตรกรรมฝาผนังสมยัรัตนโกสินทร์ตอนต้นในเขต

    กรุงเทพมหานคร” (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบณัฑิต สาขาวิชาประวติัศาสตร์ศิลปะ บณัฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลยัศิลปากร,

    2540), 9.

    2 Monier Monier Williams, Indian Wisdom (London: W. H. Allen & co., 1875), 490.

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

    https://archive.org/search.php?query=publisher%3A%22London%2C+W.+H.+Allen+%26+co.%22

  • 2

    คัมภี ร์ปุราณะเป็นคัมภี ร์ศักดิ์สิท ธ์ิประเภทหนึ่งของศาสนาฮินดู นับได้ว่ามี

    ความส าคญัเทียบเท่ากับคมัภีร์พระเวท จึงเรียกว่าเวทท่ี 5 คมัภีร์ปรุาณะเป็นเร่ืองราวท่ีมีมาแต่

    โบราณกาล ไมป่รากฏหลกัฐานชดัเจนว่าแตง่ขึน้ครัง้แรกเม่ือใดและมีจ านวนเท่าใด แตพ่บร่องรอย

    วา่เกิดขึน้ก่อนสมยัพระเวท เช่ือวา่เกิดขึน้ตัง้แตป่ระมาณ 1,000 ปีก่อนคริสตกาล3 คมัภีร์ปรุาณะ

    จะต้องประกอบด้วย “ปัญจลกัษณะ” คือ คณุสมบตั ิ5 ประการ ดงัตอ่ไปนี ้

    1. สรฺค เร่ืองการสร้างโลก

    2. ปรฺตสิรฺค เร่ืองการสร้างโลกขึน้ใหม ่หลงัจากโลกถกูท าลายสิน้แล้ว

    3. ว ศ เร่ืองวงศ์ของเทพและฤาษีทัง้หลาย

    4. มนฺวนฺตร เร่ืองสมยัของพระมน ุมนษุย์คนแรกของโลก

    5. ว ศานจุริต เร่ืองประวตัสิริุยวงศ์ และจนัทรวงศ์ของอินเดีย4

    คัมภีร์ปุราณะมีเนือ้หาสาระส าคัญท่ีเก่ียวกับประเทศอินเดีย ทัง้ในด้านสังคม

    วฒันธรรม ศาสนาและการเมือง เป็นวรรณกรรมท่ีแสดงให้เห็นรูปแบบวิถีชีวิตและวฒันธรรมของ

    คนอินเดีย ซึ่งได้อธิบายไว้อย่างชัดเจนถึงการก าหนดรูปแบบของสังคม การเงิน ภูมิศาสตร์

    การเมือง ปรัชญา ศาสนาและระบบการศกึษา5 คมัภีร์ปรุาณะนบัเป็นสารานกุรมท่ีรวบรวมความรู้

    นานาประการของชาวฮินดูโบราณไว้ กรุณา - เรืองอุไร กุศลาสยั ได้กล่าวถึงลกัษณะและ

    ความส าคญัของคมัภีร์ปรุาณะไว้วา่

    คมัภีร์ปรุาณะแพร่หลายมาก เพราะเขียนด้วยภาษาง่ายๆ คนทัว่ไปเข้าใจได้ดี คมัภีร์

    ปุราณะนี ้เป็นท่ีรวมของประเพณีและวฒันธรรมอนัดีงามของสงัคมฮินดู รวมทัง้คติธรรม

    ค าสัง่สอนทางศาสนาและปรัชญา ด้วยใช้ค าอธิบายและพรรณนาอย่างแยบคาย เพ่ือให้

    ซมึซาบเข้าไปมีอิทธิพลเหนือจิตใจผู้อา่นและผู้ ฟังนิยายต่างๆ ของชาวฮินดู ตลอดจนเร่ือง

    ปกิณกะนานาชนิดมกัจะถือก าเนิดจากคมัภีร์ปุราณะ เพ่ือให้คมัภีร์ปุราณะได้แพร่หลาย

    อย่างทัว่ถงึในชนนานาชัน้ซึง่หมายถงึผู้ ท่ีไมรู้่ภาษาสนัสกฤตด้วย คณาจารย์ในยุคต่อมาได้

    แปลคมัภีร์ปุราณะเป็นภาษาพืน้เมืองซึง่ใช้เป็นเร่ืองส าหรับเทศน์หรือเล่าสู่กนัฟังได้แม้ใน 3 Maurice Winternitz, History of Indian Literature, Vol. 1, trans. S. Ketkar and H. khon. 3rd ed. (Delhi : Munhiram Manoharlal, 1991), 495 - 497. 4 Pushpendra Kumar, The Viṣṇu Mahāpurāṇam (Delhi: Eastern Book Linkers, 2005), vi. 5 Pushpendra shastri, Introduction to Purāṇa (Delhi: Rashtriya Sanskrit Sansthan, 1995), xvi.

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • 3

    บรรดาผู้ ท่ีอา่นหนงัสือไม่ออก ในรูปลกัษณะนีค้มัภีร์ปุราณะจึงแพร่หลายอยู่ในสงัคมของ

    ชาวฮินดเูช่นเดียวกบัท่ีนิทานชาดกแพร่หลายอยู่ในสงัคมของชาวพทุธ6

    คัมภีร์ปุราณะเป็นคัมภีร์ท่ีชีใ้ห้เห็นความคิดและทฤษฎีท่ีว่าด้วย “จักรวาล” อย่าง

    เด่นชดัมากท่ีสุดในกระบวนทศัน์เก่ียวกบัจกัรวาลวิทยาซึ่งมีปรากฏอยู่ในศาสนาพราหมณ์ -ฮินดู7

    คมัภีร์ปรุาณะท่ีเช่ือวา่มีความส าคญัท่ีสดุมีอยูด้่วยกนั 18 เลม่ เรียกว่า “มหาปรุาณะ” โดยจกัรวาล

    วิทยาท่ีกล่าวไว้ใน “มหาปุราณะ” นัน้อาจจะสรุปลักษณะสัณฐานของจักรวาลได้โดยย่อคือ

    จกัรวาลจะประกอบไปด้วยสวรรค์ท่ีอยู่เหนือโลกขึน้ไปในอากาศ ส่วนโลกมนุษย์จะประกอบไป

    ด้วยทวีป 7 ทวีป แตล่ะทวีปถกูแยกออกจากกนัด้วยมหาสมทุร มีชมพทูวีปเป็นทวีปท่ีอยู่ตรงกลาง

    มีเขาเมรุตัง้อยู่เป็นศูนย์กลางของจักรวาล บนยอดเขาเมรุเป็นท่ีตัง้ของนครเทพต่างๆ บริเวณ

    เชิงเขาเมรุจะมีภูเขาค า้ยันอยู่ท่ีทิศทัง้ 4 ถัดจากนัน้จะมีทิวเขาซึ่งเป็นท่ีประทับของบรรดาเทพ

    ชัน้รองอยู่อีกทัง้ 4 ทิศ และถัดออกมารอบนอกสุดของทิวเขาทางทิศเหนือเป็นท่ีตัง้ของเมือง

    อุตตรกุรุ ทิศใต้เป็นท่ีตัง้ของเมืองภารตะ ทิศตะวันออกเป็นท่ีตัง้ของเมืองภัทราศวะ และทิศ

    ตะวนัตกเป็นท่ีตัง้ของเมืองเกตมุาละ ส่วนโลกบาดาลจะอยู่ถัดจากพืน้แผ่นดินลงไปเบือ้งล่างซึ่ง

    เป็นท่ีอยู่อาศยัของอสูร ยกัษ์ นาค นอกจากนัน้ยงัมีนรกเป็นดินแดนแห่งการลงทณัฑ์คนบาปซึ่ง

    จะตัง้อยูใ่ต้พืน้แผน่ดนิ พระยมเป็นผู้ควบคมุนรก พืน้ท่ีขอบเขตทัง้หมดของจกัรวาลจะถกูห้อมล้อม

    ไว้ด้วยภูเขาซึ่งช่วยปิดกัน้ความมืดด้านนอกไว้ และมีเปลือกไข่ทองค าห่อหุ้มส่วนประกอบทัง้หมด

    ความพินาศของจกัรวาลจะเกิดขึน้เม่ือสิน้สดุยคุสดุท้ายของแตล่ะกลัป์ ซึ่งเป็นช่วงเวลาท่ีเต็มไป

    ด้วยความทกุข์ยากและความเส่ือมทราม จกัรวาลจึงเกิดการประลยัด้วยเหตอุนัเกิดขึน้จากลม น า้

    และไฟ

    คมัภีร์วิษณปุรุาณะถือเป็นคมัภีร์ท่ีมีคา่สงูสดุในจ านวนปรุาณะทัง้หมด จึงได้รับสมญา

    ว่าปรุาณรัตนะ ในภาคเหนือของอินเดียคมัภีร์วิษณุปรุาณะยงัได้รับความนิยมมากจนกระทั่งมี

    6 กรุณา-เรืองอไุร กศุลาสยั, ภำรตวทิยำ (กรุงเทพฯ: ส านกัพิมพ์ศยาม, 2550), 337.

    7 พระมหาหรรษา นิธิบณุยากร, พุทธจักรวำลวทิยำ (กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลยัมหาจฬุาลงกรณราชวิทยาลยั,

    2550),13.

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • 4

    การแปลออกเป็นภาษาพืน้เมือง คมัภีร์วิษณุปุราณะถือว่าเป็นหนังสือท่ีมีอิทธิพลกล่อมเกลา

    ความเช่ือถือทางศาสนาของคนอินเดียเป็นอันมาก คมัภีร์วิษณุปรุาณะนบัเป็นปรุาณะท่ีเก่าแก่

    ฉบบัหนึง่จดัเป็นวรรณกรรมท่ีส าคญัมากของผู้นับถือพระวิษณุเป็นพระเป็นเจ้าสงูสดุ หรือไวษณพ

    นิกาย คาดว่าจะแต่งขึน้ในยุคเดียวกับพระพุทธศาสนาตอนต้นก่อนคริสต์ศกัราชและแต่งอย่าง

    ตอ่เน่ืองมาจนถึงสมยัราชวงศ์คปุตะ (ค.ศ. 280 -550)8 คมัภีร์วิษณุปรุาณะนัน้มีเนือ้เร่ืองส่วนใหญ่

    สอดคล้องกับมหาภารตะ มีเนือ้หาอธิบายถึงแบบแผนของปุราณะครบตามปัญจลักษณะ คือ

    การสร้างโลก (สรฺค) การประลยัและพินาศของโลก (ปรฺตสิรฺค) ยคุท่ีพระมนปุกครองโลก (มนฺวนฺตร)

    การเกิดของวงศ์เทพเจ้าและฤาษีทัง้หลาย (ว ศ) และประวตัขิองกษัตริย์ราชวงศ์ตา่งๆ9

    คมัภีร์วิษณปุรุาณะกลา่วถึงเร่ืองราวของ “จกัรวาล” ไว้ว่า พระนารายณ์เม่ือทรงต่ืนขึน้

    จากการบรรทม จึงสร้างโลกและจกัรวาลขึน้โดยอยู่ในรูปของพระพรหมา สรรพสิ่งเกิดขึน้อยู่ในรูป

    ของไข่แห่งพระพรหมา จกัรวาลนัน้จะประกอบไปด้วยทวีป 7 ทวีป ได้แก่ ชมพทูวีป ปลกัษทวีป

    ศาลมลิทวีป กุศทวีป เกฺราญจทวีป ศากทวีปและปษุกรทวีปซึ่งจะแวดล้อมไปด้วยมหาสมุทร

    ทัง้ 7 มหาสมุทร10 ชมพูทวีปจะตัง้อยู่ตรงกลางของทวีปทัง้หมดโดยมีจุดศนูย์กลางของจกัรวาล

    คือภูเขาทองช่ือว่า “เมรุ” ซึ่งมีความสูง 84,000 โยชน์ และลึกลงไปใต้ดิน 16,000 โยชน์11 ทาง

    เหนือของเขาเมรุ คือ ภูเขานีละ ภูเขาเศฺวตะและภูเขาศฤงคี เป็นท่ีตัง้ของเมืองรมยกะ เมือง

    หิรัณมยะ และเมืองอุตตรกรุุ ทางใต้ของภเูขาเมรุ คือ ภูเขาหิมวตั ภูเขาเหมกูฏ ภูเขานิษธะ เป็น

    ท่ีตัง้ของเมืองภารตะ เมืองกิมปรุุษะและเมืองหริวรษะ12 นอกจากนีใ้นคมัภีร์วิษณุปรุาณะยงัได้

    8 ช่วงพ.ศ. 863 - 1149 9 Maurice Winternitz, History of Indian Literature, Vol. 1, 521-528. 10 ชมฺพปูลฺกฺษาหฺวเยา ทฺวีเปา ศาลฺมลศฺจาปโร ทฺวิช |

    กศุะ เกฺราญฺจสฺตถา ศากะ ปษฺุกรศฺไจว สปตฺมะ || วิษณปุรุาณะ 2.2.5

    เอเต ทฺวีปาะ สมไุทฺรสฺต ุ สปตฺ สปตฺภิราวฺฤตาะ |

    ลวเณกฺษุสรุาสรฺปิรฺทธิทคฺุธชไละ สมมฺ || วิษณปุรุาณะ 2.2.6

    11 ชมฺพทฺูวีปะ สมสฺตานาเมเตษ า มธฺยส สฺถิตะ |

    ตสยฺาปิ เมรุรฺไมเตฺรย มธฺเย กนกปรฺวตะ || วิษณุปรุาณะ 2.2.7

    จตรุาศีติสาหโสฺร โยชไนรสฺย โจจฺฉฺรยะ || วิษณุปรุาณะ 2.2.8 …

    12 รมฺยก โจตฺตร วรฺษ ตสฺไยวาน ุ หิรณฺมยมฺ |

    อตฺุตราะ กรุวศฺไจว ยถา ไว ภารต ตถา || วิษณปุรุาณะ 2.214

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • 5

    กล่าวถึงระบบการโคจรของดวงดาวต่างๆ สวรรค์ เทพเจ้า มนุษย์ นรก อสุรกาย พืชและสตัว์

    ตา่งๆ ซึ่งล้วนแต่เกิดขึน้อยู่ภายในไข่แห่งพระพรหมาทัง้หมด สรรพสิ่งเหล่านีถ้กูสร้างและท าลาย

    หมนุเวียนเปล่ียนไปตามอายขุองยคุทัง้ 4 ซึง่ถือเป็นหนึง่วนักบัหนึง่คืนของพระพรหมา13

    นอกจากการเป็นแหล่งความรู้ทางด้านจกัรวาลวิทยาแล้ว คมัภีร์วิษณุปรุาณะยงัเป็น

    แหลง่รวมศาสตร์ตา่งๆ เชน่ ดาราศาสตร์ คณิตศาสตร์ จริยศาสตร์และด้านวรรณกรรม เพราะเป็น

    แหล่งรวมเร่ืองเล่ามากมาย อีกทัง้ยงัมีฐานะเป็นบ่อเกิดของพิธีกรรมตา่งๆ ตัง้แต่เกิดจนตายด้วย

    คมัภีร์วิษณุปรุาณะจึงเป็นรากเหง้าทางความคิดและความเช่ือท่ีส าคญัในสงัคมอินเดียท่ีมีอิทธิพล

    ต่อการกล่อมเกลาความเช่ือทางศาสนาและจารีตประเพณีของคนในสังคมอินเดียเป็นอย่างยิ่ง

    นกัวิชาการจ านวนมากจึงมกัใช้เป็นแหล่งอ้างอิงค้นคว้าข้อมูลท่ีส าคญัอนัเป็นความรู้ในศาสนา

    ฮินดู14 เพราะมีโครงสร้างทางความคดิท่ีเป็นระบบกวา่คมัภีร์อ่ืนๆ ของอินเดีย

    ในช่วงก่อนพุทธศตวรรษท่ี 20 ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้รับอิทธิพล

    ความเช่ือท่ีขยายตวัมาจากอินเดีย โดยผ่านชนชัน้ปกครองท่ีมีการเลือกรับและใช้ศาสนาทัง้ฮินดู

    และพุทธศาสนาเป็นเคร่ืองมือในการเพิ่มความชอบธรรมแห่งอ านาจในการปกครอง ใน

    ขณะเดียวกันนัน้ความรู้เร่ืองจกัรวาลวิทยาก็เข้ามาพร้อมกัน ดงัท่ี สุจิตต์ วงศ์เทศ ได้กล่าวถึง

    การรับอิทธิพลเร่ืองจกัรวาลวิทยาจากชมพทูวีปในสวุรรณภมูิไว้วา่

    พร้อมๆ กบัเร่ืองอื่นๆ ของฝ่ายพทุธและฝ่ายพราหมณ์ท่ีแพร่เข้ามาสวุรรณภูมิ ความรู้

    เร่ืองไตรภูมิก็เข้ามาในครัง้แรกนีด้้วย ไตรภูมิเป็นคมัภีร์ท่ีบอกให้รู้เร่ืองก าเนิดมนุษย์ ยกัษ์

    มาร เทวดา พรหม รวมทัง้ก าเนิดโลกและจกัรวาล นบัเป็นต าราภูมิศาสตร์ท่ีมีขึน้ครัง้แรก

    โดยเช่ือว่าโลกแบน มีเขาพระสุเมรุเป็นแกนหรือศูนย์กลาง เร่ืองไตรภูมิเป็นความรู้เดิม

    ของชมพทูวีปแพร่หลายในฝ่ายฮินด ูแล้วฝ่ายพุทธปรุงแต่งให้สอดคล้องกบัคติพุทธศาสนา

    ของตน มีในพระสูตรช่ืออคัคญัสูตร นอกจากมีเร่ืองต่างๆ แล้วยงัมีเร่ืองก าเนิดกษัตริย์ว่า

    มาจากพระมหาสมมติราชด้วย...นอกจากนีใ้นการกล่าวถึงเทพเจ้าส าคญัในศาสนาก็มกั

    เป็นเร่ืองของผู้ ท่ีจะอภิบาลโลก เช่นพระอินทร์และจตุโลกบาลเป็นหลัก การกล่าวถึง

    พระเป็นเจ้าส าคัญทางศาสนาฮินดู เป็นเพียงอ้างมาเฉพาะเหตุการณ์และเร่ืองราวเป็น

    13 Pushpendra Kumar, The Viṣṇu Mahāpurāṇam, viii. 14 Ibid., v-vi.

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • 6

    ครัง้คราว ซึง่ก็ล้วนแต่มีตวัตนอยู่ในชัน้กามภูมิในทางพระพุทธศาสนาเท่านัน้ ความรู้เร่ือง

    ไตรภมูิไมไ่ด้แยกออกมาเป็นวรรณคดีโดดๆ เร่ืองเดียว แตส่อดแทรกปะปนอยู่ในทกุเร่ือง15

    ไตรภูมิพระร่วงหรือเตภูมิกถา วรรณกรรมทางพุทธศาสนาชิน้ส าคญัในสมัยสุโขทัย

    นับเป็นวรรณกรรมโลกศาสตร์เล่มแรกของไทย พญาลิไททรงพระราชนิพนธ์ขึน้เม่ือประมาณ

    พทุธศกัราช 1888 เพ่ือเทศน์ให้พระราชมารดาฟังและมุ่งสอนศาสนาแก่ประชาชนทัว่ไป ไตรภูมิ

    พระร่วงมีเนือ้หากล่าวถึงโลกศาสตร์หรือจกัรวาลวิทยา อันได้แก่ความรู้เก่ียวกับก าเนิดโลกหรือ

    จกัรวาล และสิ่งมีชีวิตตา่งๆ ในจกัรวาล โดยกล่าวถึงภูมิทัง้ 3 ได้แก่ กามภูมิ รูปภูมิ และอรูปภูมิ

    ซึ่งมีเนือ้หาพรรณนาลกัษณะสณัฐานของโลก การเกิดของมนุษย์ สตัว์นรก เปรต อสุรกาย และ

    เทวดา ลักษณะของโลกนีมี้ เขาพระสุเมรุเป็นหลักซึ่งตัง้อยู่ท่ามกลางจักรวาล มีทิวเขาทัง้

    7 เรียกว่าสตับริภัณฑ์ล้อมรอบ คือ ยุคนธร อิสินธร กรวิก สุทศันะ เนมินธร วินนัตกะและ

    อสัสกัณณะ มีทะเลรายล้อมอยู่ 7 ชัน้ เรียกว่า มหานทีสีทนัดร ถัดจากทิวเขาอัสสกัณณะซึ่งอยู่

    เป็นเขารอบนอกสุดออกมาเป็นมหาสมุทรอยู่ทั่วทุกด้าน แล้วมีภูเขาเหล็กกัน้ทะเลไว้โดยรอบ

    เรียกวา่ ขอบจกัรวาล พ้นจากนีไ้ปคือนอกขอบจกัรวาลดงัความวา่

    อนัวา่เขาพระสเุมรุราชอนัสงูได้ 84,000 โยชน์ ใต้น า้ก็ได้ 84,000 โยชน์ โดยหนาก็

    ได้ 84,000 โยชน์ แลเขาพระสเุมรุราชนัน้ แลกลมไสร้โดยรอบปริมณฑลได้ 252,000 โยชน์

    ด้านฝ่ายตะวนัออก อนัเป็นฝ่ายบพุพวิเทหะนัน้เทียรย่อมเงินแล ด้านหวันอนพระสเุมรุราช

    อนัอยู่ฝ่ายชมพูทวีปอนัท่ีเราอยู่นีเ้ทียรย่อมแก้วอินทนิล ด้านตะวนัตกพระสเุมรุราช ฝ่าย

    อมรโคยานทวีปมีพรรณเทียรย่อมแก้วผลิกรัตนะ ด้านตีนนอนพระสเุมรุราชฝ่ายอตุตรกุรุ

    ทวีปมีพรรณเทียรย่อมทองแล ด้านตะวันออกแลมีพรรณเทียรย่อมแต่ล้วนเงินนัน้ได้

    63,000 โยชน์ มีพรรณย่อมแก้วอินทนิลอนันัน้ได้ 63,000 โยชน์แล ด้านตะวนัตกย่อม

    แก้วผลิกรัตนะได้ 63,000 โยชน์แล ด้านตีนนอนมีพรรณเทียรย่อมทองได้ 63,000 โยชน์

    แล เหนือจอมเขาพระสเุมรุราชนัน้ แลมีไพช(ย)นต ปราสาทในกลางเมืองนครไตรตรึงษ์นัน้

    โดยกว้าง 10,000 โยชน์แล ใต้เขาพระสเุมรุราชนัน้ยงัมีพิภพอสรูอยู่กว้างได้ 10,000 โยชน์

    15 สจิุตต์ วงษ์เทศ, สุวรรณภูมิ: ต้นกระแสประวตัศิำสตร์ไทย (กรุงเทพฯ: มติชน, 2546), 62.

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • 7

    แลมีเขา 3 อนัประดจุก้อนเส้าแต่งรองตีนเขาพระสเุมรุนัน้ไว้ช่ือว่าตรีกูฏบรรพต โดยสงูเขา

    3 ยอดนัน้แลอนัแลอนัแล 4,000 โยชน์แล ใต้ตีนเขาตรีกูฏนัน้ มีแผ่นดินเมืองอสรูพิภพอยู่

    หว่างเขานัน้แล นอกเขาพระสุเมรุราชนัน้มีน า้กัน้ ช่ือว่าสีทันดรสมุทรอยู่ล้อมรอบ โดย

    กว้างนัน้ได้ 84,000 โยชน์ โดยลกึได้ 84,000 โยชน์แล นอกแมน่ า้สีทนัดรนัน้ออกมา จงึมี

    ภูเขาอันหนึ่งช่ือว่า(เขา)ยุคนธร เขานัน้ล้อมรอบพระสุเมรุราชโสด เขายุคุนธรนัน้สูงได้

    42,000 โยชน์ แลจมลงใต้น า้นัน้ก็ได้ 42,000 โยชน์แลฯ...นอกเขานัน้เทียรย่อมน า้สมทุร

    แลมีแผ่นดินใหญ่อยู่ 4 ด้าน แลกลางสมทุรนัน้มีแผ่นดินเลก็อยู่รอบได้ 2,000 โสด น า้รอบ

    แผ่นดินรอบเขาทัง้หลายนัน้ แลมีเขาจกัรวาลเป็นก าแพงล้อมรอบน า้ทัง้มวลนัน้แลฯ...16

    เนือ้หาในไตรภูมิพระร่วงยังกล่าวถึงการโคจรของดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และดาว

    เคราะห์อ่ืนๆ กล่าวถึงทวีปทัง้ส่ีท่ีตัง้อยู่รอบภูเขาพระสุเมรุ การสลายตวัและการเกิดขึน้ใหม่ของ

    จกัรวาลเม่ือสิน้กัลป์ อีกทัง้ส่วนท้ายเร่ืองยงัเป็นการกล่าวถึงวิธีปฏิบตัิเพ่ือบรรลุพระนิพพานตาม

    แนวทางของพระพุทธศาสนาด้วย ไตรภูมิพระร่วงเป็นวรรณกรรมท่ีแสดงถึงค าสอนใน

    พระพทุธศาสนาท่ีลกึซึง้ โดยระบวุ่าอ้างอิงมาจากคมัภีร์ทางพระพทุธศาสนาไม่น้อยกว่า 30 คมัภีร์

    ไตรภูมิพระร่วงเป็นวรรณกรรมทางศาสนาซึ่งถือก าเนิดขึน้มาในยคุท่ีพระพทุธศาสนาได้ฝังรากลึก

    แล้วในสมยัสโุขทยั จงึนบัเป็นวรรณคดีค าสอนทางศาสนาท่ีมีอิทธิพลตอ่คตคิวามคิดและความเช่ือ

    อยา่งมากในสงัคมไทยสืบทอดมาจนถึงปัจจบุนั

    แนวความคิดเร่ืองจักรวาลวิทยาซึ่งมีส่วนส าคัญอย่างยิ่งในการก าหนดความคิ ด

    ความเช่ือของคนไทยตัง้แตอ่ดีตจนปัจจบุนันัน้ นบัเป็นแนวคิดส าคญัท่ีคนไทยได้รับอิทธิพลมาจาก

    อินเดียอย่างชดัเจน หากแตป่รับเปล่ียนให้เหมาะสมกบับริบททางสงัคมของตนเอง ดงันัน้แม้จะมี

    ความแตกตา่งกนัในแนวความคดิทางด้านอภิปรัชญา แตค่วามคดิเร่ืองจกัรวาลวิทยาของชาวฮินดู

    และพทุธศาสนิกชนชาวไทยก็น่าจะมีลกัษณะท่ีสมัพนัธ์สอดคล้องกนั การศึกษาถึงแนวคิดเร่ือง

    จักรวาลวิทยาของชาวฮินดูจากคมัภีร์วิษณุปุราณะเพ่ือพิจารณาให้เห็นความสัมพันธ์กับเร่ือง

    จกัรวาลวิทยาในไตรภูมิพระร่วงอนัเป็นรากฐานทางความคิดความเช่ือของพทุธศาสนิกชนไทยจึง

    16กรมศิลปากร, ไตรภูมพิระร่วง (กรุงเทพฯ: อมรการพิมพ์, 2504), 211-213.

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • 8

    นา่จะท าให้เห็นความสมัพนัธ์ทางความคดิ การปรับเปล่ียนแนวความคิดความเช่ือในเร่ืองจกัรวาล

    วิทยาของทัง้สองสงัคมได้อยา่งลกึซึง้ชดัเจนยิ่งขึน้

    ดังนัน้งานวิจัยชิน้นีจ้ึงมุ่งศึกษาเร่ืองจักรวาลวิทยาในคัมภีร์วิษณุปุราณะซึ่งเป็น

    รากฐานทางความคิดความเช่ือของชาวฮินดูเพ่ือเปรียบเทียบกับเร่ืองจักรวาลวิทยาในไตรภูมิ

    พระร่วงซึ่งเป็นรากฐานทางความคิดความเช่ือของพุทธศาสนิกชนชาวไทย เพ่ือชีใ้ห้เห็น

    ความสอดคล้องสมัพนัธ์ ความเหมือนและความแตกตา่งกนัในด้านตา่งๆ ของวรรณกรรมสองถ่ินท่ี

    มีรากเหง้าทางวฒันธรรมจากกระแสวฒันธรรมเดียวกนั

    ควำมมุ่งหมำยของกำรศึกษำ

    1. เพ่ือศกึษาแนวความคดิเร่ืองจกัวาลวิทยาท่ีปรากฏในคมัภีร์วิษณปุรุาณะ

    2. เพ่ือศกึษาแนวความคดิเร่ืองจกัรวาลวิทยาท่ีปรากฏในไตรภมูิพระร่วง

    3. เพ่ือศกึษาความสมัพนัธ์และแนวความคิดเร่ืองจกัรวาลวิทยาในคมัภีร์วิษณุปรุาณะ

    และไตรภมูิพระร่วง

    สมมตฐิำนของกำรศึกษำ

    แนวคิดจกัรวาลวิทยาในคมัภีร์วิษณุปรุาณะมีความสัมพนัธ์กับแนวคิดจกัรวาลวิทยา

    ในไตรภูมิพระร่วง แต่มีลักษณะท่ีปรับเปล่ียนให้สอดคล้องกับสภาพบริบททางสังคมและ

    วฒันธรรมของตน

    ขอบเขตของกำรศึกษำวิจัย

    การศกึษาวิจยัครัง้นี ้ผู้วิจยัได้ก าหนดขอบเขตในการศกึษาดงันี ้ 1. ศึกษาเร่ืองจักรวาลวิทยาในคมัภีร์วิษณุปุราณะ โดยใช้ต้นฉบบัภาษาสันสกฤต จากหนังสือศรีวิษณุปุราณ (Śrīviṣṇupurāṇa) ของศรีมุนิลาล คุปฺต (Śrīmunilāla Gupta) บริษัทคีตาเพรส โครขปรุ อินเดีย ซึง่ตีพิมพ์เม่ือ พ.ศ. 1990

    2. ศึกษาเร่ืองจกัรวาลวิทยาในวรรณกรรมสมยัสุโขทยั เร่ืองไตรภูมิพระร่วง พระราชนิพนธ์ในพระยาลิไทย โดยจะใช้ต้นฉบบัของราชบณัฑิตยสถานท่ีเรียกช่ือว่า “ไตรภูมิกถา” ซึ่งถ่ายถอดเนือ้ความจากต้นฉบบัเอกสารตวัเขียนอกัษรขอมไทย ฉบบัอยุธยา จ านวน 1 ผูก ฉบบัมหา

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

    http://www.amazon.com/Shrimunilal-Gupt/e/B00J9OOCPW/ref=dp_byline_cont_book_1

  • 9

    ช่วยจาร จ านวน 10 ผูก และฉบบัมหาจันทร์จาร จ านวน 10 ผูก รวม 21 ผูก แล้วเรียบเรียงขึน้ โดยยึดฉบบัมหาช่วยเป็นหลกัเพราะเป็นฉบบัท่ีเก่าและสมบรูณ์ท่ีสุด เม่ือเรียบเรียงเรียบร้อยแล้ว ศาสตราจารย์ ดร. ประเสริฐ ณ นคร ผู้ เป็นประธานคณะกรรมการจดัท าพจนานกุรมศพัท์วรรณคดีไทยเป็นผู้ตรวจสอบ17

    ข้อตกลงเบือ้งต้น

    1. “ไตรภมูิพระร่วง” จะมีช่ือเรียกหลายช่ือซึ่งแตกตา่งกนัไป เช่น กรมศิลปากร18 และ

    นามานกุรมวรรณคดีไทย เรียกวา่ ไตรภมูิพระร่วง19 ราชบณัฑิตยสถาน เรียกว่า ไตรภูมิกถา20 และ

    หนังสือบางเล่มเรียกว่า เตภูมิกถา แต่วิทยานิพนธ์ฉบับนีจ้ะใช้ช่ือว่า “ไตรภูมิพระร่วง” เพ่ือ

    หมายถึงวรรณกรรมท่ีมีเนือ้หาเก่ียวกบัจกัรวาลวิทยาซึ่งพระยาลิไทย ทรงพระราชนิพนธ์ขึน้ในสมยั

    สโุขทยัเม่ือ พ.ศ. 1888 เน่ืองจากเป็นช่ือท่ีบุคคลส่วนใหญ่รู้จกักนัเป็นอย่างดีและยงันิยมเรียกกัน

    อย่างแพร่หลาย อีกทัง้ช่ือของวรรณกรรมยงัมีประโยชน์ในการช่วยระบุถึงยคุสมยัของวรรณกรรม

    ควบคูก่นัไปด้วย

    2. วิทยานิพนธ์ฉบบันี ้ผู้ วิจยัจะถ่ายถอดช่ือเฉพาะในภาษาสนัสกฤตอกัษรเทวนาครี

    ตามอกัขรวิธีไทยโดยให้ใกล้เคียงกบัระบบเสียงในภาษาเดิม และจะถ่ายถอดช่ือเฉพาะจากอกัษร

    เทวนาครีเป็นอกัษรโรมนัไว้ในนขลิขิตเม่ือกลา่วถึงช่ือเฉพาะนัน้ๆ ในครัง้แรก

    ส่วนช่ือเฉพาะท่ีไทยยืมมาจากภาษาสนัสกฤตมีใช้อยู่แล้วในภาษาไทย ผู้วิจยัจะถ่าย

    ถอดช่ือเฉพาะดังกล่าวตามท่ีคนไทยใช้กัน และจะถ่ายถอดเป็นอักษรโรมันไว้ในนขลิขิตเม่ือ

    กล่าวถึงช่ือเฉพาะนัน้ๆ ในครัง้แรกเพ่ือแสดงให้เห็นระบบเสียงในภาษาเดิม เช่น พระเจ้าพรหมทตั

    (Brahmadatta) โดยจะไมถ่่ายถอดเป็น พรหมทตัตะ เป็นต้น

    17ราชบัณฑิตยสถาน, พจนำนุกรมศัพท์วรรณคดีไทย สมัยสุโขทัย ไตรภูมิกถำ (ก รุง เทพฯ :

    ราชบณัฑิตยสถาน, 2544), (5).

    18 กรมศิลปากร, ไตรภูมพิระร่วง (กรุงเทพฯ: ส านกัพิมพ์ศิลปาบรรณาคาร, 2504), (1) - (6).

    19 มลูนิธิสมเดจ็พระเทพรัตนราชสดุา, นำมำนุกรมวรรณคดีไทย ชุดที่ 1 ชื่อวรรณคดี (กรุงเทพฯ: มลูนิธิ,

    2550), 164.

    20 ราชบณัฑิตยสถาน, พจนำนุกรมศัพท์วรรณคดีไทย สมัยสุโขทยั ไตรภูมกิถำ, (5).

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • 10

    นอกจากนี ้ในการแปลคมัภีร์วิษณุปรุาณะจากต้นฉบบัภาษาสนัสกฤต ผู้วิจยัจะแปล

    ตามเนือ้ความโดยมุ่งถือความหมายเป็นส าคัญ ไม่ได้แปลตามรูปศพัท์ค าต่อค า ส่วนการแปล

    คมัภีร์ต้นฉบบัภาษาสนัสกฤตอ่ืนๆ เป็นภาษาไทยนัน้ ผู้ วิจยัก็จะแปลตามเนือ้ความเช่นกัน แต่จะ

    อ้างข้อความท่ีแปลนัน้ไว้ในเนือ้หาของวิทยานิพนธ์ ส่วนข้อความท่ีเป็นต้นฉบบัภาษาสันสกฤต

    ผู้วิจยัจะถ่ายถอดเป็นอกัษรภาษาไทยไว้ในเชิงอรรถและจะจดัท าตารางเทียบอกัษรเทวนาครี โรมนั

    และไทยไว้ในภาคผนวก

    2. จักรวาล (cosmos) พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ให้

    ความหมายวา่ “ปริมณฑล, ประชมุ,หมู;่ เทือกเขาในนิยายเป็นก าแพงล้อมรอบโลกและเป็นเขตกัน้

    แสงสวา่งกบัความมืด,บริเวณโดยรอบของโลก,ทัว่โลก”

    พจนานุกรมศัพท์ศิลปกรรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน อักษร ข -ฉ 2530 ได้ให้

    ความหมายไว้ว่า “ปริมณฑลแห่งภพหรือภูมิทัง้ 3 (ไตรภูมิ) คือ กามภูมิ 11 รูปภูมิ 16 และ

    อรูปภมูิ 4”

    วิทยานิพนธ์ฉบบันีจ้ะใช้ค าวา่ “จกัรวาล” หมายถึง พืน้ท่ีและสิ่งท่ีมีทัง้หมดในจกัรวาล

    อนัประกอบไปด้วยโลก ระบบสริุยจกัรวาล เป็นต้น

    3. วิทยานิพนธ์ฉบบันีจ้ะใช้ค าว่า “พรหมา” (Brahmā) เพ่ือหมายถึงเทพเจ้าท่ีมี

    คุณสมบัติในการสร้างโลก เน่ืองจาก “พรหม” ในยุคอุปนิษัทมิใช่องค์เดียวกับ “พรหมา”

    พระพรหมาเป็นเทพท่ีเกิดขึน้ในสมยัหลงั คือ สมยัอิติหาสะ ได้แก่ มหาภารตะ รามายณะ และ

    สมัยปุราณะ เป็นเทพเพศชายท่ีมีลักษณะเหมือนมนุษย์ มีพระสรัสวตีเป็นพระชายา ส่วน

    “พรหม” สมัยอุปนิษัท ไม่มีเพศ เป็นตวัดวงวิญญานท่ีมีอยู่ทุกหนทุกแห่งในจักรวาล (world -

    spirit) หรือเ รียกว่า ปรมาตมัน (ปรมาตฺมนฺ) ซึ่ งจะมี 2 ลักษณะคือ “นิรคุณพรหม”

    (นิรฺคณุพฺรหฺม) คือ ความจริงสงูสดุท่ีไม่สามารถจะใช้ค าพดูใดๆ อธิบายหรือพดูถึงได้ และ “สคณุ

    พรหม” เป็นพระเป็นเจ้าท่ีมีคณุสมบตั ิ คือ มีอ านาจทกุอยา่ง เป็นผู้สร้างโลก ผู้คุ้มครองโลก และ

    เป็นผู้ท าลายโลก21 ดงันัน้ในวิทยานิพนธ์ฉบบันีจ้งึจะใช้ค าวา่ “พระพรหมา” เพ่ือหมายถึง เทพท่ี

    เป็นพระรูปหนึง่ของพระวิษณใุนขณะท่ีทรงสร้างจกัรวาล

    21 จิรพฒัน์ ประพนัธ์วิทยา, พระตรีมูรต ิ(กรุงเทพฯ: เทวสถาน โบสถ์พราหมณ์, 2546), 9.

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • 11

    วิธีด ำเนินกำรศึกษำ

    การวิจยันีเ้ป็นการวิจยัเอกสาร (Documentary Research) โดยมีขัน้ตอนดงัตอ่ไ�