ปัจจัยเสี่ยงและโอกาส...

22
งานแถลงขาว การคาดการณภาวะเศรษฐกิจ 2556 : ปจจัยเสี่ยงและโอกาส ผลกระทบของปจจัยเสี่ยงทางการเมือง และหนาผาทาง การคลัง (Fiscal Cliff) ตอเศรษฐกิจไทย” โดย ดร.อนุสรณ ธรรมใจ คณบดีคณะเศรษฐศาสตร และผูอํานวยการศูนยวิจัย เศรษฐกิจและธุรกิจเพื่อการปฏิรูป มหาวิทยาลัยรังสิต วันพฤหัสบดีที่ 6 ธันวาคม 2555 เวลา 13.00 15.00 น. ณ หอง 702 ชั้น 7 ศูนยศึกษาธานี อาคารแสตนดารดชารเตอร เขตสาทร คณะเศรษฐศาสตร และศูนยวิจัยเศรษฐกิจและธุรกิจเพื่อการปฏิรูป มหาวิทยาลัยรังสิต

Upload: kitipan-kitbamroong

Post on 27-May-2015

428 views

Category:

Education


0 download

DESCRIPTION

การคาดการณ์ภาวะเศรษฐกิจ 2556 : ปัจจัยเสี่ยงและโอกาส ผลกระทบของปัจจัยเสี่ยงทางการเมือง และหน้าผาทาง การคลัง (Fiscal Cliff) ต่อเศรษฐกิจไทย

TRANSCRIPT

Page 1: ปัจจัยเสี่ยงและโอกาส ผลกระทบของปัจจัยเสี่ยงทางการเมือง และหน้าผาทาง

งานแถลงขาว“การคาดการณภาวะเศรษฐกิจ 2556 : ปจจัยเสี่ยงและโอกาส

ผลกระทบของปจจัยเสี่ยงทางการเมือง และหนาผาทาง การคลัง (Fiscal Cliff) ตอเศรษฐกิจไทย”

โดย ดร.อนุสรณ ธรรมใจ คณบดีคณะเศรษฐศาสตร และผูอํานวยการศูนยวิจัย เศรษฐกิจและธุรกิจเพื่อการปฏิรูป มหาวิทยาลัยรังสิต

วันพฤหัสบดีท่ี 6 ธันวาคม 2555 เวลา 13.00 – 15.00 น.

ณ หอง 702 ชั้น 7 ศูนยศึกษาธานี อาคารแสตนดารดชารเตอร เขตสาทร

คณะเศรษฐศาสตร และศูนยวิจัยเศรษฐกิจและธุรกิจเพื่อการปฏิรูป

มหาวิทยาลัยรังสิต

Page 2: ปัจจัยเสี่ยงและโอกาส ผลกระทบของปัจจัยเสี่ยงทางการเมือง และหน้าผาทาง

แนวโนมเศรษฐกิจไทยป 2556....

2

Page 3: ปัจจัยเสี่ยงและโอกาส ผลกระทบของปัจจัยเสี่ยงทางการเมือง และหน้าผาทาง

2554 2555

(ณ ก.ค.55) ประมาณการ

2555 (ณ ต.ค.55) ประมาณการ

2556 ประมาณการ

ของสํานักตางๆ

2556

ประมาณการ เศรษฐศาสตร

มรส

สมมติฐานภายนอก 1) อัตราการขยายตัวเฉลี่ย 14 ประเทศคูคาหลกั (%/ป) 2) ราคานํ้ามันดิบดูไบ (ดอลลารสหรฐัตอบารเรล) 3) ราคาสินคาสงออกในรปูดอลลารสหรฐั (รอยละตอป) 4) ราคาสินคานําเขาในรูปดอลลารสหรฐั (รอยละตอป)

4.0 105.6

5.6 10.1

2 - 2.5 110 3 – 4

3.5 – 5

2.5 110 1.0 2.6

3.6 – 4.6 110-118 2.0 – 4.0 3.5 – 5.5

3.8-4.8 90-100 2.0-4.5 3.0-5.0

สมมติฐานดานนโยบาย 5) อัตราแลกเปลี่ยน (บาทตอดอลลารสหรฐั) 6) อัตราดอกเบี้ยนโยบายของไทย ณ สิ้นป (รอยละ:ป) 7. งบประมาณปภาครัฐ (ลานลานบาท)

30.5 3.25 2.77

31.5 – 32.0

2.50 2.96

31

2.75 2.96

30 – 32 2.5 – 3.5

3.09 – 3.1

28-30 3.0

3.09-3.10

1) อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจ (รอยละตอป) 0.1 5 – 5.5 5 4.5 - 5.5 5.5-6.5

2) อัตราการขยายตัวของการบริโภครวม (รอยละตอป) - การบริโภคภาคเอกชน (ณ ราคาคงท่ี)(รอยละตอป) - การบริโภคภาครัฐ (ณ ราคาคงท่ี) (รอยละตอป)

1.3 1.3 1.1

3 – 3.2

4

3.8

4.0

[1] ประมาณการโดย คณะเศรษฐศาสตร และ ศูนยวิจยัเศรษฐกจิและธุรกิจเพื่อการปฏิรูป มหาวิทยาลัยรังสิต

ตารางสรุปสมมติฐานและตัวเลขเศรษฐกิจป 2555 และตัวเลขเศรษฐกิจคาดการณป 2556 (ณ เดือน ธ.ค.55)

3

Page 4: ปัจจัยเสี่ยงและโอกาส ผลกระทบของปัจจัยเสี่ยงทางการเมือง และหน้าผาทาง

ตารางสรุปสมมติฐานและตัวเลขเศรษฐกิจป 2555 และตัวเลขเศรษฐกิจคาดการณป 2556 (ณ เดือน ธ.ค.55)

2554 2555

(ณ ก.ค.55) ประมาณการ

2555 (ณ ต.ค.55) ประมาณการ

2556 ประมาณการ

ของสํานักตางๆ

2556 ประมาณการ เศรษฐศาสตร

มรส

3) อัตราการขยายตัวของการลงทุนรวม (รอยละตอป) - การลงทุนภาคเอกชน (ณ ราคาคงที่) (รอยละตอป) - การลงทุนภาครัฐ (ณ ราคาคงที่) (รอยละตอป)

3.3 7.2 -8.7

13 – 14

13.5

8.1

8.0-10.0

4) อัตราการขยายตัวปริมาณสงออกสินคาและบรกิาร (รอยละตอป)

9.5

7 – 8

4

7.8

11

5) อัตราการขยายตัวปริมาณนําเขาสินคาและบริการ (รอยละตอป)

13.7

12 – 14

7 – 8

8.5

12

6) ดุลการคา (พันลานดอลลารสหรัฐ) - สินคาสงออกในรูปดอลลารสหรัฐ (รอยละตอป) - สินคานําเขาในรูปดอลลารสหรัฐ (รอยละตอ)

23.5 13.1 24.9

5 – 5.5

5

13.7

7) ดุลบัญชีเดินสะพัด (พันลานดอลลารสหรฐั) - รอยละของ GDP

11.9 3.4

-0.5 ถึง -3 -0.2 ถึง -1

-1.5 ถึง -2 -0.5

3.8 1.0

8) อัตราเงินเฟอทั่วไป (รอยละตอป) อัตราเงินเฟอพื้นฐาน (รอยละตอป)

3.8 2.4

3 – 3.5 1.8 -2

3.3 1.8

3.4 1.9

3.8-4.5 2-2.5

9) อัตราการวางงาน (รอยละของกําลังแรงงานรวม)

0.7

0.7

0.6

0.8 – 1.0

0.7-0.8

[1] ประมาณการโดย คณะเศรษฐศาสตร และ ศูนยวิจยัเศรษฐกจิและธุรกิจเพื่อการปฏิรูป มหาวิทยาลัยรังสิต 4

Page 5: ปัจจัยเสี่ยงและโอกาส ผลกระทบของปัจจัยเสี่ยงทางการเมือง และหน้าผาทาง

การคาดการณเศรษฐกิจไทยป 2556....

จะสามารถขยายตัวไดในระดับ 5.5-6.5% เปนผลจากการเติบโตที่เพิม่ขึน้ทั้งภาคการบรโิภค การลงทนุ การฟนตัวของภาคสงออก ดุลการคาและดุลบริการที่เกินดุลเพิม่ขึน้

กระแสเงนิลงทนุจากตางประเทศยังไหลสูภูมิภาคอาเซียนและไทยอยางตอเนือ่ง

อัตราการเติบโตของการลงทนุทัง้ในสวนของภาครัฐและเอกชนเพิม่ขึน้ที่ระดับ 8-10% โดยในสวนของการลงทนุภาครัฐ โครงการลงทนุขนาดใหญดานโครงสรางพืน้ฐานและระบบ โลจิสติกส และการบริหารจัดการน้ํานาจะมีความคืบหนาอยางขัดเจน

การปรับขึน้คาแรง 300 บาททั่วประเทศชวงตนปจะเปนตัวชวยใหกระตุนภาคบริโภคขยายตัว โดยคาดวาป 56 อัตราการขยายตัวของการบริโภคจะอยูที่ 4%

แรงกดดันเงนิเฟอทยอยเพิม่ขึน้ เริ่มมีสัญญาณฟองสบูเกิดขึ้นบางในตลาดหุนและตลาดอสังหารมิทรพัย แตยังไมอยูในระดับทีน่าวิตกกังวล

การปรับเพิม่อัตราดอกเบ้ียจะสงผลใหเงินบาทแข็งคาเพิม่ขึน้ สวนสภาพคลองในระบบการเงินอาจดึงตัวขึ้นไดในชวงครึ่งปหลังเม่ือความตองการใชเงินทนุของภาคเอกชนและภาครัฐเพิ่มสูงขึ้น

การระดมเม็ดเงนิในประเทศของรัฐบาลอาจทาํใหเกิด Crowding-out Effect ไปแยงเม็ดเงินการลงทนุภาคเอกขนได และดันอัตราดอกเบ้ียในตลาดใหสูงขึน้ การใชจายภาครัฐเพือ่กระตุนเศรษฐกิจกจ็ะมีผลนอยลง

5

Page 6: ปัจจัยเสี่ยงและโอกาส ผลกระทบของปัจจัยเสี่ยงทางการเมือง และหน้าผาทาง

สถานการณเศรษฐกิจโลก

6

Page 7: ปัจจัยเสี่ยงและโอกาส ผลกระทบของปัจจัยเสี่ยงทางการเมือง และหน้าผาทาง

ภาพรวมของเศรษฐกิจโลกป 2556..... ปรับตัวดีขึ้นจากปทีแ่ลวเลก็นอยโดยกองทนุ ESM (European Stability Mechanism) ไดเริ่มบรรเทาปญหาวกิฤตการณหนี้สินยูโรโซน โดยเฉพาในกรีซและสเปนต้ังแตเดือนตุลาคมเปนตนมา

ปญหาหนาผาทางการคลงัของสหรัฐอเมรกิายังคงเปนปจจัยที่ไมแนนอนสูงตอภาวะเศรษฐกิจโลก

เศรษฐกิจโลกมอีตัราการขยายตัวเพิม่ขึน้เลก็นอยในปหนา อยูทีร่ะดับรอยละ 3.5 – 3.6% จากการเติบโตของที่เปนบวกของกลุมประเทศยูโรโซน

เศรษฐกิจยูโรโซนจะเติบโตเปนบวกไดอยางนอย 0.2 – 0.5% จากปทีแ่ลว

เม็ดเงินจาก QE3 ทีท่ยอยปลอยเขาในระบบการเงนิเดือนละ 40,000 ลานดอลลารสหรฐั ทําใหเศรษฐกิจสหรัฐฯ กระเต้ืองขึน้บางแตหากสหรัฐฯ ไมสามารถแกไขปญหาหนาผาทางการคลังได สหรัฐฯจะกลับมาถดถอยและติดลบอยางนอย (-0.5%) – (-1%) สงผลตอเศรษฐกิจโลกและเศรษฐกิจไทยอยางขัดเจน

การเติบโตของเศรษฐกิจจีนเริ่มมีเสถียรภาพมากขึ้นโดยนาจะขยายตัวไดไมตํ่ากวา 8% จากปทีแ่ลวทีข่ยายตัวประมาณ 7.7 - 7-8%

เศรษฐกิจญ่ีปุนชะลอตัวลงเลก็นอยคาดวาจะมีอัตราการเติบโตที่ประมาณ 1.2%

เศรษฐกิจเอเชียโดยรวมเติบโตเพิ่มขึ้นในป 56 โดยคาดการณวาขยายตัวมากกวา 7%

7

Page 8: ปัจจัยเสี่ยงและโอกาส ผลกระทบของปัจจัยเสี่ยงทางการเมือง และหน้าผาทาง

Table: Summary of World Output1 (Annual percent change)

Source: World Economic Outlook, October 2012, International Monetary Fund รวมรวมโดย คณะเศรษฐศาสตร และ ศูนยวิจัยเศรษฐกจิและธุรกจิเพือ่การปฏิรูป มหาวิทยาลัยรังสิต

8

Page 9: ปัจจัยเสี่ยงและโอกาส ผลกระทบของปัจจัยเสี่ยงทางการเมือง และหน้าผาทาง

ผลกระทบของปจจัยเสี่ยงทางการเมือง

และหนาผาทางการคลัง (Fiscal Cliff) ตอเศรษฐกิจไทย

9

Page 10: ปัจจัยเสี่ยงและโอกาส ผลกระทบของปัจจัยเสี่ยงทางการเมือง และหน้าผาทาง

ตารางแสดงสมมติฐานการเติบโตทางเศรษฐกิจของสหรัฐฯ จากผลกระทบของ Fiscal Cliff

สมมติฐาน การเติบโตของ GDP ในป 2556

(ปจจุบันอยูที่ระดับ 1.50% - 2.00% ตอป)

อัตรา การวางงาน

กรณีไมมี Fiscal Cliff 2.5 – 3.0% 8.0-8.60%

กรณี ลดการขาดดุลงบประมาณ 25% Fiscal Cliff 2.1 – 2.2% 8.5%

กรณี ตัดแคคาใชจายภาครัฐ 1.50% 9.00%

กรณี ลดการขาดดุลงบประมาณ 50% จาก Fiscal Cliff 0.80% 9.30%

กรณีไมตออายุแคมาตรการภาษี 0.60% 9.40%

กรณี ลดการขาดดุลงบประมาณ 75% จาก Fiscal Cliff -0.10% 9.70%

กรณี ลดการขาดดุลงบประมาณ 100% จาก Fiscal -1.00% 10.10%

10

Page 11: ปัจจัยเสี่ยงและโอกาส ผลกระทบของปัจจัยเสี่ยงทางการเมือง และหน้าผาทาง

กรณีแรก ไมมีปญหาหนาผาทางการคลัง (มาตรการลดภาษีและการใชจายยังคงมีการดําเนินการตอไปท้ังหมด) กรณีน้ีมีความเปนไปไดนอยเพราะจะติดปญหาเพดานหน้ีสาธารณะของจีดีพีสหรัฐฯ ขณะน้ีสัดสวนหน้ีสาธารณะตอจีดีพีสูงกวา 100% ขาดดุลงบประมาณราว 9.5% อัตราการวางงานลดลง (ผลในระยะสั้น) เปนปจจัยบวกตอเศรษฐกิจโลกและไทยในป 56 แตจะทําใหแผนการแกไขปญหาหน้ีสาธารณะไมเปนไปตามเปาและอาจสงผลตอเศรษฐกิจโลกและระบบเงินโลกในระยะยาวได

กรณีที่สอง ลดการขาดดุลงบประมาณ 25% จาก Fiscal Cliff ทําใหเศรษฐกิจสหรัฐฯ ขยายตัวไดประมาณ 2.1-2.2% เปนไปตามกรณีพ้ืนฐานท่ี คณะเศรษฐศาสตรและศูนยวิจัยฯ ไดประเมินไว กรณีน้ีจะสงผลตอเศรษฐกิจโลกและไทยเพียงเล็กนอย และชวยทําใหความเสี่ยงของการปะทุขึ้นของหน้ีสาธารณะของสหรัฐฯ ในอนาคตลดลงไดบาง

กรณีที่สาม ตัดลดมาตรการการใชจายภาครัฐเพ่ือกระตุนเศรษฐกิจ จะทําใหอัตราการขยายตัวเศรษฐกิจสหรัฐฯ ลดลงต่ํากวา 2%

กรณีที่สี่ ลดการขาดดุลงบประมาณ 50% จาก Fiscal Cliff จะทําใหอัตราการขยายตัวต่ํากวา 1%

กรณีที่หา ไมตอมาตรการลดภาษี (คิดเปนเม็ดเงินไมต่ํากวา 2 แสนลานดอลลารสหรัฐ)

ประเมินผลกระทบของหนาผาทางการคลัง

ที่จะมผีลตอเศรษฐกิจสหรฐั

11

Page 12: ปัจจัยเสี่ยงและโอกาส ผลกระทบของปัจจัยเสี่ยงทางการเมือง และหน้าผาทาง

กรณีที่สาม สี่ และหา จะสงผลกระทบตอการขยายตัวของเศรษฐกิจโลกและสงผลตอภาคสงออกและการทองเท่ียวของไทยระดับหน่ึง

กรณีที่หก ลดการขาดดุลงบประมาณ 75% จาก Fiscal Cliff หรือ

กรณีที่เจ็ด ตกหนาผาทางการคลัง เงินหายไปจากระบบมากกวา 6 แสนลานดอลลารสหรัฐ

ทั้งสองกรณี จะทําใหอัตราการขยายตัวเศรษฐกิจสหรัฐฯ ติดลบได ทําใหเศรษฐกิจโลกชะลอตัวลง และอาจทําใหเศรษฐกิจไทยเติบโตไมถึง 4%

ประเมินผลกระทบของหนาผาทางการคลัง

ที่จะมผีลตอเศรษฐกิจสหรฐั

สํานักงานงบประมาณรัฐสภา (Congressional Budget Office) ของสหรัฐฯ ไดวิเคราะหวา หากรัฐบาลยังคงดําเนินนโยบายการคลังตามเดิม กลาวคือ ยอมใหนโยบายการลดภาษีช่ัวคราวของรัฐบาลประธานาธิบดีบุช (Bush Tax Cut) หมดอายุลงตามท่ีกําหนดไวในคืนวันท่ี 31 ธันวาคม 55 และยอมใหนโยบายการลดภาษีประกันสังคมหมดอายุ ตลอดจนตัดงบประมาณรายจายรัฐบาลลงบางสวน จะทําใหสหรัฐฯ 1. ลดการขาดดุลการคลังจาก 1,089 พันลานดอลลารสรอ. ในป 2555 เหลือลงเหลือ 213

พันลานดอลลาร สรอ. ในป 2565 ทําใหหน้ีสาธารณะคิดเปน 58% ของจีดีพีในป 2565 2. หากรัฐบาลยืดอายุการลดภาษีตางๆ และคิดภาษี Alternative Minimum Tax (AMT) ให

สอดคลองกับอัตราเงินเฟอของประเทศ และยังคงใหอัตราการจายตามโครงการประกันสุขภาพของรัฐบาลเหมือนเดิม ตลอดจนบังคับใช Budget Control Act ป 2554 จะทําใหสหรัฐขาดดุลการคลัง 1,362 พันลานดอลลาร สรอ. ในป 2565 ทําใหหน้ีสาธารณะคิดเปน 89.7% ของจีดีพี ในป 2565 ซึ่งอาจทําใหเกิดวิกฤตการณหน้ีสาธารณะได

12

Page 13: ปัจจัยเสี่ยงและโอกาส ผลกระทบของปัจจัยเสี่ยงทางการเมือง และหน้าผาทาง

คณะเศรษฐศาสตร และ ศูนยวิจัยฯ ม.รังสิต มองวา หากรัฐบาลสหรัฐ เลือกยืดมาตรการการคลังกรเศรษฐกิจออกไป หรือไมยอมตกหนาผาทางการคลัง (Fiscal Cliff) รัฐบาลจําเปนตองแบกรับภาระดอกเบี้ยหน้ีสาธารณะท่ีเพ่ิมขึ้นของรัฐบาลเองในอนาคต สงผลให

• รัฐบาลตองลดรายจายภาครัฐและดําเนินนโยบายเพ่ิมภาษีตางๆ เพ่ือนํามาชําระหน้ีท่ีเพ่ิมขึ้นในอนาคต สงผลใหรัฐบาลตองลดรายจายภาครัฐและดําเนินนโยบายเพ่ิมภาษีตางๆ เพ่ือนํามาชําระหน้ีท่ีเพ่ิมขึ้นในอนาคต

• หน้ีสาธารณะท่ีเพ่ิมขึ้นจะสงผลใหเงินออมในประเทศลดลง สงผลใหมีการกูยืมเงินนอกประเทศเพ่ิมขึ้น อีกท้ังยังสงผลการลงทุนในประเทศอีกดวย

• การท่ีรัฐบาลสหรัฐฯ กอหน้ีสาธารณะเพ่ิมขึ้นและยังคงดําเนินนโยบายการคลังแบบขาดดุล อาจนํามาสูปญหาวิกฤตการณหน้ีสินแบบยูโรโซน สงผลใหความเช่ือมั่นของนักลงทุนสั่นคลอนและเงินดอลลารสหรัฐอาจสูญเสียสถานะของเงินสกุลหลักของตลาดการเงินโลกในอนาคต

• หากรัฐบาลยอมตกหนาผาทางการคลัง จะสงผลตอเศรษฐกิจของสหรัฐถดถอยในปหนา สงผลกระทบตอเศรษฐกิจไทยและอาจทําใหการเติบโตไมถึง 4% ในป 2556 แตจะสงผลใหเศรษฐกิจสหรัฐแข็งแกรงและฐานะทางการคลังปรับตัวดีขึ้นในระยะตอไป

ประเมินผลกระทบของหนาผาทางการคลัง

ที่จะมผีลตอเศรษฐกิจสหรฐั

13

Page 14: ปัจจัยเสี่ยงและโอกาส ผลกระทบของปัจจัยเสี่ยงทางการเมือง และหน้าผาทาง

รัฐบาลตองเรงปรับโครงสรางและปฏิรูประบบเศรษฐกิจโลกใหเกิดความสมดุลระหวางภาคสงออก ภาคบริการและเศรษฐกิจภายในประเทศ ภาคสงออกจะมีการแขงขันกันสูงจากการเปดเสรีเพ่ิมขึ้นเรื่อยๆ ภาคสงออกจึงมีประสิทธิภาพสูงและปรับตัวพรอมรับประชาคมอาเซียนได แตผลตอบแทนจากภาคสงออกจะต่ําลง ขณะท่ีภาคบริการมีการเปดเสรีคอนขางลาชา มีอํานาจผูกขาดและก่ึงผูกขาดอยูจึงใหผลตอบแทนสูงแตมีประสิทธิภาพ

เรงรัดการลงทุนโครงสรางพ้ืนฐานทางเศรษฐกิจท้ังหมด ท้ังระบบขนสงมวลชนระบบรางและระบบ โลจิสติกส ระบบชลประทาน ระบบพลังงาน ระบบโทรคมนาคม เปนตน

พัฒนาระบบการศึกษาและระบบบริการสาธารณสุขใหท่ัวถึงและมีคุณภาพ ทําใหประชาชนสามารถเขาถึงการใหบริการไดอยางเพียงพอ

ผลักดันใหมีการปฏิรูปท่ีดินและกระจายการถือครองท่ีดิน และ ปจจัยการผลิต

นโยบายการปรับคาแรงขั้นต่ํา 300 บาทเปนการปรับคาแรงในอัตรากาวหนาท่ีจะกอใหเกิดการกระจายรายไดและลดความไมเปนธรรมทางเศรษฐกิจ แตอาจสงผลกระทบตอกิจการขนาดเล็กท่ีใชแรงงานในสัดสวนสูงในกระบวนการการผลิต มาตรการของรัฐบาลในการบรรเทาผลกระทบควรมุงเนนไปท่ีการลดรายจายและตนทุนใหกับกิจการขนาดเล็กแตไมควรลดการจายสมทบกองทุนประกันสังคม เพราะจะสงผลตอระบบสวัสดิการและความยั่งยืนทางการเงินของกองทุนประกันสังคมในระยะยาว

ขอเสนอแนะเชิงนโยบายในการเตรียมรบัมอืปจจยัเส่ียง และโอกาสตางๆ ในป 2556 ดังน้ี

14

Page 15: ปัจจัยเสี่ยงและโอกาส ผลกระทบของปัจจัยเสี่ยงทางการเมือง และหน้าผาทาง

ลดเงื่อนไขและปจจัยเส่ียงตางๆท่ีจะนํามาสูความขัดแยงรุนแรงหรือวิกฤตการณทางการเมืองรอบใหม

สงเสริมและพัฒนาสภาพแวดลอมเพ่ือใหสามารถดึงดูดเม็ดเงินการลงทุนโดยตรง (Foreign Direct Investment) ระยะยาวจากตางประเทศและการถายทอดเทคโนโลยี

วางยุทธศาสตรและเปาหมายเพ่ือให “ไทย” กาวสูการเปนศูนยกลางเศรษฐกิจอาเซียนและสามารถใชโอกาสความรุงเรืองของเอเชียตะวันออก หรือ ศตวรรษแหงเอเชีย เพ่ือยกระดับฐานะของไทยสูประเทศพัฒนาแลว

ขอเสนอแนะเชิงนโยบายในการเตรียมรบัมอืปจจยัเส่ียง และโอกาสตางๆ ในป 2556 ดังน้ี

15

Page 16: ปัจจัยเสี่ยงและโอกาส ผลกระทบของปัจจัยเสี่ยงทางการเมือง และหน้าผาทาง

US Fiscal Cliff: Implication for global outlook in 2013

Real GDP Current Account Balance % of GDP

Fiscal Balance % of GDP

USA -2.2 1.2 2.9

World -1.0 -0.1 0.4 High Income Countries -1.1 0.1 0.8

Euro Area -0.4 -0.3 -0.1

Developing countries -0.6 -0.4 -0.3

Low Income -0.1 -0.1 0.0

Middle Income -0.6 -0.4 -0.3

Developing Oil Exporters -0.7 -1.0 -0.7

Developing Oil Importers -0.5 -0.2 -0.1

East Asia & Pacific -0.8 -0.3 -0.1

Europe & Central Asia -0.3 -0.8 -0.4

Latin America & Caribbean -0.7 -0.6 -0.4

Middle East & North Africa -0.2 -0.6 -0.9

South Africa -0.2 0.1 0.1

Sub – Saharan Africa -0.3 -1.1 -0.9

Source: Theo Janse Van Rensburg, World Bank Senior Economist on Sep 17, 2012 16

Page 17: ปัจจัยเสี่ยงและโอกาส ผลกระทบของปัจจัยเสี่ยงทางการเมือง และหน้าผาทาง

17

US Fiscal Cliff: Implication for global outlook in 2013

Source: Theo Janse Van Rensburg, World Bank Senior Economist on Sep 17, 2012

Page 18: ปัจจัยเสี่ยงและโอกาส ผลกระทบของปัจจัยเสี่ยงทางการเมือง และหน้าผาทาง

What going over the 'fiscal cliff' would mean . . .

Sources: Moody's Analytics, Tax Policy Center. By Bonnie Berokowitz, Karen Yourish and Laura Stanton - The Washington Post. Published on November 11, 2012 18

Page 19: ปัจจัยเสี่ยงและโอกาส ผลกระทบของปัจจัยเสี่ยงทางการเมือง และหน้าผาทาง
Page 20: ปัจจัยเสี่ยงและโอกาส ผลกระทบของปัจจัยเสี่ยงทางการเมือง และหน้าผาทาง
Page 21: ปัจจัยเสี่ยงและโอกาส ผลกระทบของปัจจัยเสี่ยงทางการเมือง และหน้าผาทาง
Page 22: ปัจจัยเสี่ยงและโอกาส ผลกระทบของปัจจัยเสี่ยงทางการเมือง และหน้าผาทาง