การจัดการเรียนรู้ - kp.ac.th · บทที่...

66
การจัดการเรียนรู อาจารย์ ดร.วิชัย เสวกงาม

Upload: nguyenminh

Post on 15-Feb-2019

218 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

การจดัการเรียนรู้อาจารย ์ดร.วิชยั เสวกงาม

การจดัการเรียนรู้ กบั ผลการเรียนรู้การจดัการเรียนรู้ หมายถึงการด าเนินการหรือการจดัสภาพการณ์ของการเรียนการสอนตามหลกัการหรือทฤษฎีของผูส้อน เพื่อให้ผูเ้รียนเกิดการเรียนรู้ ตามจดุมุ่งหมายท่ีก าหนด

ผลการเรียนรู้ (learning outcome) หมายถึงส่ิงท่ีผูเ้รียนสามารถท าได้อนัเป็นผลมาจากการเรียนรู้ของผูเ้รียน เป็นการแสดงออกถึงการเรียนรู้ของผูเ้รียน ทัง้ความรู้ ทกัษะการคิด ทกัษะการปฏิบติั และคณุลกัษณะอนัพึงประสงค์

การจดัการเรียนรู้ของครยูคุใหม่

• นักเรียนสร้างความรู้ด้วยตวัเอง• นักเรียนเรียนรู้ผา่นการลงมือปฏิบติั• นักเรียนมีผลการเรียนรู้ (learning outcome) ครบทกุด้าน คือ ความรู้ ทกัษะการคิดและทกัษะการปฏิบติั และคณุลกัษณะอนัพึงประสงค์

• นักเรียนมีความรู้ความสามารถด้าน Literacy, Numeracy และ Reasoning ability

พิมพนัธ ์เดชะคปุต ์(2556)

การจดัการเรียนรู้ของครยูคุใหม่•ครจูดัการเรียนรู้ให้เป็นไปตาม•หลกัสตูรแกนกลางการศึกษาขัน้พืน้ฐาน พ.ศ. 2551• แนวทางของการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21• แนวทางปรชัญาของเศรษฐกิจพอเพียง•อาเซียนศึกษา

•ครใูช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์พิมพนัธ ์เดชะคปุต ์(2556)

21st Century Skills Framework

5OECD (2008)

21st Century Skills Framework

6

Core Subjects• ภาษาประจ าชาติ / การอ่าน• ภาษาของโลก - ภาษาองักฤษ• ศิลปะ• ภมิูศาสตร ์• ประวติัศาสตร์• คณิตศาสตร์• วิทยาศาสตร์• การปกครอง / การเป็นพลเมือง

21st Century Themes

• ความตระหนักส านึกระดบัโลกการเงิน เศรษฐกิจ ธรุกิจ และการรู้เรื่องการเป็นผูป้ระกอบการ

• การรู้เรื่องความเป็นพลเมือง

• การรู้เรื่องสขุภาพ

OECD (2008)

21st Century Skills Framework

7

Learning & Innovation Skills

▪ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการแก้ปัญหา

▪ การสร้างสรรค ์และนวตักรรม

▪ การส่ือสาร และการร่วมมือ

Information, Media & Technology Skills

การรู้เรื่องสารสนเทศ

การรู้เรื่องส่ือ

การรู้เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร

OECD (2008)

21st Century Skills Framework

8

Life & Career Skills

ความยืดหยุ่นและการปรบัตวั ความคิดริเร่ิมและการน าตนเอง

ทกัษะทางสงัคมและข้ามวฒันธรรม

ผลิตภาพ และความรบัผิดชอบในหน้าท่ี

ความเป็นผูน้ า และความรบัผิดชอบ

OECD (2008)

9ท่ีมา: http://เศรษฐกิจพอเพียง.net/

10ท่ีมา: http://www.thisasean.com/

จดุมุ่งหมายของการจดัการเรียนรู้▪ผูเ้รียนรู้อะไร

▪ผูเ้รียนรู้สึกอย่างไร

▪ผูเ้รียนท าอะไรได้

Cognitive

PsychomotorAffective

Bloom's Revised Taxonomy of Cognitive Domain

ท่ีมา: http://www.nwlink.com/~donclark/hrd/bloom.html

Cognitive Domainให้ค าจ ากดัความ (define)

จ าลอง (duplicate)

จดัท ารายการ (list)

ท่องจ า (memorize)

ระลึก (recall)

พดูซ า้ (repeat)

ท าซ า้ (reproduce)

บอก (state)

ความรูค้วามจ า

เป็นความสามารถในการเกบ็รกัษาประสบการณ์ต่างๆ ท่ีได้รบัรู ้และสามารถระลึก

ส่ิงนัน้ได้เม่ือต้องการ

ตวัอย่างค ากริยาท่ีใช้

Cognitive Domainจดัหมวดหมู่ (classify)

บรรยาย (describe)

อภิปราย (discuss)

อธิบาย (explain)

ระบุช่ือ (identify)

ค้นหา (locate)

จ าได้ (recognize)

รายงาน (report)

คดัเลือก (select)

แปลความ (translate)

ถอดความ(paraphrase)

ความเข้าใจ

เป็นความสามารถในการจบัใจความส าคญัของสาระได้ โดยแสดงออกมาในรปูการแปลความ ตีความ หรือขยายความ

ตวัอย่างค ากริยาท่ีใช้

Cognitive Domainเลือก (choose)

สาธิต (demonstrate)

แสดงบทบาท (dramatize)

ค านวณ (compute)

แสดงตวัอย่าง (illustrate)

ด าเนินการ (operate)

ท าก าหนดการ(schedule)

รา่งแบบ (sketch)

หาค าตอบ (solve)

ใช้ (use)

เขียน (write)

การน าไปใช้

เป็นความสามารถของผูเ้รียนในการน าความรูไ้ปใช้แก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ ได้ โดยอาศยัความรู้ความจ า และความเข้าใจ

ตวัอย่างค ากริยาท่ีใช้

Cognitive Domainประเมินค่า/ตีราคา (appraise)เปรียบเทียบ (compare)เทียบความแตกต่าง (contrast)วิพากษ์ (criticize)บอกความแตกต่าง (differentiate)แบง่แยก (discriminate)แสดงให้เหน็ความแตกต่าง (distinguish)ตรวจสอบ (examine)ทดลอง (experiment)

การวิเคราะห ์

เป็นความสามารถของผูเ้รียนในการคิด แยกแยะเรือ่งราวส่ิงต่างๆ ออกเป็นส่วนย่อยหรอืองคป์ระกอบท่ีส าคญัได้ และมองเหน็ความสมัพนัธข์องส่วนท่ีเก่ียวข้องกนั

ตวัอย่างค ากริยาท่ีใช้

Cognitive Domainประเมินคณุค่า (appraise)

โต้แย้ง (argue)

แก้ต่าง (defend)

พิจารณาตดัสิน (judge)

เลือก (select)

สนับสนุน (support)

ให้คณุค่า (value)

ประเมิน (evaluation)

การประเมินค่า

เป็นความสามารถของผูเ้รียนในการตดัสินคณุค่าของส่ิงต่างๆ ทัง้เน้ือหาและวิธีการท่ีเกิดขึน้ อาจจะก าหนดขึน้เองจากความรู้ประสบการณ์

ตวัอย่างค ากริยาท่ีใช้

Cognitive Domainประกอบ/รวบรวม (assemble)

สรา้ง (construct)

สรา้งสรรค ์(create)

ออกแบบ (design)

พฒันา (develop)

คิดค้น (formulate)

แต่ง/ประพนัธ ์(write)

การสรา้งสรรค์

เป็นความสามารถของผูเ้รียนในการผสมผสานส่วนย่อยๆ เข้าด้วยกนั ให้เป็นรปูแบบหรือโครงสร้างใหม่ การสรา้งผลิตภณัฑ์หรอืความคิดเหน็มมุมองใหม่ๆ

ตวัอย่างค ากริยาท่ีใช้

Krathwohl's Taxonomy of Affective Domain

ท่ีมา: http://www.nwlink.com/~donclark/hrd/bloom.html

Affective Domain 1. การรบัรูห้รือการยอมรบั (receiving)

เป็นการแปลความหมายความรูสึ้กท่ีเกิดจากส่ิงเรา้ หรอืปรากฏการณ์

2. การตอบสนอง (responding)

เป็นการแสดงออกมาในรปูของความเตม็ใจ ยินยอม และพอใจต่อส่ิงเรา้

3. การเกิดค่านิยม (valuing)

เป็นการเลือกปฏิบติัในส่ิงท่ีสงัคมยอมรบั หรอืปฏิบติัตามในเรือ่งใดเรือ่งหน่ึง จนกลายเป็นความเช่ือและเกิดทศันคติท่ีดีในส่ิงนัน้

Affective Domain4. การจดัระเบียบค่านิยม (organizing)

เป็นการรวบรวมค่านิยมใหม่ท่ีเกิดขึน้ จากแนวคิดและการจดัระบบค่านิยมท่ีจะยึดถือต่อไป หากไม่สามารถยอมรบัค่านิยมใหม่ กจ็ะยึดถือค่านิยมเก่าต่อไปแต่ถ้ายอมรบัค่านิยมใหม่กจ็ะยกเลิกค่านิยมเก่าท่ียึดถือ

5. การสรา้งลกัษณะนิสยัตามค่านิยมท่ียึดถือ (characterization by value)

เป็นการน าค่านิยมท่ียึดถือมาใช้เป็นตวัควบคมุพฤติกรรม ท่ีเป็นนิสยัประจ าตวัของตน ให้ประพฤติปฏิบติัแต่ส่ิงท่ีถกูต้องดีงาม

Dave's Taxonomy of Psychomotor Domain

ท่ีมา: http://www.nwlink.com/~donclark/hrd/bloom.html

Psychomotor Domain1. การเลียนแบบ (imitation)

เป็นพฤติกรรมท่ีผูเ้รียนรบัรู้หลกัการปฏิบติัท่ีถกูต้อง หรือ เป็นการเลือกหาตวัแบบท่ีสนใจ

2. กระท าตามแบบ (manipulation)

เป็นพฤติกรรมท่ีผูเ้รียนพยายามฝึกตามแบบท่ีตนสนใจและพยายามท าซ า้ เพ่ือให้เกิดทกัษะตามแบบท่ีตนสนใจให้ได้ หรือ สามารถปฏิบติังานได้ตามข้อแนะน า

3. ความถกูต้องตามแบบ (precision)

เป็นพฤติกรรมท่ีผูเ้รียนสามารถปฏิบติังานได้ด้วยตนเอง โดยไม่ต้องช้ีแนะ พยายามหาความถกูต้องในการปฏิบติัและพฒันาเป็นรปูแบบของตวัเอง

Psychomotor Domain4. การกระท าท่ีมีความต่อเน่ืองประสานกนั(Articulation)

เป็นพฤติกรรมท่ีผูเ้รียนปฏิบติัตามรปูแบบท่ีได้ตดัสินใจเลือกเป็นของตวัเองและจะปฏิบติัตามรปูแบบนัน้อย่างต่อเน่ืองและสม า่เสมอ จนสามารถปฏิบติังานได้อย่างรวดเรว็ ถกูต้อง และคล่องแคล่ว

5. การท าจนธรรมชาติ (Naturalization)

เป็นพฤติกรรมท่ีผูเ้รียนสามารถปฏิบติัส่ิงนัน้ๆ ได้คล่องแคล่วว่องไว โดยอตัโนมติั ดูเป็นไปอย่างธรรมชาติไม่ขดัเขิน

การออกแบบการเรียนการสอน (Instructional Design)

กระบวนการออกแบบการเรียนการสอน• มุ่งไปท่ี ‘การเรียนรูท่ี้ได้รบัการวางแผนหรอืออกแบบมาล่วงหน้า’ (Intentional Learning)

• เก่ียวข้องกบับคุคลท่ีหลากหลาย เช่น ผูเ้ช่ียวชาญด้านการออกแบบการเรียนการสอน ผูเ้ช่ียวชาญในสาระความรูข้องวิชานัน้ๆ นักประเมินผล ฯลฯ

• ด าเนินการได้ในหลายระดบั เช่น ระดบับทเรียน ระดบัหน่วยการเรียนรายวิชา หรอืตลอดหลกัสตูร

• มีล าดบัขัน้ตอน และประกอบด้วยกิจกรรมย่อยในแต่ละขัน้ตอน

• ค านึงถึงธรรมชาติของสถานการณ์การเรียนรูว่้าสามารถเกิดขึน้ได้ทัง้ภายใน และภายนอกบคุคล

ADDIE Modelขัน้การวิเคราะห์

ขัน้การออกแบบ

ขัน้การพฒันา

ขัน้การน าไปใช้

ขัน้การประเมินผล

ADDIE Model• วิเคราะห:์ ท าความเข้าใจในเป้าหมาย+ความต้องการของหลกัสตูร บริบทของสถานศึกษา และบริบทในการจดัการศึกษาของชาติ

• ออกแบบ: ก าหนดเป้าหมาย/ผลการเรียนรูท่ี้คาดหวงั ก าหนดหวัข้อการเรียนรู ้บทเรียน หรอืหน่วยการเรียนรู ้จดัล าดบัก่อน/หลงั ก าหนดแนวทางการจดัการเรียนรูข้องแต่ละหน่วย/แผน และก าหนดแนวทางการประเมินผล

ADDIE Model• พฒันา: ก าหนดรายละเอียดเก่ียวกบักิจกรรมการเรียนรู ้แนวทางการจดัการ ชัน้เรียน การประเมินผล ตลอดจนเลือก/ระบุส่ือการเรียนการสอนท่ีจะน ามาใช้

• น าไปใช้: น ารอ่งทดลองใช้ และน าไปใช้ในบริบทจริง

• ประเมินผล: ประเมินผลในทุกขัน้ตอน และเสนอแนวทางในการปรบัปรงุให้มีประสิทธิภาพมากย่ิงขึน้

ขัน้ตอนการออกแบบการเรียนการสอน

1. การก าหนดเน้ือหาสาระและมโนทศัน์และการก าหนดวตัถปุระสงค์o การวิเคราะหส์าระ มาตรฐาน และตวับง่ช้ีo การวิเคราะหม์โนทศัน์ • มโนทศัน์หลกั• มโนทศัน์ย่อย• การเช่ือมโยงมโนทศัน์

o การวิเคราะหท์กัษะและกระบวนการ

ขัน้ตอนการออกแบบการเรียนการสอน

1. การก าหนดเน้ือหาสาระและมโนทศัน์และการก าหนดวตัถปุระสงค์o การวิเคราะหค์ณุลกัษณะอนัพึงประสงค์o การก าหนดวตัถปุระสงคใ์ห้ครอบคลมุ 3 ด้าน คือ• ด้านความรู้ • ด้านทกัษะและกระบวนการ • ด้านคณุลกัษณะ

สาระการเรียนรู้

ความรู้ ทกัษะกระบวนการ คณุลกัษณะ

มาตรฐาน ตวัช้ีวดัแก้ปัญหา 1 , 2

ให้เหตผุล3

ส่ือสาร 4 เช่ือมโยง 5

คิดสร้างสรรค ์6

ซ่ือสตัย์ มีวินัย ………. ............

บทท่ี 1 พื้นท่ีผิวและปริมาตร

1. รปูเรขาคณิต 3 มิติ ค 3.1 ม. 3/1 ● ○ ○ ○ ● ○

2. ปริมาตรของปริซึม ค 2.1 ค 2.2

ม. 3/2ม. 3/1 ● ○ ○ ● ○ ● ●

3. ปริมาตรของทรงกระบอก ค 2.1 ค 2.2

ม. 3/2ม. 3/1 ● ● ○ ○ ○ ● ●

4. ปริมาตรของพีระมิด ค 2.1 ค 2.2

ม. 3/2ม. 3/1 ● ● ○ ○ ○ ● ○

5. ปริมาตรของกรวย ค 2.1 ค 2.2

ม. 3/2ม. 3/1 ● ● ○ ○ ○ ● ●

6. ปริมาตรของทรงกลม ค 2.1 ค 2.2

ม. 3/2ม. 3/1 ● ● ○ ○ ○ ● ○

......... ● ● ●

● หมายถึง ส่ิงท่ีเน้น ต้องมีวตัถปุระสงค ์ กิจกรรมการเรียนการสอนท่ีแสดงว่าส่งเสริมให้เกิดส่ิงท่ีเน้น และมีการวดัและประเมินผล

○ หมายถึง ส่ิงท่ีไม่เน้น แต่คาดว่าน่าจะมีหรือเกิดขึน้ แต่อาจไม่ระบชุดัเจนในวตัถปุระสงค ์ กิจกรรมการเรียนการสอน และการวดัและประเมินผล

ขัน้ตอนการออกแบบการเรียนการสอน

2. การก าหนดการวดัและการประเมินผล การก าหนดวตัถปุระสงคใ์ห้ก าหนดวิธีการ เคร่ืองมือ และเกณฑ ์ภาระงาน ช้ินงานแบง่ออกตามวตัถปุระสงคไ์ด้ 3 ด้าน คือ• การวดัและการประเมินผลด้านความรู้• การวดัและการประเมินผลด้านทกัษะและกระบวนการ• การวดัและการประเมินผลด้านคณุลกัษณะ

ขัน้ตอนการออกแบบการเรียนการสอน

3. การก าหนดแนวทาง / ยทุธศาสตรก์ารเรียนการสอน

4. การก าหนดกิจกรรมการเรียนการสอน

7. การประเมินผลกระบวนการเรียนการสอน

5. การเขียนแผนการจดัการเรียนรู้

6. การน ากระบวนการเรียนการสอนท่ีออกแบบไปใช้

กระบวนการทางวิทยาศาสตร์

36

▪ วิธีการทางวิทยาศาสตร ์(scientific method) เป็นขัน้ตอนท่ีใช้ในการสืบสอบ ท าโครงงาน และท าวิจยั

▪ ทกัษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร ์(science process skills) เป็นทกัษะทางปัญญา หรอืทกัษะการคิด เป็นทกัษะการคิดทัง้ระดบัพืน้ฐาน และการคิดระดบัสงู

▪ จิตวิทยาศาสตร ์(scientific mind) เป็นคณุสมบติั หรอืคณุลกัษณะอนัพึงประสงคข์องนักเรียน นักวิทยาศาสตรน้์อย นักวิจยั เช่น มีคณุลกัษะ 8 ประการ ตามหลกัสตูรแกนกลางการศึกษาขัน้พืน้ฐาน พทุธศกัราช 2551 เป็นต้น

พิมพนัธ ์เดชะคปุต ์(2556)

วิธีการทางวิทยาศาสตร ์(scientific method)

37

Make an observationAsk a questionForm a hypothesisAnd make a predictionDo a test or experimentationAnalyze data and draw a conclusionScientific Method

ท่ีมา: http://www.havefunteaching.com/

Scientific MethodFirst you make an observation of the world aroundTake notes and record all the things that you foundThen you ask a simple question something that you want to learnThen you form a hypothesis to explain what you observedThen you make a prediction about how it's gonna goDo a test with a control and variableThen you analyze the data and draw a conclusionDo the scientific method to avoid all confusion

5 STEPs

38

Literacy

Numeracy

Reasoning ability

Learning to Question

Learning to Search

Learning to Construct

Learning to Communi-

cation

Learning to Service

From 5 STEPs to 21st Century Skills

39

21st

Century Skills

Literacy

Numeracy

Reasoning ability

5 STEPs

5 STEPs

40

ตอบแทนสงัคม

ส่ือสาร

สร้างองคค์วามรู้

แสวงหาสารสนเทศ

ตัง้ค าถาม

พิมพนัธ ์เดชะคปุต ์(2556)

5 STEPs

41

ขัน้ตอนท่ี 1 การเรียนรูต้ัง้ค าถาม หรือขัน้ตัง้ค าถามo นักเรียนฝึกสงัเกตสถานการณ์ ปรากฏการณ์ต่างๆ จนเกิดความสงสยัo นักเรียนฝึกตัง้ค าถามส าคญั รวมทัง้การคาดคะเนค าตอบ ด้วยการ

สืบค้นความรูจ้ากแหล่งต่างๆ และสรปุเป็นค าตอบชัว่คราว

5 STEPs

42

ขัน้ตอนท่ี 2 การเรียนรูแ้สวงหาสารสนเทศ เป็นขัน้ตอนการออกแบบ/วางแผนเพ่ือรวบรวมข้อมลู สารสนเทศ จากแหล่งเรียนรูต่้างๆ รวมทัง้การทดลอง การออกแบบเกบ็ข้อมูล

5 STEPs

43

ขัน้ตอนท่ี 3 การเรียนรูเ้พื่อสรา้งองคค์วามรู ้เป็นขัน้ท่ีนักเรียนมีการวิเคราะหข้์อมลูเชิงปริมาณ และเชิงคณุภาพ การส่ือความหมายข้อมลูด้วยแบบต่างๆ หรอืด้วยผงักราฟิก การแปลผล จนถึงการสรปุผล หรอืการสรา้งค าอธิบาย เป็นการสรา้งองคค์วามรู ้ซ่ึงเป็นแก่นของความรูป้ระเภท (1) ข้อเทจ็จริง (2) ค านิยาม (3) มโนทศัน์ (4) หลกัการ (5) กฎ ตลอดจน (6) ทฤษฏี ได้ด้วยตนเอง

5 STEPs

44

ขัน้ตอนท่ี 4 การเรียนรูเ้พื่อการส่ือสาร คือขัน้น าเสนอความรู้ด้วยการใช้ภาษาท่ีถกูต้อง ชดัเจน และเป็นท่ีเข้าใจ อาจเป็นการน าเสนอด้วยการเขียน และน าเสนอด้วยวาจา

5 STEPs

45

ขัน้ตอนท่ี 5 การเรียนรูเ้พื่อตอบแทนสงัคม เป็นขัน้ตอนของการฝึกนักเรียนให้น าความรูท่ี้เข้าใจ น าการเรียนรูไ้ปใช้ประโยชน์เพ่ือส่วนรวม หรือเหน็ประโยชน์ต่อส่วนรวมด้วยการท างานเป็นกลุ่ม รว่มกนัสรา้งผลงานท่ีได้จากการแก้ปัญหาสงัคมอย่างสรา้งสรรค ์ซ่ึงอาจเป็นความรู ้แนวทาง ส่ิงประดิษฐ ์ซ่ึงอาจเป็นนวตักรรม ด้วยความรบัผิดชอบต่อสงัคม อนัเป็นการแสดงออกของความเกือ้กลู (caring) และแบง่ปัน (sharing) ให้สงัคมมีสนัติและยัง่ยืน

46พิมพนัธ ์เดชะคปุต ์(2556)

47

48

ตวัอย่างกิจกรรมการเรียนรู้ 5 STEPs

49

การท างานให้ส าเรจ็ (ชาวนากบัลา)

1. ระบคุ าถาม ปัจจยัอะไรบา้งท่ีท าให้เราท างานไม่ส าเรจ็ตามเป้าหมาย2. ขัน้แสวงหาสารสนเทศ คาดคะเนค าตอบโดยใช้หลกัการให้เหตผุลเชิงอธิบาย ครใูห้นักเรียนเรียนรู้ด้วยการเล่านิทาน เร่ือง ชาวนากบัลา

2.1 ขัน้ตัง้ค าถาม ท าไมชาวนาและลกูชายจึงแบกลาเดินมา ท าไมลาท่ีแบกมาจึงตกน ้า2.2 คาดคะเนค าตอบ

ลาด้ิน 2 คนแบกไม่ไหวชาวนาและลกูโมโห โยนลงน ้า 1. สรปุอ้างอิงลาตาย จึงโยนท้ิงน ้า 2. ให้เหตผุลเชิงอธิบาย (abductive)........

พิมพนัธ ์เดชะคปุต ์(2556)

ตวัอย่างกิจกรรมการเรียนรู้ 5 STEPs

50

การท างานให้ส าเรจ็ (ชาวนากบัลา)

ครเูล่านิทานประกอบภาพ1) ชาวนากบัลกูจงูลาเพ่ือพาไปขาย มีคนมาทกัว่า ท าไมไม่ข่ีลา2) ลกูข่ีลา และชาวนาจงูลา มีคนมาทกัว่า ท าไมชาวนาไม่ให้ลกูจงู3) ชาวนาข่ีลา และลกูจงู มีคนมาทกัว่าอากาศร้อยจะตายไป ท าไมไม่ข่ีลาล่ะ4) ชาวนากบัลกูข่ีลา มีคนมาทกัว่า ท าไมทรมานสตัว์5) ชาวนากบัลกูหามลา พอถึงสะพานข้ามลาธาร ลาตกไปในน ้า

พิมพนัธ ์เดชะคปุต ์(2556)

ตวัอย่างกิจกรรมการเรียนรู้ 5 STEPs

51

การท างานให้ส าเรจ็ (ชาวนากบัลา)

3. ขัน้สร้างองคค์วามรู้1) ค าถาม วิเคราะหเ์หตกุารณ์ในแต่ละตอน มีอะไรเกิดขึน้2) ชาวนากบัลกูเปล่ียนพฤติกรรมเพราะเหตใุด3) สรปุผลท่ีแท้จริงท่ีลาตกน ้า4) สรปุผล เร่ืองน้ี อะไรเป็นสาเหตท่ีุท าให้ชาวนาและลกูท างานไม่ส าเรจ็ (inductive)

4. ขัน้ส่ือสาร1) ส่ือสารด้วยการเขียน เสนอความรู้ท่ีได้ประกอบการเขียนภาพ และค าสอนใจ ใช้ผงั

กราฟิก (GOs)2) ส่ือสารด้วยการแสดงบทบาทสมมติุแบบย่อๆ หน้าห้องเรียน

พิมพนัธ ์เดชะคปุต ์(2556)

ตวัอย่างกิจกรรมการเรียนรู้ 5 STEPs

52

การท างานให้ส าเรจ็ (ชาวนากบัลา)

5. ขัน้ตอบแทนสงัคม1) ให้สร้างนิยายเร่ืองใหม่ท่ีเกิดขึน้ในประชาคมอาเซียนประเทศใดกไ็ด้

ตามความสนใจ ท่ีสะท้อนปัจจยัท่ีเป็นอปุสรรคการทางานให้ส าเรจ็2) จากนัน้ให้จดัท านิทานเร่ืองนัน้เป็นเล่ม และตกแต่งให้สวยงาม โดย

ค านึงถึงหลกัเศรษฐกิจพอเพียง3) งานน้ี อาจท าเด่ียว หรือกลุ่มโดยไม่เกิน 3 คน จงท างานด้วยความ

มุ่งมัน่และรบัผิดชอบ

พิมพนัธ ์เดชะคปุต ์(2556)

ตวัอย่างกิจกรรมการเรียนรู้

53

กลุ่มสาระการเรียนรู้สงัคมศึกษา ศาสนา และวฒันธรรมชัน้มธัยมศึกษาปีท่ี 2 รายวิชาประวติัศาสตร ์3เร่ืองการประเมินค่าหลกัฐานทางประวติัศาสตร์ จ านวน 4 คาบ

สาระการเรียนรู้วิธีการประเมินความน่าเช่ือถือของหลกัฐานทางประวติัศาสตรใ์นลกัษณะต่างๆ อย่างง่ายๆ การประเมินความน่าเช่ือถือของหลกัฐานทางประวติัศาสตรไ์ทยท่ีอยู่ในหลกัฐานสมยัอยธุยาการแยกแยะระหว่างข้อมลูกบัความคิดเหน็ รวมทัง้ความจริงกบัข้อเทจ็จริงจากหลกัฐานทางประวติัศาสตร์การตีความข้อมลูจากหลกัฐานท่ีแสดงเหตกุารณ์ส าคญัในสมยัอยธุยาความส าคญัของการวิเคราะหข้์อมลูและตีความทางประวติัศาสตร์สถานภาพของพระมหากษตัริยไ์ทยในสมยัอยธุยา

ชยัรตัน์ โตศิลา (2556)

ตวัอย่างกิจกรรมการเรียนรู้

54

ขัน้ท่ี 1 ขัน้อภิปรายเพ่ือก าหนดประเดน็ศึกษา (คาบท่ี 1)

1. ผูส้อนสนทนากบัผูเ้รียนในประเดน็เก่ียวกบัสถานภาพของพระมหากษตัริยไ์ทยในสมยัอยธุยา โดยผูส้อนใช้ค าถามเพ่ือน าไปสู่การอภิปรายดงัน้ี

1.1 ชมุชนไทยบริเวณลุ่มแม่น ้าเจ้าพระยาก่อนท่ีจะมีการก่อตัง้เป็นอาณาจกัรอยธุยานัน้แต่เดิมเคยตกอยู่ภายใต้อิทธิพลของชาติใดมาก่อน

1.2 หลกัฐานท่ีบง่บอกถึงการท่ีชมุชนไทยบริเวณลุ่มแม่น ้าเจ้าพระยาก่อนพทุธศตวรรษท่ี 18 เคยตกอยู่ภายใต้อิทธิพลของอาณาจกัรขอมนัน้มีอะไรบา้ง

1.3 นอกจากอาณาจกัรขอมแล้วชมุชนไทยบริเวณลุ่มแม่น ้าเจ้าพระยาก่อนพทุธศตวรรษท่ี 18 เคยตกอยู่ภายใต้อิทธิพลของอาณาจกัรอ่ืน ๆ อีกหรือไม่ ถ้ามีได้แก่อาณาจกัรใดบา้ง และมีหลกัฐานท่ีสนับสนุนถึงการตกอยู่ภายใต้อิทธิพลของอาณาจกัรต่าง ๆ อะไรบ้าง

55

ขัน้ท่ี 1 ขัน้อภิปรายเพ่ือก าหนดประเดน็ศึกษา (คาบท่ี 1)

2. จากค าถามในกิจกรรมท่ี 1 ให้นักเรียนร่วมกนัตอบค าถามและอภิปรายถึงลกัษณะการปกครองของอาณาจกัรอยธุยาท่ีอาจจะได้รบัอิทธิพลมาจากอาณาจกัรต่าง ๆ ก่อนท่ีจะมีการก่อตัง้เป็นอาณาจกัรอยธุยา

3. ให้นักเรียนร่วมกนัอภิปรายลกัษณะการปกครองในสมยัอยธุยา จากนัน้ร่วมกนัตัง้สมมติฐานเก่ียวกบัลกัษณะการปกครองในสมยัอยธุยาและสถานภาพของพระมหากษตัริย์ไทยในสมยัอยธุยา ทัง้น้ีผูส้อนจะเขียนสมมติฐานท่ีผูเ้รียนร่วมกนัตัง้บนกระดาน แล้วให้ผูเ้รียนจดสมมติฐานดงักล่าวลงในสมดุ

ตวัอย่างกิจกรรมการเรียนรู้

56

ขัน้ท่ี 2 ขัน้วิเคราะหห์ลกัฐานหลกั (คาบท่ี 1)

1. ผูส้อนให้ผูเ้รียนศึกษาหลกัฐานชัน้ต้นทางประวติัศาสตรจ์ากใบงานท่ี 1

“สมเดจพระเจ้ารามาธิบดีบรมไตรโลกนารถมหามงกฎุเทพมนุษยวิสทุธิสริุยวงษองคพทุธางกรู บรมบพิตรพระพทุธเจ้าอยู่หวัทรงทศพีธราชธรรมถวลัราชประเวนีศรีบรมกระษตัราธิราช พระบาทด ารงภมูมณทล สกลสีมาประชาราษฎร บรมนารถบรมบพิตร”

วินัย พงศศ์รีเพียร, บรรณาธิการ, กฎมณเทียรบาล ฉบบัเฉลิมพระเกียรติ, หน้า 63, 65.

ให้นักเรียนวิเคราะห์หลกัฐานตามประเดน็ ดงัน้ี1. สาระส าคญั/แนวคิดหลกัของหลกัฐาน2. วตัถปุระสงคข์องผูเ้ขียน3. อคติของผูเ้ขียน4. ประเดน็ค าถามท่ีมีต่อเน้ือหาในหลกัฐานดงักล่าว

ตวัอย่างกิจกรรมการเรียนรู้

57

ขัน้ท่ี 3 ขัน้แยกแยะหลกัฐาน (คาบท่ี 2 และ 3)

1. ผูส้อนให้ผูเ้รียนศึกษาหลกัฐานชัน้ต้นทางประวติัศาสตรจ์ านวน 3 ช้ิน

หลกัฐานท่ี 1“ราชส านักพระเจ้าแผน่ดินนัน้กว้างใหญ่ไพศาลดสูง่างามย่ิง...เวลาเสดจ็ออกขนุนาง...ขนุ

นางข้าราชการและต ารวจท่ีคมุอาวธุต่างคกุเข่าหมอบอยู่ด้วยความเคารพเบือ้งพระบาท...ชาวต่างประเทศท่ีเข้าเฝ้า จะต้องคกุเข่าประสานมือทัง้สองน้อมศรีษะ และหมอบลงด้วยอาการท่ีเคารพอย่างย่ิง เม่ือจะกราบทูลข้อความใด ๆ จะต้องกล่าวค าน าพระนาม และสรรเสริญพระบารมีเสียก่อน กระแสพระราชโองการของพระองคเ์ฉียบขาด เปรียบประดจุโองการแห่งพระผู้เป็นเจ้า ซ่ึงข้าราชบริพารจะต้องปฏิบติัและด าเนินตาม...ในขณะเสดจ็พระราชด าเนินน้ี บรรดาราษฎรท่ีเฝ้าอยู่ตามระยะทางต่างกพ็นมมือหมอบราบอยู่บนพืน้ดิน ราวกบักระท าความเคารพบชูาพระผูเ้ป็นเจ้าฉะนัน้...” โยสต์ สเคาเตน็, “จดหมายเหตขุองโยสต์ สเคาเตน็ในรชัสมยัสมเดจ็พระเจ้าทรงธรรมและสมเดจ็พระเจ้าปราสาททอง”, ใน ประชมุพงศาวดารฉบบบักาญจนาภิเษก เล่ม 1, หน้า 260-262

ตวัอย่างกิจกรรมการเรียนรู้

58

ขัน้ท่ี 3 ขัน้แยกแยะหลกัฐาน (คาบท่ี 2 และ 3)

1. ผูส้อนให้ผูเ้รียนศึกษาหลกัฐานชัน้ต้นทางประวติัศาสตรจ์ านวน 3 ช้ิน

หลกัฐานท่ี 2“ค าน าหน้าพระนามของพระเจ้าแผน่ดินฟังดโูอ่หรเูป็นอย่างย่ิง และเลยเถิดเกินมนุษย ์ ...

ถ้าผูใ้ดพดูถึงพระเจ้าแผน่ดิน แม้ผูพ้ดูจะไม่มีความส าคญัอนัใด ค าน าหน้าพระนามกจ็ะไม่น้อยไปกว่าถ้อยค าเหล่าน้ีคือ พระพทุธิเจ้าข้าขอรบัพระราชโองการใส่เกล้าใส่กระหม่อม...พระประมขุของประเทศท่ีสวยงามน้ีย่ิงใหญ่กว่าพระเจ้าเสียอีก...พระองคท์รงเป็นสมมติเทพ...พระเจ้าแผน่ดินเป็นผูมี้เกียรติและได้รบัความเคารพจากไพร่ฟ้าข้าแผน่ดินของพระองคม์ากกว่าเทพเจ้าเสียอีก...”

ฟาน ฟลีต, “พรรณนาเรื่องอาณาจกัรสยาม”, ใน รวมบนัทึกประวติัศาสตรอ์ยธุยาของฟาน ฟลีต (วนั วลิต), หน้า 22-25.

ตวัอย่างกิจกรรมการเรียนรู้

59

ขัน้ท่ี 3 ขัน้แยกแยะหลกัฐาน (คาบท่ี 2 และ 3)

1. ผูส้อนให้ผูเ้รียนศึกษาหลกัฐานชัน้ต้นทางประวติัศาสตรจ์ านวน 3 ช้ิน

ผูเ้รียนร่วมกนัวิเคราะหห์ลกัฐานทางประวติัศาสตรใ์นแต่ละหลกัฐานในประเดน็เก่ียวกบัสาระส าคญัเบือ้งของหลกัฐานทางประวติัศาสตร ์ ได้แก่ ผูเ้ขียน หวัข้อหลกั ช่วงเวลาท่ีเขียน ประเภทของหลกัฐาน สาระส าคญั/แนวคิดหลกัของหลกัฐาน วตัถปุระสงคข์องผูเ้ขียน และอคติของผูเ้ขียน

หลกัฐานท่ี 3พระมาทรงยศโยศพนั พรหมา

มาพ่างมารถเป็น ป่ินแก้วพระมาเทียบเทียมสมา ธิราช เพชรแฮมาเทียบมาทบแผว้ แผน่ไตร

ลิลิตยวนพ่าย. พระนคร: ศิลปบรรณาคาร, 2513. หน้า 4.

ตวัอย่างกิจกรรมการเรียนรู้

60

ขัน้ท่ี 3 ขัน้แยกแยะหลกัฐาน (คาบท่ี 2 และ 3)

2. ผูส้อนให้ผูเ้รียนวิเคราะหค์วามสมัพนัธร์ะหว่างข้อมลูท่ีได้จากการวิเคราะหแ์ละตีความหลกัฐานทางประวติัศาสตรท์ัง้ 3 ช้ินกบัข้อมลูท่ีได้จากการวิเคราะหแ์ละตีความหลกัฐานทางประวติัศาสตรใ์นขัน้ตอนท่ี 2 โดยมีประเดน็ท่ีน าไปสู่การอภิปรายดงัน้ี

2.1 หลกัฐานทางประวติัศาสตรใ์นขัน้ตอนท่ี 3 มีความสมัพนัธก์บัหลกัฐานทางประวติัศาสตรใ์นขัน้ตอนท่ี 2 อย่างไร

2.2 วิถีชีวิตของประชาชนท่ีพบจากหลกัฐานทางประวติัศาสตรใ์นขัน้ตอนท่ี 2 และขัน้ตอนท่ี 3 มีลกัษณะอย่างไรบา้ง

2.3 ข้อค้นพบท่ีได้จากการศึกษาหลกัฐานทางประวติัศาสตรใ์นขัน้ตอนท่ี 3 มีความเหมือนหรือแตกต่างกบัหลกัฐานทางประวติัศาสตรใ์นขัน้ตอนท่ี 2 อย่างไรบา้ง ให้ยกตวัอย่างข้อมลูท่ีน ามาใช้สนับสนุนการวิเคราะห์

ตวัอย่างกิจกรรมการเรียนรู้

61

ขัน้ท่ี 3 ขัน้แยกแยะหลกัฐาน (คาบท่ี 2 และ 3)

3. ผูส้อนอธิบายถึงแนวทางในการค้นคว้าหลกัฐานทางประวติัศาสตรจ์ากแหล่งข้อมลูต่าง ๆ ให้กบัผูเ้รียน จากนัน้แบง่กลุ่มผูเ้รียนออกเป็น 5 กลุ่มแล้วมอบหมายให้ผูเ้รียนไปสืบค้นและรวบรวมหลกัฐานทางประวติัศาสตรท่ี์มีความสมัพนัธก์บัประเดน็ท่ีก าลงัศึกษา / สมมติฐานทางประวติัศาสตรท่ี์นักเรียนได้ร่วมกนัตัง้ขึน้ในขัน้ตอนท่ี 1

ตวัอย่างกิจกรรมการเรียนรู้

62

ขัน้ท่ี 4 ขัน้ทดลองสืบค้น (คาบท่ี 4)

1. ผูเ้รียนแต่ละกลุ่มน าหลกัฐานทางประวติัศาสตรต์ามท่ีกลุ่มตนได้สืบค้นและรวบรวมมา จากนัน้ผูส้อนให้ผูเ้รียนแต่ละกลุ่มร่วมกนัวิเคราะหแ์ละตีความหลกัฐานทางประวติัศาสตรข์องกลุ่มตนพร้อมทัง้บนัทึกข้อมลูดงักล่าวลงในสมดุตามประเดน็ต่าง ๆ ดงัน้ี

1.1 สาระส าคญัเบือ้งของหลกัฐานทางประวติัศาสตร ์ ได้แก่ ผูเ้ขียน หวัข้อหลกั ช่วงเวลาท่ีเขียน ประเภทของหลกัฐาน สาระส าคญั/แนวคิดหลกัของหลกัฐาน วตัถปุระสงคข์องผูเ้ขียน และอคติของผูเ้ขียน

1.2 ความสมัพนัธร์ะหว่างข้อมลูท่ีได้จากการวิเคราะหแ์ละตีความหลกัฐานทางประวติัศาสตรใ์นขัน้ตอนน้ีกบัข้อมลูท่ีได้จากการวิเคราะหแ์ละตีความหลกัฐานทางประวติัศาสตร์ในขัน้ตอนท่ี 2 และ 3

ตวัอย่างกิจกรรมการเรียนรู้

63

ขัน้ท่ี 5 ขัน้น าเสนอข้อค้นพบ (คาบท่ี 4)

1. ผูเ้รียนแต่ละกลุ่มน าเสนอผลงานหน้าชัน้เรียน โดยนักเรียนท่ีนัง่ฟังต้องจดบนัทึกการน าเสนอพร้อมทัง้ตัง้ประเดน็ค าถามจากท่ีแต่ละกลุ่มน าเสนอ

2. ผูส้อนตัง้ค าถามเพ่ือน าไปสู่การสรปุบทเรียน ดงัน้ี2.1 การวิเคราะห ์ ตีความ และประเมินความน่าเช่ือถือหลกัฐานทางประวติัศาสตรมี์วิธีการ

อย่างไรบ้าง2.2 การวิเคราะห ์ ตีความ และประเมินความน่าเช่ือถือหลกัฐานทางประวติัศาสตรมี์

ความส าคญัต่อการศึกษาเร่ืองราวทางประวติัศาสตรแ์ละเหตกุารณ์ต่าง ๆ ท่ีเก่ียวข้องกบันักเรียน ครอบครวั ชมุชน และประเทศชาติอย่างไร

2.3 จากการศึกษาหลกัฐานทางประวติัศาสตรเ์ก่ียวกบัสถานภาพของพระมหากษตัริยไ์ทยในสมยัอยธุยาท าให้นักเรียนทราบเก่ียวกบัลกัษณะสถานภาพของพระมหากษตัริยไ์ทยในสมยัอยธุยาอย่างไรบ้าง

2.4 สถานภาพของพระมหากษตัริยไ์ทยในสมยัอยธุยามีความส าคญัต่อการปกครองบ้านเมืองอย่างไรและส่งผลมาสู่การปกครองประเทศไทยในปัจจบุนัอย่างไร

ตวัอย่างกิจกรรมการเรียนรู้

เปรียบเทียบวิธีการทางประวติัศาสตร ์กบั 5 STEPs

64

ขัน้ท่ี 1 ขัน้อภิปรายเพ่ือก าหนดประเดน็ศึกษา

ขัน้ท่ี 2 ขัน้วิเคราะหห์ลกัฐานหลกั

ขัน้ท่ี 3 ขัน้แยกแยะหลกัฐาน

ขัน้ท่ี 4 ขัน้ทดลองสืบค้น

ขัน้ท่ี 5 ขัน้น าเสนอข้อค้นพบ

ตัง้ค าถาม

แสวงหาสารสนเทศ

สร้างองคค์วามรู้

ส่ือสาร

ตอบแทนสงัคม

บนัทึกหลงัการจดัการเรียนรู้

65ชยัรตัน์ โตศิลา (2556)

1. การเรียนการสอน1.1 การบรรลจุดุประสงค์1.2 การเรียนรูข้องผูเ้รียน1.3 ผลงานของนักเรียน1.4 การมีส่วนรว่มในกิจกรรมการเรียนการสอน1.5 ตวัผูส้อน

2. ปัญหา/ส่ิงท่ีต้องการพฒันา3. แนวทางในการแก้ไขปัญหา 4. ข้อเสนอแนะเพ่ิมเติม

ทกัษะท่ีจ าเป็น

66

1. การท างานกลุ่มอย่างต่อเน่ือง2. การประยกุตค์วามรูแ้ละการเรียนรู้3. การแก้ปัญหาอย่างสรา้งสรรค ์(creative problem solving)4. ทกัษะความรบัผิดชอบ5. ทกัษะการแสดงความเกือ้กลู และการแบง่ปัน