แผนการสอนที่1 วิชา ว40145 ชีิทยา...

53
แผนการสอน ภาคเรียนทีแผนการสอน ภาคเรียนที1 ปการศึกษา ปการศึกษา 2549 1 วิชา วิชา 40145 40145 ชีววิทยา ชีววิทยา 5 แผนการสอนทีแผนการสอนที1 วิชา วิชา 40145 40145 ชีววิทยา ชีววิทยา 5 เรื่อง บทนําและการสืบพันธุของสิ่งมีชีวิตเซลลเดียวและสัตวบางชนิด เรื่อง บทนําและการสืบพันธุของสิ่งมีชีวิตเซลลเดียวและสัตวบางชนิด ชั้น ชั้น .6 สัปดาหทีสัปดาหที1 คาบทีคาบที1 - 2 วันทีวันที……………………………… สาระการเรียนรู การสืบพันธุ (Reproduction) ของสิ่งมีชีวิต แบงเปนแบบอาศัยเพศ (Sexual reproduction) และไมอาศัยเพศ (Asexual reproduction) การสืบพันธุแบบอาศัยเพศเกิดโดยเซลลสืบพันธุเพศผูและ เพศเมียที่ไดจากการแบงเซลลแบบไมโอซิสรวมกัน เกิดเปนไซโกตและพัฒนาเปนเอ็มบริโอและตัวเต็ม วัย ตามลําดับสวนการสืบพันธุแบบไมอาศัยเพศเซลลใหมหรือตัวใหมที่ไดไมผานการปฏิสนธิ เชนการแตก หนอ (Budding) การแบงตัวออกเปนสอง (Binary fission) การงอกใหม (Regeneration) การแตกหัก (Fragmentation) และการโคลนนิ่ง (Cloning) ผลการเรียนรูที่คาดหวัง อธิบายกระบวนการการสืบพันธุแบบอาศัยเพศและไมอาศัยเพศ ทําปฏิบัติการศึกษาการสืบพันธุ ของสิ่งมีชีวิตเซลลเดียวและสัตวบางชนิด รวมทั้งเปรียบเทียบสิ่งมีชีวิตที่เกิดจากการสืบพันธุทั้งสอง แบบ เนื้อหาสาระ สิ่งมีชีวิตทุกชนิดมีการสืบพันธุเพื่อดํารงเผาพันธุ สิ่งมีชีวิตบางชนิดมีการสืบพันธุแบบไมอาศัย เพศโดยการแบงตัวออกเปนสองสวน (binary fission) การแตกหนอ (budding) การงอกใหม (regeneration) การสืบพันธุแบบอาศัยเพศของสัตวแตละชนิดแตกตางกัน สัตวบางชนิด มี 2 เพศในตัวเดียวกัน (hermaphrodite) อาจมีการผสมพันธุในตัวเอง แตการผสมสวนใหญจะเปนการผสมขามตัว เนื่องจาก เซลลสืบพันธุเจริญไมพรอมกัน สัตวบางชนิดเพศแยกอยูคนละตัวกัน บางชนิดมีการปฏิสนธิภายนอก บางชนิดมีการปฏิสนธิภายในรางกาย กิจกรรมการเรียนการสอน ขั้นนํา ครูกลาวทักทายแนะนําตัวและทําความรูจักกับนักเรียนในชั้นเรียน จากนั้นอธิบายผลการเรียนรู ที่คาดหวัง เนื้อหารายวิชา 40145 40145 ชีววิทยา ชีววิทยา 5 การเก็บคะแนนโดยมีเก็บคะแนนระหวางภาค 60 %และ ปลายภาค 40 % และมอบหมายงานใหนักเรียนโดยใหนักเรียนสัมมนาทางชีววิทยาในหัวขอทีเกี่ยวของกับเนื้อหาที่สอนในภาคเรียนนี1 หัวขอ โดยทํางานเปนกลุกลุมหนึ่งตองมีสมาชิกไมเกิน 3 คน ซึ่งเปนการประเมินระหวางภาคเรียน ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายเพื่อทบทวนเรื่องลักษณะหรือ สมบัติพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต การแบงเซลลและการเปลี่ยนแปลงโครงสรางและหนาที่ของเซลล ที่ทําใหเกิด เนื้อเยื่อและอวัยวะตาง ของสิ่งมีชีวิต รวมทั้งระบบตาง เชน ระบบยอยอาหาร การหายใจระดับ

Upload: truonghanh

Post on 03-Aug-2018

221 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: แผนการสอนที่1 วิชา ว40145 ชีิทยา ...panom/Bio40145/lesson plan BIO40145...แผนการสอน ภาคเร ยนท 1 ป

แผนการสอน ภาคเรียนที่ แผนการสอน ภาคเรียนที่ 11 ปการศึกษา ปการศึกษา 22554499 1 วิชา วิชา วว40145 40145 ชีววิทยาชีววิทยา 55

แผนการสอนที่ แผนการสอนที่ 11 วชิา วชิา วว40145 40145 ชีววทิยา ชีววทิยา 55

เร่ือง บทนําและการสืบพันธุของส่ิงมีชีวิตเซลลเดียวและสัตวบางชนิดเร่ือง บทนําและการสืบพันธุของส่ิงมีชีวิตเซลลเดียวและสัตวบางชนิด

ชั้น ชั้น มม..66 สัปดาหที่ สัปดาหที่ 11 คาบที่ คาบที่ 11 -- 22 วันที่วันที่………………………………………………………………

สาระการเรียนรู การสืบพันธุ (Reproduction) ของสิ่งมีชีวิต แบงเปนแบบอาศัยเพศ (Sexual reproduction)

และไมอาศัยเพศ (Asexual reproduction) การสืบพันธุแบบอาศัยเพศเกิดโดยเซลลสืบพันธุเพศผูและเพศเมียที่ไดจากการแบงเซลลแบบไมโอซิสรวมกัน เกิดเปนไซโกตและพัฒนาเปนเอ็มบริโอและตัวเต็มวัย ตามลําดับสวนการสืบพันธุแบบไมอาศัยเพศเซลลใหมหรือตัวใหมที่ไดไมผานการปฏิสนธิ เชนการแตกหนอ (Budding) การแบงตัวออกเปนสอง (Binary fission) การงอกใหม (Regeneration) การแตกหัก(Fragmentation) และการโคลนนิ่ง (Cloning)

ผลการเรียนรูที่คาดหวงั อธิบายกระบวนการการสืบพันธุแบบอาศยัเพศและไมอาศัยเพศ ทําปฏิบัติการศึกษาการสืบพันธุ

ของสิ่งมีชีวติเซลลเดียวและสัตวบางชนิด รวมทั้งเปรียบเทียบสิ่งมีชวีิตที่เกิดจากการสืบพันธุทัง้สองแบบ เน้ือหาสาระ สิ่งมีชีวิตทุกชนิดมีการสืบพันธุเพ่ือดํารงเผาพันธุ สิ่งมีชีวิตบางชนิดมีการสืบพันธุแบบไมอาศัยเพศโดยการแบงตัวออกเปนสองสวน (binary fission) การแตกหนอ (budding) การงอกใหม (regeneration) การสืบพันธุแบบอาศัยเพศของสัตวแตละชนิดแตกตางกัน สัตวบางชนิด มี 2 เพศในตัวเดียวกัน(hermaphrodite) อาจมีการผสมพันธุในตัวเอง แตการผสมสวนใหญจะเปนการผสมขามตัว เน่ืองจากเซลลสืบพันธุเจริญไมพรอมกัน สัตวบางชนิดเพศแยกอยูคนละตัวกัน บางชนิดมีการปฏิสนธิภายนอก บางชนิดมีการปฏิสนธิภายในรางกาย กิจกรรมการเรียนการสอน ข้ันนํา ครูกลาวทักทายแนะนําตัวและทําความรูจักกับนักเรียนในชั้นเรียน จากนั้นอธิบายผลการเรียนรูที่คาดหวัง เน้ือหารายวิชา วว40145 40145 ชีววิทยา ชีววิทยา 55 การเก็บคะแนนโดยมีเก็บคะแนนระหวางภาค 60 %และปลายภาค 40 % และมอบหมายงานใหนักเรียนโดยใหนักเรียนสัมมนาทางชีววิทยาในหัวขอที่เกี่ยวของกับเน้ือหาที่สอนในภาคเรียนนี้ 1 หัวขอ โดยทํางานเปนกลุม กลุมหน่ึงตองมีสมาชิกไมเกิน 3 คน ซึ่งเปนการประเมินระหวางภาคเรียน ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายเพื่อทบทวนเรื่องลักษณะหรือสมบัติพ้ืนฐานของสิ่งมีชีวิต การแบงเซลลและการเปลี่ยนแปลงโครงสรางและหนาที่ของเซลล ที่ทําใหเกดิเน้ือเยื่อและอวัยวะตาง ๆ ของสิ่งมีชีวิต รวมทั้งระบบตาง ๆ เชน ระบบยอยอาหาร การหายใจระดับ

Page 2: แผนการสอนที่1 วิชา ว40145 ชีิทยา ...panom/Bio40145/lesson plan BIO40145...แผนการสอน ภาคเร ยนท 1 ป

แผนการสอน ภาคเรียนที่ แผนการสอน ภาคเรียนที่ 11 ปการศึกษา ปการศึกษา 22554499 2 วิชา วิชา วว40145 40145 ชีววิทยาชีววิทยา 55

เซลล ระบบขับถาย การสังเคราะหดวยแสง ระบบธํารงดุล การหมุนเวียนของโลหิต เพ่ือใหนักเรียนมองเห็นความสัมพันธของระบบตาง ๆ ที่นักเรียนไดเรียนผานมาแลววามีความสัมพันธตอการดํารงชีวิตอยางไรบาง และชี้ใหเห็นวาเพราะเหตุใดสิ่งมีชีวิตทุกชนิดตองมีการสืบพันธุ ข้ันสอน ครูใหนักเรียนไดศึกษาวิธีการสืบพันธุของสิ่งมีชีวิตชนิดตาง ๆจากวิดีทัศนประมาณ 40 นาที หลังจากนั้นครูและนักเรียนรวมกันกันอภิปรายซักถามถึงสาเหตุการเพิ่มจํานวนของสิ่งมีชีวิตเพื่อนําไปสูเรื่องการสืบพันธุ ครูอธิบายเกี่ยวกับการสืบพันธุของสิ่งมีชีวิตเซลลเดียวและของสัตวบางชนิดโดยที่ครูคอยตั้งประเด็นเพ่ือใหนักเรียนเกิดความสนใจและซักถามตลอดเวลา ครูอธิบายเรื่องการสืบพันธุแบบอาศัยเพศ และไมอาศัยเพศใหนักเรียนฟงพรอมยกตัวอยางการสืบพันธุสิ่งมีชีวิตชนิดตาง ๆ ประกอบ เชน การสืบพันธของแบคทีเรีย พารามีเซียม ไฮดรา พานาเลีย พยาธิตัวตืด ไสเดือนดิน กบ ไก นอกจากนั้นครูแนะนํา web site ไดแก http://www.mwit.ac.th/~bio/web_link_system.html ที่ทางสาขาวิชาสรางขึ้นเพ่ือรวบรวม web likeที่นาสนใจเกี่ยวกับการศึกษาระบบตาง ๆ ใหนักเรียนเขาไปศึกษา ข้ันสรุป นักเรียนชวยกันสรุปความสําคัญของการสืบพันธุที่มีผลตอการดํารงเผาพันธุของสิ่งมีชีวิต พรอมบอกไดวาสิ่งมีชีวิตใดมีการสืบพันธุแบบไมอาศัยเพศ และอาศัย สื่อและอุปกรณการเรียนการสอน

1. สื่อมัลติมีเดีย 2. วิดีทัศนเกี่ยวกับการสืบพันธุของสิ่งมีชีวิต 3. เอกสารประกอบการสอน

การวัดผลประเมินผล 1. สังเกตจากการตั้งและตอบคําถามของนักเรียน 2. สังเกตจากการสรุปในทายคาบเรียน

บันทึกหลังการสอน ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

Page 3: แผนการสอนที่1 วิชา ว40145 ชีิทยา ...panom/Bio40145/lesson plan BIO40145...แผนการสอน ภาคเร ยนท 1 ป

แผนการสอน ภาคเรียนที่ แผนการสอน ภาคเรียนที่ 11 ปการศึกษา ปการศึกษา 22554499 3 วิชา วิชา วว40145 40145 ชีววิทยาชีววิทยา 55

แผนกแผนการสอนที่ ารสอนที่ 22 วิชา วิชา วว40145 40145 ชวีวทิยา ชวีวทิยา 55

เร่ือง การสืบพันธุของมนุษย เร่ือง การสืบพันธุของมนุษย

ชั้น ชั้น มม..66 สัปดาหที่ สัปดาหที่ 22 คาบที่ คาบที่ 33 -- 44 วันที่วันที่………………………………………………………………

สาระการเรียนรู การสืบพันธุของคนมีกระบวนการสรางอสุจิ (Spermatogenesis) จากอัณฑะและกระบวนการ

สรางไข (Oogenesis) จากรังไขโดยมีฮอรโมนในระบบสืบพันธุควบคุม อวัยวะสืบพันธุเพศชายมีสวนประกอบสําคัญคือ องคชาติ (Penis)ถุงอัณฑะ(Scrotum) อัณฑะ(Testis) ทอและตอมตางๆ อวัยวะสืบพันธุเพศหญิงมีสวนประกอบสําคัญคือ คลิทอริส(Clitoris) แคมใหญ (Labia majora ) แคมเล็ก(Labia minora) รังไข (Ovary) มดลูก(Uterus) ชองคลอด(Vagina) และทอนําไขหรือปกมดลูก(Oviduct) ผูหญิงชวงอายุ 12-45 ป จะมีรอบประจําเดือนซ่ึงกินเวลาประมาณ 28-30 วัน ตอ 1รอบ ซึ่งเกิดจากการเปลี่ยนแปลงของ ฮอรโมนในระบบสืบพันธุ การคุมกําเนิดเปนการปองกันการเพิ่มจํานวนของสิ่งมีชีวิต

ผลการเรียนรูที่คาดหวัง

อธิบายกระบวนการสรางเซลลสืบพันธุของคน ระบุหนาที่ของอวัยวะตาง ๆ ของระบบสืบพันธุ บอกหลักการและความจําเปนของการคุมกําเนิด เน้ือหาสาระ อวัยวะสืบพันธุเพศชาย

อัณฑะ(testes) ประกอบดวยหลอดสรางอสุจิ (seminiferous tubules) ขดไปมาอยูภายใน แลวเปดเขาหลอดเก็บอสุจิ(epididymis) สวนของทอกอนเปดเขาสูหลอดเก็บอสุจินั้นเปนทอตรงเรียกวา rete testis การสรางอสุจิเร่ิมตั้งแตวัยหนุมจนกระทั่งสิ้นชีวิต เม่ืออสุจิถูกสรางแลวจะถูกสงไปเก็บไวในหลอดเก็บอสุจิ หลอดนี้ขดอยูทางดานบนของอัณฑะ ถาดึงหลอดใหตรงเพื่อวัดความยาว จะยาวถึง 24.8 เมตร หลอดนี้เชื่อมตอทอนําอสุจิ (vas deferens) แลวเขาไปเหนือกระดูกเชิงกราน และผานตอมสรางน้ําเลี้ยงอสุจิ(seminal vesicle) ที่สรางอาหารใหกับอสุจิที่ผานไป สวนตอมลูกหมาก (prostate gland) ทําหนาที่สรางสารที่เปนเบสอยางออน เพ่ือจะไดเปนกลางเมื่อพบกับนํ้าปสสาวะ เพ่ืออสุจิจะไดอยูรอด ตอมลูกหมากโตขึ้นเม่ืออายุมากขึ้น บางคนตอมน้ีจะโตมากจนกดทอปสสาวะจนเปนเหตุใหปสสาวะไดไมสะดวก บางครั้งตองถึงกับตัดตอมน้ีทิ้ง ถัดจากตอมลูกหมากลงไปคือตอมคาวเปอร(Cowper’s gland) 2 ตอม หลั่งสารหลอลื่นออกมาในขณะมีความรูสึกทางเพศ โดยปลอยออกมาทางทอปสสาวะเชนเดียวกับอสุจิ การหลั่งตัวอสุจิจะถูกปลอยออกมาพรอมกับนํ้าเลี้ยงอสุจิ(seminal fluid) รวมเรียกวา น้ําอสุจิ (semen) หลั่งออกมาครั้งละประมาณ 2-7 cm3 มีอสุจิ 180-250 ลานตัว อวัยวะสืบพันธุเพศหญิง ระบบสืบพันธุเพศหญิงประกอบดวยรังไข(ovary) ทําหนาที่สรางไข (ovum) และฮอรโมนเพศ รังไขมีอยู 2 ขางของมดลูก ในบริเวณอุงเชิงกราน, ทอนําไขหรือปกมดลูก (follopain tube หรือ uterine tube หรือ oviduct) เปนทอรับโอโอไซดระยะที่สองจากรังไข เพ่ือนําไปยังมดลูก, มดลูก (uterus) เปนสวนทอนําไข

Page 4: แผนการสอนที่1 วิชา ว40145 ชีิทยา ...panom/Bio40145/lesson plan BIO40145...แผนการสอน ภาคเร ยนท 1 ป

แผนการสอน ภาคเรียนที่ แผนการสอน ภาคเรียนที่ 11 ปการศึกษา ปการศึกษา 22554499 4 วิชา วิชา วว40145 40145 ชีววิทยาชีววิทยา 55

ที่ขยายตัว เพ่ือเปนที่ใหทารกเจริญเติบโตอยูภายใน มดลูกมีทางติดตอกับทอนําไขและชองคลอด, ชองคลอด(vagina) เปนสวนปลายของนําไขที่เปลี่ยนแปลงใหเหมาะสมกับการสืบพันธุ ภายในชองคลอดมีเยื่อเมือกและมีกลามเน้ือเรียบซึ่งสามารถขยายตัวไดมากโดยเฉพาะอยางยิ่งเวลาคลอด เยื่อเมือกชวยขับสารออกมาหลอลื่นชองคลอด กระบวนการสรางเซลลสืบพันธุ กระบวนการสรางตัวอสุ จิ(spermatogenesis)เกิดขึ้นในอัณฑะซึ่งมีหลอดสรางตัวอสุ จิ (seminiferous tubules) ภายในมีเซลลที่ยังไมเปลี่ยนแปลง แตละเซลลเรียกวา สเปอรมาโทโกเนียม(spermatogonium) เซลลเหลานี้เปน diploid (2n) มีการแบงเซลลแบบ mitosis เพ่ือเพ่ิม spermatogonium ตลอดเวลา ในระยะที่เปนembryo และวัยเด็ก เม่ือถึงวัยเจริญพันธุ spermatogonium จะมีขนาดใหญขึ้นและเปลี่ยนมาเปน primary spermatogonium(2n) มีการแบงเซลลแบบ meiosis ได secondary spermatogonium ที่มีโครโมโซมเปน haploid เกิดขึ้น 2 เซลล แบงตัวอีกครั้งได 4 เซลลเรียก spermatid มีโครโมโซมเปน haploid จากนั้นเปลี่ยนแปลงรูปรางเปน spermatozoa หรืออสุจิ โครงสรางของอสุจิประกอบดวย สวนหัว สวนคอ และสวนหาง นิวเคลียสอยูที่สวนหัว ไซโทพลาซึมอยูที่สวนคอและสวนหาง บริเวณคอยังมีไมโทครอนเดรียอยูเปนจํานวนมาก กระบวนการสรางเซลลสืบพันธุเพศเมีย เกิดขึ้นภายในรังไข(ovary)โดยมีบางเซลลในรังไขใหกําเนิดไข เรียกเซลลเหลานี้วา primary oocyte มีโครโมโซมเปนdiploid แบงเซลลแบบ meiosisครั้งที่ 1 ไดเซลลที่มีโครโมโซมเปน haploid 2 เซลล เซลลหน่ึงมีขนาดใหญ เรียก secondary oocyte อีกเซลลหน่ึงมีขนาดเล็ก เรียก first polar body เขาสูระยะ meiosis 2 โดย secondary oocyte แบงได 2 เซลล เซลลทีมีขนาดใหญเรียก ootid เซลลที่มีขนาดเล็กเรียก secondary polar body สวน first polar body อาจจะไมแบงหรือแบงเซลลได secondary polar body ซึ่ง polar body ไมมีหนาที่ใดๆ สุดทายจะสลายตัวไป ootid เจริญเปน ovum หรือไข มีขนาดใหญสะสมอาหารไวในเซลลเพ่ือใชในการเจริญเติบโตของเอ็มบริโอ การปฏิสนธิสวนใหญเกิดขึ้นที่สวนตนของทอนําไขจากนั้นไซโกตจะพัฒนาเปนเอ็มบริโอแลวฝงตัวที่ผนังมดลูก ไขที่ไมไดรับการปฏิสนธิจะสลายไป เน้ือเยื่อผนังมดลูกมีเสนเลือดฝอยจํานวนมากจะถูกขับออกมาเปนประจําเดือน สามีภรรยาบางคูมีความบกพรองของระบบสืบพันธุทําใหมีบุตรยาก อาจแกไขโดยใชเทคโนโลยีเพ่ือใหอสุจิและไขมีโอกาสเกิดการปฏิสนธิ และเจริญเติบโตในมดลูกได การที่สิ่งมีชีวิตรุนใหมมากขึ้นกอใหเกิดปญหาประชากรจึงตองมีการคุมกําเนิดและการวางแผนครอบครัวเพ่ือควบคุมจํานวนประชากร

กิจกรรมการเรียนการสอน ข้ันนํา ครูใหนักเรียนชมภาพการเคลื่อนไหวของอสุจิมนุษย จากนั้นรวมกันอภิปรายซักถามนักเรียนเกี่ยวกับการเคลื่อนไหวของอสุจิ รูปราง ตลอดจนเกี่ยวกับการสืบพันธุของสิ่งมีชีวิตชนิดตางๆ เพ่ือนําไปสูเรื่องการสืบพันธุของคน

Page 5: แผนการสอนที่1 วิชา ว40145 ชีิทยา ...panom/Bio40145/lesson plan BIO40145...แผนการสอน ภาคเร ยนท 1 ป

แผนการสอน ภาคเรียนที่ แผนการสอน ภาคเรียนที่ 11 ปการศึกษา ปการศึกษา 22554499 5 วิชา วิชา วว40145 40145 ชีววิทยาชีววิทยา 55

ข้ันสอน ครูอธิบายโครงสรางตางๆ ที่เกี่ยวของกับการสืบพันธุของคนทั้งเพศหญิงและเพศชายประกอบสื่อมัลติมีเดีย พรอมทั้งบอกหนาที่ของโครงสรางนั้น ๆ ดวย ในขณะที่บรรยายก็เปดโอกาสใหนักเรียนซักถามในหัวขอตาง ๆ ที่นักเรียนสงสัย สุมถามนักเรียนเกี่ยวกับโครงสรางและหนาที่ของอวัยวะสืบพันธุของคนที่ไดศึกษามาแลว ถาตอบไมไดใหสุมถามตอไปเรื่อย ๆ หรือใหนักเรียนที่ตอบไดชวยตอบ เพ่ือทบทวนและเชื่อมโยงเขาหาเรื่องกระบวนการสรางเซลลสืบพันธุ ครูสรุปความคิดจากนักเรียนในเรื่องอวัยวะสืบพันธุทั้งเพศหญิงและเพศชาย ครูอธิบายกระบวนการสรางเซลลสืบพันธุทั้งเพศหญิงและเพศชาย และอธิบายขั้นตอนการปฏิสนธิ และการเปลี่ยนแปลงตางๆ ที่เกิดขึ้นบริเวณผนงัมดลกูหลังจากการปฏิสนธิ พรอมทั้งเปดโอกาสใหนักเรียนซักถามในหัวขอที่นักเรียนสงสัย ข้ันสรุป นักเรียนและครูรวมกันสรุปโครงสรางและหนาที่ตางๆ ที่เกี่ยวของกบัการสืบพันธุของคนทั้งเพศหญิงและเพศชาย ตลอดจนกระบวนการสรางเซลลสบืพนัธุและการปฏิสนธ ิ สื่อและอุปกรณการเรียนการสอน

1. สื่อมัลติมีเดีย 2. เอกสารประกอบการสอน

การวัดผลประเมินผล 1. สังเกตจากการตั้งและตอบคําถามของนักเรียน 2. สังเกตจากการสรุปในทายคาบเรียน

บันทึกหลังการสอน ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

Page 6: แผนการสอนที่1 วิชา ว40145 ชีิทยา ...panom/Bio40145/lesson plan BIO40145...แผนการสอน ภาคเร ยนท 1 ป

แผนการสอน ภาคเรียนที่ แผนการสอน ภาคเรียนที่ 11 ปการศึกษา ปการศึกษา 22554499 6 วิชา วิชา วว40145 40145 ชีววิทยาชีววิทยา 55

แผนการสอนที่ แผนการสอนที่ 33 วิชา วิชา วว40145 40145 ชวีวทิยา ชวีวทิยา 55

เร่ืองเร่ือง การเจริญเติบโตของสิ่งมีชวีิตเซลลเดียวและสตัวบางชนิดการเจริญเติบโตของสิ่งมีชวีิตเซลลเดียวและสตัวบางชนิด

ชั้นชั้น มม..66 สัปดาหที่สัปดาหที่ 33 -- 44 คาบที่คาบที่ 55 -- 77 วันที่วันที่………………………………………………………………

สาระการเรียนรู กระบวนการเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิต (Growth and development) คือกระบวนการที่เซลล

หรือรางกายของสิ่งมีชีวิตเปลี่ยนแปลงไปโดยมีการเพิ่มจํานวนเซลล หรือเพ่ิมขนาดของเซลล หรือการเปลี่ยนแปลงรูปรางของเซลลเพ่ือทําหนาที่เฉพาะอยางซึ่งทําใหเกิดอวัยวะและพัฒนารูปรางของสิ่งมีชีวิตนั้น รูปแบบการเจริญเติบโตข้ึนกับชนิดของสิ่งมีชีวิตและลักษณะของไข การวัดการเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิตมีหลายวิธีแตละวิธีมีความเหมาะสมกับชนิดของสิ่งมีชีวิต

ผลการเรียนรูที่คาดหวัง

อธิบายกระบวนการเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิตเซลลเดียวและสตัวบางชนิดในระยะเอ็มบริโอและหลังระยะเอ็มบริโอ ทําปฏิบตัิการและระบุเกณฑที่เหมาะสมในการวัดการเจริญเตบิโตของสิ่งมีชีวติ เน้ือหาสาระ รางกายของสิ่งมีชีวิตมีการเพิ่มจํานวนหรือขยายขนาดเซลล เรียกวา การเติบโต (growth) นอกจากนั้นยังมีการเปลี่ยนแปลงรูปรางของเซลล เพ่ือทําหนาที่เฉพาะอยาง (differentiation) ทําใหมีการพัฒนารูปรางของสิ่งมีชีวิตเรียกวา การเจริญเติบโต (development) ในการศึกษาการเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิตจะมีการวัดการเจริญเติบโตซึ่งมีหลายวิธี แตละวิธีเหมาะสมกับสิ่งมีชีวิตแตละประเภท เชนการหาปริมาตร ความสูงนํ้าหนักที่เพ่ิมจากการเติบโต การเพิ่มจํานวนเซลล การวัดหาน้ําหนักแหง การวัดหาเสนรอบวงของลําตน วัดกิ่งกานที่เพ่ิมจํานวนมากขึ้น แตไมใชใชวิธีใดวิธีหนึ่งตองใชหลายวิธี

การเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิตจะเริ่มดวยการแบงเซลลของไซโกตและเอ็มบริโอ เอ็มบริโอในระยะแรกคือ ไซโกตและเอ็มบริโอสิ้นสุดลงเมื่อเกิดอวัยวะตางๆครบสัตวแตละชนิดมีระยะของการเปนเอ็มบริโอแตกตางกันเชนเอ็มบริโอของไกมีอวัยวะตางๆ ครบประมาณ 4 วัน กบประมาณ 2 วัน และคนประมาณ 8-10 สัปดาห อวัยวะที่เกิดขึ้นยังไมสามารถทํางานได ตองเติบโตเปลี่ยนแปลงตอไปจนกวาจะคลอดหรือฟกออกจากไข การเติบโตของเอ็มบริโอแบงเปน 4 ระยะ 1. คลีเวจ (clevage) คือการแบงตัวของไซโกต เร่ิมจากไซโกตแบงเซลลแบบ mitosis ทําใหเซลลเพ่ิมขึ้นเปนทวีคูณ การแบงเซลลมีแบบแผนตาง ๆ กันออกไปขึ้นอยูกับปริมาณ และการกระจายตวัของไขแดงภายในเซลลเซลลไข

2. บลาสทูเลชั่น (blastulation) เซลลจํานวนมากมีการเรียงตัวกันเพ่ือเตรียมที่จะเจริญตอไป เอ็มบริโอของสัตวที่ไขแดงเปนแบบ isolecithal กลุมเซลลเรียกวา บลาสโทเมียร(blastomere) มาเรียงตัวกันเปนชั้นเดียวดานนอกทําใหเกิดชองวางตรงกลางที่เรียกวา บลาสโทซิล(blastocoel) กลุมเซลล blastomere ลอมรอบชองวาง blastocoel เรียก blastoderm เอ็มบริโอระยะนี้เรียกวา blastula

Page 7: แผนการสอนที่1 วิชา ว40145 ชีิทยา ...panom/Bio40145/lesson plan BIO40145...แผนการสอน ภาคเร ยนท 1 ป

แผนการสอน ภาคเรียนที่ แผนการสอน ภาคเรียนที่ 11 ปการศึกษา ปการศึกษา 22554499 7 วิชา วิชา วว40145 40145 ชีววิทยาชีววิทยา 55

3. แกสทรูเลชั่น (gastrulation) ในระยะนี้เปนกระบวนการเกิดเนื้อเยื่อชั้นตางของเอ็มบริโอ เพ่ือจัดกลุมใหเกิดอวัยวะตางๆของรางกายและใหอยูในตําแหนงที่สมควร blastoderm ถูกจัดระเบียบใหมโดยการเคลื่อนที่ของเซลลแบบตาง ๆ ทําใหเน้ือเยื่อของเอ็มบริโอเปน 3 ชั้น คือเน้ือชั้นนอก (ectoderm) เน้ือชั้นกลาง (mesoderm) และเนื้อชั้นใน (endoderm) 4. การเกิดรูปรางของเอ็มบริโอ เม่ือกระบวนการแกสทรูเลชั่นสิ้นสุดลงเอ็มบริโอก็เขาสูขั้นเตรียมพรอมที่จะเติบโตอยางอิสระ เนื้อเยื่อตางๆ เรียงตัวตามตําแหนงที่ปรากฏในตัวเต็มวัย เซลลจับกลุมเปนเนื้อเยื่อและอวัยวะตางๆ เรียกวา morphogenesis การเจริญเปนอวัยวะตางๆ มีดังนี้ ectoderm เจริญเปน ระบบประสาท ตอมใตผิวหนัง อวัยวะปกคลุมรางกาย เชน ขน ผม เลนสลูกตา mesoderm เจริญเปน ระบบกลามเน้ือ ระบบสืบพันธุ ระบบเลือด และน้ําเหลือง ระบบขับถาย ฟน กระดูก endoderm เจริญเปน ระบบยอยอาหาร ระบบหายใจ กระเพาะปสสาวะ

กิจกรรมการเรียนการสอน ข้ันนํา ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายซักถามเกี่ยวกับเรื่องการเพิ่มจํานวน, การเพิ่มขนาด และการเปลี่ยนแปลงรูปรางของสิ่งมีชีวิตชนิดตางๆ ที่นักเรียนรูจัก โดยที่ครูอาจจะเปนผูยกตัวอยางสิ่งมีชีวิต หรือไดจากการตอบของนักเรียน ข้ันสอน ครูสรุปคําตอบตางๆ จากนักเรียน เพ่ือนํามาอธิบายเรื่องการเจริญเติบโต ครูซักถามนักเรียนตอวาถานักเรียนตองการศึกษาการเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิตนักเรียนจะมีวิธีการศึกษาอยางไรบาง จากคําตอบแตละคําตอบครูและนักเรียนชวยกันสรุปวาวิธีใดเหมาะสําหรับการศึกษาสิ่งมีชีวิตชนิดใด หลังจากนั้นครูนํากราฟแสดงการเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิตบางชนิดใหนักเรียนศึกษาและชวยกันแปลความหมายจากกราฟ ครูอธิบายเรื่องการวัดการเจริญเติบโต ครูและนักเรียนอภิปรายซักถามกันในหัวขอการเปลี่ยนแปลงจากไซโกตไปเปนเอ็มบริโอ โดยศึกษาจากสื่อมัลติมีเดียซึ่งแสดงการเปลี่ยนแปลงไซโกตไปเปนเอ็มบริโอของกบ และการเจริญเติบโตของเอ็มบริโอเปนลูกออด ซึ่งนักเรียนสามารถสรุปไดวา ในการเปลี่ยนแปลงจากไซโกตมาเปนเอ็มบริโอนั้น จะเริ่มจากการเพิ่มจํานวนเซลลเพ่ือทําหนาที่เฉพาะอยาง และการเกิดรูปรางของเอ็มบริโอ ครูยกตัวอยาง และแสดงตัวอยางจริงของสิ่งมีชีวิตบางชนิดที่ในขั้นตอนการเจริญเติบโตมีการเปลี่ยนแปลงรูปราง จากนั้นใหนักเรียนยกตัวอยางสิ่งมีชีวิตที่มีการเจริญเติบโตแบบที่มีการเปลี่ยนแปลงรูปรางบางและใหนักเรียนในหองชวยกันตอบวามีการเปลี่ยนแปลงรูปรางอยางไร สรุปความคิดตางๆ จากนักเรียนเพื่อนํามาอธิบายเรื่องการเจริญเติบโตแบบมีเมทามอรโฟซิสและแบบไมมีเมทามอรโฟซิส

Page 8: แผนการสอนที่1 วิชา ว40145 ชีิทยา ...panom/Bio40145/lesson plan BIO40145...แผนการสอน ภาคเร ยนท 1 ป

แผนการสอน ภาคเรียนที่ แผนการสอน ภาคเรียนที่ 11 ปการศึกษา ปการศึกษา 22554499 8 วิชา วิชา วว40145 40145 ชีววิทยาชีววิทยา 55

ข้ันสรุป นักเรียนรวมกนัสรุปเกี่ยวกบัการเจริญเตบิโต และการวัดการเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิต การเจริญเตบิโตในระยะเอ็มบริโอและระยะหลังเอ็มบริโอของสัตว สื่อและอุปกรณการเรียนการสอน

1. สื่อมัลติมีเดีย 2. เอกสารประกอบการสอน

การวัดผลประเมินผล 1. สังเกตจากการตั้งและตอบคําถามของนักเรียน 2. สังเกตจากการสรุปในทายคาบเรียน

บันทึกหลังการสอน ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

Page 9: แผนการสอนที่1 วิชา ว40145 ชีิทยา ...panom/Bio40145/lesson plan BIO40145...แผนการสอน ภาคเร ยนท 1 ป

แผนการสอน ภาคเรียนที่ แผนการสอน ภาคเรียนที่ 11 ปการศึกษา ปการศึกษา 22554499 9 วิชา วิชา วว40145 40145 ชีววิทยาชีววิทยา 55

แผนการสอนที่ แผนการสอนที่ 44 วิชา วิชา วว40145 40145 ชวีวทิยา ชวีวทิยา 55

เร่ืองเร่ือง การเจริญเติบโตของคนการเจริญเติบโตของคน

ชั้นชั้น มม..66 สัปดาหที่สัปดาหที่ 44 คาบที่คาบที่ 88 วนัที่วนัที่………………………………………………………………

สาระการเรียนรู การเจริญเติบโตของคนเริ่มจากไขที่ไดรับการปฏิสนธิเปนไซโกตเจริญเติบโตเปนเอ็มบริโอ

(Embryo) และฝงตัวที่ผนังมดลูก ระยะนี้สรางรก(Placenta) เพ่ือแลกเปลี่ยนสารระหวางแมกับเอ็มบริโอโดยอาศัยการลําเลียงผานทางสายสะดือ(Umbilical cord) สรางถุงนํ้าคร่ํา(Amnion) เพ่ือปองกันการกระทบกระเทือนเอ็มบริโอพัฒนาจนเกิดฟตัส (Fetus) ที่สมบูรณ ตอนลางของมดลูกติดตอกับชองคลอด การคลอดทารกอาศัยการบีบตัวของกลามเนื้อผนังมดลูกโดยอาศัยระบบประสาทและฮอรโมนกระตุน การเจริญเติบโตของเอ็มบริโอหรือทารกอาจผิดปกติเม่ือไดรับปจจัยบางชนิด หรือแมขาดสารอาหารหรือมีการติดเชื้อการเจริญเติบโตหลังระยะเอ็มบริโอของคนประกอบดวยการเพิ่มนํ้าหนักและสวนสูงตลอดจนการเปลี่ยนแปลงของอวัยวะในรางกาย

ผลการเรียนรูที่คาดหวัง

อธิบายกระบวนการเจริญเติบโตของคนในระยะเอ็มบริโอ ฟตัส และหลังคลอด เน้ือหาสาระ การเจริญเติบโตของคนมีแบบแผนของการเจริญเติบโตเชนเดียวกับกบและไก แตมีรายละเอียดแตกตางกันออกไป การสืบพันธุของคนเริ่มจากไขไดรับการปฏิสนธิจากอสุจิเปนไซโกตที่ทอนําไขสวนตน จากน้ันก็แบงเซลลเพ่ิมจํานวนจนกลายเปนเอ็มบริโอ พรอมกับเคลื่อนที่ไปตามทอนําไข เร่ิมฝงตัวที่มดลูกเม่ืออายุประมาณ 7 วัน และฝงตัวติดในผนังมดลูกเม่ืออายุได 9 วัน ในชวงน้ีจะมีการสรางรกและถุงนํ้าคร่ํา เม่ืออายุ 2 สัปดาห เอ็มบริโอมีการเจริญเติบโตของเนื้อเยื่อ 3 ชั้น ในสัปดาหที่ 3 เริ่มปรากฏรองรอยของอวัยวะ เห็นแขน ขา ชัดเจนเม่ืออายุ 4 สัปดาห และมีอวัยวะครบเมื่ออายุ 8 สัปดาหเปนการสิ้นสุดระยะเอ็มบริโอ เรียกระยะนี้วา fetus สามารถบอกเพศไดเม่ือในชวงเดือนที่ 4-6 และฟตัสจะมีขนาดใหญขึ้นเรื่อยๆ แมจะตั้งครรภประมาณ 280 วันนับจากวันแรกของการมีประจําเดือน เม่ือครบกําหนดคลอดปกติสวนหัวของทารกจะออกมากอน หลังจากคลอดประมาณ 1 นาที ทารกจะเริ่มหายใจและติดตามดวยเสียงรอง หลังจากคลอดจะมีการเพิ่มขนาดของอวัยวะและเน้ือเยื่อบางสวนและจะเห็นไดวาแตละอวัยวะมีการเจริญเติบโตที่แตกตางกัน

Page 10: แผนการสอนที่1 วิชา ว40145 ชีิทยา ...panom/Bio40145/lesson plan BIO40145...แผนการสอน ภาคเร ยนท 1 ป

แผนการสอน ภาคเรียนที่ แผนการสอน ภาคเรียนที่ 11 ปการศึกษา ปการศึกษา 22554499 10 วิชา วิชา วว40145 40145 ชีววิทยาชีววิทยา 55

กิจกรรมการเรียนการสอน ข้ันนํา ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายเพ่ือทบทวนความรูเรื่องการเจริญเติบโตในและหลังระยะเอ็มบริโอเพ่ือนําเขาสูแบบแผนการเจริญเติบโตของคน ข้ันสอน ครูและนักเรียนอภิปรายซักถามกันในหัวขอการเจริญเติบโตของเอ็มบริโอของคน โดยศึกษาจากสื่อมัลติมีเดีย และแบบจําลองทารกในครรภมารดาซึ่งแสดงการเปลี่ยนแปลงไซโกตไปเปนเอ็มบริโอของคน จากนั้นครูสรุปและเนนใหนักเรียนเขาใจถึงการเจริญเติบโตของคนในระยะที่อยูในครรภ โดยเริ่มตั้งแตไซโกตจนครบกําหนดคลอด จากนั้นครูนํากราฟการพัฒนาของอวัยวะตาง ๆ ของมนุษยใหนักเรียนศึกษา และใหนักเรียนตอบคําถามที่มีอยูในบทเรียน โดยที่ครูซักถามและเนนใหนักเรียนตระหนักถึงความสําคัญของการพัฒนาของสมองในชวงวัยเด็ก ครูใหนักเรียนชวยกันอภิปรายถึงสภาวะตางๆ ที่มีผลตอการเจริญเติบโตของทารกในครรภ ข้ันสรุป นักเรียนรวมกนัสรุปการเจรญิเตบิโตของคนทั้งในครรภและหลังคลอดรวมถึงปจจัยที่สงผลกระทบตอทารกในครรภ สื่อและอุปกรณการเรียนการสอน

1. สื่อมัลติมีเดีย 2. แบบจําลองทารกในครรภมารดา 3. เอกสารประกอบการสอน

การวัดผลประเมินผล 1. สังเกตจากการตั้งและตอบคําถามของนักเรียน 2. สังเกตจากการสรุปในทายคาบเรียน

บันทึกหลังการสอน ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

Page 11: แผนการสอนที่1 วิชา ว40145 ชีิทยา ...panom/Bio40145/lesson plan BIO40145...แผนการสอน ภาคเร ยนท 1 ป

แผนการสอน ภาคเรียนที่ แผนการสอน ภาคเรียนที่ 11 ปการศึกษา ปการศึกษา 22554499 11 วิชา วิชา วว40145 40145 ชีววิทยาชีววิทยา 55

แผนการสอนที่ แผนการสอนที่ 55 วิชา วิชา วว40145 40145 ชวีวทิยา ชวีวทิยา 55

เร่ืองเร่ือง ปจจัยภายนอกที่มีผลตอการเจรญิเติบโตของเอ็มบริโอปจจัยภายนอกที่มีผลตอการเจรญิเติบโตของเอ็มบริโอ และลูกออและลูกออนน

ชั้นชั้น มม..66 สัปดาหที่สัปดาหที่ 55 คาบที่คาบที่ 99 วนัที่วนัที่………………………………………………………………

สาระการเรียนรู การเจริญเติบโตของเอ็มบริโอและลูกออน จะเกี่ยวของกับปจจัยภายนอกหลายประการ ไดแก

อาหาร การคุมภัย รวมถึงปริมาณไขแดงและระยะเวลา ในการตั้งครรภ ในปจจุบันสามารถใชเทคโนโลยีการเจริญพันธุเพ่ือชวยเพ่ิมประสิทธิภาพในการสืบพันธุของสัตวและคน

ผลการเรียนรูที่คาดหวัง

อธิบายบทบาทของสภาวะบางประการทีมี่ผลตอการเจริญเตบิโตของสิ่งมีชีวติและเปรียบเทียบหลักการเทคโนโลยีการสืบพันธุ เนื้อหาสาระ อาหารถือวาเปนปจจัยหน่ึงที่มีผลตอการเจริญเติบโตโดยเฉพาะสารอาหารประเภทโปรตีนที่มีกรดอะมิโนที่สําคัญตอรางกายหญิงมีครรภตองการมากกวาปกติใน 3 เดือนกอนคลอด เพราะถาขาดจะมีผลทําใหระบบประสาทผิดปกติ หรือสารเคมีบางอยางที่แมไดรับอาจมีผลตอการเจริญเติบโตของทารก เชนสารพวก teratogens ซึ่งเปนสารที่ทําใหการเจริญเติบโตของอวัยวะผิดปกติ ตัวอยางเชน ยากลอมประสาทพวก thalidomide เปนตน การดื่มสุราหรือการสูบบุหรี่ก็อาจมีผลทําใหการเจริญของอวัยวะผิดปกติได และอาจทําใหเกิดการแทง นอกจากนี้รังสี ฮอรโมน เชื้อโรคก็มีผลตอการเจริญเติบโตของเอ็มบริโอเชนเดียวกัน กิจกรรมการเรียนการสอน ข้ันนํา สุมนักเรียนขึ้นมาตอบคําถามเกี่ยวกับเร่ืองการเจริญเติบโตของคนที่ไดเรียนไปแลว ถานักเรียนคนนั้นตอบไมไดก็ใหเพ่ือนชวยตอบ เพ่ือเปนการทบทวนบทเรียนและนําเขาสูบทเรียนใหม ข้ันสอน ครูใหนักเรียนอภิปรายถึงปจจัยตางๆที่มีผลตอการเจริญเติบโตของเอ็มบริโอและลูกออนในเรื่องอาหาร โดยที่ครูเนนใหนักเรียนเขาใจถึงปริมาณไขแดงและระยะเวลาในการตั้งครรภวามีผลตอการเจริญเติบโตของเอ็มบริโอและลูกออน จากนั้นครูเลาประสบการณที่เคยเห็นเกี่ยวกับพฤติกรรมของสัตวในการปองกันภัยอันตรายใหกับเอ็มบริโอและลูกออน โดยที่ครูเปดโอกาสใหนักเรียนเลาประสบการณสวนตัวที่เคยพบเห็นของนักเรียนดวยเพื่อเปนการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกัน จากนั้นครูชี้ใหเห็นประโยชนของการคุมภัยของสิ่งมีชีวิต

Page 12: แผนการสอนที่1 วิชา ว40145 ชีิทยา ...panom/Bio40145/lesson plan BIO40145...แผนการสอน ภาคเร ยนท 1 ป

แผนการสอน ภาคเรียนที่ แผนการสอน ภาคเรียนที่ 11 ปการศึกษา ปการศึกษา 22554499 12 วิชา วิชา วว40145 40145 ชีววิทยาชีววิทยา 55

ข้ันสรุป นักเรียนรวมกนัสรุปถึงปจจัยภายนอกที่มีผลตอการเจรญิเตบิโตของเอ็มบริโอและลกูออน

จากนั้นครูและนักเรียนรวมกันสรุปเกี่ยวกับบทเรียนทีไ่ดเรียนมาทั้งหมด สื่อและอุปกรณการเรียนการสอน

1. สื่อมัลติมีเดีย 2. เอกสารประกอบการสอน

การวัดผลประเมินผล 1. สังเกตจากการตั้งและตอบคําถามของนักเรียน 2. สังเกตจากการสรุปในทายคาบเรียน

บันทึกหลังการสอน ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

Page 13: แผนการสอนที่1 วิชา ว40145 ชีิทยา ...panom/Bio40145/lesson plan BIO40145...แผนการสอน ภาคเร ยนท 1 ป

แผนการสอน ภาคเรียนที่ แผนการสอน ภาคเรียนที่ 11 ปการศึกษา ปการศึกษา 22554499 13 วิชา วิชา วว40145 40145 ชีววิทยาชีววิทยา 55

แผนการสอนที่ แผนการสอนที่ 66 วิชา วิชา วว40145 40145 ชวีวทิยา ชวีวทิยา 55

เร่ืองเร่ือง เทคโนโลยีการผสมเทียมเทคโนโลยีการผสมเทียม

ชั้นชั้น มม..66 สัปดาหที่สัปดาหที่ 55 คาบที่คาบที่ 1100 วันที่วันที่………………………………………………………………

สาระการเรียนรู ในปจจุบันมีการผสมเทียม และการถายฝากตัวออนทําใหสามารถเพิ่มผลผลิตที่มีคุณภาพตรง

ตามที่ตลาดตองการ ตลอดจนวิธีการทําโคลนนิ่งที่นําสวนของเซลลรางกายมีพัฒนาจนกลายเปนสิ่งมีชีวิตที่มีลักษณะเหมือนกับสิ่งมีชีวิตเดิม

ผลการเรียนรูที่คาดหวัง

นักเรียนสามารถอธิบายหลักการและประโยชนของการผสมเทียม การถายฝากตัวออนและการโคลนนิง

เน้ือหาสาระ ปจจุบันมีการประยุกตใชความรูทางดานการสืบพันธุมาใชใหเกิดประโยชนในการผสมเทียม ไดแก 1) GIFT หรือ ZIFT = Gamete or Zygote Intrafallopian Transfer เปนการนําไขของเพศหญิงออกมาผสมกับอสุจิแลวฉีดเขาทอนําไข วธิีนี้เพศหญิงตองมีทอนนําไขดีและสามารถประสบความสําเร็จได 30% 2) IVF หรือ ET = In Vitro Fertilization or Embryo transfer เปนการนําไขของเพศหญิงออกมาผสมกับอสุจิแลวเลี้ยงในตูอบ 2 วนั จึงนาํกลับเขาไปในโพลงมดลูก 3) ICSI หรือ SUZI = Intracytoplasmic Sperm Injection or Subzonal Sperm Insertion วิธีนีใ้ชในกรณีที่เพศชายมีอสุจินอยมาก(oligospermia) หรือคุณภาพของอสุจิไมดี จะใชเขม็แกวเล็กๆ ดูดอสุจิ 1 ตัวฉดีเขาไปในไขของฝายหญิงโดยตรง แลวเลี้ยงในตูอบจนไดตัวออนประมาณ 4 – 8 เซลลจึงนําตัวออนนีก้ลับเขาไปในโพรงมดลูกของฝายหญิง นอกจากนี้ยังมีวิธีการถายฝากตัวออนและการโคลนนิ่ง

กิจกรรมการเรียนการสอน ข้ันนํา

ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายและทบทวนบทเรียนตาง ๆ เชนการสืบพันธุแบบอาศัยเพศ ไมอาศัยเพศ การสรางเซลลสืบพันธุและการปฏิสนธิ ข้ันสอน ครูและนักเรียนอภิปรายรวมกันเกี่ยวกับปญหาการมีบุตรยากของคนในปจจุบัน จากนั้นใหนักเรียนเสนอแนะวิธีการแกปญหาดังกลาว ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายแตละวิธีที่นักเรียนเสนอขึ้นมา ทั้งผลดีและผลเสียของแตละวิธี

Page 14: แผนการสอนที่1 วิชา ว40145 ชีิทยา ...panom/Bio40145/lesson plan BIO40145...แผนการสอน ภาคเร ยนท 1 ป

แผนการสอน ภาคเรียนที่ แผนการสอน ภาคเรียนที่ 11 ปการศึกษา ปการศึกษา 22554499 14 วิชา วิชา วว40145 40145 ชีววิทยาชีววิทยา 55

ข้ันสรุป นักเรียนรวมกันสรุป หลักการและประโยชน รวมทั้งขอดีและขอเสียของการนําเทคโนโลยีการผสมเทียมมาใช และการสืบพันธุของสิ่งมีชีวิตแตละชนิดได สื่อและอุปกรณการเรียนการสอน

1. สื่อมัลติมีเดีย 2. เอกสารประกอบการสอน

การวัดผลประเมินผล 1. สังเกตจากการตั้งและตอบคําถามของนักเรียน 2. สังเกตจากการสรุปในทายคาบเรียน

บันทึกหลังการสอน ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

Page 15: แผนการสอนที่1 วิชา ว40145 ชีิทยา ...panom/Bio40145/lesson plan BIO40145...แผนการสอน ภาคเร ยนท 1 ป

แผนการสอน ภาคเรียนที่ แผนการสอน ภาคเรียนที่ 11 ปการศึกษา ปการศึกษา 22554499 15 วิชา วิชา วว40145 40145 ชีววิทยาชีววิทยา 55

แผนการสอนที่ แผนการสอนที่ 77 วชิา วชิา วว40145 40145 ชีววทิยา ชีววทิยา 55

เร่ืองเร่ือง สอบยอยครั่งที่สอบยอยครั่งที่ 11

ชั้นชั้น มม..66 สัปดาหที่สัปดาหที่ 66 คาบที่คาบที่ 1111 วันที่วันที่………………………………………………………………

สาระการเรียนรู

ผลการเรียนรูที่คาดหวัง -

เน้ือหาสาระ -

กิจกรรมการเรียนการสอน

- สื่อและอุปกรณการเรียนการสอน

- การวัดผลประเมินผล - บันทึกหลังการสอน ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

Page 16: แผนการสอนที่1 วิชา ว40145 ชีิทยา ...panom/Bio40145/lesson plan BIO40145...แผนการสอน ภาคเร ยนท 1 ป

แผนการสอน ภาคเรียนที่ แผนการสอน ภาคเรียนที่ 11 ปการศึกษา ปการศึกษา 22554499 16 วิชา วิชา วว40145 40145 ชีววิทยาชีววิทยา 55

แผนการสอนที่ แผนการสอนที่ 88 วิชา วิชา วว40145 40145 ชวีวทิยา ชวีวทิยา 55

เร่ืองเร่ือง ระบบโครงรางของสิ่งมีชวีิตและโครงรางแข็งของคนระบบโครงรางของสิ่งมีชวีิตและโครงรางแข็งของคน

ชั้นชั้น มม..66 สัปดาหที่สัปดาหที่ 66 -- 77 คาบที่คาบที่ 1122 -- 1133 วันที่วันที่………………………………………………………………

สาระการเรียนรู สิ่งมีชีวิตบางชนิดมีโครงรางออนนุมและอาศัยแรงดันน้ําทําใหทรงตัวและสามารถเคลื่อนไหวได

(Hydroskeleton) บางชนิดมีโครงรางแข็ง (Skeleton) ซึ่งอาจอยูภายในลําตัว (Endoskeleton) บางชนิดมีโครงรางแข็งอยูภายนอก (Exoskeleton) โครงรางแข็งภายในลําตัวของคนประกอบดวยกระดูกทั้งหมดประมาณ206 ชิ้น จัดเปนกระดูกแกน 80 ชิ้น และกระดูกรยางค 126 ชิ้นโดยกระดูกแบงเปนชนิดตาง ๆ ตามรูปรางลักษณะ ตําแหนง หรือหนาที่ โดยมีระบบขอตอ (Joint) และเอ็นชวยใหเหมาะสมในการเคลื่อนไหว ผลการเรียนรูที่คาดหวัง

ระบุสวนประกอบและหนาทีข่องโครงรางในคนและสิ่งมีชีวติบางชนิด

เน้ือหาสาระ โครงรางแข็งที่อยูภายในลําตัวคนประกอบดวยกระดูก(bone) ซึ่งเปนเน้ือเยื่อที่ใชในการค้ําจุนและเคลื่อนไหวของรางกาย กระดูกจะประกอบดวยธาตุแคลเซียมและฟอสฟอรัสเปนสวนใหญ ภายในกระดูกมีสวนประกอบของโปรตีนที่ทําใหเกิดความยืดหยุน แตในสัตวที่มีโครงรางแข็งจะสรางจากสารพวกไคทิน (chitin) กระดูกของคนมีมากกวา 200 ชิ้น กระดูกเหลานี้แบงออกเปน 2 กลุม ตามตําแหนงที่อยูคือ กระดูกแกน (axial skeleton) ซึ่งเปนกระดูกที่อยูบริเวณกลางลําตัวมี 80 ชิ้น ประกอบดวย กะโหลกศีรษะ กระดูกสันหลัง และกระดูกยอยๆ เชื่อมตอกัน อีกกลุมไดแกกระดูกรยางค (appendicular skeleton)เปนกระดูกที่ยื่นจากกระดูกแกนออกไป 126 ชิ้น ประกอบดวยกระดูกแขน กระดูกขา กระดูกสะบัก กระดูกไหปลาราและกระดูกเชิงกราน กระดูกบางชิ้นเปนกระดูกทอนยาวๆ เชนกระดูกแขน และกระดูกขาเปนตน ภายในมีโพรงกระดูกซึ่งมีไขกระดูกทําหนาที่ผลิตเซลลเม็ดเลือด กระดูกแตละทอนเชื่อมตอกันดวยขอตอตรงบริเวณขอตอมีน้าํไขขอชวยหลอลื่น และบริเวณตอนปลายกระดูกแตละทอนตรงขอตอจะมีกระดูกออนเคลือบอยู ทั้งกระดูกออนและน้ําไขขอจะชวยลดการเสียดสีของกระดูกขณะเคลื่อนไหว และที่โครงกระดูกมีกลามเนื้อเกาะติดอยู กิจกรรมการเรียนการสอน ข้ันนํา ครูนําหุนจําลองโครงกระดูกมนุษย และโครงกระดูกสัตวมาใหนักเรียนศึกษา และรวมกันอภิปรายโดยการตอบคําถามในหัวขอที่วา สิ่งมีชีวิตมีโครงรางแตกตางกันจะเกี่ยวของกับการดํารงชีวิตของสิ่งมีชีวิตน้ันๆ หรือไม, องคประกอบของโครงรางแข็งภายในและภายนอกแตกตางกันอยางไร

Page 17: แผนการสอนที่1 วิชา ว40145 ชีิทยา ...panom/Bio40145/lesson plan BIO40145...แผนการสอน ภาคเร ยนท 1 ป

แผนการสอน ภาคเรียนที่ แผนการสอน ภาคเรียนที่ 11 ปการศึกษา ปการศึกษา 22554499 17 วิชา วิชา วว40145 40145 ชีววิทยาชีววิทยา 55

ข้ันสอน จากนั้นครูนําขอสรุปตาง ๆ มาอธิบายเก่ียวกับโครงรางแข็งภายในและภายนอกของสิ่งมีชีวิตแตละชนิดที่มีความแตกตางกัน และอธิบายเก่ียวกับโครงรางแข็งที่อยูภายในตัวของมนุษย โดยใหนักเรียนศึกษาหุนจําลองโครงกระดูกมนุษยประกอบดวย ครูซักถามนักเรียนเก่ียวกับหนาที่ของไขกระดูก และการเชื่อมตอของกระดูกแตละทอน ครูอธิบายเรื่องนํ้าไขขอและความสัมพันธเกี่ยวกับการเคลื่อนไหว และใหนักเรียนตอบคําถามในบทเรียน ข้ันสรุป นักเรียนรวมกนัสรุปเกี่ยวกบัโครงรางแขง็ของสิ่งมีชีวิตทั้งภายในและภายนอก โครงรางแข็งที่อยูภายในตวัของมนุษย ตลอดจนการทํางานของขอตอตางๆ ที่ชวยทําใหรางกายไดเคลื่อนไหวได สื่อและอุปกรณการเรียนการสอน

1. สื่อมัลติมีเดีย 2. เอกสารประกอบการสอน 3. หุนจําลองโครงกระดูกมนุษย 4. โครงกระดูกของไก งู กบ ดาวทะเล

การวัดผลประเมินผล 1. สังเกตจากการตั้งและตอบคําถามของนักเรียน 2. สังเกตจากการสรุปในทายคาบเรียน

บันทึกหลังการสอน ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

Page 18: แผนการสอนที่1 วิชา ว40145 ชีิทยา ...panom/Bio40145/lesson plan BIO40145...แผนการสอน ภาคเร ยนท 1 ป

แผนการสอน ภาคเรียนที่ แผนการสอน ภาคเรียนที่ 11 ปการศึกษา ปการศึกษา 22554499 18 วิชา วิชา วว40145 40145 ชีววิทยาชีววิทยา 55

แผนการสอนที่ แผนการสอนที่ 99 วิชา วิชา วว40145 40145 ชวีวทิยา ชวีวทิยา 55

เร่ืองเร่ือง ระบบกลามเน้ือของคนระบบกลามเน้ือของคน

ชั้นชั้น มม..66 สัปดาหที่สัปดาหที่ 77 -- 88 คาบที่คาบที่ 1144 -- 1155 วันที่วันที่………………………………………………………………

สาระการเรียนรู กลามเนื้อ (Muscle) แบงออกเปน 3 ชนิด คือ กลามเนื้อลาย (Skeleton muscle) กลามเนื้อ

เรียบ (Smooth muscle) และกลามเนื้อหัวใจ (Cardiac muscle) กลามเนื้อมีลักษณะ รูปราง การทํางาน และทําหนาที่ตางกัน การหดตัวและคลายตัวของกลามเนื้อทําใหกระดูกเกิดการเคลื่อนไหว มัดกลามเน้ือบางคูในรางกายทํางานในสภาวะตรงขาม (Antagonism) ผลการเรียนรูที่คาดหวัง

อธิบายองคประกอบ กลไกการทํางานและเปรยีบเทียบกลามเน้ือชนิดตาง ๆ ของคน

เน้ือหาสาระ กลามเนื้อในรางกายคนแบงออกเปน 3 ชนิดดังน้ีคือ กลามเนื้อลาย(skeletal muscle) กลามเนื้อ

เรียบ(smooth muscle)และกลามเน้ือหัวใจ (cardiac muscle) กลามเนื้อลายเปนกลามเนื้อชนิดเดียวที่ยึดเกาะกับกระดูกประกอบดวยเซลลที่มีลักษณะเปเสนใย เรียกวา เสนใยกลามเน้ือ (muscle fiber) อยูรวมกันเปนมัด แตละเซลลในเสนใยกลามเนอมีหลายนิวเคลียส และในเสนใยแตละเสนประกอบดวยมัดของเสนใยฝอย (myofibrils) ที่มีลักษณะเปนทอนยาวเรียงตัวตามยาว ภายในเสนใยฝอยจะประกอบดวยเสนใยเล็กๆ เรียกวา myofilament ซึ่งประกอบดวยโปรตีน 2 ชนิดคือ myosin และ actin การหดตัวของกลามเนื้อทําใหกระดูกเกิดการเคลื่อนที่ได กลามเนื้อในรางกายทํางานรวมกันเปนคูๆ ในภาวะตรงกันขามกลาวคือ เม่ือกลามเน้ือดานหนึ่งหดตัว กลามเน้ืออีกดานหนึ่งคลายตัว ทําใหเกิดการเคลื่อนไหวได

กิจกรรมการเรียนการสอน ข้ันนํา ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายซักถามเพื่อทบทวนบทเรียนที่ไดเรียนมาแลว แลครูซักถามปญหาเพื่อใหนักเรียนเห็นวาการทํางานของระบบโครงกระดูกอยางเดียวยังไมสามารถทํารางกายเคลื่อนไหวได ตองอาศัยการทํางานของกลามเน้ือควบคูไปดวย ข้ันสอน ครูและนักเรียนอภิปรายถึงความสําคัญของกลามเน้ือโดยใหนกัเรียนศึกษาจากสื่อมัลติมีเดียซึ่งมีภาพเคลื่อนไหวเกี่ยวกับระบบการทํางานของกลามเน้ือและความแตกตางระหวางกลามเน้ือลาย กลามเน้ือเรียบ และกลามเน้ือหัวใจ โดยเนนใหนักเรียนเห็นวากลามเน้ือลายนี้ทํางานรวมกับโครงกระดูกและระบบประสาทโดยการหดตัวของกลามเน้ือทําใหกระดูกเคลื่อนไหว การทํางานของกลามเน้ือจะทํางานในลักษณะที่ตรงขามกัน โดยครูเนนที่กลามเนื้อเฟลกเซอรและเอกซเทนเซอร โดยเฉพาะการ

Page 19: แผนการสอนที่1 วิชา ว40145 ชีิทยา ...panom/Bio40145/lesson plan BIO40145...แผนการสอน ภาคเร ยนท 1 ป

แผนการสอน ภาคเรียนที่ แผนการสอน ภาคเรียนที่ 11 ปการศึกษา ปการศึกษา 22554499 19 วิชา วิชา วว40145 40145 ชีววิทยาชีววิทยา 55

ทํางานของกลามเนื้อที่แขน จากนั้นอธิบายตอถึงกลามเนื้อสวนอ่ืนของรางกายเพิ่มเติม เชน กลามเนื้อที่ขา ขอพับ เปนตน ข้ันสรุป นักเรียนรวมกันสรุปถึงความสําคัญของเซลลกลามเน้ือ บอกความแตกตางของกลามเน้ือชนิดตางๆ และกลไกการทํางานของกลามเน้ือในขณะที่หดและคลายตัว ใหนักเรียนทําใบงาน สื่อและอุปกรณการเรียนการสอน

1. สื่อมัลติมีเดีย 2. เอกสารประกอบการสอน

การวัดผลประเมินผล 1. สังเกตจากการตั้งและตอบคําถามของนักเรียน 2. สังเกตจากการสรุปในทายคาบเรียน

บันทึกหลังการสอน ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

Page 20: แผนการสอนที่1 วิชา ว40145 ชีิทยา ...panom/Bio40145/lesson plan BIO40145...แผนการสอน ภาคเร ยนท 1 ป

แผนการสอน ภาคเรียนที่ แผนการสอน ภาคเรียนที่ 11 ปการศึกษา ปการศึกษา 22554499 20 วิชา วิชา วว40145 40145 ชีววิทยาชีววิทยา 55

แผนการสอนที่ แผนการสอนที่ 1100 วิชา วิชา วว40145 40145 ชีววทิยา ชีววทิยา 55

เร่ืองเร่ือง การการเเคลื่อนไหวของสิ่งมีชวีิตคลื่อนไหวของสิ่งมีชวีิต

ชั้นชั้น มม..66 สัปดาหที่สัปดาหที่ 88 -- 99 คาบที่คาบที่ 1166 -- 1177 วันที่วันที่………………………………………………………………

สาระการเรียนรู โพรทิสตบางชนิดเคลื่อนไหวโดยอาศัยการไหลของไซโตพลาสซึม (Amoeboid movement)

บางชนิดเคลื่อนไหวโดยซีเลีย (Cilia) หรือแฟลกเจลลัม (Flagellum) แมงกระพรุนเคลื่อนไหวโดยอาศัยการหดตัวของเนื้อเยื่อบริเวณขอบกระด่ิง พลานาเรียเคลื่อนไหวโดยอาศัยกลามเนื้อวง (Circular muscle) กลามเนื้อตามยาว (Longitudinal muscle) และกลามเนื้อยึดระหวางบนลาง (Dorso-ventral muscle) ไสเดือนดิน เคลือ่นไหวโดยอาศัยกลามเนื้อวง กลามเนื้อตามยาว เดือย (Setae) และปาก หมึกเคลื่อนไหวโดยใชกลามเนื้อลําตัวรอบทอพนนํ้า (Siphon) ดาวทะเลอาศยัแรงดันนํ้า แมลงบินโดยใชกลามเน้ือทีย่ึดเปลือกหุมสวนอก (Turgum) และกลามเน้ือตามยาว(Longitudinal muscle) ปลาเคลื่อนไหวโดยอาศัยกลามเนื้อที่ยึดติดอยูกับกระดูกสันหลังทั้ง 2 ขางและกลามเน้ือที่ครบี นกเคลื่อนไหวโดยอาศัยกลามเนื้อกดปก (Depresser muscle) กับกลามเน้ือยกปก (Levater muscle) เตาทะเล พะยูนและโลมา เปลีย่นรยางคใหเปนฟลิปเปอร (Flipper)

ผลการเรียนรูที่คาดหวัง

อธิบายโครงสรางและทําปฏบิัติการศึกษาการเคลื่อนไหวของโพรทิสตและสัตวบางชนิด

เน้ือหาสาระ สิ่งมีชีวิตเซลลเดียวที่เปนโพรทิสต จะเคลื่อนโดยการเคลื่อนไหวของ cytoplasm ที่มีสภาพขน

หนืดเรียก ectoplasm กับ endoplasm และมี microfilament ซึ่งเปนเสนใยที่ชวยในการเคลื่อนไหว เรียกการเคลื่อนไหวแบบนี้วา amoeboid movement สวนโพรทิสตบางชนิดใช flagellum หรือ cilia ในการเคลื่อนที่เชน Paramecium และ Vorticella สวนไฮดรา เคลื่อนไหวโดยการตีลังกา การลอยตัว โดยอาศัยการหดตัวของเสนใยกลามเนื้อ หมึก เคลื่อนไหวโดยการพนนํ้าออกมาทาง ไซฟอน(siphon) โดยอาศัยครีบคอยบังคับทิศทางแมงกระพรุนเคลื่อนที่โดยอาศัยการหดตัวบริเวณขอบกระดิ่ง และผนังลําตัวพนน้ําออกมาดานลาง พยาธิตัวกลม เคลื่อนที่โดยงอตัวไปมา ทิศทางการเคลื่อนที่ไมแนนอน ดาวทะเลใช tube feet ในการเคลื่อนที่ พลานาเรีย ใชกลามเน้ือวงและกลามเน้ือตามยาวหดคลายสัมพันธกัน ไสเดือนดิน ใชกลามเน้ือวงและกลามเน้ือตามยาวหดคลายสัมพันธกันและมีเดือยที่ควบคุมดวยกลามเนื้อ protrator และ retrator คอยจิกดิน แมเพรียง ใชกลามเนื้อวงและกลามเนื้อตามยาว ยังมีรยางคยื่นมาชวยวายน้ําดวย

สัตวที่มีโครงรางแข็งภายนอก เชนแมลงจะใชกลามเน้ือ flexor extensor ในการกระโดดเคลื่อนที่ไดเร็ว กลามเนื้อที่กดปกลงและขึ้น ชวยใหบินได และถุงลม (air sac) ทําใหตัวเบา สวนสัตวที่มีโครงรางแข็งภายใน เชน นก บินไดโดยอาศัยกลามเน้ือยกและกดปกทํางานแบบ antagonism และมีถุงลมทาํ

Page 21: แผนการสอนที่1 วิชา ว40145 ชีิทยา ...panom/Bio40145/lesson plan BIO40145...แผนการสอน ภาคเร ยนท 1 ป

แผนการสอน ภาคเรียนที่ แผนการสอน ภาคเรียนที่ 11 ปการศึกษา ปการศึกษา 22554499 21 วิชา วิชา วว40145 40145 ชีววิทยาชีววิทยา 55

หนาที่ เก็บสํารองอากาศใหปอดฟอกเลือดได 2 ครั้ง แทรกไปตามตัวทําใหเบา ระบายความรอน ปลา วายน้ําไดโดยอาศัย กลามเน้ือ 2 ขางกระดูกสันหลังทําใหเกิดการเคลื่อนไหวเปนตัว S คอดหางทําใหเกิดการโบกของครีบหาง ครีบชวยในการเคลื่อนที่ไปขางหนา และขึ้นลง สวนกระเพาะลมชวยในการลอยตัว สวนการเคลื่อนที่ของสัตวบก อาจจะใชฝาเทา เคลื่อนที่ไดไมเร็วเชนกระตาย ใชนิ้วเทา เร็วกวาใชฝาเทา เชน หมา แมว สิงโต เสือ ใชกีบ สามารถวิ่งไดเร็วที่สุด เชน กวาง มา สิ่งมีชีวิตบางชนิดยังมีการเปลี่ยนโครงสรางเพ่ือเหมาะสมตอการเคลื่อนไหวอีกดวย เชนการเปลี่ยนรยางคกลายเปนฟลิปเปอรในเตาทะเล โลมาและพยูน เปนตน

กิจกรรมการเรียนการสอน ข้ันนํา

ครูทบทวนความรูเดิมเกี่ยวกับโพรทิสตบางชนิด เชน อะมีบา พารามีเซียม ยูกลีนา ที่นักเรียนเคยเรียนมาประกอบภาพจาดสื่อมัลติมีเดีย ข้ันสอน ครูและนักเรียนอภิปรายรวมกันถึงโครงสรางที่ใชในการเคลื่อนไหวของส่ิงมีชีวิตดังกลาวจากนั้นครูใหนักเรียนรวมกันตอบคําถามในบทเรียน จากนั้นครูยกตัวอยางสิ่งมีชีวิตอ่ืน เชน ไฮดรา แมงกะพรุน พลานาเลีย จากนั้นครูใหนักเรียนทําการทดลองเกี่ยวกับการเคลื่อนไหวของไสเดือน พลานาเลีย ไฮดรา รวมถึงการทําสไลดเพ่ือดูโครงสรางกลามเน้ือลายของไก โดยในขณะที่ทํากิจกรรมครูคอยแนะนําและตอบคําถามของนักเรียนดวย ครูอธิบายโครงสรางที่ใชในการเคลื่อนไหวของสิ่งมีชีวิตทีมีโครงรางแข็งเชน ปลา นก สุนัข และอ่ืนๆ โดยขณะที่อธิบายก็เปดโอกาสใหนักเรียนไดซักถามเสนอขอคิดเห็นตางๆ ข้ันสรุป ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายสรุปผลจากการทํากิจกรรมและใหนักเรียนรวมกันสรุปเกี่ยวกับการเคลื่อนไหวของสัตวที่ไมมีโครงรางแข็งและสัตวที่มีโครงรางแข็ง และใหนักเรียนผลการทํากิจกรรม สื่อและอุปกรณการเรียนการสอน

1. สื่อมัลติมีเดีย 2. อุปกรณตาง ๆ ในการทําการทดลองไดแก ตัวอยางสิ่งมีชีวิต คือ พลานาเลีย ไฮดรา

ไสเดือน กระจกสไลด กระจกปดสไลด กลองจุลทรรศน สียอมเซลล ปากคีบ 3. เอกสารประกอบการสอน

การวัดผลประเมินผล

1. สังเกตจากการตั้งและตอบคําถามของนักเรียน รวมทั้งการทําการทดลองของนักเรียน 2. สังเกตจากการสรุปในทายคาบเรียน

Page 22: แผนการสอนที่1 วิชา ว40145 ชีิทยา ...panom/Bio40145/lesson plan BIO40145...แผนการสอน ภาคเร ยนท 1 ป

แผนการสอน ภาคเรียนที่ แผนการสอน ภาคเรียนที่ 11 ปการศึกษา ปการศึกษา 22554499 22 วิชา วิชา วว40145 40145 ชีววิทยาชีววิทยา 55

บันทึกหลังการสอน

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

Page 23: แผนการสอนที่1 วิชา ว40145 ชีิทยา ...panom/Bio40145/lesson plan BIO40145...แผนการสอน ภาคเร ยนท 1 ป

แผนการสอน ภาคเรียนที่ แผนการสอน ภาคเรียนที่ 11 ปการศึกษา ปการศึกษา 22554499 23 วิชา วิชา วว40145 40145 ชีววิทยาชีววิทยา 55

แผนการสอนที่ แผนการสอนที่ 1111 วิชา วิชา วว40145 40145 ชีววทิยา ชีววทิยา 55

เร่ืองเร่ือง การรับรูและการตอบสนองของสิ่งมีชวีิตการรับรูและการตอบสนองของสิ่งมีชวีิต

ชั้นชั้น มม..66 สัปดาหที่สัปดาหที่ 99 คาบที่คาบที่ 1188 วันที่วันที่………………………………………………………………

สาระการเรียนรู สิ่งมีชีวติทุกชนิดรับรูและตอบสนองตอสิ่งเราได พวกโปรโตซัวมีเสนใยประสาท (Co-ordinating

fiber) สัตวไมมีกระดูกสันหลังบางชนิดมีรางแหประสาท (Nerve net) และปมประสาท (Nerve ganglion) ในสัตวมีกระดูกสันหลัง มีสมอง(Brain) และไขสันหลัง(Spinal cord) ทําหนาที่ดังกลาว

ผลการเรียนรูที่คาดหวัง

เปรียบเทียบวธิีการรับรูและตอบสนองตอสิ่งเราของโพรโทซวั และสตัวไมมีกระดูกสนัหลังบางชนดิ

เน้ือหาสาระ ระบบประสาทของสิ่งมีชีวิตเชน -พารามีเซียม ไมมีเซลลประสาท แตเซลลของพารามีเซียมน้ัน

สามารถตอบสนองตอสิ่งเรา โดยมี ใยประสาท (co-ordinating fiber) ควบคุมการโบกพัดของวิเลีย ในกลุมซีเลนเทอเรต เชน ไฮดรา มีเซลลประสาทแบบรางแห (nerve net) โดยมี กระแสประสาทเคลื่อนที่ในการรับและสี่งงาน รางแหประสาทนี้พบได ในผนังลําไสของสัตวมีกระดูกสันหลัง หนอนตัวแบน มีปมประสาท 2 ปม ที่สวนหัว และมีใยประสาทรวมออกเปนเสนประสาทใหญ 2 เสน ทอดยาวไปตามลําตัว พวกมอลลัสก มีปมประสาทสมอง อละปมประสาทอวัยวะภายใน พวกแอนิลิดและอารโทรพอด มีปมประสาทสมอง มีแกนประสาทางดานลางของลําตัว (ventral nerve cord) พวกคอรเดต มีแกนประสาทอยูดานบนของลําตัว(dorsal nerve cord)

กิจกรรมการเรียนการสอน ข้ันนํา

ครูและนักเรียนรวมกันทบทวนเรื่องการเคลื่อนไหวของสิ่งมีชีวิตที่โครงรางแข็ง ครูพยายามตั้งขอสังเกตเพื่อใหนักเรียน คิดตอไปวาเพราะเหตุใดสิ่งมีชีวิตจึงตองเคลื่อนไหว ในการเคลื่อนไหวน้ันเปนการตอบสนองของสิ่งมีชีวิตหรือไมอยางไร ข้ันสอน นักเรียนอภิปรายรวมกันถึงการรับรูและการตอบสนองของสิ่งมีชีวิตโดยใหนักเรียนยกตัวอยางที่นักเรียนเคยพบเห็นในเรื่องการรับรูและการตอบสนองวามีลักษณะอยางไร หลังจากนั้นครูจึงอธิบายเน้ือหาเกี่ยวกับโครงสรางการรับรูและการตอบสนองของสิ่งมีชีวิตชนิดตาง ๆ และใหนักเรียนรวมกับสรุปขอแตกตางของวิธีการรับรูและการตอบสนองสิ่งมีชีวิตชนิดตาง ๆ ข้ันสรุป

Page 24: แผนการสอนที่1 วิชา ว40145 ชีิทยา ...panom/Bio40145/lesson plan BIO40145...แผนการสอน ภาคเร ยนท 1 ป

แผนการสอน ภาคเรียนที่ แผนการสอน ภาคเรียนที่ 11 ปการศึกษา ปการศึกษา 22554499 24 วิชา วิชา วว40145 40145 ชีววิทยาชีววิทยา 55

ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายสรุปเกี่ยวกับการรับรูและการตอบสนองของสิ่งมีชีวิตชนิดตาง ๆ ที่ไดศึกษาไป และใหนักเรียนทําแบบฝกหัดในใบงาน สื่อและอุปกรณการเรียนการสอน

1. สื่อมัลติมีเดีย 2. เอกสารประกอบการสอน

การวัดผลประเมินผล 1. สังเกตจากการตั้งและตอบคําถามของนักเรียน 2. สังเกตจากการสรุปในทายคาบเรียน

บันทึกหลังการสอน ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

Page 25: แผนการสอนที่1 วิชา ว40145 ชีิทยา ...panom/Bio40145/lesson plan BIO40145...แผนการสอน ภาคเร ยนท 1 ป

แผนการสอน ภาคเรียนที่ แผนการสอน ภาคเรียนที่ 11 ปการศึกษา ปการศึกษา 22554499 25 วิชา วิชา วว40145 40145 ชีววิทยาชีววิทยา 55

แผนการสอนที่ แผนการสอนที่ 1122 วิชา วิชา วว40145 40145 ชีววทิยา ชีววทิยา 55

เร่ืองเร่ือง สอบกลางภาคเรียนที่สอบกลางภาคเรียนที่ 22

ชั้นชั้น มม..66 สัปดาหที่สัปดาหที่ 1100 คาบที่คาบที่ 1199 -- 2200 วันที่วันที่………………………………………………………………

สาระการเรียนรู -

ผลการเรียนรูที่คาดหวัง -

เน้ือหาสาระ -

กิจกรรมการเรียนการสอน ข้ันนํา

- ข้ันสอน - ข้ันสรุป - สื่อและอุปกรณการเรียนการสอน

- การวัดผลประเมินผล - บันทึกหลังการสอน ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

Page 26: แผนการสอนที่1 วิชา ว40145 ชีิทยา ...panom/Bio40145/lesson plan BIO40145...แผนการสอน ภาคเร ยนท 1 ป

แผนการสอน ภาคเรียนที่ แผนการสอน ภาคเรียนที่ 11 ปการศึกษา ปการศึกษา 22554499 26 วิชา วิชา วว40145 40145 ชีววิทยาชีววิทยา 55

แผนกาแผนการสอนที่ รสอนที่ 1133 วิชา วิชา วว40145 40145 ชีววทิยา ชีววทิยา 55

เร่ืองเร่ือง เซลลประสาทเซลลประสาท

ชั้นชั้น มม..66 สัปดาหที่สัปดาหที่ 1111 คาบที่คาบที่ 2211 -- 2222 วันที่วันที่………………………………………………………………

สาระการเรียนรู เซลลประสาท (Nerve cell) ทําหนาที่สําคัญในการนํากระแสประสาทจาก หนวยรับ ความรูสึก

(Receptor) ไปยังระบบประสาทสวนกลาง(Central nervous system) และออกสูหนวยปฏิบัติงาน (Effector) ประกอบดวยตัวเซลล (Cell body) และใยประสาท(Nerve fiber) สามารถแบงชนิดของเซลล ประสาทไดตามรูปรางลักษณะและหนาที่ ความเร็วในการเคลื่อนที่ของกระแสประสาทขึ้นกับขนาดของเซลลประสาทและเยื่อไมอีลิน (Myelin sheath) ที่บริเวณใยประสาท

ผลการเรียนรูที่คาดหวัง

บอกสวนประกอบและหนาที่ของสวนประกอบของเซลลประสาท และจําแนกชนิดของเซลลประสาท

เน้ือหาสาระ

เซลลประสาทประกอบดวยตัวเซลลและใยประสาท ในสวนของตัวเซลลมีเยื่อหุมเซลล นิวเคลียส และไซโตพลาสซึม และเสนใยประสาทจะประกอบดวยสวนที่เปน dendrite มีลักษณะเปนแขนงมากมายทําหนาที่รับกระแสประสาทและ axon แขนงเดียว ทําหนาที่นํากระแสประสาทจากตัวเซลล สวนมากแอกวอนมีปลอกไมอีลิน(myelin sheath) หุม ซึ่งสรางโดย schwann cell โครงสรางของปลอกไมอีลินประกอบดวยโปรตีน และไขมันมวนพันกันหลายชั้นจึงทําหนาที่เปนฉนวนไฟฟาเปนอยางดี ปลอกไมอีลินหุมแอกซอนเปนชวงๆ ไป บริเวณที่ไมมีปลอกไมอีลินหุมเรียกวา node of ranvier และสวนปลายของแอกซอนไมมีปลอกไมอีลิน เซลลประสาทมีหลายชนิดทําหนาที่แตกตางกันไป คือเซลลประสาทรับความรูสึก เซลลประสาทประสานงาน และเซลลประสาทสั่งการ ซึ่งเซลลประสาทเหลานี้มีโครงสรางที่แตกตางกัน

กิจกรรมการเรียนการสอน ข้ันนํา ครูและนักเรียนรวมกันทบทวนเรื่องการตอบสนองของสิ่งมีชีวิต หลังจากนั้นครูจึงสอบถามนักเรียนที่เคยถอนฟนหรือผาตัดวาทําไมตองใหยาชาหรือวางยาสลบ ซึ่งจะไดคําตอบที่หลากหลาย ครูและนักเรียนรวมกันสรุปประเด็นคําตอบเพื่อนําเขาสูเรื่องของเซลลประสาท ข้ันสอน ครูและนักเรียนอภิปรายรวมกันถึงเซลลประสาท ลักษณะรูปรางของเซลลประสาทเทาที่นักเรียนเคยรูจักมากอน จากน้ันครูอธิบายเกี่ยวกับลักษณะและชนิดของเซลลประสาท ตลอดจนหนาที่การ

Page 27: แผนการสอนที่1 วิชา ว40145 ชีิทยา ...panom/Bio40145/lesson plan BIO40145...แผนการสอน ภาคเร ยนท 1 ป

แผนการสอน ภาคเรียนที่ แผนการสอน ภาคเรียนที่ 11 ปการศึกษา ปการศึกษา 22554499 27 วิชา วิชา วว40145 40145 ชีววิทยาชีววิทยา 55

ทํางานใหนักเรียนไดเขาใจ โดยใหนักเรียนไดเห็นลักษณะรูปรางของเซลลประสาทจริง ๆ จากสไลดถาวรของสมองหมู และจากสื่อมัลติมีเดีย ข้ันสรุป ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายสรุปเกี่ยวกับลักษณะรูปราง หนาที่ และโครงสรางของเซลลประสาท สื่อและอุปกรณการเรียนการสอน

1. สื่อมัลติมีเดีย 2. สไลดถาวรของสมองหมู 3. เอกสารประกอบการสอน

การวัดผลประเมินผล 1. สังเกตจากการตั้งและตอบคําถามของนักเรียน 2. สังเกตจากการสรุปในทายคาบเรียน

บันทึกหลังการสอน ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

Page 28: แผนการสอนที่1 วิชา ว40145 ชีิทยา ...panom/Bio40145/lesson plan BIO40145...แผนการสอน ภาคเร ยนท 1 ป

แผนการสอน ภาคเรียนที่ แผนการสอน ภาคเรียนที่ 11 ปการศึกษา ปการศึกษา 22554499 28 วิชา วิชา วว40145 40145 ชีววิทยาชีววิทยา 55

แผนการสอนที่ แผนการสอนที่ 1144 วิชา วิชา วว40145 40145 ชีววทิยา ชีววทิยา 55

เร่ืองเร่ือง การทํางานของเซลลประสาทการทํางานของเซลลประสาท

ชั้นชั้น มม..66 สัปดาหที่สัปดาหที่ 1122 คาบที่คาบที่ 2233 -- 2244 วันที่วันที่……………………………………………………………… สาระสําคญั เม่ือเซลลประสาทไดรับการกระตุนจากสิ่งเราถึงระดับเทรดโฮล (Threshold) จะเกิดแอกชั่น โพเทนเชียล (Action potential) โดยเริ่มจากประตูโซเดียมบนเยื่อหุมเซลลประสาทเปดทําใหโซเดียมไอออน (Na+) จะเคลื่อนที่เขาแลวประตูนี้จะปดในระยะตอมาทําใหศักยไฟฟาภายในคอย ๆ เพ่ิมขึ้น ตอจากนั้นประตูโพแทสเซียมจะเปด ทําใหโพแทสเซียมไอออน (K+) จะเคลื่อนที่ออกโดยผานเยื่อหุมเซลลประสาทอยางตอเน่ืองทําใหศักยไฟฟาภายในลดลง การเปลี่ยนแปลงขั้วประจุไฟฟาและศักยไฟฟา จะเกิดตอเน่ืองกันไป ทําใหเกิดการเคลื่อนที่ของกระแสประสาทและจะถายทอดจากเดนไดรตไปยังแอกซอน ในรางกายของมนุษยกระแสประสาทถายทอดจากเซลลประสาทหนึ่งไปยังอีกเซลลประสาทหนึ่งโดยอาศัยสารสื่อประสาท (Neurotransmitter) ที่ปลายแอกซอนปลอยเขาสูชองไซแนปส (Synapse) ไปกระตุนใหเกิดการเปลี่ยนแปลงที่เดนไดรท ของเซลลประสาทหลังไซแนปส หลังจากนั้นสารสื่อประสาทจะสลายตัว อยางรวดเร็วโดยอาศัยเอนไซมที่จําเพาะตอสารสื่อประสาทนั้น สารเคมีหรือยาและสารพิษบางชนิดอาจมีผลตอการทํางานของเซลลประสาท ผลการเรียนรูที่คาดหวงั

อธิบายการเคลื่อนที่ของกระแสประสาทในเซลลประสาทและการถายทอดกระแสประสาทจากเซลลประสาทหนึ่งไปยังเซลลประสาทอีกเซลลหนึ่ง และสืบคนขอมูลเกี่ยวกับระบบประสาท

เนื้อหาสาระ การเคลื่อนทีข่องกระแสประสาทภายในเซลลประสาท นักวิทยาศาสตร ฮอดจกิจ (A.L. hodgkin) และฮักซลีย (A.F. Hexley) ไดทดลองวัดคาความตางศักยไฟฟา ในแอกซอนของเซลลประสาทหมึก โดยใชเครื่องมือที่เรียกวา ไมโครอิเลคโทรด (microelectrode) ในแตวัดคาความตางศักยไฟฟาระหวางภายในเวลลและภายนอกเซลลประสาทไดโดยพบวา ภาวะปกติ (resting potential) ไดคาเปน –50 mV ถึง –100 mV แตในภาวะที่มีการกระตุนคาความตางศักยไฟฟาจะกลายเปนบวก โดยพบวาในขณะที่เซลลประสาทอยูในสภาวะปกติ ภายนอกเซลลจะมี Na+ และ Cl- อยูมาก แตมี K+ นอย สวนภายในเซลลมี K+ อยูมาก แตมี Na+ และ Cl- นอย เยื่อหุมเซลลมีสมบัติเฉพาะตัวที่ยอมให K+ ซึมผานไดดีกวา Na+ ประมาณ 30 –50 เทา นอกจากนี้ภายในเซลลยังมีสารโปรตีนและกรดนิวคลีอิก ซึ่งมีประจุลบ เม่ือรวมประจุทั้งหมดแลว ภายนองเซลลมีประจุบวกมากกวาภายในเซลลทําใหมีคาออกมาเปนลบ คือ–50 mV ถึง –100 mV เม่ือเกิดการกระตุนเซลลประสาทและแรงของการกระตุนเพียงพอ จะทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงสมบัติของเยื่อหุมเซลลขึ้นชั่วคราว โดย Na+ ที่อยูภายนอกเซลลจะไหลเขามาภายในเซลล มีผลทําใหความตางศักยไฟฟาระหวางภายนอกเซลลและภาย

Page 29: แผนการสอนที่1 วิชา ว40145 ชีิทยา ...panom/Bio40145/lesson plan BIO40145...แผนการสอน ภาคเร ยนท 1 ป

แผนการสอน ภาคเรียนที่ แผนการสอน ภาคเรียนที่ 11 ปการศึกษา ปการศึกษา 22554499 29 วิชา วิชา วว40145 40145 ชีววิทยาชีววิทยา 55

ในเซลลเกิดการเปลี่ยนแปลงโดยภายนอกเปลี่ยนเปนลบ ภายในเปลี่ยนเปนบวก เรียกวาเกิด ดีโพลาไรเซชัน (depolarization) เม่ือเกิดดีโพลาไรเซชันถึงขั้นสูงสุดแลว โดยใชเวลาประมาณ 1/100 นาที เยื่อหุมเซลลจะไมยอมให Na+ ผานเขาไปในเซลลอีก แตเยื่อหุมเซลลจะยอมให K+ จากภายในเซลลผานออกไปนอกเซลลไดเรียกวาเกิด รีโพลาไรเซชัน (repolarization) โดยใชเวลาประมาณ 2/100 วินาที ตอจากนั้นเกิดกระบวนการโซเดียมโพแทสเซียมปม (sodium potassium pump) ซึ่งเปนกระบวนการแอกทิฟทรานสปอรต (active transport) ที่ตองใชพลังงาน นําเอา Na+ ออกจากเซลล และนํา K+ เขาสูเ.ซลล วัฏจักรการเปลี่ยนแปลงที่เยื่อหุมเซลลประสาทนี้เรียกวา กระแสประสาท (impulse) ซึ่งจะเคลื่อนจากเดนไดรตผานตัวเซลลไปยังแอกซอน สวนการเปลี่ยนแปลงความตางศักยไฟฟาที่วัดไดเรียกวา แอกชันโพเทนเซียล (action potential) การเคลื่อนที่ของกระแสประสาทในใยประสาทเปนปฏิกิริยาทาง ไฟฟาเคมี (electrochemical reaction) การคืนเขาสูภาวะปกติของเซลลประสาทตองอาศัยระยะเวลาระยะหนึ่ง ซึ่งโดยท่ัวไปกินเวลาเพียงเสี้ยววินาที ดังนั้นถาหากกระตุนเซลประสาทเร็วกวาชวงเวลาดังกลาวจะไมมีกระแสประสาทเกิดขึ้น แตเซลลประสาทโดยทั่วไปใชเวลานอยมากในการกลับคืนสูสภาวะปกติ และพรอมที่จะรับการกระตุนตอไป เซลลประสาทที่ไมมีเยื่อไมอีลิน กระแสประสาทจะเคลื่อนที่ตอเน่ืองกันไปตั้งแต เดนไดรสจนถึงแอกซอน แตในพวกที่มีไมอีลินหุมจะมีการกระโดดเปนชวง ตามระยะของโนดออฟแรนเวียร ดังนี้ถาหากเซลลประสาทมีขนาดใหญจะทําใหโนดออฟแรนเวียรอยูหางกันทําใหกระแสประสาทเคลื่อนที่ไดเร็วมากดวย การถายทอดกระแสประสาทจากเซลลประสาทหนึ่งไปยังอีกเซลลประสาทหนึ่ง เซลลประสาทจะมีการติดตอสื่อสารระหวางเซลลประสาทและอวัยวะที่เกี่ยวของบริเวณที่เซลลประสาทติดตอกับเซลลประสาทอื่นเรียกวา ไซแนปส (synaps) เม่ือเกิดอิมพัลสประสาทขึ้นในแอกซอนของเซลลประสาทหนึ่ง อิมพัลสประสาทจะเคลื่อนที่สูปลายแอกซอนของเซลลประสาทกอนซิแนปส (presynaptic neuron) ผานซิแนปสเขาสูเดนไดรตของเซลลประสาทหลังซิแนปส (post synaptic neuron) ซึ่งการถายทอดกระแสประสาทผานซิแนปสมี 2 วิธี คือ การถายทอดอิมพัลสประสาทโดยใชไฟฟา (electrical transmission) ซึ่งมักพบในการถายทอดกระแสประสาทในสัตวไมมีกระดูกสันหลัง และการถายทอดอิมพัลสประสาทโดยสารเคมี (chemical transmission) เปนการที่อิมพัลสประสาทมีผลทําใหเกิดการหลั่งสารสื่อประสาท (neurotransmitter) ที่ปลายแอกซอนของเซลลประสาทกอนเนื่องจากปลายแอกซอนที่พองออกเปนกระเปาะ จะมีถุงเล็กๆ จํานวนมากมายบรรจุสารสื่อประสาท ถุงน้ีเรียกวาถุงหุมสารสื่อประสาท (synaptic vesicle) สารสื่อประสารที่รูจักกันดีคือ นอรอะดรีนาลิน (noradrenalin) อะเซทิลโคลีน (acetylcholine) โดพามิน (dopamine) และ เซโรโทนิน (serotonin) โดยสารสื่อประสาทที่หลั่งออกมาจะผานรองประสานประสาท (synaptic cleft) สารเหลานี้จะไปสัมผัสกับเยื่อหุมเซลลประสาทหลังซิแนปส แลวจะไปจับกับโมเลกุลของตัวรับความรูสึก (receptor)ภายในเยื่อหุมเซลล ทําใหคุณสมบัติเยื่อหุมเซลลเปลี่ยนแปลงชั่วคราว โดยรูที่ยอมใหโซเดียมไออนผานเปดออก ทําใหโซเดียมผานเขาไปมีผลทําใหเกิดกระแสประสาทขึ้น

Page 30: แผนการสอนที่1 วิชา ว40145 ชีิทยา ...panom/Bio40145/lesson plan BIO40145...แผนการสอน ภาคเร ยนท 1 ป

แผนการสอน ภาคเรียนที่ แผนการสอน ภาคเรียนที่ 11 ปการศึกษา ปการศึกษา 22554499 30 วิชา วิชา วว40145 40145 ชีววิทยาชีววิทยา 55

กิจกรรมการเรียนการสอน ข้ันนํา ครูและนักเรียนรวมกันทบทวนเรื่องชนิด รูปราง และโครงสรางของเซลลประสาท โดยครูใหนักเรียนดูภาพเซลลประสาท และซักถามนักเรียนเกี่ยวกับโครงสรางและหนาที่ของเซลลประสาทแตละชนิด ครูใหนักเรียนยกตัวอยางการตอบสนองตอสิ่งเราของสิ่งมีชีวิตแตละชนิด แลวถามนักเรียนตอไปวาทําไมสิ่งมีชีวิตเหลานั้นถึงตอบสนองหรือรับรูสิ่งตาง ๆได นักเรียนควรตอบวาเพราะมีอวัยวะรับสัมผัสและมีเซลลประสาท ครูถามตอไปอีกวาเซลลประสาทเพียง 1 เซลลสามารถทําใหเกิดการตอบสนองไดหรือไม และเซลลประสาทมีกระบวนการทํางานอยางไรถึงทําใหเกิดการตอบสนองตอสิ่งเรา ข้ันสอน

หลังจากครูและนักเรียนรวมกันทบทวนเกี่ยวกับเซลลประสาทแลว ครูใหนักเรียนเปด web site http://entochem.tamu.edu/Teaching/Neurobiology%20Summary/NeuroMovieText.html เพื่อใหนักเรียนศึกษาภาพเคลื่อนไหวของการเกิดอิมพัลสประสาท ที่ถายทอดไปยังเซลลประสาทเซลลอ่ืน หลังจากนั้นใหนักเรียนชวยกันสรุปเหตุการณที่เกิดขึ้นจากภาพเคลื่อนไหวน้ัน ครูถามนักเรียนตอไปวาทําไมถึงเกิดการเคลื่อนของกระแสประสาทได และมีการเปลี่ยนแปลงอะไรเกิดขึ้นในเซลลประสาท เพ่ือเปนการตั้งขอสงสัยใหกับนักเรียน

ภาพที่ 1 แสดง http://entochem.tamu.edu/Teaching/Neurobiology%20Summary/NeuroMovieText.html

ครูซักถามนักเรียนวาความเขมขนของสารที่อยูนอกเซลลและภายในเซลลเทากันหรือไมอยางไร

เพราะเหตใุดจึงตองเทากัน นักเรียนควรที่จะตอบวาเทากันเพื่อรักษาระดับออสมาโมลาลิตีข้องเซลลไว และเปนการรกัษาสมดุลภายในเซลล จากน้ันครูถามตอไปวาถาความเขมขนของสารเทากันแลว สวนประกอบทางเคมีของสารละลายภายในเซลลและภายนอกเซลลแตกตางกันหรือไม นักเรียนควรตอบวาแตกตางกันเนื่องจากภายในเซลลมีสารโปรตีนและกรดนิวคลีอิกซึ่งมีประจุลบ อยูจึงมีผลทําใหภายในเซลลมีประจุรวมเปนลบ จากนั้นครอูธิบายการศึกษาความตางศกัยไฟฟาของเซลลประสาทที่นักวิทยาศาสตรไดทําการศกึษา ครูใหนักเรียนเปดเขาสู web site http://faculty.washington.edu/~chudler/ap.html เพ่ือศึกษาการทดลองของนักวิทยา

Page 31: แผนการสอนที่1 วิชา ว40145 ชีิทยา ...panom/Bio40145/lesson plan BIO40145...แผนการสอน ภาคเร ยนท 1 ป

แผนการสอน ภาคเรียนที่ แผนการสอน ภาคเรียนที่ 11 ปการศึกษา ปการศึกษา 22554499 31 วิชา วิชา วว40145 40145 ชีววิทยาชีววิทยา 55

ศาสตร ความแตกตางของสารภายในเซลลและภายนอกเซลล และการเปลี่ยนแปลงบริเวณเยื่อหุมเซลลประสาทซึ่งเปนผลทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงสารเคมีภายในเซลลและภายนอกเซลล ที่มีความสัมพันธกับการเกิดกระแสประสาท โดยครูอธิบายการเกิดเหตุการณดังกลาวควบคูไปดวย จากนั้นครูถามนักเรียนตอไปวากระแสประสาทเคลื่อนที่ไปยังเซลลประสาทตวัถัดไปไดอยางไร นักเรียนอาจตอบวาเกิดจากการเหนี่ยวนําของกระแสไฟฟาที่เกิดขึ้นจากความตางศักยไฟฟาของเซลลประสาทตัวแรก ครูใหนักเรียนเขา สู web site http://www.wnet.org/closetohome/science/html/animations.htmlในหัวขอเรื่อง

IN THE BRAIN How Brain Cells CommunicateHow COCAINE Works in the Brain: • Normal Neurotransmission (Dopamine) (121 K) • Add Cocaine (142 K) How ALCOHOL Works in the Brain: • Normal Neurotransmission (GABA) (82 K) • Add Alcohol (168 K) How OPIATES Work in the Brain: • Normal Neurotransmission (Dopamine) (92 K) • Add Opiates (110 K)

เพ่ือใหนักเรียนศึกษาการถายทอดกระแสประสาท โดยทีค่รูอธิบายควบคูไปดวย และใหนักเรียนตั้งขอสังเกตวาการถายทอดอิมพัลสประสาทโดยใชไฟฟา (electrical transmission) และการถายทอดอิมพัลสประสาทโดยสารเคมี (chemical transmission) มีความแตกตางกันอยางไร และสารสื่อประสาทที่หลั่งออกมานั้นจะตองสลายไปหรือไม ยาบางชนิดมีผลตอการถายทอดกระแสประสาทของเซลลประสาทหรือไมอยางไร โดยใหนักเรียนศึกษาเพิ่มเตมิจาก web site ดังกลาว และ web site อ่ืน ๆ แลวใหนักเรียนสรุปมาสงในคาบเรียนถัดไป ตัวอยาง web site เชน http://users.rcn.com/jkimball.ma.ultranet/BiologyPages/N/Neurons.htmlข้ันสรุป ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายสรุปการเคลื่อนที่ของกระแสประสาทภายในเซลลประสาทและการถายทอดกระแสประสาทจากเซลลประสาทหนึ่งไปยังอีกเซลลประสาทหนึ่ง สื่อและอุปกรณการเรียนการสอน 1. สื่อมัลติมีเดีย

2. เอกสารประกอบการสอน 3. ภาพเคลื่อนไหวเกี่ยวกับการทํางานของเซลลประสาท

Page 32: แผนการสอนที่1 วิชา ว40145 ชีิทยา ...panom/Bio40145/lesson plan BIO40145...แผนการสอน ภาคเร ยนท 1 ป

แผนการสอน ภาคเรียนที่ แผนการสอน ภาคเรียนที่ 11 ปการศึกษา ปการศึกษา 22554499 32 วิชา วิชา วว40145 40145 ชีววิทยาชีววิทยา 55

การวัดผลประเมินผล 1. สังเกตจากการตั้งและตอบคําถามของนักเรียน 2. สังเกตจากความสนใจในการคนหาขอมูลทาง Internet 3. ขอมูลที่นักเรียนสรุปไดจากการคนควาดวยตนเอง

บันทึกหลังการสอน ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

Page 33: แผนการสอนที่1 วิชา ว40145 ชีิทยา ...panom/Bio40145/lesson plan BIO40145...แผนการสอน ภาคเร ยนท 1 ป

แผนการสอน ภาคเรียนที่ แผนการสอน ภาคเรียนที่ 11 ปการศึกษา ปการศึกษา 22554499 33 วิชา วิชา วว40145 40145 ชีววิทยาชีววิทยา 55

แผนการสอนที่ แผนการสอนที่ 1155 วิชา วิชา วว40145 40145 ชีววทิยา ชีววทิยา 55

เร่ืองเร่ือง ศูนยควบคุมระบบประสาทศูนยควบคุมระบบประสาท

ชั้นชั้น มม..66 สัปดาหที่สัปดาหที่ 1133 คาบที่คาบที่ 2255 -- 2266 วันที่วันที่………………………………………………………………

สาระการเรียนรู สมอง (Brain) และไขสันหลัง (Spinal cord) เปนศูนยกลางการทํางานของระบบประสาทของ

สัตวมีกระดูกสันหลัง สมองแบงออกเปนสวนๆ คือ ซีรีบรัม (Cerebrum) ออลแฟกทอรีบัลบ (Olfactory bulb)ไฮโพทาลามัส (Hypothalamus) ทาลามัส (Thalamus) สมองสวนกลาง (Midbrain) พอนส (Pons) เซรีเบลลัม (Cerebellum) เมดัลลาออบลองกาตา (Medulla oblongata) แตละสวนจะทําหนาที่เฉพาะแตกตางกันโดยมีเสนประสาทสมอง (Cranial nerve) แยกออกจากสมอง 12 คู ไปยังอวัยวะตาง ๆ ซึ่งแตละคูอาจทําหนาที่รับความรูสึกเขาสูสมอง(Sensory nerve) หรือนําคําสั่งจากสมองไปยังหนวยปฏิบัติงาน(Motor nerve) หรือทําหนาที่ทั้งสองอยาง(Mixed nerve)

ผลการเรียนรูที่คาดหวัง

ระบุสวนตาง ๆ ที่สําคัญของสมองรวมทั้งหนาที่ของสวนนั้น ๆ และจําแนกประเภทของเสนประสาทสมองตามหนาที่ และสบืคนขอมูลเกี่ยวกบัสมอง

เน้ือหาสาระ

สมองเปนศูนยกลางใหญและเจริญที่สุดของระบบประสาททําหนาที่ควบคุม และปรับสภาพการทํางานของระบบประสาทใหทํางานประสานกันเปนปกติ อยูภายในกะโหลกศีรษะ และมีเยื่อหุมสมอง สมองประกอบดวยเซลลประสาทประสานงานประมาณ 9000 เซลล และเซลลเกี่ยวพัน(nueroglia) เน้ือสมองแบงออกเปน 2 ชั้นคือ 1. คอรเทกซ (cortex) หรือ เกรตแมตเตอร(gray matter ) เปนเนื้อเยื่อสมองชั้นนอกเปนที่รวมของเซลลประสาทและแอกซอนที่ไมมีปลอกไมอีลินหุม มองเห็นนิวโรพลาสซึม(neuroplasm)เปนสีเทาไดชัด มีหนาที่สําคัญในการแปลความรูสึก นําคําสั่งและศูนยความจําเชาวปญญา 2. เมดัลลา (medulla) หรือ ไวแมตเตอร (white matter) เปนเนื้อสมองที่รวมเสนประสาทที่แตกแขนงมาจากเซลลประสาท และมีเซลลเกี่ยวพันเปนตัวเชื่อมโยงยึดเสนประสาทไว เสนประสาทมีปลอกไมอีลินหุม ทําใหมองเห็นเปนสีขาว มีหนาที่เปนทางผานกระแสประสาทระหวางบริเวณตางๆ ของสมอง สมองของสัตวมีกระดูกสันหลัง แบงออกเปนสวนสําคัญหลายสวนคือ เซรีบรัม(cerebrum) เปนสมองสวนหนาสุดแบงออกเปน คือซีกวายและซีกขวาแตละสวนเรียก ซีรีบรัลเอมิสเฟยร(cerebral hemishere) โดยมีรองลึก (fissure)เปนตัวแบง แตละซีกแปลความรูสึกและสั่งการอวัยวะของรางกายดานตรงขาม นั้นคือสมองซีกซายควบคุมการทํางานของรางกายซีกขวา และสมองซีกขวาควบคุมการทํางานของรางกายซีกซาย สมองแตละซีกแบงออกเปน 4 สวน

Page 34: แผนการสอนที่1 วิชา ว40145 ชีิทยา ...panom/Bio40145/lesson plan BIO40145...แผนการสอน ภาคเร ยนท 1 ป

แผนการสอน ภาคเรียนที่ แผนการสอน ภาคเรียนที่ 11 ปการศึกษา ปการศึกษา 22554499 34 วิชา วิชา วว40145 40145 ชีววิทยาชีววิทยา 55

ก. frontal lobe สมองสวนหนาสุด เปนบริเวณสั่งการไปควบคุมการเคลื่อนไหวของอวัยวะที่ทํางานอยูภายใตอํานาจจิตใจ ข. parietal lobe ทําหนาที่รับความรูสึก เปนศูนยกลางรับความรูสึกตางๆ ค. temporal lobe ประกอบดวย olfactory area และ auditory area ซึ่งทําหนาที่เกี่ยวกับการดมกลิ่นและการไดยิน ง. occipital lobe เปนดานทายทอยสมอง ประกอบดวย visual area ทําหนาที่เกี่ยวกับการมองเห็น ทาลามัส(thalamus) เปนสมองสวนที่อยูขางใตถัดจากเซรีบรัม และประกอบดวยตัวเซลประสาทและแขนงประสาทที่ติดตอกับบริเวณอื่นๆ ทําหนาที่เปนศูนยรวมกระแสประสาทแลวถายทอดไปยังเซรีบรัม เซรีเบลลัม และไขสันหลัง เชนรับความรูสึกจากเซรีเบลลัมแลวสงตอไปบรเิวณสัง่การของเซรีบรัม เปนตน ไฮโพทาลามัส (hypothalamus) เปนสวนของสมองที่อยูใตทาลามัสประกอบดวยเซลลประสาทจํานวนนอย มีสวนยื่นออกมาติดตอกับตอมใตสมอง มีหนาที่ควบคุมกระบวนการสําคัญของรางกาย คือควบคุมอุณหภูมิของรางกาย ควบคุมสมดุลของน้ําในรางกายโดยสังเคราะหฮอรโมน ADH แลวสงไปที่หลอดไต เพ่ือดูดน้ํากลับเขาสูรางกายเพิ่มขึ้น ควบคุมความตองการพื้นฐานเกี่ยวกับการกินอาหารและน้ํา อารมณ เซรีเบลลัม(cerebellum) เปนสมองสวนสุดทายแยกออกเปน 2 ซีก มีเสนประสาทเชื่อมโยงซายขวาติดตอกันได ทําหนาที่ควบคุมการเคลื่อนไหวของรางกายใหประสาทกันอยางเปนระเบียบ ราบรื่นและเปนศูนยควบคุมการทรงตัวของรางกาย พอนส (pons) เปนสวนของแกนสมองประกอบดวยกลุมตัวเซลลประสาทสั่งการจํานวนมาก ทําหนาที่เปนสถานียอยถายทอดกระแสประสาทสั่งการ ควบคุมการเคลื่อนไหวเกี่ยวกับการเคี้ยว การหลั่งน้ําลาบ และการเคลื่อนไหวบนใบหนา เปนศูนยควบคุมการหายใจ เมดัลลาออบลองกาตา (medullla oblongata) เปนสวนสุดทายของสมองทีติดกับไขสันหลัง เปนที่อยูของเซลลประสาทสั่งการและเซลลประสาทสั่งการในระบบประสาทอัตโนวัติที่มีศูนยควบคุมการทํางานอวัยวะตางๆ ภายนอกอํานาจจิตใจ เชน ศูนยควบคุมการเตนของหัวใจ โดยหัวใจอาจเตนเร็วขึ้นหรือชาลง ศูนยควบคุมการหายใจ ศูนยควบคุมการไหลเวียนของเลือด ศูนยควบคุมการไอ การจาม และการอาเจียร

กิจกรรมการเรียนการสอน ข้ันนํา ครูและนักเรียนรวมกันทบทวนเรื่องการทํางานเซลลประสาท และใหนักเรียนชวยกันอธิบายวาสวนใดที่มีสวนในการทําใหเซลลประสาททํางานได

Page 35: แผนการสอนที่1 วิชา ว40145 ชีิทยา ...panom/Bio40145/lesson plan BIO40145...แผนการสอน ภาคเร ยนท 1 ป

แผนการสอน ภาคเรียนที่ แผนการสอน ภาคเรียนที่ 11 ปการศึกษา ปการศึกษา 22554499 35 วิชา วิชา วว40145 40145 ชีววิทยาชีววิทยา 55

ข้ันสอน ครูและนักเรียนอภิปรายรวมกันถึงศูนยควบคุมระบบประสาทโดยใหนักเรียนศึกษาจากสมองของหมู หุนจําลองสมองและสื่อมัลติมีเดียที่แสดงสวนตาง ๆ ของสมองและการทํางานของสมองสวนนั้น ในขณะเดียวกันครูอธิบายประกอบดวยเพ่ือใหนักเรียนมีความเขาใจมากยิ่งขึ้น ข้ันสรุป ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายสรุปเกี่ยวกับหนาที่การทํางานของสวนตาง ๆ สื่อและอุปกรณการเรียนการสอน

1. สื่อมัลติมีเดีย 2. เอกสารประกอบการสอน 3. หุนจําลองสมอง

การวัดผลประเมินผล 1. สังเกตจากการตั้งและตอบคําถามของนักเรียน 2. สังเกตจากการสรุปในทายคาบเรียน

บันทึกหลังการสอน ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

Page 36: แผนการสอนที่1 วิชา ว40145 ชีิทยา ...panom/Bio40145/lesson plan BIO40145...แผนการสอน ภาคเร ยนท 1 ป

แผนการสอน ภาคเรียนที่ แผนการสอน ภาคเรียนที่ 11 ปการศึกษา ปการศึกษา 22554499 36 วิชา วิชา วว40145 40145 ชีววิทยาชีววิทยา 55

แผนการสอนแผนการสอนที่ ที่ 1166 วิชา วิชา วว40145 40145 ชีววทิยา ชีววทิยา 55

เร่ืองเร่ือง การทํางานของระบบประสาทการทํางานของระบบประสาท

ชั้นชั้น มม..66 สัปดาหที่สัปดาหที่ 1144 คาบที่คาบที่ 2277 -- 2288 วันที่วันที่………………………………………………………………

สาระการเรียนรู ไขสันหลังเปนสวนที่ตอจากสมอง อยูภายในกระดูกสันหลัง มีเสนประสาทไขสัน(Spinal nerve)

หลังแยกออกเปนคู ๆ เชื่อมโยงกับหนวยรับความรูสึกและ หนวยปฏิบัติงาน โดยเสนประสาทไขสันหลังแตละคูจะมีหนาที่รับความรูสึกและนําคําสั่งเขาและออกจากไขสันหลัง(Mixed nerve) โดยวงจรของกระแสประสาทเริ่มจากหนวยรับความรูสึกผานไขสันหลังทางรากบนและนําคําสั่งไปยังหนวยปฏิบัติงานทางรากลาง ในสัตวแตละชนิดมีจํานวนเสนประสาทไขสันหลังแตกตางกัน ในคนมีจํานวน 31 คู ไขสันหลังมีหนาที่ควบคุมการทํางานของอวัยวะตางๆ โดยทํางานรวมกับสมอง หรืออาจสั่งการโดยไมผานสมองจัดเปนรีเฟล็กแอคชั่น (Reflex action)

ระบบประสาทแบงออกเปนระบบประสาทโซมาติก (Somatic nervous system) และระบบประสาทอัตโนวัต ิ(Autonomic nervous system) ระบบประสาทโซมาติกจะควบคุมการทํางานของกลามเน้ือลาย สวนระบบประสาทอัตโนวตัิจะควบคุมการทํางานของกลามเน้ือหัวใจ กลามเน้ือเรียบ และตอมระบบประสาทอัตโนวัติแบงการทํางานออกเปน 2 ระบบ คือ ระบบประสาทซิมพาเทติก (Sympathetic nervous system) และระบบประสาทพาราซิมพาเทตกิ (Parasympathetic nervous system)

ผลการเรียนรูที่คาดหวัง

1. ระบุสวนประกอบพรอมทั้งหนาที่ของไขสันหลังและอธิบายทศิทางการเคลื่อนทีข่องกระแสประสาทผานไขสันหลัง และสืบคนขอมูลเกี่ยวกับไขสันหลัง

2. อธิบายและเปรียบเทียบการทํางานของระบบประสาทโซมาติกและระบบประสาทอัตโนวตั ิ

เน้ือหาสาระ ไขสันหลัง เปนสวนที่ตอจากเมดัลลาออบลองกาตาอยูในโพรงกระดูกสันหลังและมีเยื่อหุมสมอง

หุมอยูดวย ไขสันหลังบริเวณใกลสมองมีขนาดใหญแลวคอยๆ เรียวเล็กลงเปนรูปกรวย ไขสันหลังประกอบดวยเกรนแมตเตอรอยูขางใน ถาตัดตามขวางสวนสีเทานี้จะมีรูปรางคลายผีเสื้อบิน ไวแมตเตอรของไขสันหลังอยูดานนอกและมีเสนใยประสาทมากมาย โดยใยประสาทยาวขนานไปกับไขสันหลัง มีเซลลประสาทเกี่ยวพันเปนตัวยึดใหอยูกับที่ หนาที่ของไขสันหลัง เปนศูนยกลางควบคุมการเคลื่อนไหวตางๆ เพ่ือตอบสนองสิ่งเราที่มาสัมผัสผิวหนัง เปนทางผานของกระแสประสาทระหวางอวัยวะตางๆกับสมองและเปนศูนยกลางของปฏิกิริยารีเฟลกซ

Page 37: แผนการสอนที่1 วิชา ว40145 ชีิทยา ...panom/Bio40145/lesson plan BIO40145...แผนการสอน ภาคเร ยนท 1 ป

แผนการสอน ภาคเรียนที่ แผนการสอน ภาคเรียนที่ 11 ปการศึกษา ปการศึกษา 22554499 37 วิชา วิชา วว40145 40145 ชีววิทยาชีววิทยา 55

ระบบประสาทโซมาติก เปนการควบคุมการทํางานของกลามเนื้อลาย โดยเริ่มจากหนวยรับความรูสึก รับกระแสประสาทเขาสูเสนประสาทไขสันหลังแลวสงตอไปยังสมอง หรือกระแสประสาทจากหนวยรับความรูสึกสงเขาสมองโดยตรงจากนั้นสมองจะสงกระแสประสาทนําคําสั่งออกมาทางเสนประสาทสมอง หรือเสนประสาทไขสันหลังไปยังหนวยปฏิบัติงาน ซึ่งเปนกลามเนื้อลาย หรือกลามเนื้อที่ยึดติดกับกระดูก เปนกลามเนื้อที่อยูภายในอํานาจจิตใจ เชนบังคับใหยืน เดิน นั่ง คือเกี่ยวของกับการเคลื่อนไหวหรือการทรงตัวซึ่งอยูภายใตการบังคับของสมองสวนเซรีบรัม

ระบบประสาทอัตโนวัติ เปนระบบประสาทที่ควบคุมการทํางานของกลามเนื้อและอวัยวะภายในทั้งหลาย เปนระบบประสาทที่ทํางานนอกอํานาจจิตใจ (involuntary nervous system) แบงออกเปน 2 สวนคือ 1. ระบบประสาทซิมพาเทติก(sympathetic nervous system) ไดแกเสนประสาทที่ออกจากไขสันหลังสวนอกและเอว เม่ือถูกกระตุน มักทําใหอวัยวะตางๆ ทํางานเร็วขึ้น เชน หัวใจเตนเร็วขึ้น ตอมเหง่ือบีบตัว ทําใหเหง่ือออกงาย

2. ระบบประสาทพาราซิมเทติก(parasympathetic nervous system) ไดแกเสนประสาทที่ออกจากสมองสวนเมดัลลาออบลองกาตา และอีกสวนจากไขสันหลังบริเวณกระเบนเหน็บ ระบบประสาทนี้ทํางานตรงขามกับระบบประสาทซิมพาเทติก นั้นคือ เม่ือถูกกระตุนมักทําใหอวัยวะสวนใหญทํางานชาลง เชน หัวใจเตนชาลง ตอมเหง่ือขยายตัวทําใหเหง่ือออกนอย

กิจกรรมการเรียนการสอน ข้ันนํา ครูและนักเรียนรวมกันทบทวนเรื่องศูนยควบคุมระบบประสาท(สมอง) และใหนักเรียนชวยกันอธิบายวาเซลลประสาททํางานไดนอกจากสมองและควรที่จะมีที่ใดอีกบาง ข้ันสอน ครูและนักเรียนอภิปรายรวมกันถึงการทํางานศูนยควบคุมระบบประสาท(ไขสันหลัง)และการทํางานของระบบประสาทโซมาติก จากนั้นครูใหนักเรียนศึกษาลักษณะของสมองและไขสันหลังจากตัวอยางจริง (กบ) โดยใหนักเรียนทําการทดลองผาตัดกบ โดยเนนใหนักเรียนศึกษาทุกระบบที่เคยเรียนมาแลว ไดแก ระบบหมุนเวียนโลหิต ระบบหายใจ ระบบทางเดินอาหาร ระบบสืบพันธุ ระบบโครงราง และโดยเฉพาะ ระบบประสาทที่ควบคุมการทํางานของระบบตาง ๆ ซ ึ่งใหนักเรียนสังเกตเสนประสาทที่แยกออกมาจากไขสันหลัง ลักษณะไขสันหลังและสมอง กอนที่จะลงมือปฏิบัติจริงครูใหนักเรียนชมการสาธิตผากบจาก http://curry.edschool.virginia.edu/go/frog/Frog2/ กอนเพ่ือใหนักเรียนเขาใจวิธีการผาตัดมากยิ่งขึ้น จากนั้นนักเรียนลงมือทําการทดลองโดยที่ครูคอยอธิบายใหคําแนะนํา และ ตอบคําถามนักเรียนในแตละกลุม ใชเวลาประมาณ 30 นาที จากนั้นครูและนักเรียนรวมกันสรุปผลการศึกษาและครูอธิบายหนาที่และการทํางานของไขสันหลังและการทํางานของระบบประสาทโซมาติกของตอ จากนั้นครูและนักเรียนอภิปรายรวมกันถึงการทํางานของระบบประสาทอัตโนวัติ หลังจากนั้นครูจึงอธิบายเนื้อหาการทํางานของระบบประสาทอัตโนวัติ

Page 38: แผนการสอนที่1 วิชา ว40145 ชีิทยา ...panom/Bio40145/lesson plan BIO40145...แผนการสอน ภาคเร ยนท 1 ป

แผนการสอน ภาคเรียนที่ แผนการสอน ภาคเรียนที่ 11 ปการศึกษา ปการศึกษา 22554499 38 วิชา วิชา วว40145 40145 ชีววิทยาชีววิทยา 55

ข้ันสรุป ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายสรุปผลจากการทํากิจกรรมและหนาที่การทํางานของไขสันหลังการทํางานของระบบประสาทโซมาติก และระบบประสาทอัตโนวิติ สื่อและอุปกรณการเรียนการสอน

1. สื่อมัลติมีเดีย 2. อุปกรณในการทําการทดลอง ไดแก ตัวอยางสิ่งมีชีวิต คือ กบ ชุดผาตัด กลองจุลทรรศน

สตอริโอ 3. เอกสารประกอบการสอน

การวัดผลประเมินผล 1. สังเกตจากการตั้งและตอบคําถามของนักเรียน 2. สังเกตจากการทํากิจกรรมของนักเรียน 3. สังเกตจากการสรุปในทายคาบเรียน 4. รายงานการทําปฏิบัติการ

บันทึกหลังการสอน ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

Page 39: แผนการสอนที่1 วิชา ว40145 ชีิทยา ...panom/Bio40145/lesson plan BIO40145...แผนการสอน ภาคเร ยนท 1 ป

แผนการสอน ภาคเรียนที่ แผนการสอน ภาคเรียนที่ 11 ปการศึกษา ปการศึกษา 22554499 39 วิชา วิชา วว40145 40145 ชีววิทยาชีววิทยา 55

แผนการสอนที่ แผนการสอนที่ 1177 วิชา วิชา วว40145 40145 ชีววทิยา ชีววทิยา 55

เร่ืองเร่ือง อวัยวะรับสัมผัสอวัยวะรับสัมผัส

ชั้นชั้น มม..66 สัปดาหที่สัปดาหที่ 1155 คาบที่คาบที่ 2299 -- 3300 วันที่วันที่………………………………………………………………

สาระการเรียนรู การรับรูตอสิ่งแวดลอมของคนตองอาศัยอวัยวะรับสัมผัส (Sensory organ) คือนัยนตา หู จมูก

ลิ้น และผวิหนังซึ่งทําหนาที่รับสัมผัสสิ่งเราแตกตางกนั อวัยวะรบัสัมผัสจะมีเดนไดรตของเซลลประสาทหรือเซลลที่รบัสัมผัสสิ่งเราแลวทําใหเกิดกระแสประสาทสงไปยังสมองเพื่อแปลความหมายเปนการรับรูสิ่งเรานั้นๆ

ผลการเรียนรูที่คาดหวัง

อธิบายโครงสราง การทํางานและทําปฏิบตัิการเกี่ยวกับอวัยวะรับสัมผัสแตละชนิดและตระหนักถึงความสําคญัของระบบประสาทและอวยัวะรบัสัมผัส

เน้ือหาสาระ

นัยนตา ทําหนาที่รับแสงสวางและแสงสีตางๆในสิ่งมีชีวิต แตสิ่งมีชีวิตบางชนิดทําหนาที่ไมครบถวนเชนในยูกลีนา สามารถรับรูไดวามีแสงหรือไมเทานั้นไมสามารถแยกคลื่นแสงได เรียก eye spot โครงสรางของนัยนตาประกอบดวย 1. สเคลรา (sclera) ชั้นเยื่อเหนียวไมยืดหยุน ตอนหนาโปรงใสเรียกกระจกตา(cornea) 2. คอรอยด (choroid) มีเสนเลือดมาเลี้ยง มีรงควัตถุแผกระจายปองกันแสงทะลุผานชั้นเรนตินา เรียก ตาดํา ทางดานหนาเลนสมีมานตา(Iris)เปนผนังกั้นเลนสบางสวนทําใหเกิดชองเรียก pupil

3.เรตินา (retina) ประกอบสวนตางๆ ดังนี้คือ 3.1 เซลลรับแสง ไดแก เซลลรูปแทง (rod cell) ไวตอแสงมากแตแยกสีไมได ไวดีที่สุดที่ชวงสีเขียว ใชดูในที่มืดภายในเซลลรูปแทงจะมีสารโรดอปซิน ซึ่งเกิดจากโปรตีนออปซิน+เรตินิน (อนุพันธของวิตามินเอ), เซลลรูปกรวย มี 3 ชนิด ที่ไวตอสีน้ําเงิน ,สีเขียว และ สีแดง 3.2 โฟเวีย(fovea) บริเวณกลางเรตินา มีเซลลรูปกรวยมากที่สุด ทําใหเห็นภาพชัดเจนที่สุด

4.3 จุดบอด (blind spot) บริเวณที่ไมมีเซลลรับแสงเลย หู ทําหนาที่รับความถี่ คลื่นแสงและการทรงตัว มีโครงสรางดังตอไปน้ี

1. หูตอนนอก ตั้งแตใบหู เยื่อแกวหู ทําหนาที่รับคลื่นเสียงจากภายนอก 2. หูตอนกลาง ประกอบดวย ทอยูสเตเซียน(eustachian tube) เชื่อมกับลําคอทําหนาที่ปรบความดัน และสวนของกระดูกหูมี 3 ชิ้น เรียงจากนนอกเขาดานใน กระดูกคอน ทั่ง โกลน ทําหนาที่ขยายความสั่นสะเทือนเพ่ิมมากขึ้นไดถึง 20 เทา

Page 40: แผนการสอนที่1 วิชา ว40145 ชีิทยา ...panom/Bio40145/lesson plan BIO40145...แผนการสอน ภาคเร ยนท 1 ป

แผนการสอน ภาคเรียนที่ แผนการสอน ภาคเรียนที่ 11 ปการศึกษา ปการศึกษา 22554499 40 วิชา วิชา วว40145 40145 ชีววิทยาชีววิทยา 55

3. หูตอนในประกอบดวย คอเคลีย (cochlea) ทําหนาที่รับคลื่นเสียง แลวกระตุนปลายประสาทสงสัญญาณไปยังสมอง และสวนเซมิเซอรคิวลารคาแนล (semicircular canal) เปนอวัยวะเกี่ยวกับการทรงตัว ผิวหนัง ทําหนาที่รับสัมผัส ประกอบดวยเซลลประสาทรับสัมผัสหลายชนิด เชน รับสัมผัสเกี่ยวกับความรอน เย็น ความเจ็บปวด สวนใหญอยูในชั้นของหนังแท

จมูกทําหนาที่รับกลิ่น ประกอบดวย เซลลรับกลิ่น(olfactory cell) เปนเซลลประสาทชนิด 2 ขั้ว จะรับกลิ่นแลวกระตุนปลายประสาทใหสงสัญญาณไปตามเสนประสาทรับกลิ่น(olfactory nerve) เขาสมอง และสารระเหยรับกลิ่นไดควรมีสมบัติดังน้ีคือ ระเหยไดในน้ํา, ละลายน้ําได เพ่ือผานเยื่อบุจมูกได, ละลายไดดีในไขมัน เพราะเซลลรับกลิ่นมีสารไขมันเปนองคประกอบ ลิ้น ทําหนาที่รับรส (taste bud) เซลลรับรสมีอยู 4 ชนิด รับรสตางกัน 4 รส กระจายดังนี้ คือ รสหวาน- ปลายลิ้น, รสขม-โคนลิ้น, รสเปรี้ยว-ขางลิ้น และ รสเค็ม-ขอบดานปลาย กิจกรรมการเรียนการสอน ข้ันนํา ครูซักถามนักเรียนเกี่ยวกับการมองเห็น การไดยิน การรับสัมผัส การรับกลิ่นและการรับรสของมนุษยและสิ่งมีชีวิตทั้งหลาย นักเรียนในชั้นเรียนรวมการอภิปรายและซักถาม ข้ันสอน ครูนําหุนจําลองนัยนตามาใหนักเรียนศึกษา และอภิปรายซักถามเกี่ยวกับสวนตางๆของนัยนตา และหนาที่ของแตละสวน ถาสวนใดนักเรียนบอกไมไดครูจึงอภิบายใหนักเรียนฟง พรอมกับอธิบายความสัมพันธในการทํางานรวมกันของแตสวนดวย จากนั้นครูการนําหุนจําลองหู และผิวหนังมาใหนักเรียนศึกษาดวย จากนั้นครูและนักเรียนอภิปรายรวมกันเกี่ยวหนาที่การทํางานขององคประกอบของหูและผิงหนังแตละสวน โดยอธิบายประกอบสื่อมัลติมิเดียและภาพเคลื่อนไวเพื่อใหนักเรียนมีความเขาใจมากยิ่งขึ้น

ครูนําหุนจําลองจมูกมาใหนักเรียนศึกษา และอภิปรายซักถามเกี่ยวกับสวนตางๆ ของจมูกและหนาที่ของแตละสวน ถาสวนใดนักเรียนบอกไมไดครูจึงอภิบายใหนักเรียนฟง พรอมกับอธิบายความสัมพันธในการทํางานรวมกันของแตสวนดวย จากนั้นครูและนักเรียนอภิปรายรวมกันเกี่ยวหนาที่การทํางานขององคประกอบของตุมรับรสที่อยูบนลิ้น โดยครูอธิบายประกอบสื่อมัลติมีเดียและภาพเคลื่อนไหว ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายความสัมพันธในการทํางานรวมกันของการไดกลิ่นและการรับรส ข้ันสรุป นักเรียนรวมกันสรุปเกี่ยวกับหนาที่การทํางานของอวัยวะรับสัมผัส สื่อและอุปกรณการเรียนการสอน

1. สื่อมัลติมีเดีย 2. เอกสารประกอบการสอน

Page 41: แผนการสอนที่1 วิชา ว40145 ชีิทยา ...panom/Bio40145/lesson plan BIO40145...แผนการสอน ภาคเร ยนท 1 ป

แผนการสอน ภาคเรียนที่ แผนการสอน ภาคเรียนที่ 11 ปการศึกษา ปการศึกษา 22554499 41 วิชา วิชา วว40145 40145 ชีววิทยาชีววิทยา 55

3. หุนจําลองอวัยวะรับสัมผัส

การวัดผลประเมินผล 1. สังเกตจากการตั้งและตอบคําถามของนักเรียน 2. สังเกตจากการสรุปในทายคาบเรียน

บันทึกหลังการสอน ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

Page 42: แผนการสอนที่1 วิชา ว40145 ชีิทยา ...panom/Bio40145/lesson plan BIO40145...แผนการสอน ภาคเร ยนท 1 ป

แผนการสอน ภาคเรียนที่ แผนการสอน ภาคเรียนที่ 11 ปการศึกษา ปการศึกษา 22554499 42 วิชา วิชา วว40145 40145 ชีววิทยาชีววิทยา 55

แผนการสอนที่ แผนการสอนที่ 1188 วิชา วิชา วว40145 40145 ชีววทิยา ชีววทิยา 55

เร่ืองเร่ือง การทดลองเร่ืองระบบประสาทการทดลองเร่ืองระบบประสาท

ชั้นชั้น มม..66 สัปดาหที่สัปดาหที่ 1166 คาบที่คาบที่ 3311-- 3322 วันที่วันที่………………………………………………………………

สาระการเรียนรู การรับรูตอสิ่งแวดลอมของคนตองอาศัยอวัยวะรับสัมผัส คือ นัยนตา หู จมูก ลิ้น และผิวหนังซ่ึง

ทําหนาที่รับสัมผัสสิ่งเราที่แตกตางกัน อวัยวะรับสัมผัสจะมีเดนไดรสของเซลลประสาทซึ่งเปลี่ยนแปลงไปทําหนาที่รับสัมผัสสิ่งเราทําใหเกิดกระแสประสาทสงไปยังสมองเพื่อแปลความหมายเปนการรับรูตอสิ่งเรานั้นๆ

ผลการเรียนรูที่คาดหวัง

1. บอกไดวาบริเวณตาง ๆ ของเรตินารับภาพชัดเจนที่สุด 2. ระบุบริเวณของเรตินาที่รับภาพชัดเจนที่สุด 3. อธิบายไดวาเหตุใดเม่ือวัตถุอยูในบางตําแหนงนัยนตาไมสามารถรับภาพวัตถุนั้นได 4. บอกไดวาผิวหนังบริเวณตาง ๆ รับสัมผัสไดแตกตางกัน 5. อธิบายคลื่นเสียงผานกระโหลกศีรษะเปรียบเทียบกับผานอากาศเขารูหูได 6. อธิบายผลของอุณหภูมิตอการรับรูรสได 7. บอกบริเวณที่มีเซลลรับความรูสึกสัมผัสและรับความรูสึกดานอุณหภูมิได 8. ทดสอบกิริยาสนองฉับพลันอยางงาย

เน้ือหาสาระ อวัยวะรับความรูสึกเปนองคประกอบสวนหนึ่งของระบบประสาท เนื่องจากในอวัยวะรับ

ความรูสึกนั้นประกอบดวยหนวยรับความรูสึก ซึ่งเปนเซลลที่ดัดแปรมาจากเซลลประสาท เพ่ือทําหนาที่รับรูการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดลอม และการถายทอดเปนกระแสประสาท ไปยังสวนตางๆของรางกาย เซลลรับความรูสึกแตละชนิดจะมีรูปรางแตกตางกัน บางชนิดเปนเซลลประสาทปลายลอย (free nerve ending) เชนเซลลประสาทรับความรูสึกของผิวหนัง แตบางชนิดก็มีแคปซูลหุม ทําใหมีรูปรางพิเศษเชน เซลลรูปแทง (rod cell) และเซลลรูปกรวย(cone cell) ของนัยนตาเปนตน อวัยวะรับความรูสึกของสัตวชั้นสูงที่รับรูการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดลอมภายนอก มี 5 ชนิดคือ นัยนตา หู จมูก ลิ้น และผิวหนัง แตละชนิดประกอบดวยเซลลรับความรูสึกที่จําเพาะตอตัวกระตุนที่แตกตางกัน จึงทําใหอวัยวะรับความรูสึกแตละชนิดประกอบดวยเซลลรับความรูสึกที่จําเพาะตอตัวกระตุนที่แตกตางกันออกไป อวัยวะที่ประกอบดวยเซลลรับความรูสึกหลายชนิด ก็สามารถรับความรูสึกไดหลายอยาง นอกจากอวัยวะรับความรูสึกทั้ง 5 แลว ลึกเขาไปภายในรางกายยังมีกลุมเซลลรับความรูสึกอีกพวกหนึ่ง ซึ่งสามารถรับรูการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดลอมภายในรางกาย กลุมเซลลเหลานี้อยูตาม

Page 43: แผนการสอนที่1 วิชา ว40145 ชีิทยา ...panom/Bio40145/lesson plan BIO40145...แผนการสอน ภาคเร ยนท 1 ป

แผนการสอน ภาคเรียนที่ แผนการสอน ภาคเรียนที่ 11 ปการศึกษา ปการศึกษา 22554499 43 วิชา วิชา วว40145 40145 ชีววิทยาชีววิทยา 55

ผิวหนังของอวัยวะตางๆ หรือฝงอยูในกลามเนื้อ สามารถรับรูแรงกด ความเจ็บปวด การหดตัวของกลามเน้ือ และการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาอื่นๆ เชนความเขมขนของเลือดเปนตน สําหรับปฏิกิริยาตอบสนองซึ่งเกิดขึ้นอยางอัตโนวัติ โดยไมมีการเตรียมตัวหรือลวงหนาเรียก กิริยาสนองฉับพลัน(reflex) ไมจําเปนตองอยูใตการควบคุมของสมอง แตสั่งงานมาจากไขสันหลังโดยผานวงสนองฉับพลัน (reflex arc) ซึ่งบางอยางเกิดขึ้นโดยไมตองมีเซลลประสาทประสานงาน เชนกิริยาสนองแบพลันของการกระตุกขา เม่ือเคาะตรงเอ็นใตหัวเขา(knee jerk) กิจกรรมการเรียนการสอน ข้ันนํา ครูและนักเรยีนรวมกันอภิปรายเพื่อทบทวนบทเรียนเรื่องอวัยวะรบัสัมผัส ข้ันสอน ครูอธิบายและสาธิตขั้นตอนในการทํากิจกรรมจากใบกิจกรรมเรื่อง อวัยวะรับสัมผัสและการตอบสนองที่แจกใหกับนักเรียนไปในคาบที่แลว หลังจากนั้นครูใหนักเรียนแตละกลุมทํากิจกรรม โดยใชเวลาประมาณ 30 นาทีซึ่งครูคอยใหคําแนะนําและสังเกตการทํากิจกรรมของแตละกลุมอยางใกลชิด หลังจากทํากิจกรรมเสร็จเรียบรอย สุมนักเรียนบางกลุมขึ้นมานําเสนอผลการทดลองที่ได จากนั้นครูและนักเรียนชวยกันสรุปผลของการทํากิจกรรม ข้ันสรุป ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายสรุปผลที่ไดจากการทํากิจกรรมซึ่งนักเรียนตองสามารถอธิบายถึงการรับรูและการทํางานของอวัยวะรับความรูสึกแตละชนิดได และใหนักเรียนผลการทดลองและสรุปผลการทดลองในวันถัดไป สื่อและอุปกรณการเรียนการสอน

1. ใบกิจกรรมเรื่อง อวัยวะรับสัมผัสและการตอบสนอง 2. อางควบคุมอุณหภูมิ 3. นาฬิกา 4. น้ําตาลทรายหรือเกลือแกง 5. กรดน้ําสมเจือจาง 10 % 6. สอมเสียง 7. กระดาษสีเหลือง แดง เขียว น้ําเงิน ขนาด 1 x 1 นิ้ว2 ติดดามไมสําหรับถือ 8. กระดาษทิชชู 9. ฆอนยาง 10.หุนจําลองลูกตา 11.หุนจําลองหู 12.หุนจําลองผิวหนัง

Page 44: แผนการสอนที่1 วิชา ว40145 ชีิทยา ...panom/Bio40145/lesson plan BIO40145...แผนการสอน ภาคเร ยนท 1 ป

แผนการสอน ภาคเรียนที่ แผนการสอน ภาคเรียนที่ 11 ปการศึกษา ปการศึกษา 22554499 44 วิชา วิชา วว40145 40145 ชีววิทยาชีววิทยา 55

การวัดผลประเมินผล 1. สังเกตการทํากิจกรรมภายในหองเรียน 2. สังเกตจากการซักถามของนักเรียน 3. สังเกตจากการสรุปในทายคาบเรียน 4. รายงานการทําปฏิบัติการ

บันทึกหลังการสอน ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

Page 45: แผนการสอนที่1 วิชา ว40145 ชีิทยา ...panom/Bio40145/lesson plan BIO40145...แผนการสอน ภาคเร ยนท 1 ป

แผนการสอน ภาคเรียนที่ แผนการสอน ภาคเรียนที่ 11 ปการศึกษา ปการศึกษา 22554499 45 วิชา วิชา วว40145 40145 ชีววิทยาชีววิทยา 55

แผนการสอนที่ แผนการสอนที่ 1199 วิชา วิชา วว40145 40145 ชีววทิยา ชีววทิยา 55

เร่ืเร่ืององ สอบยอยครั้งที่สอบยอยครั้งที่ 22 และการศึกษาพฤติกรรมและกลไกการเกิดพฤติกรรมและการศึกษาพฤติกรรมและกลไกการเกิดพฤติกรรม

ชั้นชั้น มม..66 สัปดาหที่สัปดาหที่ 1177 คาบที่คาบที่ 3333 -- 3344 วันที่วันที่………………………………………………………………

สาระการเรียนรู พฤติกรรม (Behavior) คือปฏิกิริยาที่สิ่งมีชีวิตแสดงออกมาเพื่อตอบสนองตอสิ่งเราภายนอกและ

ภายในที่มากระตุนใหเปนไปอยางเหมาะสมเพื่อการอยูรอดของชีวิต การเกิดพฤตกิรรมในสัตว ตองไดรับการกระตุนจากสิ่งเรา (Stimulus) ที่สอดคลองกับเหตุจูงใจ (Motivation)

ผลการเรียนรูที่คาดหวัง

บอกความหมายของพฤติกรรม ทําปฏิบตัิการศึกษาพฤติกรรม และอธิบายกลไกการเกิดพฤติกรรม

เน้ือหาสาระ

พฤติกรรม (behavior) พฤติกรรมเปนปฏิกิริยาที่สิ่งมีชีวิตตอบโตตอการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดลอมทั้งภายในและภายนอกตัวของสิ่งมีชีวิตน้ัน ๆ พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิตแตละชนิดในธรรมชาติ เปนแบบแผนของการปรับตัวเพ่ือใหเขากับสภาพแวดลอมที่อาศัยอยูเรียกการปรับตัวนี้วา การปรับตัวทางดานพฤติกรรม (behavior adaptation) กลไกการเกิดพฤติกรรม การเกิดพฤติกรรมตองมีสิ่งมากระตุน (stimulus) และสิ่งมีชีวิตน้ันตอบสนอง (respon) สิ่งเราที่ทําใหเกิดพฤติกรรมแบงออกไดเปน 2 แบบคือ

1. สิ่งเราภายนอก (external stimuli) คือสิ่งเราที่อยูนอกตัวผูแสดงพฤติกรรม 2. สิ่งเราภายใน (internal stimuli) เปนสิ่งเราที่อยูภายในตัวของผูที่แสดงพฤติกรรมเอง

ในสิ่งมีชีวิตชั้นต่ําจะมีระบบประสาทที่ไมไดพัฒนามากนัก เชนมีเสนในประสานงาน (co-ordinating fiber)เทานั้น ในพวกซีเลนเทอเรต ระบบประสาทพัฒนาไปบางแตก็ไมมากโดยเปนแบบขายใยประสาท (nerve net)ในสิ่งมีชีวิตชั้นสูง มีระบบประสาทที่พัฒนาไปมากทั้งในสวนของอวัยวะรับความรูสึกและอวัยวะตอบสนองโดยอวัยวะรับความรูสึกแบงออกไดเปน

- รับความรูสึกจากภายนอก (exteroceptor) โดยรับการกระตุนจากสิ่งเราภายนอก เชน ตา - รับความรูสึกจากภายใน (interoceptor) โดยรับการกระตุนจากสิ่งเราภายใน - รับการกระตุนทั้งภายในและภายนอก (propioceptor) พวกนี้ชวยทําใหเราทราบตําแหนงของ

รางกายวา อยูอยางใด

พฤติกรรมประเภทตางๆ ในสิ่งมีชีวิต แบงออกเปน 2 ประเภทคือ 1.พฤติกรรมที่เปนมาแตกําเนิด (inheried behavior) พฤติกรรมนี้เปนพฤติกรรมที่ถูกควบคุมโดยหนวยทางพันธุกรรมทั้งหมด เรียกวา ฟกแอกชันแพทเทอรน (fix action pattern , FAP) แบง

Page 46: แผนการสอนที่1 วิชา ว40145 ชีิทยา ...panom/Bio40145/lesson plan BIO40145...แผนการสอน ภาคเร ยนท 1 ป

แผนการสอน ภาคเรียนที่ แผนการสอน ภาคเรียนที่ 11 ปการศึกษา ปการศึกษา 22554499 46 วิชา วิชา วว40145 40145 ชีววิทยาชีววิทยา 55

ออกเปน รีเฟลกซตอเนื่อง (chain reflex) ซึ่งเดิมเรียกวา สัญชาตญาณ (insticnt หรือ innate behavior) 2. พฤติกรรมที่เกิดจากการเรียนรู ( learned behavior) เปนพฤติกรรมที่ตองอาศัยพันธุกรรมและประสบการณมาประกอบกัน ซึ่งเปนพฤติกรรมที่เกิดจากการเรียนรูโดยแบงออกไดเปน การฝงใจ (imprinting) ความเคยชิน (habituation) การมีเง่ือนไข (conditioning หรือ condition reflex) การลองผิดลองถูก (trial and error learning) การใหเหตุผล (resoning หรือ insight learning) กิจกรรมการเรียนการสอน ข้ันนํา ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายซักถามถงึสาเหตุการเกิดพฤติกรรมในสิ่งมีชีวติแตละชนิด ข้ันสอน ครูอธิบายและสาธิตขั้นตอนในการทํากิจกรรมจากใบกิจกรรมเรื่อง การศึกษาพฤติกรรมและกลไกการเกิดพฤติกรรมของสัตว หลังจากนั้นครูใหนักเรียนแตละกลุมทํากิจกรรม โดยใชเวลาประมาณ 30 นาทีซึ่งครูคอยใหคําแนะนําและสังเกตการทํากิจกรรมของแตละกลุมอยางใกลชิด หลังจากทํากิจกรรมเสร็จเรียบรอย สุมนักเรียนบางกลุมขึ้นมานําเสนอผลการทดลองที่ได จากนั้นครูและนักเรียนชวยกันสรุปผลของการทํากิจกรรม ข้ันสรุป ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายสรุปผลที่ไดจากการทํากิจกรรมซึ่งนักเรียนตองสามารถอธิบายถึงพฤติกรรมและกลไกการเกิดพฤติกรรมของสัตว สื่อและอุปกรณการเรียนการสอน

1. สื่อมัลติมีเดีย 2. ใบกิจกรรม 3. เอกสารประกอบการสอน

การวัดผลประเมินผล 1. สังเกตจากการตั้งและตอบคําถามของนักเรียน 2. สังเกตจากการสรุปในทายคาบเรียน

บันทึกหลังการสอน …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

Page 47: แผนการสอนที่1 วิชา ว40145 ชีิทยา ...panom/Bio40145/lesson plan BIO40145...แผนการสอน ภาคเร ยนท 1 ป

แผนการสอน ภาคเรียนที่ แผนการสอน ภาคเรียนที่ 11 ปการศึกษา ปการศึกษา 22554499 47 วิชา วิชา วว40145 40145 ชีววิทยาชีววิทยา 55

แผนการสอนที่ แผนการสอนที่ 2200 วิชา วิชา วว40145 40145 ชีววทิยา ชีววทิยา 55

เร่ืองเร่ือง พฤติกรรมสัตวพฤติกรรมสัตว ความสัมพันธระหวางพฤตกิรรมกับพัฒนาการของระบบประสาทความสัมพันธระหวางพฤตกิรรมกับพัฒนาการของระบบประสาท

พฤติกรรมทางสังคมพฤติกรรมทางสังคม

ชั้นชั้น มม..66 สัปดาหที่สัปดาหที่ 1188 คาบที่คาบที่ 3355 -- 3366 วันที่วันที่………………………………………………………………

สาระการเรียนรู พฤติกรรมในสัตวมีทั้งพฤตกิรรมแตกําเนดิ (Innate behavior) และพฤติกรรมที่เกิดจากการ

เรียนรู (Learned behavior) พฤติกรรมแตกําเนิดไดแก โอเรียนเตชนั (Orientation) เชน ไคนซีิส (Kinesis) แทกซิส (Taxis)พฤติกรรมแบบรีเฟลกซ (Reflex) พฤติกรรมแบบรีเฟลกตอเน่ือง (Chain of reflex) พฤติกรรมที่เกิดจากการเรียนรู ไดแก แฮบบิชูเอชัน (Habituation) แบบฝงใจ (Imprinting) แบบลองผิดลองถูก (Trail and error) แบบมีเง่ือนไข (Conditioning) แบบใชเหตุผล (Reasoning)

ความสามารถในการแสดงพฤติกรรมของสัตวมีความสมัพันธกับความซบัซอนของระบบประสาทสิ่งมีชีวติที่ไมมีระบบประสาทหรือระบบประสาทเจริญไม ดี มักมีพฤติกรรมแตกําเนิดเปนสวนใหญ สวนสิ่งมีชีวิตที่ระบบประสาทเจริญดีมีพฤติกรรมการเรียนรูมากขึ้น ในมนุษยมีระบบประสาทเจริญดี จึงมีพฤติกรรมแบบการใชเหตุผลมากที่สุด

พฤติกรรมตาง ๆ ของสิ่งมีชีวติแตละชนิดมีแนวโนมปรับตวัใหเขากบัสิ่งแวดลอมเพื่อใหมีชีวิตอยูรอดได เม่ือสิ่งมีชีวิตพวกเดียวกันมาอยูดวยกันยอมเกิดพฤติกรรมทางสังคมขึ้นเพ่ือสื่อความหมายใหเขาใจซึ่งกันและกันโดยใชทาทาง (Visual communication) เสียง (Sound communication) การสัมผัส (Tactile communication) และสารเคมี(Chemical communication) เชน ฟโรโมน (Pheromone)

ผลการเรียนรูที่คาดหวัง

1. อธิบายกลไกการเกิดพฤติกรรมพรอมยกตวัอยางพฤติกรรมแบบตางๆ และทํากิจกรรมเพื่อศึกษาพฤติกรรมของสิ่งมีชีวติ

2. อธิบายความสัมพันธระหวางพฤติกรรมกับการพัฒนาของระบบประสาท 3. อธิบายพรอมยกตวัอยางพฤติกรรมทางสังคมของสตัว และสื่อตาง ๆ ที่ใชในการติดตอซึง่กัน

และกัน เน้ือหาสาระ พฤติกรรมที่เปนมาแตกําเนิด (inheried behavior)

1. พฤติกรรมแบบรีเฟลกซ พฤติกรรมที่พบเสมอคือ พฤติกรรมแบบโอเรียนเทชัน (orientation) ซึ่งมีที่พบเห็นเสมอคือ

1.1 ไคนีซิส (kinesis) เปนการเคลื่อนที่เขาหาหรือหนีจากสิ่งเราที่ไมมีทิศทางแนนอน เน่ืองจาก ระบบประสาทยังไมเจริญ

Page 48: แผนการสอนที่1 วิชา ว40145 ชีิทยา ...panom/Bio40145/lesson plan BIO40145...แผนการสอน ภาคเร ยนท 1 ป

แผนการสอน ภาคเรียนที่ แผนการสอน ภาคเรียนที่ 11 ปการศึกษา ปการศึกษา 22554499 48 วิชา วิชา วว40145 40145 ชีววิทยาชีววิทยา 55

1.2 แทกซีส (taxis) เปนการเคลื่อนที่เขาหาหรือหนีจากสิ่งเราที่มีทิศทางแนนอน พฤติกรรมนี้กอใหเกิดการรวมกลุมไดเปนอยางดี

2. พฤติกรรมแบบรีเฟลกซตอเน่ือง (chain of reflex) เปนพฤติกรรมที่ประกอบดวยพฤติกรรมรีเฟลกซยอยๆ หลายพฤติกรรม พฤติกรรมรีเฟลกซตอเน่ืองที่สัตยแสดงออกและเปนแบบแผนที่แนนอนตามชวงเวลาตาง ๆคือ

2.1 พฤติกรรมการหากินในเวลากลางคืน (nocturnal life) 2.2 พฤติกรรมการจําศิล 2.3 พฤติกรรมการอพยพ (migration)

พฤติกรรมการเรียนรู 1. การฝงใจ (imprinting) เปนพฤตกิรรมทีเ่กิดกับอยูอยางใดสิ่งมีชีวติแรกเกิด และในชวงเวลาที่จํากัดเทานัน้ 2. ความเคยชิน (habituation) เปนพฤติกรรมตอบสนองที่ตัวกระตุน หรือสิ่งเราไมมีความหมายตอการดํารงชีวิต ทั้งในทางบวกและในดานลบ และพฤติกรรมที่ตอบสนองจะคอยๆ ลดลงทั้ง ๆ ที่ตัวกระตุนยังอยู พฤติกรรมการเรียนรูแบบเคยชินน้ี ตองอาศัยความจํา และประสบการณเปนพ้ืนฐาน 3. การมีเง่ือนไข (conditioning) หรือการเรียนรูแบบมีเงือนไข (conditioning reflex หรือ associative learning) เปนการเรียนรูแบบที่มีสิ่งเราสองสิ่ง สิ่งเราสิ่งหนึ่งเปนสิ่งเราแทและสิ่งเราอีกสิ่งหนึ่งเปนสิ่งเราเทียม จะทําหนาที่แทนสิ่งเราแทได 4. การลองผิดลองถูก (trail and error learning) เปน พฤติกรรมที่สัตวตองเผชิญกับสิ่งเรา ที่ยังไมทราบแนนอนวาจะเปนผลดีหรือผลเสียตอตัวมัน 5. การใชเหตผุล (resoning หรือ insight learning) เปนพฤติกรรมทีพ่บในสตัวเลีย้งลูกดวยน้ํานมเทานั้นและจะเกิดมาในคน เพราะมีระบบประสาททีเ่จริญมากกวาสัตว

พฤติกรรมแตละแบบของสิ่งมีชีวิตที่แสดงออกมาจะมีความสัมพันธกับระบบประสาทของสิ่งมีชีวิตน้ัน ความสัมพันธระหวางพฤติกรรม และระบบประสาทเปนดังนี้

1. พืช ไมมีระบบประสาท พฤติกรรมมาแตกําเนิด 2. โพรทัสตเซลลเดียว ไมมีระบบประสาทหรือมีเสนในประสานงาน พฤติกรรมเปนมาแต

กําเนิด พวกไคนีซิสและแทกซิส 3. สัตวหลายเซลลที่ไมมีกระดูกสันหลัง ยังไมซับซอน เชน มีรางแหประสาทและประสาท

พฤติกรรมเปนมาแตกําเนิด 4. สัตวมีกระดูกสันหลังชั้นต่ํา สมองสวนหนาไมคอยเจริญดีมาก พฤติกรรมสวนใหญเร่ิมมี

การเรียนรูเพ่ิมมากขึ้นกวาสัตวไมมีกระดูกสันหลัง แตยังไมรูจักใชเหตุผล 5. สัตวเลี้ยงลูกดวยน้ํานมระบบประสาทสมองสวนหนาเจริญดี แตสมองสวนกลางลดขนาดลง

พฤติกรรมสวนใหญมีการเรียนรูมากยิ่งขึ้น และมีพฤติกรรมแบบใชเหตุผลดวย 6. มนุษย ระบบประสาทสมองสวนหนาเจริญมากสมองสวนกลางลดขนาดไปมาก พฤติกรรมสวนใหญมีการเรียนรู และการใชเหตุผลทีส่ลับซบัซอน และยุงยากมากที่สุด

Page 49: แผนการสอนที่1 วิชา ว40145 ชีิทยา ...panom/Bio40145/lesson plan BIO40145...แผนการสอน ภาคเร ยนท 1 ป

แผนการสอน ภาคเรียนที่ แผนการสอน ภาคเรียนที่ 11 ปการศึกษา ปการศึกษา 22554499 49 วิชา วิชา วว40145 40145 ชีววิทยาชีววิทยา 55

พฤติกรรมสื่อสารระหวางสัตว (animal communication behavior) ซึ่งประกอบดวยหลายลักษณะคือ 1. การสื่อสารดวยทาทาง (visual signal)

1.1 การสื่อสารของผึ้ง โดยการเตนรํา ซึ่งแบงออกเปน 2 แบบคือ - เตนรําเปนแบบวงกลม (round dance) - การเตนรําแบบสายกน (wagging dance 1.2 การสื่อสารของปลาสติกเกิล สามหนาม

2. การสื่อสารดวยเสียง (sound signal) พบไดในสัตวชั้นสูงทั่ว ๆ ไป และยังพบในแมลงดวย เสียงที่ออกมามีความหมายแตกตางกันออไปคือ

2.1 เสียงเรียกติดตอกัน (contact calls) 2.2 เสียงเรียกเตือนภัย (warning calls) 2.3 เสียงเรียกคู (mating calls)

3. การสื่อสารดวยการสัมผัส (physical contact) 4. การสื่อสารโดยสารเคมี (chemical signal) ใชสารเคมีที่เรียกวาฟโรโมนใชในการติดตอพวกเดียวกัน

ได ไดแก สารดึงดูดเพศตรงขาม (sex – attractants) สารเครื่องหมายนําทาง (trail substance) ไพรเมอรฟโรโมน (primer pheromone) 5.การสื่อสารโดยการกําหนดสถานที่ของวัตถุ (echolocation) กิจกรรมการเรียนการสอน ข้ันนํา

ครูและนักเรียนรวมกันทบทวนเรื่อง การศึกษาพฤติกรรม กลไกการเกิดพฤติกรรม และพฤติกรรมของสัตว ข้ันสอน ครูและนักเรียนอภิปรายรวมกันถึงพฤติกรรมของสัตวโดยใหนักเรียนนําเสนอสิ่งที่นักเรียนไดพบเห็นจริงในธรรมชาติวาสัตวมีพฤติกรรมอยางไรบาง หลังจากนั้นครูจึงอธิบายเนื้อหา ครู และนักเรียนรวมกันอภิปรายเกี่ยวกับความสัมพันธระหวางพฤติกรรมกับการพัฒนาของระบบประสาท โดยยกตัวอยางสิ่งมีชีวิตชนิดตาง ๆ มาเปนตัวอยางในการอภิปราย เชน พืช สิ่งมีชีวิตเซลลเดียว สัตวไมมีกระดูกสันหลัง เปนตน พรอมทั้งครูชวยอธิบายเกี่ยวกับความสัมพันธเหลานั้นประกอบดวย ครูและนักเรียนอภิปรายรวมกันถึงพฤติกรรมทางสังคมโดยใหนักเรียนนําเสนอสิ่งที่นักเรียนไดพบเห็นจริงในธรรมชาติวาสัตวมีพฤติกรรมทางสังคมอยางไร และเพราะเหตุใดจึงมีพฤติกรรมเชนน้ัน หลังจากนั้นครจึูงอธิบายเนื้อหา และยกตัวอยางพฤติกรรมของสิ่งมีชีวิตบางชนิดประกอบสื่อมัลติมีเดีย ข้ันสรุป

Page 50: แผนการสอนที่1 วิชา ว40145 ชีิทยา ...panom/Bio40145/lesson plan BIO40145...แผนการสอน ภาคเร ยนท 1 ป

แผนการสอน ภาคเรียนที่ แผนการสอน ภาคเรียนที่ 11 ปการศึกษา ปการศึกษา 22554499 50 วิชา วิชา วว40145 40145 ชีววิทยาชีววิทยา 55

ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายสรุปและอธิบายเปรียบเทียบเกี่ยวกับพฤติกรรมทางของสัตว ในแตละแบบ ความสัมพันธระหวางพฤติกรรมและการพัฒนาของระบบประสาท และพฤติกรรมทางสังคมของสิ่งมีชีวิต สื่อและอุปกรณการเรียนการสอน

1. สื่อมัลติมีเดีย 2. เอกสารประกอบการสอน

การวัดผลประเมินผล 1. สังเกตจากการตั้งและตอบคําถามของนักเรียน 2. สังเกตจากการสรุปในทายคาบเรียน

บันทึกหลังการสอน ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

Page 51: แผนการสอนที่1 วิชา ว40145 ชีิทยา ...panom/Bio40145/lesson plan BIO40145...แผนการสอน ภาคเร ยนท 1 ป

แผนการสอน ภาคเรียนที่ แผนการสอน ภาคเรียนที่ 11 ปการศึกษา ปการศึกษา 22554499 51 วิชา วิชา วว40145 40145 ชีววิทยาชีววิทยา 55

แผนการสอนที่ แผนการสอนที่ 2211 วิชา วิชา วว40145 40145 ชีชีววทิยา ววทิยา 55

เร่ืองเร่ือง การสัมมนาการสัมมนา

ชั้นชั้น มม..66 สัปดาหที่สัปดาหที่ 1199 คาบที่คาบที่ 3377 -- 3388 วันที่วันที่………………………………………………………………

สาระการเรียนรู การนําเสนอบทความ หรืองานวิจัยที่เกี่ยวของกับเนื้อหาในรายวิชา ว40145 ชีววิทยา 5

ผลการเรียนรูที่คาดหวัง 1. เพ่ือใหนักเรียนสามารถศึกษาหาขอมูลจากบทความทางวิชาการในเนื้อหารายวิชา ว40145

ชีววิทยา 5 ที่นักเรียนสนใจดวยตนเอง 2. เพ่ือฝกทักษะในการนําเสนอหนาชั้นเรียนและในที่สาธารณะ 3. เพ่ือใหนักเรียนเกิดการเรียนรูในวิธีการศึกษาหาขอมูลและการประมวลขอมูลเพ่ือใชในการ

นําเสนอ

เน้ือหาสาระ ขอมูลทางวิชาการที่ไดจากบทความและงานวิจัยจากแหลงขอมูลตาง ๆ ที่นักเรียนไปคนควาและ

ศึกษามา และมีการนําเสนอขอมูลดังกลาวหนาชั้นเรียน นําเสนอขอมูลงานทดลองที่นักเรียนไดทําทั้งภาคเรียน

กิจกรรมการเรียนการสอน ข้ันนํา ครูใหนักเรียนแตละกลุมเตรียมตัวเพ่ือที่จะใหสัมมนาหนาชั้นเรียนโดยที่ครูชี้แจงคะแนนที่จะใหในการใหสัมมนา กับนักเรียนดวย ข้ันสอน นักเรียนแตละกลุมออกมาใหสัมมนาและชั้นเรียน กลุมละประมาณ 10-15 นาที โดยในขณะสัมมนานั้น ผูฟงไมเขาใจสามารถซักถามผูใหสัมมนาได ครูและนักเรียนที่อยูในชั้นเรียนชวยกันสรุปในแตละหัวขอที่มีการใหสัมมนา ข้ันสรุป ครูและนักเรียนรวมกันสรุปสิ่งตาง ๆที่ไดจากการสัมมนาใน ครั้งนี้ สื่อและอุปกรณการเรียนการสอน

1. แผนใส 2. สื่อมัลติมีเดีย 3. ปายนิเทศ 4. แบบจําลอง

Page 52: แผนการสอนที่1 วิชา ว40145 ชีิทยา ...panom/Bio40145/lesson plan BIO40145...แผนการสอน ภาคเร ยนท 1 ป

แผนการสอน ภาคเรียนที่ แผนการสอน ภาคเรียนที่ 11 ปการศึกษา ปการศึกษา 22554499 52 วิชา วิชา วว40145 40145 ชีววิทยาชีววิทยา 55

การวัดผลประเมินผล 1. การถามและการตอบคําถามของนักเรียนในหองเรียน

2. ผลงานที่แตละกลุมนําเสนอ บันทึกหลังการสอน ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

Page 53: แผนการสอนที่1 วิชา ว40145 ชีิทยา ...panom/Bio40145/lesson plan BIO40145...แผนการสอน ภาคเร ยนท 1 ป

แผนการสอน ภาคเรียนที่ แผนการสอน ภาคเรียนที่ 11 ปการศึกษา ปการศึกษา 22554499 53 วิชา วิชา วว40145 40145 ชีววิทยาชีววิทยา 55

แแผนการสอนที่ ผนการสอนที่ 2222 วิชา วิชา วว40145 40145 ชีววทิยา ชีววทิยา 55

เร่ืองเร่ือง สอบปลายภาคเรียนที่สอบปลายภาคเรียนที่ 22

ชั้นชั้น มม..66 สัปดาหที่สัปดาหที่ 2200 คาบที่คาบที่ 3399 -- 4400 วันที่วันที่………………………………………………………………

สาระการเรียนรู -

ผลการเรียนรูที่คาดหวัง -

เน้ือหาสาระ -

กิจกรรมการเรียนการสอน ข้ันนํา

- ข้ันสอน - ข้ันสรุป - สื่อและอุปกรณการเรียนการสอน

- การวัดผลประเมินผล - บันทึกหลังการสอน ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………