แผนการสอนที่ · 2007-03-13 · แผนการสอนที่ 1...

81

Upload: others

Post on 29-Dec-2019

4 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: แผนการสอนที่ · 2007-03-13 · แผนการสอนที่ 1 ทัศนคติของชุมชนที่มีต ู ทอผี่มีความเครี
Page 2: แผนการสอนที่ · 2007-03-13 · แผนการสอนที่ 1 ทัศนคติของชุมชนที่มีต ู ทอผี่มีความเครี

แผนการสอนที่ 1 ทัศนคติของชมุชนท่ีมีตอผูท่ีมีความเครียด

เวลา 1 ชั่วโมง

จุดประสงคการเรียนรู เมื่อสิ้นสุดการอบรม ผูเขาอบรมสามารถ

1. ตระหนักถึงทัศนคติของตนเองตอผูที่มีความเครียด 2. เห็นความสําคัญของทัศนคติของตนเองทั้งดานบวกและดานลบวามีผลกระทบตอผูที่มี

ความเครียดได

สาระสําคัญ ความเครียดสามารถเกิดขึ้นไดกับบุคคลทุกเพศ ทุกวัย ทุกสถานะ ความเครียดในระดับต่ําจะเปนแรงผลักดันใหคนเราเกิดแรงมุมานะที่จะเอาชนะปญหาและอุปสรรคตางๆได แตถาเกิดความเครียดระดับสูงและคงอยูเปนเวลานานจะสงผลเสียตอสุขภาพกาย สุขภาพจิต พฤติกรรม ครอบครัว การทํางานและสังคมได ทัศนคติของคนในชุมชน ทั้งดานลบและดานบวกจะมีผลกระทบตอผูประสบปญหา หรือผูอยูในภาวะเครียดที่แตกตางกัน กลาวคือถามีทัศนคติดานลบ จะสงผลใหเกิดความเบื่อหนาย ไมสนใจขาดความเขาใจและเห็นใจ เกิดความเพิกเฉยที่จะใหความชวยเหลือ ปญหาจึงไมไดรับการแกไข แตถามีทัศนคติในดานบวก ก็จะทําใหเกิดความเขาใจ เห็นใจ เต็มใจใหความชวยเหลือ ชวยใหผูที่อยูในภาวะเครียดฟนฝาวิกฤตชีวิตไปได สามารถดํารงชีวิตอยูในชุมชนไดอยางปกติสุข เปนทรัพยากรที่มีคุณคาของครอบครัวและชุมชนตอไป

Page 3: แผนการสอนที่ · 2007-03-13 · แผนการสอนที่ 1 ทัศนคติของชุมชนที่มีต ู ทอผี่มีความเครี

กิจกรรมการเรียนรู

องคประกอบ/กลุมเวลา กิจกรรม เนื้อหา/สื่อ 1. ขั้นสรางความรูสึก ● ประสบการณ กลุมใหญ (10 นาที) 2.ขั้นจัดระบบความคิด ความเชื่อ ●สะทอนความคิด/ อภิปราย กลุมละ 5-10 คน (30 นาที) ●ความคิดรวบยอด กลุมใหญ (10 นาที) ●การประยุกตแนวคิด กลุม 2 คน (10 นาที)

- นําเขาสูบทเรียนโดยวิทยากรสุมถามผูเขาอบรม 4-5 คน วาใครเคยมีประสบการณพบเห็นผูที่อยูใน ภาวะเครียดในชุมชนบาง รูไดอยางไรวาเขามี ความเครียด และมีความคิดเห็นอยางไรตอผูที่อยูใน ภาวะเครียดเปดโอกาสใหผูเขาอบรมตอบ และ วิทยากรเขียนลงแผนใส - วิทยากรสรุปและเชื่อมโยงความคิดเห็นของผูเขา อบรมสูกรณีศึกษา - วิทยากรอานกรณีศึกษา - วิทยากรสุมถามผูเขาอบรม 3-4 คน ถึงความคิดเห็น ที่มีตอกรณีศึกษา - แบงกลุมผูเขาอบรมออกเปน 5 กลุม และอธิบาย ตามใบกิจกรรมที่ 1 - ใหแตละกลุมนําเสนอผลงานกลุม กลุมละ 3 นาที - วิทยากรสรุปเพิ่มเติม โดยเช่ือมโยงผลงานกลุมกับ การบรรยายตามใบความรูที่ 1 - ใหผูเขาอบรมจับคูแสดงความคิดเห็นในประเด็น “ทานมีแนวทางในการปรับความคิด/ความรูสึกที่ ไมดีของเพื่อนบานที่มีตอผูที่มีความเครยีดอยางไร” - วิทยากรสุมถาม 3-4 คู และใหคูที่มีความคิดเห็น แตกตางนําเสนอเพิ่มเติม - วิทยากรสรุป

-แผนใส, ปากกา - กรณีศึกษา ชีวิตของวันดี - ใบกิจกรรมที่ 1 - ใบความรูที่ 1

การประเมิน 1. ประเมินผลจากความสนใจของผูเขาอบรม 2. จากการซักถาม อภิปราย และการนําเสนอผลงานกลุม 3. จากการประยุกตแนวคิด ทัศนคติของผูเขาอบรมตอผูมีความเครียด

Page 4: แผนการสอนที่ · 2007-03-13 · แผนการสอนที่ 1 ทัศนคติของชุมชนที่มีต ู ทอผี่มีความเครี

กรณีศึกษา “ชวีิตของวนัด”ี

วันดี อายุ 45 ป ฐานะทางบานของเธอยากจน แยกทางกับสามี เธอตองแบกภาระเลี้ยงดูลูกที่กําลังอยูในวัยรุนอีก 2 คน ทุกวันวันดีตองออกไปทํางานนอกบานตั้งแตเชาตรูกวาจะกลับบานก็มืดค่ํา ทําใหเธอไมมีเวลาดูแลลูกอยางเต็มที่ ลูกของเธออายุ 15-16 ป อยูในชวงกําลังอยากรู อยากลอง เมื่อแมไมมีเวลาให ลูกก็ตองหันไปหาเพื่อน เริ่มติดเพื่อนถูกเพื่อนชักนําไปในทางที่ผิด เสพยาเสพติด เที่ยวตอนกลางคืน ไมไปโรงเรียน ขาดเรียน วันดีวิตกกังวลเรื่องลูกมาก เธอเริ่มมีอาการปวดศีรษะ เบื่ออาหาร นอนไมหลับ กินขาวไมได จึงไปหาหมอที่อนามัย และไดรับยาบํารุงและยานอนหลับมากินที่บาน เมื่อกินยาแลววันดีรูสึกอาการตัวเองไมดีขึ้น จึงไปขอยาที่สถานีอนามัยบอยๆ จนถูกเจาหนาที่ตําหนิวาไมไดปวยจริง เจาหนาที่ไมไดจายยาให และมองวันดีอยางเบื่อหนาย พรอมทั้งพูดกับวันดีวา “มาอีกแลวเปนประจําเลย โรคฟุงซานอยางนี้ไมจําเปนตองกินยา ไมเห็นเปนอะไรมาก ใครๆก็มีปญหาแบบนี้ กินยาไมไดชวยอะไรใหดีขึ้น มีปญหาก็ควรแกไขตนเหตุของปญหา ปญหาอยูที่ไหนก็ควรแกที่นั่น ไมควรเก็บไวคนเดียว” คําพูดที่เจาหนาที่อนามัยพูดกับวันดี ทําใหเธอไมกลาไปขอยาที่อนามัยอีก วันดีจึงไปหาซื้อยาที่รานขายยามากินเองทุกครั้งที่มีอาการ จากการเจ็บปวยทําใหวันดีขาดงานบอย เงินที่มีก็หมดไป จึงไปปรึกษาและขอความชวยเหลือจากญาติ ซึ่งไดรับการปฏิเสธ เมื่อขอคําแนะนําจากเพื่อนบานก็มักจะบอกกับวันดีวา เปนประสาทกินยามากๆ เดี๋ยวก็กระเพาะทะลุ ทําใหวันดีไมกลาไปปรึกษาใครอีก เก็บตัวเงียบอยูกับบานไมไปพบปะผูคน เบื่ออาหาร รางกายซูบผอม

Page 5: แผนการสอนที่ · 2007-03-13 · แผนการสอนที่ 1 ทัศนคติของชุมชนที่มีต ู ทอผี่มีความเครี

แผนการสอนที่ 1 เร่ือง ทัศนคตขิองชุมชนที่มีตอผูท่ีมีความเครียด

ใบกิจกรรมที่ 1 แบงกลุม 1-3 ใหอภิปรายรายละเอียดดังนี้ 1. ถาทานเปนวันดี ทานจะมีความรูสึกอยางไรตอบริการที่ทานไดรับ และรูสึกอยางไรตอการ แสดงออกของญาติและเพื่อนบาน 2. ทานคิดวามีผลกระทบอยางไร 2.1 วันดี 2.2 ครอบครัว 2.3 สังคม 3. ทานคาดวาในอนาคต ชีวิตของวันดีจะเปนเชนไร แบงกลุม 4-5 ใหอภิปรายรายละเอียดดังนี้ 1. ทานคิดวาทัศนคติ หรือความคิด / ความรูสึกของเพื่อนบาน หรือผูคนในชุมชนทั้งดานดีและ ดานไมดีจะมีผลกระทบตอวันดีหรือไม อยางไร 2. ในฐานะที่ทานเปนผูนําชุมชน และวันดีอยูในความรับผิดชอบของทาน ทานจะใหความ ชวยเหลืออยางไร

Page 6: แผนการสอนที่ · 2007-03-13 · แผนการสอนที่ 1 ทัศนคติของชุมชนที่มีต ู ทอผี่มีความเครี

แผนการสอนที่ 1 เร่ือง ทัศนคตขิองคนในชุมชนที่มีตอผูท่ีมีความเครียด

ใบความรูท่ี 1

ความเครียดสามารถเกิดขึ้นไดกับบุคคลทุกเพศ ทุกวัย ทุกสถานะ ความเครียดในระดับต่ําจะเปนแรงผลักดันใหคนเราเกิดแรงมุมานะที่จะเอาชนะปญหาและอุปสรรคตางๆได แตถาเกิดความเครียดระดับสูงและคงอยูเปนเวลานานจะสงผลเสียตอสุขภาพกาย สุขภาพจิต พฤติกรรม ครอบครัว การทํางานและสังคมได ซึ่งหากไมไดรับการชวยเหลือ เกิดภาวะเรื้อรัง อาจทําใหเกิดปญหาการเจ็บปวยตามมา เชน การเจ็บปวยเปนโรคกระเพาะ ปวดศีรษะ นอนไมหลับ เกิดภาวะเจ็บปวยทางดานจิตใจ หรือฆาตัวตาย เปนตน ทัศนคติ หรือความคิดเห็นของผูคนในชุมชน ไมวาจะเปนญาติพ่ีนอง เพื่อนบาน เพื่อนรวมงาน หรือผูที่อยูใกลชิด ฯลฯ ทั้งในดานบวก และดานลบ จะมีผลตอผูที่กําลังประสบปญหาชีวิต หรือผูที่มีความเครียดได กลาวคือ การเกิดทัศนคติในดานลบ จะสงผลใหเกิดความเบื่อหนาย ไมสนใจ คิดวาเปนปญหาซ้ําแลวซ้ําอีก เรียกรองความสนใจ ไมใชปญหาของตนเอง ขาดความมั่นใจ เห็นใจ จึงเกิดความเพิกเฉยที่จะใหความชวยเหลือ ซึ่งจะสงผลตอไปใหผูที่อยูในภาวะความเครียด มาไดรับการแกไขปญหา เกิดภาวะเครียดเรื้อรังและเกิดปญหาตางๆ ตามาอีกมากมายดังกลาวมาแลวขางตน แตในทางตรงกันขามถาคนในชุมชนที่มีทัศนคติในดานบวกตอผูมีความเครียด มีความเขาใจ เห็นใจ เต็มใจใหความชวยเหลือจะสามารถชวยใหผูที่มีภาวะเครียดฝาวิกฤตชีวิตชวงนั้นไปได สามารถกลับไปดํารงชีวิตอยูในสังคมไดอยางปกติสุข เปนทรัพยากรที่มีคุณคาตอครอบครัวและสังคมตอไป ดังนั้นผูคนในชุมชนควรมีการเปลี่ยนทัศนคติในดานลบใหเปนทัศนคติดานบวก ดังนี้

Page 7: แผนการสอนที่ · 2007-03-13 · แผนการสอนที่ 1 ทัศนคติของชุมชนที่มีต ู ทอผี่มีความเครี

ความคิดเห็น / ความรูสึกท่ีไมดี ความคิดเห็น / ความรูสึกท่ีดี - เบื่อหนาย รําคาญ คิดวาเปนบุคลมีปญหา เรียกรองความสนใจ คิดอะไรที่เห็นแกตัว - ไมอยากสนใจ เสียเวลาทํามาหากิน - เปนภาระของครอบครัวและสังคมในการ ดูแล ทั้งๆที่สามารถชวยเหลือตนเองไดดีทุก อยาง

- สงสาร เห็นใจ เขาใจวาผูมีความเครียดเปนผูมี ปญหาจนไมสามารถที่จะแกไขปญหาดวยตนเอง จําเปนตองไดรับการชวยเหลือ เพราะผูที่มี ความเครียดความสามารถในการแกปญหาลดลง เนื่องจากความเครียดเกิดอารมณกดดัน รบกวน สมาธิ ความสนใจ ความเขาใจ การรับรูปญหา ตามความเปนจริง - การชวยเหลือผูมีความเครียด ไมจําเปนตองใช เวลามาก การแสดงความเขาใจ เห็นใจ เปนที่ ปรึกษาใหระบายความทุกขหรือปญหาก็สามารถ ใหชวยวิตกกังวลไดระดับหนึ่ง - ทุกคนสามารถเครียดได แตเมื่อภาวะเครียดหมด ไป เขาก็คือบุคคลเหมือนคนทั่วๆไป ที่สามารถที่ สรางประโยชนใหครอบครัวและชุมชนได

Page 8: แผนการสอนที่ · 2007-03-13 · แผนการสอนที่ 1 ทัศนคติของชุมชนที่มีต ู ทอผี่มีความเครี

แผนการสอนที่ 2 เร่ือง ความรูเก่ียวกับความเครียด

เวลา 1 ชั่วโมง 15 นาที

จุดประสงคการเรียนรู เมื่อสิ้นสุดการอบรมผูเขาอบรมสามารถ

1. บอกถึงความหมาย สาเหตุและอาการของความเครียดได 2. บอกถึงผลกระทบของความเครียดที่มีตอตนเอง ครอบครัว สังคมและประเทศชาติได

สาระสําคัญ ความเครียด เปนภาวะของอารมณหรือความรูสึกที่เกิดขึ้นเมื่อเผชิญกับปญหาตางๆที่ทําใหรูสึกไมสบายใจ คับของใจ หรือถูกบีบคั้นกดดันจนทําใหเกิดความรูสึกทุกขรอนใจ สับสน โกรธหรือเสียใจ สาเหตุของความเครียดเกิดไดจากหลายสาเหตุ ทั้งที่เปนสาเหตุภายในของผูที่มีความเครียดเอง หรือเกิดจากสาเหตุภายนอกที่มาคุกคามทําใหเกิดความเครียดได ความเครียดที่ไมมากนัก จะเปนแรงกระตุนใหคนเราเกิดความมุมานะที่จะเอาชนะปญหาและอุปสรรคตางๆได แตถาเกิดความเครียดในระดับสูงและคงอยูเปนเวลานาน จะสงผลเสียตอสุขภาพกาย สุขภาพจิต พฤติกรรมของตนเอง กอใหเกิดผลเสียตอ ครอบครัว การทํางาน และสังคมได

Page 9: แผนการสอนที่ · 2007-03-13 · แผนการสอนที่ 1 ทัศนคติของชุมชนที่มีต ู ทอผี่มีความเครี

กิจกรรมการเรียนรู องคประกอบ/กลุม/เวลา กิจกรรม เนื้อหา/สื่อ ● ประสบการณ กลุมใหญ (10 นาที) ● สะทอนความคิด และอภิปราย กลุมละ 5-10 คน (15 นาที) ● ความคิดรวบยอด กลุมใหญ (30 นาที) ●ประยุกตแนวคิด จับคู (15 นาที)

- วิทยากรนําเขาสูบทเรียน โดยถามผูเขาอบรมวา คุณเคยมีความเครียดบางหรือไม เกิดจากสาเหตุ อะไร ถามผูเขาอบรม 5-6 คน วิทยากรเขียน คําตอบลงบนแผนใส - สรุปโยงเขาสูเรื่องที่จะแบงกลุม - แบงกลุม 5 กลุม แตละกลุมใหแสดงความ คิดเห็นตามใบกิจกรรม - วิทยากรสุมถาม 2 กลุม - วิทยากรสรุปเช่ือมโยงกับการบรรยายความรู เพิ่มเติม - ใหผูเขาอบรมจับคูและถามวาทานจะนําความรูที่ ไดในวันนี้ไปใชกับตนเองหรือชวยเหลือผูอื่นใน ชุมชนไดอยางไร - วิทยากรสรุปจากผูเขาอบรมเชื่อมโยงกับใบความรูเพิ่มเติม

- แผนใส, ปากกา - ใบกิจกรรมที่ 1 - ใบความรูที่ 1

การประเมินผล

1. ประเมินผลจากความสนใจของผูเขาอบรม 2. การซักถาม อภิปราย และการนําเสนอผลงานกลุม 3. ประเมินผลจากการทําแบบทดสอบกอน – หลัง การอบรม

Page 10: แผนการสอนที่ · 2007-03-13 · แผนการสอนที่ 1 ทัศนคติของชุมชนที่มีต ู ทอผี่มีความเครี

แผนการสอนที่ 2 ใบกิจกรรมที่ 1

ใหแบงกลุมออกเปน 5 กลุม ๆ ละ 5-10 คน โดยแบงกลุมแสดงความคิดเห็นในเรื่องตอไปน้ี

1. ความเครียด คืออะไร เกิดจากสาเหตุอะไรไดบาง และมีอาการอยางไร (กลุมที่ 1, 2, 3) 2. ผลกระทบของความเครียดที่เกิดขึ้นมีอะไรไดบาง (กลุมที่ 4, 5)

- ตอตนเอง - ตอครอบครัวและชุมชน - ตอสังคม และประเทศชาติ

Page 11: แผนการสอนที่ · 2007-03-13 · แผนการสอนที่ 1 ทัศนคติของชุมชนที่มีต ู ทอผี่มีความเครี

แผนการสอนที่ 2 เร่ือง ความรูเก่ียวกับความเครียด

ใบความรูท่ี 1

ความหมาย ความเครียด เปนภาวะของอารมณหรือความรูสึกที่เกิดขึ้นเมื่อเผชิญกับปญหาตางๆที่ทําใหรูสึกไมสบายใจ คับของใจ หรือถูกบีบคั้นกดดันจนทําใหเกิดความรูสึกทุกขรอนใจ สับสน โกรธหรือเสียใจ ความเครียดที่ไมมากนัก จะเปนแรงกระตุนใหคนเราเกิดความมุมานะที่จะเอาชนะปญหาและอุปสรรคตางๆได คนที่มีความรับผิดชอบสูงจึงมักหนีความเครียดไปใหพน สําหรับบุคคลที่มีความเครียดอยูในระดับสูงและคงอยูเปนเวลานาน จะสงผลเสียตอสุขภาพกาย สุขภาพจิต พฤติกรรมของตนเอง กอใหเกิดผลเสียตอ ครอบครัว การทํางาน และสังคมได (กรมสุขภาพจิต, 2542)

สาเหตุของความเครียด ความเครียดเกิดจากสาเหตุ 2 ประการคือ 1. สาเหตุภายใน หมายถึง ความเครียดที่เกิดจากสาเหตุหรือปจจัยตางๆ ที่มาจากตัวคน แบงเปน 2 ชนิด คือ 1.1 สาเหตุทางกาย เมื่อรางกายเครียดแลวจะทําใหจิตใจเครียดไปดวย ภาวะตางๆที่เปนสาเหตุของความเครียดมีดังนี้ 1.1.1 ความเมื่อยลาทางรางกาย 1.1.2 รางกายไดรับการพักผอนไมเพียงพอ 1.1.3 รับประทานอาหารไมเพียงพอ

1.1.4 ความเจ็บปวยทางรางกาย ไดแก การเจ็บปวยไมสบายที่ไมรุนแรง รวมถึงการเจ็บปวยดวยโรคที่รุนแรงและเรื้อรัง เชน เบาหวาน มะเร็ง ความดันโลหิตสูง เปนตน

1.1.5 ภาวะติดสุราและยาเสพติด 1.2 สาเหตุทางดานจิตใจ ไดแก ความกลัววาจะไมสมหวัง กลัวจะไมสําเร็จ หนักใจในงานหรือภาระตางๆ รูสึกวาตัวเองทําสิ่งที่ยากเกินความสามารถ มีความวิตกกังวลลวงหนากับสิ่งที่ยังไมเกิดขึ้น มีความคับของใจ มีความจริงจังกับชีวิต ทําอะไรตองใหไดดีสมบูรณแบบ เปนคนมีอารมณรุนแรง กาวราว ควบคุมอารมณไมอยู ตลอดทั้งการเปนคนตองพึ่งพาผูอื่น ขาดความมั่นใจในตนเอง

Page 12: แผนการสอนที่ · 2007-03-13 · แผนการสอนที่ 1 ทัศนคติของชุมชนที่มีต ู ทอผี่มีความเครี

2. สาเหตุภายนอก หมายถึง ปจจัยตางๆ นอกตัวคนที่เปนสาเหตุทําใหเกิดความเครียด ไดแก การเปลี่ยนชวงวัย การแตงงาน การตั้งครรภ การเริ่มเขาทํางาน การเปลี่ยนงาน การเกษียณอายุ การยายบาน การสูญเสียของรัก คนรัก ทรัพยสิน หนาที่การงาน เปนตน

อาการที่เกิดจากความเครียด ตามปกติเมื่อเกิดความเครียดในจิตใจมักสงผลทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงที่สังเกตไดชัดเจน ดังนี้

1. ทางกาย ไดแก ปวดศีรษะ ออนเพลีย นอนไมหลับ เบื่ออาหาร หายใจไมอิ่ม ทองผูก หรือทองเสียบอยๆ ประจําเดือนมาไมปกติ สมรรถภาพทางเพศลดลง ใจสั่น เปนตน

2. ทางจิตใจ ไดแก รูสึกตื่นเตนตกใจงาย ฝนราย ใจสั่น มือเทาเย็น ไมมีสมาธิ คิดอะไรไมออก สับสน เบื่อหนาย โมโหงาย หงุดหงิด ซึมเศรา เปนตน

3. ทางสังคม ไดแก บางครั้งอาจจะทะเลาะวิวาทกับคนใกลชิด หรือไมพูดคุยกับใคร แยกตัวเองอยูคนเดียว ในบางครั้งเราอาจจะไมสามารถสังเกตเห็นอาการดังกลาวไดชัดเจน อาจตองใชแบบประเมินและวิเคราะหความเครียดดวยตนเอง สํารวจความเครียดของตนเองก็ได

ผลกระทบจากความเครียด 1. ผลเสียตอตนเอง แบงเปน 4 ประการ คือ

1.1 ผลเสียทางรางกาย เมื่อตกอยูในความเครียดเปนเวลานาน จะทําใหสุขภาพรางกายแยลง โดยมีอาการแสดงออก คือ ปวดศีรษะ ปวดหลัง ปวดทอง ออนเพลีย เปนตน 1.2 ผลเสียทางจิตใจและอารมณ จิตใจของบุคคลที่เครียดจะเต็มไปดวยการหมกมุนครุนคิด ไมสนใจสิ่งรอบตัว ใจลอย ขาดสมาธิและหลงลืม ความระมัดระวังตัวในการทํางานเสีย ไป หงุดหงิด โมโหงาย 1.3 ผลเสียทางความคิด จะเกิดความคิดวิพากษวิจารณตนเองในทางลบ คิดแบบทอแท

หมดหวัง บิดเบือนไมมีเหตุผล นอกจากจะไมเกิดประโยชนแลว ยังเปนโทษกับตนเองเปนผลทําใหความเครียดยิ่งเพิ่มขึ้น

1.4 ผลเสียทางพฤติกรรม บุคคลที่มีความเครียดจะเบื่ออาหาร นอนหลับยาก แยกตัวจาก สังคม อยูอยางโดดเดี่ยว 2. ผลเสียตอครอบครัวและชุมชน ทําใหความสัมพันธกับครอบครัว เพื่อนบาน เพื่อนรวมงานแยลง บางครั้งอาจเกิดการทะเลาะวิวาทกัน 3. ผลเสียตอสังคมประชาชาติ ความเครียดกอใหเกิดความสูญเสียทางเศรษฐกิจ จากการขาดงานทําใหทํางานไดนอยลงหรือทํางานผิดพลาดบอยๆ เสียคาใชจายในการรักษาพยาบาลมากขึ้น หากบุคคลในสังคมมีความเครียดเปนจํานวนมากจะกอใหเกิดความไมมั่นคงในสังคม เกิดปญหาตางๆตามมามากมาย เชน ปญหาครอบครัว ปญหายาเสพติด ปญหาอาชญากรรม เปนตน

Page 13: แผนการสอนที่ · 2007-03-13 · แผนการสอนที่ 1 ทัศนคติของชุมชนที่มีต ู ทอผี่มีความเครี

แผนการสอนที่ 3

เร่ือง การประเมินความเครียด เวลา 1 ชั่วโมง 30 นาที

จุดประสงคการเรียนรู เมื่อสิ้นสุดการอบรม ผูเขาอบรมสามารถ 1. ใชแบบประเมินความเครียดไดอยางถูกตอง 2. วิเคราะหแบบประเมินความเครียดไดอยางถูกตอง

สาระสําคัญ ในการดํารงชีวิตประจําวันของมนุษยทุกคน คงหลีกเลี่ยงความเครียดไมได แตสิ่งสําคัญคือ เมื่อมีความเครียด สามารถแกไขปญหาที่เกิดขึ้นไดหรือไม และเมื่อเกิดความเครียดเกิดขึ้นแตละคนจะรับรูวาความเครียดนั้นกอใหเกิดผลกระทบตอตนเองมากหรือนอยแตกตางกันไป ขึ้นอยูกับการเลี้ยงดูของบิดามารดาในอดีต แหลงสนับสนุนชวยเหลือ ตลอดจนประสบการณในการเผชิญกับความเครียดในอดีตที่ผานมา บางคนจะรับรูไดวาตนเองมีความเครียด แกไขผลกระทบและปญหาที่เกิดขึ้นไดอยางรวดเร็ว แตบางคนไมสามารถสังเกตเห็นความเปลี่ยนแปลงของอาการไดชัดเจน และไมทราบวาตนเองก็สามารถสํารวจความเครียดของตนเองไดเชนกัน การประเมินความเครียดของตนเองไดต้ังแตระยะเริ่มแรกอยางถูกตอง ทําใหสามารถเขาใจถึงภาวะเครียด และระดับความเครียดที่เกิดขึ้นกับตนเองหรือผูอื่น ทําใหสามารถหาทางชวยเหลือปองกันและหาวิธีการแกไขปญหาที่เกิดขึ้นอยางถูกตอง

Page 14: แผนการสอนที่ · 2007-03-13 · แผนการสอนที่ 1 ทัศนคติของชุมชนที่มีต ู ทอผี่มีความเครี

กิจกรรมการเรียนรู

องคประกอบ/กลุม/เวลา กิจกรรม เนื้อหา / สื่อ 1. ขั้นรูชัดเห็นจริง ● ประสบการณ กลุมใหญ (15 นาที) ● ความคิดรวบยอด กลุมใหญ (40 นาที) 2. ขั้นลงมือกระทํา ● ประยุกตแนวคิด กลุม 3 คน (20 นาที) ● สะทอนความคิด/อภิปราย กลุมเดิม (15 นาที)

- วิทยากรนําเขาสูบทเรียน “ช่ัวโมงที่ผานมาไดรูถึง เรื่องความเครียดไปแลว” - วิทยากรถามผูเขาอบรมตอวา “ทานรูไดอยางไรวา ตนเองมีความเครียด เครียดมากนอยเพียงใด สังเกต ไดอยางไร” สุมถาม 3-5 คน และวิทยากรชวย เขียนลงแผนใส - วิทยากรถามตอ “เคยมีบางไหม ที่ไมรูวาตนเองมีความเครียด” - วิทยากรสรุปเช่ือมโยงจากแผนใส สูการบรรยาย ตามใบความรูที่ 1 - วิทยากรอธิบายการใชแบบประเมินความเครียด ดวยตนเอง และอธิบายระดับอาการตามใบความรูที่ 2 เปดโอกาสใหผูเขาอบรมซักถาม กรณีสงสัยการ ใชประเมิน - วิทยากรบรรยายวิธีการใหคะแนนและการแปลผล ตามใบความรูที่ 3 - สาธิตการใชแบบประเมินความเครียดตามบทสาธิต - วิทยากรใหผูเขาอบรมทดลองฝกการใชแบบ ประเมินความเครียด - สุมถามผูเขาอบรม 4-5 กลุมถึงผลการปฏิบัติ และ ปญหาอุปสรรคที่เกิดขึ้น - วิทยากรแบงกลุมแลวซักถามถึงปญหาในการใช แบบประเมินความเครียดดวยตนเอง - สุมตัวแทน 3-4 กลุม นําเสนอและใหกลุมที่มี ความคิดเห็นแตกตางกันนําเสนอเพิ่มเติม - เปดโอกาสใหผูเขาอบรมซักถาม - วิทยากรสรุป

- แผนใส, ปากกา - ใบความรูที่ 1 - ใบความรูที่ 2 - ใบความรูที่ 3 - บทสาธิต - ใบกิจกรรมที่ 2 - วิทยากรชวย เขียนลงแผนใส - ใบกิจกรรมที่ 2

Page 15: แผนการสอนที่ · 2007-03-13 · แผนการสอนที่ 1 ทัศนคติของชุมชนที่มีต ู ทอผี่มีความเครี

แผนการสอนที่ 3 เร่ือง การประเมินความเครียด

ใบความรูท่ี 1

การสํารวจความเครียดของตนเอง ตามปกติแลวเมื่อเกิดความเครียดภายในจิตใจมักสงผลทําใหการเปลี่ยนแปลงที่สังเกตไดอยางชัดเจน เชน

1. ทางกาย - ปวดศีรษะ ออนเพลีย นอนไมหลับ เบื่ออาหาร หายใจไมอิ่ม 2. ทางจิตใจ - หงุดหงิด สับสน คิดอะไรไมออก เบื่อหนาย โมโหงาย ซึมเศรา 3. ทางสังคม - บางครั้งทะเลาะวิวาทกับคนใกลชิด หรือไมพูดจากับใคร

แตบางคนไมสามารถสังเกตเห็นความเปลี่ยนแปลงของอาการไดชัดเจน และไมทราบวาตนเองมีความเครียดหรือไม อาจ

ใชแบบประเมินและวิเคราะหความเครียดดวยตนเอง สํารวจความเครียดของตนเองได

Page 16: แผนการสอนที่ · 2007-03-13 · แผนการสอนที่ 1 ทัศนคติของชุมชนที่มีต ู ทอผี่มีความเครี

แบบประเมินและวิเคราะหความเครียดดวยตนเอง

ในระยะเวลา 2 เดือนที่ผานมานี้ ทานมีอาการ พฤติกรรม หรือความรูสึกตอไปนี้มากนอยเพียงใด โปรดขีดเครื่องหมาย “X” ลงในชองแสดงระดับอาการที่เกิดขึ้นกับตัวทานตามความเปนจริงมากที่สุด

ระดับอาการ อาการ พฤติกรรม หรือความรูสึก ไมเคยเลย เปนคร้ังคราว เปนบอยๆ เปนประจํา

1.นอนไมหลับเพราะคิดมากหรือกังวลใจ 2.รูสึกหงุดหงิด รําคาญใจ 3.ทําอะไรไมไดเลยเพราะประสาทตึงเครียด 4.มีความวุนวานใจ 5.ไมอยากพบปะผูคน 6.ปวดหัวขางเดียวหรือปวดบริเวณขมับทั้ง 2 ขาง 7.รูสึกไมมีความสุขและเศราหมอง 8.รูสึกหมดวังในชีวิต 9.รูสึกวาชีวิตตนเองไมมีคุณคา 10.กระวนกระวายอยูตลอดเวลา 11.รูสึกวาตนเองไมมีสมาธิ 12.รูสึกเพลียจนไมมีแรงจะทําอะไร 13.รูสึกเหนื่อยหนายไมอยากทําอะไร 14.มีอาการหัวใจเตนแรง 15.เสียงสั่น ปากสั่น หรือมือสั่นเวลาไมพอใจ 16.รูสึกกลัวผิดพลาดในการทําสิ่งตางๆ 17.ปวดหรือเกร็งกลามเนื้อบริเวณทายทอย หลัง หรือไหล

18.ต่ืนเตนงายกับเหตุการณที่ไมคุนเคย 19.มึนงงหรือเวียนศีรษะ 20.ความสุขทางเพศลดลง

Page 17: แผนการสอนที่ · 2007-03-13 · แผนการสอนที่ 1 ทัศนคติของชุมชนที่มีต ู ทอผี่มีความเครี

แผนการสอนที่ 3 วิธีการอธิบายแบบประเมินและวิเคราะหความเครียดดวยตนเอง ซึ่งแยกอธิบายไดดังนี้

สวนที่ 1 คือ อาการพฤติกรรมหรือความรูสึก มี 20 ขอ ดังนี้ ขอ 1 นอนไมหลับเพราะคิดมากหรือกังวลใจ หมายถึง การนอนหลับ 6 ชม. ติดตอกันอาจทั้งกลางวัน / กลางคืน ก็ ได (กลางวันกรณี ผูที่เปนยามตองนอนพักชวงกลางวัน) ขอ 2 รูสึกหงุดหงิด รําคาญใจ หมายถึง เรื่องเล็กๆนอยๆ ก็ทําใหหงุดหงิด รําคาญใจ ขอ 3 ทําอะไรไมไดเลยเพราะประสาทตึงเครียด หมายถึง ทําอะไรไมไดเลย ทํางานที่เคยทําไมได จะตองนอนพัก อยางเดียว ขอ 4 มีความวุนวายใจ หมายถึง วาวุนใจ คิดหลายเรื่อง ขอ 5 ไมพบปะผูคน หมายถึง เห็นผูคนมากๆรูสึกรําคาญ อยากอยูคนเดียว ขอ 6 ปวดหัวอยางเดียว / ปวดบริเวณขมับทั้ง 2 ขาง ขอ 7 รูสึกไมมีความสุขและเศราหมอง หมายถึง รวมถึงสิ่งแวดลอมรอบขาง ขอ 8 รูสึกหมดหวังในชีวิต หมายถึง รูสึกทอแท ไมมีแนวทางแกไขปญหา ขอ 9 รูสึกวาชีวิตตนเองไมมีคุณคา หมายถึง คิดวาตนเองไมมีประโยชนกับใครเลย ขอ 10 กระวนกระวายตลอดเวลา หมายถึง ไมมีสมาธิ กระสับกระสาย อยูไมนิ่ง ขอ 11 ไมมีสมาธิ หมายถึง ไมมีสมาธิในการทํางานอยางใดอยางหนึ่งใหสําเร็จ หรือตองใชเวลานานมากขึ้นในการ ทําสิ่งที่เคยทํามากอน ขอ 12 รูสึกเพลียจนไมมีแรงจะทําอะไร หมายถึง รูสึกเพลียออนลา ทํางานไมได ขอ 13 รูสึกเหนื่อยหนายไมอยากทําอะไร หมายถึง เหนื่อย เบื่อหนาย ไมอยากทําอะไร ขอ 14 มีอาการหัวใจเตนแรง ขอ 15 เสียงสั่น ปากสั่น หรือมือสั่นเวลาไมพอใจ ขอ 16 รูสึกกลัวผิดพลาดในการทําสิ่งตางๆ หมายถึง รวมถึงเรื่องเล็กๆนอยๆ

ขอ 17 ปวดหรือเกร็งกลามเนื้อบริเวณทายทอย หลัง ไหล ขอ 18 ต่ืนเตนงายกับเหตุการณที่ไมคุนเคย หมายถึง สิ่งใหมที่ไมคุนเคย เชน พูดตอหนาคนมากๆ ขอ 19 มึนงง เวียนศีรษะ

ขอ 20 ความสุขทางเพศลดลง หมายถึง - กรณีคูสมรสมีความตองการทางเพศลดลง เวลามีเพศสัมพันธรูสึกไมมีความสุข

- กรณีคนโสด เห็นคนที่เคยชื่นชอบจะประทับใจ / ปงปง ปจจุบันเมื่อเห็นแลวรูสึกเฉยไม ประทับใจเหมือนแตกอน

- กรณีคนเปนหมาย เคยเห็นคนที่สุขใจที่ไดเห็นไดแตชอบกลับรูสึกเฉยๆ / ไมสนใจ

Page 18: แผนการสอนที่ · 2007-03-13 · แผนการสอนที่ 1 ทัศนคติของชุมชนที่มีต ู ทอผี่มีความเครี

สวนที่ 2 ระดับอาการ - ใหถามวา “มี / ไมมี” หาก “ไมมี” ใสเครื่องหมายในชอง ไมเคยเลย - หาก “มี” ใหถามวา มีมากนอยแคไหน เล็กนอย → เปนครั้งคราว มาก → ขนาดไหน เปนประจํา เปนบอยๆ → เปนนอยกวาเปนประจํา อธิบายวา คําวา เปนประจํา มากนอยแลวแตละคน วาเรื่องนั้นมีผลกระทบ เปนบอยๆ ตอตัวเรามากแคไหน ใหประมาณเอง

Page 19: แผนการสอนที่ · 2007-03-13 · แผนการสอนที่ 1 ทัศนคติของชุมชนที่มีต ู ทอผี่มีความเครี

แผนการสอนที่ 3 เร่ือง การประเมินความเครียด

ใบความรูท่ี 3 การแปลผล

การแปลผล เมื่อทําแบบประเมินครบทั้ง 20 ขอแลว ใหใสคะแนนของแตละขอตามเกณฑการใหคะแนน ดังนี้ คือ ถาตอบวา ไมเคยเลย เทากับ 0 คะแนน เปนครั้งคราว เทากับ 1 คะแนน เปนบอยๆ เทากับ 2 คะแนน เปนประจํา เทากับ 3 คะแนน หลังจากนั้นรวมคะแนนทั้ง 20 ขอ วามีคะแนนรวมเปนเทาไร ใหดูผลการประเมินและคําช้ีแจงตอไปนี้ ผลการประเมินความเครียด 6-17 คะแนน แสดงวา ปกติ / ไมเครียด 18-25 คะแนน แสดงวา เครียดสูงกวาปกติ / มีความเครียดเล็กนอย 26-29 คะแนน แสดงวา เครียดปานกลาง มากกวา 30 คะแนนขึ้นไป แสดงวา เครียดมาก

Page 20: แผนการสอนที่ · 2007-03-13 · แผนการสอนที่ 1 ทัศนคติของชุมชนที่มีต ู ทอผี่มีความเครี

แผนการสอนที่ 3 เร่ือง การประเมินความเครียด

ใบความรูท่ี 3 (ตอ)

คําอธิบายคะแนน

0-5 คะแนน คุณมีความเครียดนอยกวาปกติ อาจเพราะคุณมีชีวิตที่เรียบงาย ไมจําเปนตองตอสูดิ้นรนในการดําเนินชีวิตสักเทาใดนัก ชีวิตไมคอยมีเรื่องตองใหต่ืนเตน และคุณเองก็ไมคอยกระตือรือรนเลย 6-17 คะแนน คุณมีความเครียดในระดับปกติ นั่นคือ คุณสามารถจัดการกับความเครียดที่เกิดขึ้นในชีวิตประจําวันไดดี และสามารถปรับตัวปรับใจใหเขากับสถานการณตางๆไดอยางถูกตองเหมาะสม คุณควรพยายามคงระดับความเครียดระดับนี้ตอไปใหไดนานๆ 18-25 คะแนน คุณมีความเครียดสูงกวาระดับปกติเล็กนอยแสดงวา คุณอาจกําลังมีปญหาบางอยางที่ทําใหไมสบายใจอยู ความเครียดในระดับนี้อาจทําใหมีอาการผิดปกติทางรางกาย จิตใจ และพฤติกรรมเล็กนอยพอทนได และเมื่อไดพักผอนหยอนใจบางก็จะรูสึกดีขึ้นเอง 26-29 คะแนน คุณมีความเครียดสูงกวาระดับปานกลาง แสดงวาคุณอาจกําลังมีปญหาบางอยางในชีวิตที่คุณยังหาทางแกไขไมได ทําใหมีอาการผิดปกติทางรางกาย จิตใจ และพฤติกรรมอยางเห็นไดชัด และแมคุณจะพักผอนหยอนใจแลวก็ยังอาจจะไมหายเครียด ตองฝกเทคนิคเฉพาะในการคลายเครียดจึงจะชวยได 30-60 คะแนน คุณมีความเครียดสูงกวาระดับปกติมาก คุณอาจกําลังเผชิญภาวะวิกฤตในชีวิต หรือไมคุณก็ไดสะสมความเครียดเอาไวมากจนเกินไปเปนเวลานาน ทําใหมีอาการเจ็บปวยที่รุนแรง หรือรื้อรัง ความเครียดในระดับนี้ นอกจากจะตองฝกเทคนิคการคลายเครียดแลว ควรไปพบแพทยเพื่อขอคําปรึกษาตอไปดวยจึงจะเปนการดี

Page 21: แผนการสอนที่ · 2007-03-13 · แผนการสอนที่ 1 ทัศนคติของชุมชนที่มีต ู ทอผี่มีความเครี

แผนการสอนที่ 3

เร่ือง การประเมินความเครียด บทสาธิต

ณ หมูบานแหงหนึ่ง นางสมใจ เปนอสม. ไดไปเยี่ยมนายธนิตเพื่อนบานซึ่งปวยเปนโรคเบาหวานมาหลายเดือน รางกายผอมลง สีหนาไมแจมใส ไมพูดคุยกับใคร นางสมใจเห็นอาการดังกลาวจึงใชแบบประเมินความเครียดไปวิเคราะห วานายธนิตอยูในระดับใดเพื่อจะไดใหการชวยเหลือ นางสมใจ สวัสดีคะคุณธนิต เปนอยางไรบางวันนี้ นายธนิต ก็เรื่อยๆเหมือนกับทุกวัน นางสมใจ อยูบานคนเดียวหรือ นายธนิต อยูกับลูก เขาทํากับขาวอยูในครัว นางสมใจ ยังไมกินขาวเที่ยงเหรอ นายธนิต กินเรียบรอยแลว แตกินไมไดมาก นางสมใจ นั่นนะซิ ชวงนี้คุณธนิตเหมือนมีเรื่องไมสบายใจ สีหนามาสนชื่นเหมือนกอน มีอะไรที่คิดวาฉันพอจะชวย

ได ฉันยินดี ฉันเปนหวงคุณนะ นายธนิต 2-3 เดือนมานี้ รูสึกนอนไมคอยหลับ มีเรื่องคิดมาก กังวลใจหลายเรื่อง เปนเกือบทุกวัน กวาจะหลับไดก็ตี

2 ตี 3 ตี 5 ก็ต่ืนแลว นางสมใจ มีเรื่องอะไรไมสบายใจพอจะเลาใหฟงไดไหม อยาเก็บไวคนเดียวจะทําใหไมสบายใจมากขึ้น พอดีฉันเคย

อบรมกับหมอจากโรงพยาบาลมา ถึงวิธีการชวยเหลือคนที่มีความไมสบายใจแตถาจะใหรูชัดเจน ฉันขออนุญาตใชแบบประเมินความเครียดที่ฉันนํามานี้ วาความไมสบายใจของคุณสงผลใหเกิดความเครียดอยูระดับไหน เพื่อจะใหเปนประโยชนตอการชวยเหลือตอไปนะคะ ฉันจะเริ่มถามอาการของคุณใน 2 เดือนที่ผานมาถึงวันนี้ขอใหตอบตามความจริง

นายธนิต เอา...ก็ลองดู ถาตอบไดก็จะตอบ นางสมใจ 2 เดือนที่ผานมาจนถึงวันนี้ คุณนอนไมหลับเพราะมีเรื่องคิดมากหรือกังวลใจบางไหม นายธนิต มีอยู เปนเกือบทุกวันเลย นางสมใจ แลวมีอาการหงุดหงิด รําคาญใจบางไหม นายธนิต ก็มีอยู นานๆครั้งนะ ไมคอยบอยหรอก นางสมใจ ทําอะไรไมไดเลยเพราะประสาทตึงเครียด นายธนิต ใชเลย เปนทุกวันเลย มันคิดวาทําใหทําอะไรไมได นางสมใจ มีความวุนวายใจไหม นายธนิต ยิ่งใชเลย ผมเปนทุกวัน นางสมใจ แลวปวดหัวขางเดียวหรือปวดบริเวณขมับ 2 ขางหละ เปนไหม นายธนิต ก็เปนอยู เปนนานๆครั้งนะ

Page 22: แผนการสอนที่ · 2007-03-13 · แผนการสอนที่ 1 ทัศนคติของชุมชนที่มีต ู ทอผี่มีความเครี

นางสมใจ รูสึกไมมีความสุข และเศราหมองไหม นายธนิต อือ! ใชเลยเปน เปนทุกวัน นางสมใจ รูสึกหมดหวังในชีวิตไหม นายธนิต เปนอยูแตนานๆครั้งนะ นางสมใจ รูสึกวาชีวิตตนเองไมมีคุณคา นายธนิต ไมเคยหรอก ยังรูสึกมีคาอยู นางสมใจ กระวนกระวายอยูตลอดเวลาละ...เปนไหม นายธนิต เปนอยู เปนบอยๆ เปนจนทําใหรูสึกวาตัวเองไมมีสมาธิจะทําอะไรเลยหละ นางสมใจ อือ..เปนบอยๆจนไมมีสมาธิทําอะไรเนาะ แลวรูสึกวาตัวเองออนเพลียจนไมมีแรงจะทําอะไรไหม นายธนิต ใชเลย เปนทุกวันเลย มันเพลียจนไมอยากทําอะไรเลย นางสมใจ รูสึกเหนื่อยหนายไมอยากทําอะไรหละ...เปนไหม นายธนิต ก็เปนบาง แตไมเปนบอยหรอก นานๆครั้งนะ นางสมใจ เปนนานๆครั้งเนาะ แลวมีอาการหัวใจเตนแรงไหม นายธนิต ไมหรอก ไมเปนนะ นางสมใจ เสียงสั่น ปากสั่น หรือมือสั่นเวลาไมพอใจหละ นายธนิต เปนอยู บางครั้งเวลาใหลูกทําอะไรแลวมันไมทําตามนะ นางสมใจ แลวรูสึกกลัวผิดพลาดในการทําสิ่งตางๆไหม นายธนิต เปนอยู บางครั้งไมบอยหรอก นางสมใจ ปวดเกร็งกลามเนื้อ บริเวณทายทอย หลังหรือไหลหละ นายธนิต ไมมีหรอก นางสมใจ แลวต่ืนเตนงายกับเหตุการณที่ไมคุยเคยหละเปนไหม นายธนิต ไมมีหรอก นางสมใจ มึนงงหรือเวียนศีรษะเปนไหม นายธนิต เปนอยูนานๆครั้ง นางสมใจ แลวความสุขทางเพศลดลงบางไหม นายธนิต ลดลง รูสึกวาไมมีความสุขเลย เปนบอยๆ ไมรูเปนไงมันเบื่อหนายไปหมด นางสมใจ เอาหละ ฉันจะสรุปอาการที่คุณธนิตบอกมาใหฟงนะ วาเปนอยางไร ถาขอใดไมตรงใหแยงไดเลยนะ (การ

สรุปจะเปนการสรุปตามระดับกลุมอาการใหฟง เชน อาการใดที่ไมเคยเกิดขึ้นเลย เปนครั้งคราว เปนบอยๆจนกระทั่งถึงกลุมเปนประจํา) ที่อานมีทั้งหมดใชไหม

นายธนิต ใช นางสมใจ เอาละ...เดี๋ยวฉันจะรวมคะแนนกอนและจะบอกคุณธนิตมีความเครียดอยูในระดับใด ควรทําอยางไร ฉัน

รวมคะแนนเสร็จแลวนะ คะแนนความเครียดของคุณธนิต อยูในระดับ 35 นะแสดงวาคุณมีความเครียดมาก สมควรไปพบจิตแพทย หรือพยาบาลประจําหองใหการปรึกษา คุณมีอะไรจะถามไหม ถามีอะไรปรึกษาฉันได วันนี้ฉันจะกลับกอน

นายธนิต ขอบคุณนะ วางๆมาเยี่ยมฉันบาง

Page 23: แผนการสอนที่ · 2007-03-13 · แผนการสอนที่ 1 ทัศนคติของชุมชนที่มีต ู ทอผี่มีความเครี

แผนการสอนที่ 3 เร่ือง การประเมินความเครียด

ใบกิจกรรมที่ 1

1. ใหจับกลุม 3 คน แบงออกเปน ก, ข, ค โดย ก แสดงเปนผูมีความเครียด ข แสดงเปน อสม. ผูไปประเมินความเครียดและใหใชแบบประเมินละวิเคราะหความเครียด ค สังเกต ข วาสามารถใชแบบประเมินไดถูกตองหรือไม 2. ใหเวลา 15 นาที โดยให ก ตอบตามอาการจริงที่ตนมีอยู 3. หลังฝกปฏิบัติสุมถาม 4-5 กลุม โดยถามนาย ข, ค และ ก ตามลําดับ

Page 24: แผนการสอนที่ · 2007-03-13 · แผนการสอนที่ 1 ทัศนคติของชุมชนที่มีต ู ทอผี่มีความเครี

แผนการสอนที่ 3 เร่ือง การประเมินความเครียด

ใบกิจกรรมที่ 2

คําชี้แจง 1. แบงกลุม กลุมละ.................คน 2. ชวยกันคิดและอภิปราย ในหัวขอตอไปนี้ (เวลา 5 นาที) “ปญหาและอุปสรรคในการทําแบบประเมินความเครียดดวยตนเอง” 3. ตัวแทนกลุมนําเสนอ

Page 25: แผนการสอนที่ · 2007-03-13 · แผนการสอนที่ 1 ทัศนคติของชุมชนที่มีต ู ทอผี่มีความเครี

แผนการสอนที่ 4 เร่ือง การจัดการกับความเครียด

เวลา 1 ชั่วโมง 30 นาที

จุดประสงคการเรียนรู เมื่อสิ้นสุดการอบรม ผูเขาอบรมสามารถ

1. บอกวิธีการจัดการกับความเครียดได 2. นําวิธีการจัดการกับความเครียดไปใชในชีวิตประจําวันได

สาระสําคัญ ความเครียดสามารถเกิดไดกับทุกคน ทุกโอกาส ความเครียดที่มีไมมากนักจะเปนแรงกระตุนใหคนเราเกิดแรงมุมานะที่จะเอาชนะปญหาและอุปสรรคตางๆได สวนความเครียดที่เปนอันตรายคือความเครียดในระดับสูงที่คงอยูเปนเวลานานจะสงผลเสียตอสุขภาพกาย สุขภาพจิต พฤติกรรม ครอบครัว การทํางาน และสังคมได คนเรามีความสามารถในการจัดการกับความเครียดไดอยูแลวทุกคนแตในระหวางที่เราตองเผชิญกับความเครียด เราควรมีแนวทางที่เหมาะสมเพื่อจัดการกับความเครียด ซึ่งจะชวยใหลดปญหาและผลเสียที่เกิดจากความเครียดและคงไวซึ่งชีวิตที่ผาสุกตอไป

Page 26: แผนการสอนที่ · 2007-03-13 · แผนการสอนที่ 1 ทัศนคติของชุมชนที่มีต ู ทอผี่มีความเครี

กิจกรรมการเรียนรู องคประกอบ/กลุม/เวลา กิจกรรม เนื้อหา / สื่อ

● ประสบการณ กลุมใหญ (10 นาที) ● สะทอนความคิด / อภิปราย กลุม 5-10 คน (40 นาที) ● ความคิดรวบยอด กลุมใหญ (30 นาที) ● ประยุกตแนวคิด ● ความคิดรวบยอด กลุมใหญ (10 นาที)

- วิทยากรกลุมนําเขาสูบทเรียน โดยการสรุปแผนการสอนที่ 1-3 สูแผนการสอนที่ 4 และสุมถามผูเขาอบรมเมื่อมีความเครียดทานมีวิธีจัดการกับความเครียดอยางไร วิทยากรเขียนลงแผนใส - วิทยากรบรรยายเรื่อง การจัดการกับความเครียด โดยการจัดการกับอารมณ การจัดการกับเวลา และการจัดการกับปญหา - แบงกลุมผูเขาอบรมและใหแตละกลุมอภิปรายกรณีศึกษาในประเด็นตามใบงาน - ตัวแทนกลุมนําเสนอผลงานกลุม และอภิปราย - วิทยากรเชื่อมโยงสรุปจากผลงานกลุมใหสอดคลองกับใบความรูที่ 1 และเปดโอกาสใหผูเขาอบรมซักถาม - วิทยากรอานกรณีศึกษา “ชีวิตของยายมี” ใหผูเขาอบรมฟง - แบงกลุมผูเขารับการอบรมตามกลุมเดิม โดยใหแตละกลุมอภิปรายในประเด็นตามใบกิจกรรม - สุมจํานวน 3 กลุม นําเสนอผลงานกลุมและอภิปรายและเปดโอกาสใหกลุมที่มีความคิดเห็นแตกตางนําเสนอ - วิทยากรสรุปแนวคิดที่ได ตามใบความรูที่ 2

- แผนใส, ปากกา - ใบความรูที่ 1 - กรณีศกึษาเรื่อง “ชีวิตของนางบุญ” - ใบกิจกรรมที่ 1 - กรณีศึกษาเรื่อง “ชีวิตของยายมี” - ใบกิจกรรมที่ 2 - ใบความรูที่ 2

Page 27: แผนการสอนที่ · 2007-03-13 · แผนการสอนที่ 1 ทัศนคติของชุมชนที่มีต ู ทอผี่มีความเครี

การประเมินผล 1. ประเมินผลจากความสนใจของผูเขาอบรม 2. จากการนําเสนอผลงานกลุม 3. จากการตอบคําถามในใบกิจกรรม และการประเมินผลจาการซักถาม

Page 28: แผนการสอนที่ · 2007-03-13 · แผนการสอนที่ 1 ทัศนคติของชุมชนที่มีต ู ทอผี่มีความเครี

แผนการสอนที่ 4 เร่ือง การจัดการกับความเครียด

ใบความรูท่ี 1

การจัดการกับความเครียด 1. การจัดการกับอารมณ (Emotional management)

การรูจักอารมณตนเอง เปนหัวขอสําคัญที่จะเขาใจธรรมชาติของจิตใจ หากไดเรียนรูและพัฒนาขึ้นแลว บุคคลจะมีวุฒิภาวะทางอารมณ มีความมั่นคง สามารถปรับตัวไดดี มีสัมพัธภาพกับผูอื่นไดอยางราบรื่นเปนความฉลาดทางอารมณ

(Emotional Intelligence) ซึ่ง Salovey P และ Mayer J (1990) ไดกลาวถึงการมีคุณสมบัติของความฉลาดทางอารมณ

ประกอบดวย 1. รูตน (Self awareness) ระลึกรูอารมณความรูสึกของตนเอง สามารถเฝาดู ติดตามอารมณในแตละขณะ ทําใหเขาใจตนเอง รูจักอารมณตอบสนองกอนการตัดสินใจสําคัญใดๆ 2. รูจัดการอารมณ (managing emotion) อารมณตอบสนองในระดับที่เหมาะสม ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงอารมณทางลบได ดึงอารมณกลับไดเร็ว (resilience) 3. รูจูงใจตนเอง (motivating oneself) มุงมั่นเปาหมายสูความสําเร็จ ควบคุมตนเองได รั้งรอเปน อดทนได ไมหุนหัน มีขวัญกําลังใจ มองโลกในแงดีแมตกในสถานการณที่คับของใจ 4. รูอารมณคนอื่นๆ (recognizing emotions in others) เขาใจ เห็นใจในอารมณของผูอื่น ใหความใสใจในความรูสึกคนอื่นๆ รูจักสังเกตทาทีที่แสดงออก 5. รูรักษาสัมพันธภาพ (handling relationships) มีทักษะในการจัดการอารมณของผูอื่นเขากับคนไดดี เปนมิตร นารัก รูจักใหและรับ พึ่งพากัน มีความเปนผูนําและผูตาม อารมณที่เกิดขึ้นในแตละขณะมีหลายแบบ หลายอาการ ในทางพุทธศาสนาก็มีแบงเปนชนิดได 3 ชนิด คือ 1. สุขเวทนา อารมณที่เปนสุข ไดแก อารมณดีใจ สุขใจ ปลื้มใจ ภูมิใจ ยินดี เปนตน 2. ทุกขเวทนา อารมณที่เปนทุกข ไดแก อารมณเศรา วิตกกังวล กลัว โกรธ เหงา หงุดหงิด อับอาย ประหมา คับของใจ เปนตน 3. อทุกขสุขเวทนา อารมณที่ไมสุขไมทุกข ไดแก สภาพอารมณที่เปนกลางๆ อารมณทั้ง 3 ประเภทนี้ ผลัดเปลี่ยนกันเกิดขึ้นภายในจิตใจ ขึ้นกับสิ่งกระตุนทั้งภายในและภายนอก อารมณที่เกิดขึ้นนั้นหากปลอยใหอารมณครอบงําจิตใจ และมีอิทธิพลอยางหนึ่งอยางใด โดยที่ถาไมระเบิดออกมา เปนปญหากระทบบุคคลอื่นก็เปนการเก็บกด สรางความกดดันตอจิตใจตนเองยิ่งขึ้น การจัดการกับอารมณจึงเปนทักษะสําคัญที่จะชวยใหบุคคลรูจักและบริหารอารมณไดดียิ่งขึ้น อารมณที่มีอยูตลอดเวลาทั้งวันนั้น อาจแบงไดเปน 2 ลักษณะ คือ อารมณพ้ืนฐาน และอารมณตอบสนอง อารมณพ้ืนฐาน คือ อารมณที่คุกรุนในจิตใจอยูกอน ขึ้นกับสภาวะของรางกาย รวมกับผลจากความคิดความเชื่อพ้ืนฐานในการดํารงชีวิตของคนนั้น และผลรวมจากอารมณที่เกิดขึ้นกอนหนา สวนอารมณตอบสนอง คือ อารมณที่พ่ึงเกิดในขณะที่เผชิญเหตุการณ ซึ่งอารมณทั้งสองนี้จะบวกลบกันเปนผลของภาวะอารมณในปจจุบันของบุคคลนั้น

Page 29: แผนการสอนที่ · 2007-03-13 · แผนการสอนที่ 1 ทัศนคติของชุมชนที่มีต ู ทอผี่มีความเครี

หลายครั้งที่แสดงอารมณตอบางเหตุการณมากเกินความจริง (overreaction) ก็เนื่องจากการมีอารมณบางอยางเปนพื้นฐานอยูแลวนั่นเอง เชน คนที่กําลังหงุดหงิดมาจากเรื่องทะเลาะกับสามี บังเอิญมาเจอความผิดพลาดเพียงเล็กนอยของผูรวมงานก็แสดงความโกรธรุนแรงเกินสมควรออกไป จนผูอื่นก็ไมเขาใจวาทําไมจึงอารมณโกรธมากเพียงนี้ ความตองการใหจิตใจมีอารมณที่เปนสุข และไมพอใจเมื่อเกิดอารมณที่เปนทุกข การที่มีความไมพอใจอารมณที่เปนทุกข เทากับทําใหใจเปนทุกข 2 เทา คือ ความทุกขที่เกิดจากปญหาแลวบวกกับความทุกขจากความไมพอใจความทุกขที่เกิดขึ้น หลังจากนั้นจิตใจจะคิดไปตามความเคยชินถึงสาเหตุนอกตัวจนเกิดความทุกขในระดับที่ทนตอไปไมไดตองระบายออก หรือโตตอบออกไป แลวใจก็ใหเหตุผลเขาขางตนเองตอวา สมควรแลวที่โตตอบออกไปเชนนั้น เพราะเขาทําเราอยางนั้นอยางนี้ การมองสาเหตุในขณะนั้นจะเห็นเดนชัดเฉพาะสวนที่เปนสาเหตุจากภายนอก โดยละเลยที่จะมองสาเหตุที่จิตใจของตนเอง จึงยิ่งมองไมเห็นวาตนเองมีสวนรวมสรางความทุกขใหกับจิตใจตนเองเชนใด เมื่อธรรมชาติของอารมณมีความซับซอนดังนี้ จิตใจก็ยิ่งตองมีความมั่นคงที่จะระลึกรูอารมณของตนในขณะที่เกิดอารมณนั้น คนที่ระลึกรูอารมณไดทัน จะเห็นอารมณที่เกิดขึ้นในใจสวนคนที่ระลึกรูไมทันจะเปนอารมณนั้น และหากอารมณนั้นเปนทุกขก็จะใชกลไกทางจิต (defense mechanism) ที่ไมดี ไมวาเปนการยายที่ (displacement) การระเบิดอารมณ (acting out) การโยนความผิด (projection) หรือเก็บกด (repression) จนออกสูอาการทางกาย (somatization) ทําใหเกิดปญหาตอเนื่องตามมา การระลึกรูอารมณจึงเปนวิธีการสําคัญ ที่จะชวยพัฒนาการรูจักตนเองและนําสูทักษะการบริหารอารมณในขั้นตอนตอไป อารมณที่เปนทุกขทําใหเกิดความไมสบาย รูสึกกดดัน อึดอัดคับของภายใน ไมวาจะเปนอารมณโกรธ ไมพอใจ กังวลใจ เหงา เศราก็ตาม บุคคลนั้นจะไมยอมเผชิญหนาอารมณ จึงมักใชวิธีการหนีการเผชิญหนาอารมณในรูปแบบตางๆไป เชน หาทางพูดระบายความอึดอัด การหาเหตุผลมากลบเกลื่อน การพยายามมองในแงที่ดี การพยายามไมคิด ไมนึก ทําเปนลืมๆไป หรือการใชยาเสพติด ยากลอมประสาท ก็เปนการหนีไปใหพนจากอารมณทุกขที่เผชิญเชนกัน ผลเสียที่เกิดขึ้น คือ ยิ่งหลีกเลี่ยงการเผชิญหนากับอารมณบอยเพียงใด จะยิ่งสรางความเคยชินที่จะไมรูจัก ไมเขาใจอารมณตนเอง แมหลายคนที่มีชีวิตกับเหตุผล หรือกฎเกณฑจริยธรรมโดยปราศจากความเขาใจอารมณที่แทจริงของตน จะไมเขาใจอารมณความรูสึกของผูอื่น เกิดเปนภาวะมืดบอดตออารมณของตน (alexithymia) และความเครียดที่เกิดจากอารมณที่เก็บกดไวก็คอยๆ สะสมขึ้นภายในอยางไมรูตัวเกิดเปนความผิดปกติชนิดกายเหตุจิต (psychosomatic disorders) หรือการปวยทางจิตใจ (mental illnesses) ตามมาได การฝกทักษะการจัดการกับอารมณ ทําไดเปนขั้นตอนดังนี้

1. ระลึกรู (recognition)อารมณที่เปนทุกขในใจของตนที่เกิดขึ้นทันที ในขณะที่ระลึกรูนั้นใหเห็นสภาวะของอารมณที่เกิดขึ้นจริง ฉันเห็นอารมณ (โกรธ, กลัว, กังวล, เศรา...) ในใจของฉัน

Page 30: แผนการสอนที่ · 2007-03-13 · แผนการสอนที่ 1 ทัศนคติของชุมชนที่มีต ู ทอผี่มีความเครี

นอกจากการจัดการกับปญหาดังขั้นตอนดังกลาวขางตน แลวยังมีทางเลือกในการจัดการกับความเครียดเรื้อรังหลาย

แนวทางและมีขอดีและขอเสียแตกตางกันไป ดังนี้ ทางเลือกท่ี 1 ไมตองทําอะไรเลย ปลอยใหมันผานไป หลักคิด ไมมีสิ่งใดที่เลวรายไปตลอด

- เราไมตองใชความพยายามหรือออกแรงมาก - การยอมรับสถานการณชวยลดความเครียดได ขอเสีย - ความทุกข ความเจ็บปวย หรือแมแตความตายก็อาจเกิดขึ้นกอนที่ปญหาจะคลี่คลาย - ความเครียดที่ไมไดรับการแกไขหรือการบรรเทาใหลดลงจะทําลายสุขภาพสวัสดิภาพและสัมพันธภาพ ทางเลือกท่ี 2 โตตอบหรือตอบสนองอยางรุนแรง หลักคิด หากบุคคลอื่นทําราย / ทําอันตรายตองเอาคืน ขอดี - ความเครียดลดลง ไมรูสึกสิ้นหวัง - ความตองการไดรับการตอบสนอง ขอเสีย - เสียสัมพันธภาพ (การเอาคืนอาจทําใหยิ่งเครียดเพิ่มขึ้นเพราะอาจถูกตอบโตกลับมาที่รุนแรงกวาเดิม) - ความดันเลือดสูง ทางเลือกท่ี 3 หลบหลีกความเครียด – เล่ียงสถานการณชั่วคราว หลักคิด ความเครียดที่พอดีสงเสริมสุขภาพ แตความเครียดที่มากเกินไปทําลายสุขภาพ ขอดี - การเลี่ยงความทุกขช่ัวคราว ทําใหเกิดความสุขชวงสั้นๆ ถือเปนการชารจไฟเพื่อตอสูปญหา ขอเสีย - สถานการณความเครียดไมไดรับการแก / เปลี่ยนแปลงในทางที่ดีขึ้นหรืออาจแกไขไดแตไมทันตอ เหตุการณ ทางเลือกท่ี 4 ควบคุม / ลดความเครียด หลักคิด บุคคลเปนเจาของชีวิตตนเอง ขอดี - สวนหน่ึงของความรูสึกเครียด มาจากการที่เราตอบสนองสิ่งที่เกิดขึ้นอยางไร การตอบสนองตอ ความเครียดดวยวิธีการที่ถูกตองเหมาะสม ไดแก การพัฒนาวิธีการตอบสนองตอเหตุการณใหดีขึ้น ลดความตองการลง เพิ่มขีดความสามารถในการแกไขปญหา ขอเสีย - การควบคุมชีวิตและสัมพันธภาพมากเกินไปอาจทําใหเครียด - บางครั้งคนเราก็จําเปนตองทําชีวิตใหมันงาย คือ ปลอยใหมันเปนไป อดทนมากขึ้น และลดความ ตองการความคาดหวังลง

Page 31: แผนการสอนที่ · 2007-03-13 · แผนการสอนที่ 1 ทัศนคติของชุมชนที่มีต ู ทอผี่มีความเครี

ทางเลือกท่ี 5 แสดงความเครียดออกมา ปลดปลอยอารมณ หลักคิด ความเครียดเปนประสบการณที่เกี่ยวกับภาวะทางอารมณ ยิ่งเราเก็บกดความเครียดก็ยิ่งทําใหการทําหนาที่

ของตนเองแยลง ไมวาจะเปนในดานสุขภาพ สัมพันธภาพกับผูอื่น การประกอบอาชีพ หรือการดํารงชีวิตประจําวัน

- เราจําเปนตองปลดปลอยความโกรธ ความเศรา ความกลัว ความคับของใจและความเดือดดาลของเรา ออกไป - การปลดปลอยทําไดโดยการเขียน การพูดคุย ทํางานศิลปะ แตงบทกวี การออกกําลังกาย การทํางาน อดิเรกที่ชอบ การดูภาพยนตร ฟงเพลง ขอดี - จิตใจลอดโปรง รางกายสบาย และมีพลังมากขึ้น - มองสถานการณและโอกาสในการแกปญหาไดกระจางชัดขึ้น สามารถเลือกและตัดสินใจไดอยางมีสติ และชาญฉลาดมากขึ้น ขอเสีย - อาจทําใหติดกับการปลดปลอยอารมณ เชน ใชพลังหรือทางออกงายๆ ในการตําหนิคนอื่น หรือโทษคน

อื่นกับปญหาที่เกิดขึ้นแทนการที่จะคนหาวาที่มาของความเครียดนั้นอยูที่ไหน ทางเลือกท่ี 6 การปรับตัว การเรียนรู และการพัฒนาตนเอง หลักคิด ความเปนมนุษยมีความเปลี่ยนแปลง ถาไมมีการเปลี่ยนแปลงจะทําใหหลุดพนจากความกลมกลืนในโลก

มนุษย ขอดี - ความเครียดเปนพลังงาน - ถาความเครียดเปนสัญญาณบงบอกถึงความไมสมดุล เราก็จะเขาไปจัดการใหเกิดความสมดุลทุกครั้งที่

เราไปจัดการกับปญหาหรือจัดการใหเกิดความสมดุล เราจะมีการเรียนรูและพัฒนาตนเองในทางที่ดีขึ้น มีความเขมแข็งและกลาที่จะเผชิญปญหาในครั้งตอไป

ขอเสีย - การเปลี่ยนแปลงอะไรเปนเรื่องที่ยาก - การเปลี่ยนแปลงในระยะสั้นและรุนแรงอาจทําใหเกิดความเครียดได

Page 32: แผนการสอนที่ · 2007-03-13 · แผนการสอนที่ 1 ทัศนคติของชุมชนที่มีต ู ทอผี่มีความเครี

แผนการสอนที่ 4 เร่ือง การจัดการกับความเครียด กรณีศึกษา “ชวีิตของนางบญุ”

นางบุญ อายุ 40 ป อาชีพรับจาง แตงงานมา 12 ป มีลูก 2 คน อายุ 10 ป และ 8 ป สามีทํางานกอสรางที่ตางจังหวัด รายไดไมเพียงพอใชจายในครอบครัว นางบุณมีพ่ีนอง 4 คน เปนลูกคนเล็กตองรับภาระดูแลมารดา ซึ่งเมื่อไมนานมานี้ไดปวยเปนโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง สงผลใหนางบุญตองทํางานหนักมากขึ้น เพื่อหาเงินมาใชในการรักษามารดา และตองคอยดูแลมารดา ทําใหไมมีเวลาดูแลลูกและตนเองเทาที่ควร

Page 33: แผนการสอนที่ · 2007-03-13 · แผนการสอนที่ 1 ทัศนคติของชุมชนที่มีต ู ทอผี่มีความเครี

แผนการสอนที่ 4 เร่ือง การจัดการกับความเครียด ใบกิจกรรมที่ 1

คําชี้แจง - แบงกลุมผูเขาอบรมออกเปน 5 กลุม - ใหผูเขารับการอบรมอภิปรายตามประเด็นที่กําหนดใชเวลา 15 นาที - แตละกลุมสงตัวแทนเสนอผลงาน กลุมละ 3 นาที ประเด็น

1. ถาทานเปนนางบุญทานจะรูสึกอยางไร 2. ทานมีวิธีการจัดการกับความเครียดที่เกิดขึ้นอยางไร

Page 34: แผนการสอนที่ · 2007-03-13 · แผนการสอนที่ 1 ทัศนคติของชุมชนที่มีต ู ทอผี่มีความเครี

แผนการสอนที่ 4 เร่ือง การจัดการกับความเครียด กรณีศึกษา “ชวีิตของยายม”ี

ยายมีอายุ 65 ป อาชีพทํานา เปนหมาย สามีเสียชีวิตดวยโรคมะเร็งตับเมื่อ 8 ปกอน ยายามีมีลูกสาว 1 คน อายุ 22 ป มีอาชีพเปนนักรองหองอาหารอยูที่ตางจังหวัดกับสามีคนที่ 3 ลูกสาวทิ้งลูกที่เกิดจากสามีคนที่ 2 อายุ 4 ขวบ ไวใหยายมีเลี้ยงโดยสงเงินมาใหเดือนละ 1,000 บาท ยายมีปวยเปนโรคประสาทวิตกกังวลมานานประมาณ 10 กวาป รับยาที่ รพ. ชุมชนใกลบาน ยายมีมักจะขอหมอเปลี่ยนยาบอยๆ เพราะรูสึกวากินยาแลวอาการไมดีขึ้น มีอาการใจสั่น ตกใจงาย ไมมีสมาธิ ปวดศีรษะ บางครั้งก็หงุดหงิดงาย ควบคุมอารมณไมคอยได ทะเลาะกับเพื่อนบานบอยๆ และมักลงโทษและตีหลานชายแบบไมมีเหตุผลบอยๆ

Page 35: แผนการสอนที่ · 2007-03-13 · แผนการสอนที่ 1 ทัศนคติของชุมชนที่มีต ู ทอผี่มีความเครี

แผนการสอนที่ 4 เร่ือง การจัดการกับความเครียด

ใบกิจกรรมที่ 2 คําชี้แจง - แบงกลุมผูเขารับการอบรมเปนกลุมๆละ 6-7 คน - ใหผูเขารับการอบรมอภิปรายตามประเด็นที่กําหนดใชเวลา 15 นาที - แตละกลุมสงตัวแทนนําเสนอผลงาน กลุมละ 3 นาที ประเด็น 1. ปญหาของยายมีเกิดจากอะไร 2. ปญหาของยายมีถาไมไดรับการชวยเหลือแกไข ทานคิดวาจะสงผลกระทบตอใครไดบาง และผลกระทบเปน อยางไร 3. ทานมีแนวทางใหความชวยเหลือยายมีอยางไร

Page 36: แผนการสอนที่ · 2007-03-13 · แผนการสอนที่ 1 ทัศนคติของชุมชนที่มีต ู ทอผี่มีความเครี

แผนการสอนที่ 4 เร่ือง การจัดการกับความเครียด

ใบความรูท่ี 2

ประเด็นอภิปราย ประเด็นที่ควรทราบ 1. ปญหาของยายมีเกิดจากอะไร 2. ปญหาของยายมีถาไมไดรับการชวยเหลือหรือแกไข ทานคิดวาจะสงผลกระทบตอใครบางและผลกระทบเปนอยางไร 3. ทานมีแนวทางใหความชวยเหลือยายมีอยางไร

● ความเจ็บปวย ● เศรษฐกิจ ฐานะไมดี ● ขาดการสนับสนุนทางสังคม ● ขาดทักษะในการเผชิญความเครียด ● ตัวยายมี → อาการทางโรคประสาทรุนแรงขึ้น ● หลานชาย → เปนเด็กมีปญหาสุขภาพจิตเสื่อมโทรม ● ญาติ → ภาระญาติ ● เพื่อนบาน → ไมสงบสุข ● สังคม → หากหลานชายโตขึ้นกลายเปนผูใหญมีปญหา เปนภาระของสังคม ● ประเทศชาติ → ไดทรัพยากรบุคคลที่ไมมีคุณภาพ ● ใหคําปรึกษาและแนะนําแนวทางการจัดการกับ ความเครียดดวยกลยุทธในการจัดการกับความเครียด เรื้อรัง ● แนะนําวิธีการคลายเครียด ● เยี่ยมเยียนใหกําลังใจ ● สงตอ

Page 37: แผนการสอนที่ · 2007-03-13 · แผนการสอนที่ 1 ทัศนคติของชุมชนที่มีต ู ทอผี่มีความเครี

แผนการสอนที่ 5 เร่ือง การปรับเปลี่ยนความคดิ

เวลา 1 ชั่วโมง

จุดประสงคการเรียนรู เมื่อสิ้นสุดการอบรม ผูเขาอบรมสามารถ

1. วิเคราะหความคิดที่ทําใหเปนทุกขได 2. รูแนวทางการปรับเปลี่ยนความคิด 3. นําวิธีการปรับเปลี่ยนความคิดไปใชในชีวิตประจําวันได สาระสําคัญ สาเหตุของความทุกขใจมาจากปญหาตางๆที่เกิดขึ้นในชีวิต ระดับความทุกขขึ้นอยูกับความหนักหนาของปญหา ในชวงที่ยังแกไขไมไดจะรูสึกเครียดมาก ทุกขมาก ดังนั้น การรูเทาทันความคิดของตนเองจึงเปนสิ่งสําคัญที่จะชวยใหเราเขาใจอารมณ ความรูสึกที่เกิดขึ้นไดดีขึ้น และสามารถจัดการกับความทุกขโดยการพิจารณาและแกไขความคิดที่ทําใหเกิดทุกขนั้นได ความคิดที่ทําใหเกิดทุกขโดยทั่วไปคือ ความคิดที่สอดคลองกับความเปนจริง และถูกครอบงําดวยอคติบางประการเมื่อคนเราสามารถจับความคิดของตนเองได และรูเทาทันความคิดของตนเองได และรูเทาทันความคิดนั้นวาทําใหเกิดทุกขอยางไร และสามารถมีแนวทางนําไปสูการปรับเปลี่ยนความคิดใหเปนไปในทางบวกได จะทําใหบุคคลนั้นคลายความทุกขและเผชิญปญหาไดอยางเหมาะสม กิจกรรมการเรียนรู

องคประกอบ/กลุม/เวลา กิจกรรม เนื้อหา / สื่อ ● ประสบการณ กลุมใหญ (5 นาที)

- วิทยากรนําเขาสูบทเรียน โดยการพูดถึงสถานการณตางๆ ที่เกิดขึ้นในชีวิตของคนเรา คือสาเหตุทีทําใหเกิดความรูสึก ตางๆ ทั้งดีใจและเสียใจ และสุมถามผูเขาอบรมวา “ที่ผาน มา เคยคิดอะไรที่ทําใหใจเปนทุกขบาง” และวิทยากรเขียน ลงแผนใส

- แผนใส, ปากกา

Page 38: แผนการสอนที่ · 2007-03-13 · แผนการสอนที่ 1 ทัศนคติของชุมชนที่มีต ู ทอผี่มีความเครี

กิจกรรมการเรียนรู องคประกอบ/กลุม/เวลา กิจกรรม เนื้อหา / สื่อ

● ความคิดรวบยอด กลุมใหญ (10 นาที) ● สะทอนความคิด/ อภิปราย กลุม 6-8 คน (15 นาที) ● ความคิดรวบยอด กลุมใหญ (10 นาที) ●ประยุกตแนวคิด กลุมใหญ (10 นาที) ● ความคิดรวบยอด กลุมใหญ (10 นาที)

- วิทยากรเชื่อมโยงสรุป และบรรยายตามใบความรูที่ 1 เรื่อง “ความคิดทําใหเปนทุกข” - แบงกลุมผูเขาอบรมและใหแตละกลุมชวยกันอภิปราย คําพูดหรือการกระทําทีทําใหเปนทุกขตามใบกิจกรรมที่ 1 - สุมถาม 3-4 กลุม นําเสนอผลงานกลุมและเปดโอกาสให กลุมที่มีความคิดเห็นแตกตางกันนําเสนอ - วิทยากรสรุปเพิ่มเติม - แบงกลุมผูเขาอบรม ฝกทําประเด็นในใบกิจกรรมที่ 2 - วิทยากรสรุปเพิ่มเติมตามใบความรูที่ 3 และบรรยาย “แนวทางการปรับเปลี่ยนความคิด และวิธีคิดที่เหมาะสม” ตามใบความรูที่ 4

- ใบความรูที่ 1 - ใบกิจกรรมที่ 1 - ใบความรูที่ 2 - ใบกิจกรรมที่ 2 - ใบความรูที่ 3 - ใบความรูที่ 4

Page 39: แผนการสอนที่ · 2007-03-13 · แผนการสอนที่ 1 ทัศนคติของชุมชนที่มีต ู ทอผี่มีความเครี

แผนการสอนที่ 5 เร่ือง การปรับเปลี่ยนความคดิ

ใบความรู 1 ความคิดท่ีทําใหเปนทุกข

ความคิดเปนตัวการสําคัญทีทําใหคนเราเกิดความทุกข ยิ่งคิดมากก็ทุกขมาก ความคิดที่ทําใหทุกข มีดังนี้ 1. คิดทางลบ มองขามขอดี คือแนวโนมทีจะคิดในทางลบ มองเห็นแตขอเสียในเรื่อตางๆ และมองขามสิ่งดีไป เชน การมองเห็นแตขอผิดพลาดขอตนเองหรือคนอื่น การมองเห็นแตปญหาหรืออุปสรรคโดยไมมองสิ่งที่เปนปจจัยเกื้อหนุน เชน สุวิทยซึ่งเรียนจบมหาวิทยาลัยแลวกลับไปชวยงานที่บานซึ่งมีกิจการทํานากุง และรูสึกเปนทุกขมากเพราะคิดวาตนเรียนมาสูง แตไมไดใชวิชาความรูและตองทํางานหนัก ไมมีชีวิตที่สะดวกสบายเหมือนคนอื่นๆ โดยไมไดมองวาในความจริงครอบครัวขอตนมีกิจการฟารมกุงที่ใหญโต และประสบความสําเร็จมากสุดแหงหนึ่งในแถบนั้น แดงรูสึกวาชีวิตของตนไมมีความสุขเพราะยังไมมีแฟน โดยไมไดมองเรื่องตนประสบความสําเร็จในการทํางานและมีครอบครัวที่อบอุน นิดรูสึกวาชีวิตของตนไมมีความสุข เพราะสามีไมคอยเอาใจ ทั้งๆที่สามีก็เปนคนดีที่รักนิดและลูกมาก แตเปนคนเฉยๆไมคอยออนหวาน ทําใหนิดคิดอิจฉาเพื่อนที่นิดเห็นวาสามีของเขาชางเอาใจและออนหวาน โดยไมไดมองวาจริงๆแลว สามีของเพื่อนที่ตนชื่นชมนั้นเปนคนปากหวานและคอนขางเจาชู นอกจากนี้ผูที่มีวิธีคิดที่ทําใหเกิดทุกขจะคิดขยายความสําคัญของสิ่งที่เปนดานลบ และลดความสําคัญของสิ่งที่เปนดานบวก เชน เวลาทําผิดหรือถูกตําหนิ ก็จะรูสึกวาเปนเรื่องใหญ เปนความผิดพลาดที่รายแรง แตถาทําอะไรสําเร็จหรือไดรับคําชมก็จะคิดวา “เขาชมตามมารยาท” “เขาคงใหกําลังใจเพราะสงสาร” หรือ “เรื่องแคนี้ใครๆก็ทําได” การคิดทางลบนี้เปนพ้ืนฐานสําคัญของความคิดที่ทําใหเกิดทุกข 2. คิดโทษตนเอง คือการคิดโทษตัวเองในเรื่อตางๆ โดยไมสอดคลองกับความจริง เชน คนไขไมมาตามนัดก็คิดวา “เราคงรักษาเขาไมดี เขาจึงไมอยากมา” สามีไปมีเมียนอยก็คิดวา “เราคงเปนภรรยาที่ไมดี คงใหความสุขเขาไมได เขาจึงตองไปมีคนอื่น” หรือ “ลูกสอบดวยคะแนนไมดีก็คิดวาเปนเพราะตนเปนแมที่ไมดี ไมไดใหเวลากับลูกมากพอ”

Page 40: แผนการสอนที่ · 2007-03-13 · แผนการสอนที่ 1 ทัศนคติของชุมชนที่มีต ู ทอผี่มีความเครี

3. คิดคาดเดา คือการชอบคิดคาดเดาสิ่งตางๆ ไปตามอติของตนเอง โดยอาจไมมีหลักฐานหรือเหตุผลที่ชัดเจนแบงไดเปนสองลักษณะใหญๆ คือ การคิดอานใจคนอื่น และการคิดคาดเดาอนาคต การคิดอานใจคนอื่น คือ การคิดคาดเดาวาคนอื่นรูสึกอยางนั้นอยางนี้ ตามอคติหรือความคิดของตนเอง เชน คนมองหนาอาจจะคิดวา “เขาคงเห็นวาเราสวย” หรือ “เขาคงรูสึกวาเราดูตลก นาหัวเราะเยาะ” ก็ไดตามอคติที่มี หรือเห็นหัวหนาดูอารมณไมคอยดี คนที่มีความคิดเชิงลบอาจจะเดาใจวา “หัวหนาคงอารมณเสียเพราะเราแนๆเลย” โดยที่ความจริงหัวหนาอาจจะมีเรื่องอื่น เชน เรื่องที่บาน ในทํานองเดียวกันเมื่อเดินสวนกับเพื่อนไมทักก็อาจคิดวา “เขาคงไมสนใจเราแลว” โดยที่ความจริงเพื่อนอาจเพียงไมทันมองเทานั้น การคิดคาดเดาอนาคต (โดยเฉพาะในทางลบ) คือการคิดคาดเดาวาจะเหตุการณในทางรายๆขึ้นกับตนเอง เชน ทะเลาะกับแฟน แลวคิดเลยไปวาถาขัดใจกันบอยๆอยางนี้ ตอไปเขาคงเบื่อเรา แลวคงทิ้งเราไปในที่สุด แลวเราก็จะหาใครไมไดอีก หรือโดนหัวหนาตําหนิเรื่องงานก็คิดวา หัวหนาไมพอใจเราอยางนี้ ตอไปอาจจะโดนไลออก และคงจะหางานทําอีกไมได เพราะตอนนี้เศรษฐกิจกําลังไมดี 4. คิดคาดหวัง เปนพื้นฐานขอความคิดที่ทําใหเกิดทุกขอีกประการหนึ่ง ผูที่มีความคิดในลักษณะนี้จะมีมาตรฐานหรือความคาดหวังในใจสําหรับเรื่องตางๆ ทั้งกับตนเองและกับผูอื่น จะมีคําพูดหรือความคิดวา “ฉันตอง...” “เรื่องนี้นาจะ.....” เชนรูสึกวา “ฉันควรจะทําใหไดดีกวานี้” “เขาควรจะเห็นใจฉันบาง” “เขาควรจะเห็นในบุญคุณของฉัน และรูจักตอบแทนฉันบาง” “เขานาจะมีความยุติธรรมมากกวานี้” ซึ่งความคิดเหลานี้ไมไดยืนอยูบนพื้นฐานความเปนจริง เมื่อสิ่งตางๆไมเปนไปตามที่คาดหวังก็รูสึกไมพอใจและเปนทุกข 5. คิดขยายวง การคิดขยายวง คือ การคิดขยายจากเรื่องเล็กใหเปนเรื่องใหญ หรือขยายจากเพียงเรื่องเดียวเปนขอสรุปทั่วไป เชน ทําผิดพลาดเรื่องหน่ึงก็คิดวา “เรานี่โงจริงๆทําอะไรไมเคยถูกเลย” เดินมาขึ้นรถโดยสารประจําทางพอดีรถที่จะขึ้นเพิ่งผานไปก็คิดวา “เรานี่ชางโชครายจริงๆ” รูมาวามีคนพูดถึงเราในทางไมดีก็คิดวา “คนในโลกนี้ก็เปนอยางนี้แหละ ไวใจไมได หนาไหวหลังหลอก ปากหวานกนเปรี้ยว ตอไปนี้เราจะไมไวใจใครอีกแลว” หรือถูกเอาเปรียบก็คิดวา “ทําไมโลกนี้ชางไมมีความยุติธรรมเสียเลย แลวคนเราทําไมถึงไดรายกันแบบนี้นะ” อกหักจากคนๆเดียวก็คิดวา “ผูชายก็เปนอยางนี้แหละ ไวใจไมได ชาตินี้ฉันจะไมรักใครอีกแลว”

Page 41: แผนการสอนที่ · 2007-03-13 · แผนการสอนที่ 1 ทัศนคติของชุมชนที่มีต ู ทอผี่มีความเครี

6. คิดวนเวียน คือการคิดวนเวียนซ้ําซากในเรื่องเดิมไมจบสิ้น เชน คิดถึงคนรักที่เพิ่งเลิกกัน วนไปมาวา “ทําไมเขาถึงทําอยางนี้ ทําไมเขาจึงไมรักษาสัญญา เขาไมนาหลอกเราเลย ทําไมเขาถึงทําอยางนี้นะ เขานาจะรักษาสัญญา ไมนาจะทําอยางนี้กับเราเลย...” หรือคิดถึงความลมเหลวของตนเองแลวคิดวา “เราทําไมถึงพลาดไปไดนะไมนาโงเลยจริงๆแยจริงๆ ที่ปลอยใหมันพลาดไปได ไมควรจะโงไดอยางนี้เลย เรื่องนิดเดียวทําไมปลอยใหพลาดไปไดก็ไมรู....” 7. คิดสุดขั้ว คือ การคิดแบบดานเดียว สุดขั้ว ไมขาวก็ดํา ไมมีสีเทา ถาไมดีที่สุดก็คือเลวที่สุด ถาผิดพลาดแมเพียงนิดเดียวก็คือลมเหลว ถาใครขัดใจหรือทําใหผิดหวังเพียงครั้งเดียวก็เสียความรูสึกดีๆไปหมด ถาคิดวาใครดีก็จะดีไปหมด ถาเลวก็เลวไปหมด วิธีที่คิดแบบนี้เปนรากฐานที่สําคัญอยางหนึ่งของความคิดที่ทําใหเกิดทุกข

Page 42: แผนการสอนที่ · 2007-03-13 · แผนการสอนที่ 1 ทัศนคติของชุมชนที่มีต ู ทอผี่มีความเครี

แผนการสอนที่ 5 เร่ือง การปรับเปลี่ยนความคดิ

ใบกิจกรรมที่ 1

คําชี้แจง ใหแบงกลุมผูเขารับการอบรมเปนกลุมๆละ 6-8 คน ชวยกันอภิปราย และระบุวาคําพูดหรือการกระทําแตละขอเปนความคิดที่เปนทุกขหรือไม ชนิดใด โดยใชเวลา 10 นาที และใหกลุมสงตัวแทนนําเสนอกลุมละ 3 นาที

เปนความคิดท่ีเปนทุกขหรือไม ชนิดใด คําพูด / การกระทํา เปน ไมเปน

1. ลูกสอบไดคะแนนไมดี “คงเปน เพราะเราเปนแมที่ไมดี ไมมีเวลา ใหกับลูกมากพอ”

2. “วันนี้ สามีฉันอารมณไมคอยดี คง อารมณเสียเพราะฉันแนๆเลย

3. “เมื่อวานขายของไมดีเลย วันนี้คอย ยังช่ัวหนอยขายไดหมดเลย”

4. “สามีฉันทําอะไร ไมไดดั่งใจ ถึงวัน ครบรอบแตงงาน หรือวันเกิดฉันก็ไม เคยคิดเอาแตทํามาหากินเลี้ยงลูกเลี้ยง ครอบครัวอยางเดียว”

5. อกหักจากผูชายคนหนึ่ง ก็คิดวา “ผูชายก็อยางนี้แหละ ไวใจไมไดชาติ นี้ ฉันจะไมรักใครอีกแลว”

6. เปนคนใชเงินเกง เงินไมพอใชไปขอ ยืมเพื่อนแตไมไดก็คิดวา “เขานาจะ เห็นใจฉันบาง”

Page 43: แผนการสอนที่ · 2007-03-13 · แผนการสอนที่ 1 ทัศนคติของชุมชนที่มีต ู ทอผี่มีความเครี

เปนความคิดท่ีเปนทุกขหรือไม ชนิดใด คําพูด / การกระทํา เปน ไมเปน

7. เมื่อเชาต่ืนสาย ลุกใสบาตรไมทันก็ คิดวา “ไมเปนไร พรุงนี้แกตัวใหมก็ ได”

8. ไอลูกคนนี้ มันชางเลวจริงๆ

9. คิดถึงความลมเหลวของตนเองแลว คิดวา “เราทําไมถึงพลาดไปไดนะ ไมนาโงเลยจริงๆแยจริงๆ ที่ปลอยให มันพลาดไปได ไมควรจะโงไดอยาง นี้เลย เรื่องนิดเดียวทําไมปลอยให พลาดไปไดก็ไมรู” คิดตลอดเวลา

10. มีลูกสาว 7 คน แตไมมีลูกชายสืบ สกุลก็คิดวา “มีลูกหญิงก็ดี จะไดอยู ดูแลเปนเพื่อนเมื่อแกเฒา ลูกชายพอ แตงงานก็ไปอยูที่อื่น”

Page 44: แผนการสอนที่ · 2007-03-13 · แผนการสอนที่ 1 ทัศนคติของชุมชนที่มีต ู ทอผี่มีความเครี

แผนการสอนที่ 5 เร่ือง การปรับเปลี่ยนความคดิ

ใบความรูท่ี 2 เปนความคิดท่ีเปนทุกขหรือไม แบบใด

คําพูด / การกระทํา เปน ไมเปน 1. ลูกสอบไดคะแนนไมดี “คงเปน เพราะเราเปนแมที่ไมดี ไมมีเวลา ใหกับลูกมากพอ”

คิดโทษตนเอง

2. “วันนี้ สามีฉันอารมณไมคอยดี คง อารมณเสียเพราะฉันแนๆเลย

คิดคาดเดา

3. “เมื่อวานขายของไมดีเลย วันนี้คอย ยังช่ัวหนอยขายไดหมดเลย”

4. “สามีฉันทําอะไร ไมไดดั่งใจ ถึงวัน ครบรอบแตงงาน หรือวันเกิดฉันก็ไม เคยคิดเอาแตทํามาหากินเลี้ยงลูกเลี้ยง ครอบครัวอยางเดียว”

คิดทางลบ มองขามขอดี

5. อกหักจากผูชายคนหนึ่ง ก็คิดวา “ผูชายก็อยางนี้แหละ ไวใจไมไดชาติ นี้ ฉันจะไมรักใครอีกแลว”

คิดขยายวง

6. เปนคนใชเงินเกง เงินไมพอใชไปขอ ยืมเพื่อนแตไมไดก็คิดวา “เขานาจะ เห็นใจฉันบาง”

คิดคาดหวัง

Page 45: แผนการสอนที่ · 2007-03-13 · แผนการสอนที่ 1 ทัศนคติของชุมชนที่มีต ู ทอผี่มีความเครี

เปนความคิดท่ีเปนทุกขหรือไม แบบใด

คําพูด / การกระทํา เปน ไมเปน 7. เมื่อเชาต่ืนสาย ลุกใสบาตรไมทันก็ คิดวา “ไมเปนไร พรุงนี้แกตัวใหมก็ ได”

8. ไอลูกคนนี้ มันชางเลวจริงๆ คิดสุดขั้ว

9. คิดถึงความลมเหลวของตนเองแลว คิดวา “เราทําไมถึงพลาดไปไดนะ ไมนาโงเลยจริงๆแยจริงๆ ที่ปลอยให มันพลาดไปได ไมควรจะโงไดอยาง นี้เลย เรื่องนิดเดียวทําไมปลอยให พลาดไปไดก็ไมรู” คิดตลอดเวลา

คิดวนเวียน

10. มีลูกสาว 7 คน แตไมมีลูกชายสืบ สกุลก็คิดวา “มีลูกหญิงก็ดี จะไดอยู ดูแลเปนเพื่อนเมื่อแกเฒา ลูกชายพอ แตงงานก็ไปอยูที่อื่น”

หมายเหตุ คําตอบบางขออาจมีการก้ํากึ่งระหวางความคิดเปนทุกขหลายลักษณะ เนื่องจากความคิดตางๆมีลักษณะสัมพันธกันอยู ถาผูตอบตอบไมตรง วิทยากรสามารถใหกลุมชวยออกความคิดเห็นเพื่อตัดสินใจได เพราะมุงหวังใหผูเขาอบรมไดมีโอกาสสํารวจ และรูทันความคิดที่เปนทุกขของตนเองเทานั้น ไมตองการพิสูจนวาตอบถูกหรือผิด

Page 46: แผนการสอนที่ · 2007-03-13 · แผนการสอนที่ 1 ทัศนคติของชุมชนที่มีต ู ทอผี่มีความเครี

แผนการสอนที่ 5 เร่ือง การปรับเปลี่ยนความคดิ

ใบกิจกรรมที่ 2

- แบงผูเขาอบรมเปนกลุมๆละ 6-8 คน รวมกันวิเคราะหและพิจารณาความคิดที่เปนทุกข และใหปรับเปลี่ยนเปนความคิด ทางบวก - ตัวแทนแตละกลุมนําเสนอผลงาน

เหตุการณ ความคิดที่เปนทุกข ความคิดทางบวก 1. นาน้ําทวม ไรนาเสียหาย - ชีวิตชางโชครายอะไรเชนนี้

- ทําไมธรรมชาติตองลงโทษเราดวย - หรือวาฉันทําอะไรไมดีไว

……………………... ……………………... ……………………... ……………………... ……………………...

2. นายแดงขโมยไกชนราคา แพงชาวบานไปขาย ถูก ผูใหญจับได

- เปนคนชั่ว คนไมดี - ไมรูจักหางานทํา

……………………... ……………………... ……………………... ……………………... ……………………...

3. สามีมีเมียนอย - เราผิดอะไรหรือ - เขาคงไมรักเราแลว - เขาเปนคนมักมาก ไมรูจักพอ

……………………... ……………………... ……………………... ……………………... ……………………...

4. จับไดวาลูกลองยาเสพติด - ทําไมมันเลวอยางนี้ - ลูกไมรักดี - เปนเพราะมันคบเพื่อนช่ัว

……………………... ……………………... ……………………... ……………………... ……………………...

Page 47: แผนการสอนที่ · 2007-03-13 · แผนการสอนที่ 1 ทัศนคติของชุมชนที่มีต ู ทอผี่มีความเครี

แผนการสอนที่ 5 เร่ือง การปรับเปลี่ยนความคดิ

ใบความรูท่ี 3

เหตุการณ ความคิดที่เปนทุกข ความคิดทางบวก 1. นาน้ําทวม ไรนาเสียหาย - ชีวิตชางโชครายอะไรเชนนี้

- ทําไมธรรมชาติตองลงโทษเราดวย - หรือวาฉันทําอะไรไมดีไว

- อาจมีคนโชครายกวาเราก็ได - น้ําทวมก็ดีเหมือนกัน ทําให เจาหนาที่บานเมืองเขามา ชวยเหลือ

2. นายแดงขโมยไกชนราคา แพงชาวบานไปขาย ถูก ผูใหญจับได

- เปนคนชั่ว คนไมดี - ไมรูจักหางานทํา

- เขาอาจไมมีกิน - มีภาระตองเลี้ยงดูครอบครัว

3. สามีมีเมียนอย - เราผิดอะไรหรือ - เขาคงไมรักเราแลว - เขาเปนคนมักมาก ไมรูจักพอ

- เขาตองเหนื่อยเพราะตองมี ภาระมากขึ้น

4. จับไดวาลูกลองยาเสพติด - ทําไมมันเลวอยางนี้ - ลูกไมรักดี - เปนเพราะมันคบเพื่อนช่ัว

- ลูกอาจมีปญหาอะไรแตไมกลา ปรึกษา พอ – แม จึงหา ทางออกเชนนั้น - ยังดีที่รูทัน ยังไมสายเกินไปที่ จะหาทางแกไข

Page 48: แผนการสอนที่ · 2007-03-13 · แผนการสอนที่ 1 ทัศนคติของชุมชนที่มีต ู ทอผี่มีความเครี

แผนการสอนที่ 5 เร่ือง การปรับเปลี่ยนความคดิ

ใบความรูท่ี 4 แนวทางการปรับเปล่ียนความคิด และความคิดท่ีเหมาะสม

ธรรมชาติของอารมณ และการปรับเปล่ียนวิธีคิดท่ีเปนสขุ การเรียนรู เขาใจธรรมชาติของอารมณ จะทําใหมนุษยเขาใจอารมณและรูเทาทันอารมณที่มีผลตอความคิด และรูเทา

ทันความคิดที่มีผลตออารมณ ซึ่งเปนตัวกําหนดพฤติกรรมของมนุษย

ความคิด อารมณ พฤติกรรม ลักษณะธรรมชาติของอารมณ คือ 1. ขึ้นลง และเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา 2. เมื่อมนุษยมีอารมณจะตองการระบายออก 3. อารมณมีผลตอพฤติกรรมการแสดงออกของมนุษย 4. อารมณเปนสัญญาณเตือนภัย การปรับเปล่ียนวิธีคิดท่ีเปนทุกข การปรับเปลี่ยนวิธีคิดที่เปนทุกข จะทําใหมนุษยรูสึกหงุดหงิด ไมพอใจ ไมสบายใจ อึดอัด เมื่อใดก็ตามที่คุณเริ่มรูสึก

เชนนี้ แสดงวาอารมณกําลังสงสัญญาณเตือนภัยวาการแปลความหมายความคิดจากสิ่งที่เรามากระทบตัวเราเริ่มทําใหเราเปนทุกข ไมวาจะดวยความคิดที่เปนทุกขในลักษณะใดก็ตาม

ขอใหเราสั่งให “ใจหยุดคิด” และเริ่มสํารวจวาความรูสึกเหลานี้เกิดจากความคิดที่เปนทุกขชนิดไหน เพราะอะไรเราจึงคิดเชนนั้น เหตุผลสอดคลองใหสมควรที่จะคิดแบบนั้นหรือไม

Page 49: แผนการสอนที่ · 2007-03-13 · แผนการสอนที่ 1 ทัศนคติของชุมชนที่มีต ู ทอผี่มีความเครี

อยางไรก็ตาม ไมวาเหตุผลแหงความคิดนั้นดูจะสอดคลองที่ทําใหคุณตองเกิดอารมณไมพอใจตอเหตุการณนั้นๆ ณ ขณะที่คุณยังไมสามารถแกไขไดโดยพูดคุยกับคูกรณีโดยตรง ก็ใหพยายามหาเหตุผลเพื่อปรับเปลี่ยนวิธีคิดเปนทางบวก เพื่อใหเห็นหนทางที่ดีกวา และมีกําลังใจมากขึ้น เชน รีบไปทํางานแตเชาแตบังเอิญรถติดจนไมสามารถไปทํางานไดตามความต้ังใจ ก็อาจเปลี่ยนเปนคิดวาเปนโชคดีที่เราไดมีเวลาทบทวนความคิดของตนเองเงียบๆ ในรถและมีเวลาวางแผนงานประจําวันไดเต็มที่ กอนที่จะเริ่มงานในเชาวันนี้

ลองหัดหยุดความคิดที่เปนทุกข ทบทวนตัวเอง ตามสัญญาณเตือนของอารมณอยางสม่ําเสมอ แลวคุณก็จะเปนคนที่มีความสุขอยางบอกไมถูกเชียวละ ที่สําคัญมันจะชวยชะลอความแกไดอยางชะงัดที่เดียวเชียว

จงแกปญหาอยางเปนระบบ ใชเหตุผลและใชความคิดพิจารณาใหถี่ถวน โดย - คิดหาสาเหตุของปญหาดวยใจเปนธรรม ไมเขาขางตัวเอง ไมโทษคนอื่น - คิดหาวิธีแกปญหาหลายๆวิธี ถาคิดเองไมออกอาจปรึกษาผูใกลชิดหรือผูที่มีประสบการณมากกวา - ลงมือแกปญหาตามวิธีที่คิดไว อาจตองใชความกลาหาญ อดทน หรือตองใชเวลาบางอยาไดทอถอยไปเสียกอน - ประเมินผลดูวาวิธีที่ใชไดผลหรือไม ถาไมไดผลก็เปลี่ยนไปใชวิธีอื่นๆ ที่เตรียมไวจนกวาจะไดผล เมื่อแกปญหาไดก็จะหายเครียด หมดทุกขและเกิดความภูมิใจในตัวเองดวย คิดอยางไรไมใหทุกข ความคิดเปนตัวการสําคัญที่ทําใหคนเราเกิดความทุกข ยิ่งคิดมากก็ทุกขมาก หากรูจักคิดใหเปนก็จะชวยใหลดความทุกไปไดมาก วิธีคิดท่ีเหมาะสม ไดแก 1. คิดในแงยืดหยุนใหมากขึ้น อยาเอาแตเขมงวด จับผิด หรือตัดสินผิดถูกตัวเองและผูอื่นอยูตลอดเวลา จงละวาง ผอนหนัก ผอนเบา ลดทิฐิมานะ รูจักใหอภัย ไมถือโทษโกรธเคือง หัดลืมเสียบาง ชีวิตจะมีสุขมากขึ้น 2. คิดอยางมีเหตุผล อยาดวนเชื่ออะไรงายๆ แลวเก็บเอามาคิดวิตกกังวลใหพยายามใชเหตุผลตรวจสอบหาขอเท็จจริงไตรตรองใหรอบคอบเสียกอน นอกจากจะไมตองตกเปนเหยื่อใหใครหลอกงายๆ แลวยังตัดความกังวลลงไดดวย

Page 50: แผนการสอนที่ · 2007-03-13 · แผนการสอนที่ 1 ทัศนคติของชุมชนที่มีต ู ทอผี่มีความเครี

3. คิดหลายๆแงมุม ลองคิดหลายๆดาน ทั้งดานดีและไมดี เพราะไมวาคนหรือไมวาเหตุการณอะไรก็ตามยอมมีทั้งสวนดีและไมดีประกอบกันทั้งนั้น อยามองเพียงดานเดียวใหใจเปนทุกข นอกจากนี้ควรหัดคิดในมุมของคนอื่นบาง เชน สามีจะคิดอยางไร ลูกจะรูสึกอยางไร เจานายจะแกปญหานี้อยางไร เปนตน จะชวยใหมองอะไรไดกวางไกลกวาเดิม 4. คิดแตเร่ืองดีๆ ถาคอยคิดถึงแตเรื่องรายๆ เรื่องความลมเหลว ผิดหวัง หรือเรื่องไมเปนสุขทั้งหลาย ก็ยิ่งทุกขกันไปใหญ ควรคิดถึงเรื่องดีๆใหมากขึ้น เชน คิดถึงประสบการณที่เปนสุขในอดีต ความสําเร็จในชีวิตที่ผานมา คําชมเชยที่ไดรับ ความดีของคูสมรส ความมีน้ําใจของเพื่อน ฯลฯ จะชวยใหสบายใจมากขึ้น 5. คิดถึงคนอื่นบาง อยาคิดหมกมุนอยูกับตนเองเทานั้น เปดใจใหกวาง รับรูความเปนไปของคนใกลชิด และใสใจที่จะชวยเหลือ สนใจปญหาของผูอื่นในสังคมบาง บางทีคุณอาจจะพบปญหาที่คุณกําลังเปนทุกขอยูนี้ชางเล็กนอยเหลือเกินเมื่อเทียบกับปญหาของคนอื่นๆ คุณจะรูสึกดีขึ้นและยิ่งถาคุณชวยเหลือคนอื่นไดคุณจะสุขใจขึ้นเปนทวีคูณดวย

Page 51: แผนการสอนที่ · 2007-03-13 · แผนการสอนที่ 1 ทัศนคติของชุมชนที่มีต ู ทอผี่มีความเครี

แผนการสอนที่ 6 เร่ือง การฝกทักษะการคลายเครียด

เวลา 2 ชั่วโมง

จุดประสงคของการเรียนรู เมื่อสิ้นสุดการอบรมผูเขาอบรมสามาร

1. บอกทักษะการคลายเครียดที่เหมาะสม 2. สามารถนําทักษะการคลายเครียดไปแนะนํา และใหการชวยเหลือแกผูอื่นได

สาระสําคัญ ความเครียดเปนภาวะทางอารมณ หรือความรูสึกที่เกิดขึ้นเมื่อเผชิญกับปญหาตางๆ ที่ทําใหรูสึกวาไมสบายใจ คับของใจหรือถูกบีบคั้น กดดันจนทําใหเกิดความทุกขใจ สับสน โกรธ หรือเสียใจ ความเครียดเมื่อเกิดไมนานนัก จะเปนแรงกระตุนใหคนเราเอาชนะปญหาและอุปสรรคตางๆได หากความเครียดมีมากในระดับสูงและเปนอยูนาน จะสงผลเสียตอสุขภาพกาย สุขภาพจิต พฤติกรรม เราควรจะรูจักกับการฝกทักษะการผอนคลายความเครียดที่ถูกวิธี เพื่อใหการดําเนินชีวิตของเราเปนสุข ทักษะการคลายเครียดมีหลายวิธี เชน การผอนคลายกลามเนื้อ การฝกการหายใจ การทําสมาธิ การจินตนาการ การนวดคลายเครียด ผูที่มีความเครียดไมจําเปนตองฝกทักษะทุกวิธี ในการนําไปประยุกตใชกับตนเองเมื่อมีความเครียด แตอาจเลือกวิธีใดวิธีหนึ่งที่ตนเองฝกทักษะ แลวสามารถผอนคลายไดและเหมาะสมกับตนเอง และสามารถนําไปใชในการคลายเครียดไดทันทีที่มีความเครียด

Page 52: แผนการสอนที่ · 2007-03-13 · แผนการสอนที่ 1 ทัศนคติของชุมชนที่มีต ู ทอผี่มีความเครี

กิจกรรมการเรียนรู องคประกอบ/กลุม/เวลา กิจกรรม เนื้อหา / สื่อ

1. ขั้นรูชัดเห็นจริง ● ประสบการณ กลุมใหญ (5 นาที) ● สะทอนความคิด อภิปรายกลุม 5-10 คน (20 นาที) ● ความคิดรวบยอด กลุมใหญ (15 นาที) 2. ขั้นลงมือกระทํา ● ประยุกตแนวคิด กลุมใหญ (50 นาที) ● ความคิดรวบยอด กลุมใหญ (20 นาที)

- วิทยากรนําเขาสูบทเรียน โดยการสุมถามผูเขาอบรม ประมาณ 4-5 คน โดยใชคําถาม “เมื่อทานเกิดความเครียด ทานใชวิธีการใดชวยผอนคลายความเครียด” - วิทยากรสรุปวิธีการคลายเครียดที่ผูเขาอบรมแสดงความ คิดเห็นลงในแผนใส - วิทยากรแบงกลุมใหอภิปรายตามใบกิจกรรม - นําเสนอผลงานกลุม 3-4 กลุม และเปดโอกาสใหกลุมที่มี ความคิดเห็นแตกตางนําเสนอ - วิทยากรบรรยายตามใบความรูที่ 1 - วิทยากรเชื่อมโยงประสบการณที่ผูเขาอบรมเสนอมใน ชวงแรกใหสัมพันธกับการนําเสนอผลงานกลุมและเนื้อหา ที่บรรยาย - วิทยากรนําผูเขาอบรมฝกปฏิบัติวิธีคลายเครียดดวยตัวเอง ไปพรอมกันทั้ง 5 วิธี ในการฝกปฏิบัติเมื่อจบ การคลาย เครียดแตละวิธีจะสุมถามผูเขาอบรมถึงผลการฝกปฏิบัติวา เปนอยางไร - วิทยากรสุมถามผูเขาอบรมเพื่อประเมินผลการปฏิบัติใน ภาพรวม 5-6 คน - วิทยากรสรุป

- แผนใส, ปากกา - ใบกิจกรรมที่ 1 - ใบความรูที่ 1 - บทสาธิตการฝก ปฏิบัติ

Page 53: แผนการสอนที่ · 2007-03-13 · แผนการสอนที่ 1 ทัศนคติของชุมชนที่มีต ู ทอผี่มีความเครี

แผนการสอนที่ 6 เร่ือง การฝกทักษะการคลายเครียด

ใบกิจกรรมที่ 1

คําชี้แจง 1. แบงกลุมผูเขาอบรมออกเปน 10 กลุม 2. ใหผูเขาอบรมอภิปรายตามประเด็นที่กําหนดใชเวลา 15 นาที 3. แตละกลุมสงตัวแทนนําเสนอผลงานกลุมๆละ 3 นาที

ประเด็นอภิปราย 1. ที่ผานมาทานมีวิธีการคลายเครียดอยางไรบาง กรุณาบอกรายละเอียดวีการคลายเครียดในแตละวิธีดวย

2. วิธีการคลายเครียดใดที่ชอบมากที่สุด 3 อันดับ

Page 54: แผนการสอนที่ · 2007-03-13 · แผนการสอนที่ 1 ทัศนคติของชุมชนที่มีต ู ทอผี่มีความเครี

แผนการสอนที่ 6 เร่ือง การฝกทักษะการคลายเครียด

ใบความรูท่ี 1

1. การคลายเครียด ในภาวะปกติ 1.1 หยุดพักการทํางาน 1.2 การทํางานอดิเรกที่สนใจหรือถนัดหรือที่ชอบ 1.3 เลนกีฬาหรือบริหารรางกาย 1.4 พูดคุยกับเพื่อนที่ไววางใจ 1.5 พักผอนใหเพียงพอ 1.6 ปรับสิ่งแวดลอมในที่ทํางานหรือที่บานใหเหมาะสม 1.7 เปลี่ยนบรรยากาศชั่วคราว 2. การคลายเครียดในภาวะที่มีความเครียดสูง 2.1 การผอนคลายกลามเนื้อ 2.2 การฝกการหายใจ 2.3 การทําสมาธิ 2.4 การจินตนาการ 2.5 การนวดคลายเครียด

Page 55: แผนการสอนที่ · 2007-03-13 · แผนการสอนที่ 1 ทัศนคติของชุมชนที่มีต ู ทอผี่มีความเครี

แผนการสอนที่ 6 เร่ือง การฝกทักษะการคลายเครียด

บทสาธิต

เทคนิคการคลายเครียดแตละวิธีมีรายละเอียดการฝกปฏิบัติ ดังนี้ 1. การผอนคลายกลามเนื้อ หลักการ ความเครียดมีผลทําใหกลามเนื้อหดตัว สังเกตไดจากอาการหนานิ่วคิ้วขมวด กําหมัด กัดฟน ฯลฯ การเกร็งตัวของกลามเนื้อทําใหเกิดอาการเจ็บปวด เชน ปวดตนคอ ปวดหลัง ปวดไหล เปนตน การฝกการคลายกลามเนื้อ จะชวยใหอาการหดเกร็งกลามเนื้อลดลง ในขณะฝกจิตใจจะจดจออยูกับการคลายกลามเนื้อสวนตางๆ ทําใหลดอาการคิดฟุงซานและวิตกกังวล จิตใจจะมีสมาธิมากขึ้นกวาเดิมดวย วิธีการฝก เลือกสถานที่ที่สงบปราศจากเสียงรบกวน นั่งในทาที่สบายคลายเสื้อผาใหหลวม ถอดรองเทา หลับตา ทําใจใหวาง ต้ังสมาธิ อยูที่กลามเนื้อสวนตางๆ ฝกเกร็งและคลายกลามเนื้อ 10 กลุม ดังนี้ 1. มือและแขนขวา โดยกํามือ เกร็งแขน แลวคลาย 2. มือและแขนซาย โดยทําเชนกัน 3. หนาผาก โดยเลิกคิ้วสูงแลวคลาย ขมวดคิ้วแลวคลาย 4. ตา แกม จมูก โดยหลับตาแนน ยนจมูกแลวคลาย 5. ขากรรไกร ลิ้น ริมฝปาก โดยกัดลิ้น ใชลิ้นดันเพดานปากแลวคลาย เมมปากแนนแลวคลาย 6. คอ โดยกมหนาใหคางจดคอแลวคลาย เงยหนาจนสุดแลวคลาย 7. อก ไหล และหลัง โดยหายใจเขาลึกๆกลั้นไวแลวคลาย ยกไหลสูงแลวคลาย 8. หนาทองและกน โดยแขมวทองแลวคลาย ขมิบกนแลวคลาย 9. เทาและขาขวา โดยเหยียดขา และงอนิ้วเทาแลวคลาย เหยียดขากระดกปลายเทาแลวคลาย 10. เทาและขาซาย โดยทําเชนเดียวกัน

Page 56: แผนการสอนที่ · 2007-03-13 · แผนการสอนที่ 1 ทัศนคติของชุมชนที่มีต ู ทอผี่มีความเครี

ขอแนะนํา 1. ระยะเวลาที่เกร็งกลามเนื้อใหนอยกวาระยะเวลาที่ผอนคลาย เชน 3-5 วินาที ผอนคลาย 10-15 นาที เปนตน 2. เวลากํามือ ระวังอยาใหเล็บจิกเนื้อตัวเอง 3. ควรฝกประมาณ 8-12 ครั้ง เพื่อใหเกิดความชํานาญ 4. เมื่อคุนเคยกับการผอนคลายแลว ใหฝกคลายกลามเนื้อไดเลย โดยไมจําเปนตองเกร็งกอน 5. อาจเลือกคลายกลามเนื้อเฉพาะสวนที่เปนปญหาเทานั้นก็ได เชน บริเวณใบหนา ตนคอ หลัง ไหล เปนตน ไม จําเปนตองคลายกลามเนื้อทั้งตัวจะชวยใหใชเวลานอยลง และสะดวกมากขึ้น 2. การฝกการหายใจ หลักการ ตามปกติคนทั่วไปจะหายใจตื้นๆ โดยใชกลามเนื้อหนาอกเปนหลัก ทําใหไดออกซิเจนไปเลี้ยงรางกายนอยกวาที่ควร โดยเฉพาะอยางยิ่งในเวลาเครียด คนเรายิ่งหายใจถี่และตื้นมากกวาเดิม ทําใหเกิดอาการถอนหายใจเปนระยะๆ เพื่อใหไดออกซิเจนมากขึ้น การฝกหายใจชาๆลึกๆ โดยใชกลามเนื้อกระบังลมบริเวณทองจะชวยใหรางกายไดอากาศเขาสูปอดมากขึ้น เพิ่มปริมาณออกซิเจนในเลือด และยังชวยเพิ่มความแข็งแกรงแกกลามเนื้อหนาทองและลําไสดวย การฝกการหายใจอยางถูกวิธีจะทําใหหัวใจเตนชาลง สมองแจมใส เพราะไดออกซิเจนมากขึ้นและการหายใจออกชาๆ จะทําใหรูสึกไดวาไดปลดปลอยความเครียดออกไปจากตัวจนหมดสิ้น วิธีการฝก นั่งในทาที่สบาย หลับตา เอามือประสานไวบริเวณหนาทอง คอยๆหายใจเขา พรอมๆกับนับเลข 1 ถึง 4 เปนจังหวะชาๆ 1...2...3...4... ใหมือรูสึกวาทองพองออก กลั้นหายใจไวช่ัวครู นับ 1 ถึง 4 เปนจังหวะชาๆ เชนเดียวกับเมื่อหายใจเขาคอยๆผอนลมหายใจออก โดยนับ 1 ถึง 8 อยางชาๆ 1...2...3...4...5...6...7...8... พยายามไลลมหายใจออกมาใหหมดสังเกตวาหนาทองแฟบลง ทําซ้ําอีก โดยหายใจเขาชาๆ กลั้นไว แลวหายใจออกโดยชวงที่หายใจออกใหนานกวาชวงที่หายใจเขา

Page 57: แผนการสอนที่ · 2007-03-13 · แผนการสอนที่ 1 ทัศนคติของชุมชนที่มีต ู ทอผี่มีความเครี

ขอแนะนํา 1. การฝกการหายใจ ควรทําติดตอกันประมาณ 4-5 ครั้ง 2. ควรฝกทุกครั้งที่รูสึกเครียด รูสึกโกรธ รูสึกไมสบายใจ หรือฝกทุกครั้งที่นึกได 3. ทุกครั้งที่หายใจออก ใหรูสึกวาผลักดันความเครียดออกมาดวยจนหมด เหลือไวแตความรูสึกโลงสบายเทานั้น 4. ในแตละวัน ควรฝกหายใจที่ถูกวิธีใหไดประมาณ 40 ครั้ง แตไมจําเปนตองทําติดตอในคราวเดียวกัน ผลดีจากการฝกคลายเครียด ขณะฝก ● อัตราการเผาผลาญอาหารในรางกายลดลง ● อัตราการเตนของหัวใจชาลง ● อัตราการหายใจลดลง ● ความดันโลหิตลดลง ● ความตึงเครียดของกลามเนื้อลดลงหลังการฝก ● ใจเย็นขึ้น ● สมาธิดีขึ้น ● ความจําดีขึ้น ● ความสัมพันธกับผูอื่นดีขึ้น ● สมองแจมใส คิดแกปญหาตางๆ ไดดีขึ้นกวาเดิม

Page 58: แผนการสอนที่ · 2007-03-13 · แผนการสอนที่ 1 ทัศนคติของชุมชนที่มีต ู ทอผี่มีความเครี

3. การทําสมาธิ หลักการ การทําสมาธิถือเปนการผอนคลายความเครียดที่ลึกซึ้งที่สุดเพราะจิตใจจะสงบ และปลอดจากความคิดที่ซ้ําซาก ฟุงซาน วิตกกังวล เศรา โกรธ ฯลฯ หลักของการทําสมาธิ คือ การเอาใจไปจดจอกับสิ่งใดสิ่งหนึ่งเพียงอยางเดียว ซึ่งในทีนี้จะใชการนับลมหายใจเปนหลัก และยุติการคิดเรื่องอื่นๆอยางสิ้นเชิง หากฝกสมาธิเปนประจําจะทําใหจิตใจเบิกบาน อารมณเย็น สมองแจมใส หายเครียดจนตัวเองและคนใกลชิดรูสึกถึงความเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีนี้ไดอยางชัดเจน วิธีการฝก เลือกสถานที่ที่เงียบสงบ ไมมีใครรบกวน เชน หองพระ หองนอน หองทํางานที่ไมมีคนพลุกพลาน หรือมุมสงบในบาน นั่งขัดสมาธิ เทาขวาทับเทาซาย มือชนกันหรือมือขวาทับมือซายตั้งตัวตรง หรือจะนั่งพับเพียบก็ไดตามแตจะถนัด กําหนดลมหายใจเขาออก โดยสังเกตที่มากระทบปลายจมูกหรือริมฝปากบน ใหรูวาขณะนั้นหายใจเขาหรือออก หายใจเขาทองพอง หายใจออกทองยุบ หายใจเขานับ 1 หายใจออกนับ 1 นับไปเรื่อยๆจนถึง 5 เริ่มนับใหมจาก 1-6 แลวพอ กลับมานับใหมจาก 1-7 แลวพอ กลับมานับใหมจาก 1-8 แลวพอ กลับมานับใหมจาก 1-9 แลวพอ กลับมานับใหมจาก 1-10 แลวพอ ยอนกลับมาเริ่ม 1-5 ใหม วนไปเรื่อยๆ ขอเพียงจิตใจจดจออยูกับลมหายใจเขาออกเทานั้น อยาคิดฟุงซานเรื่องอื่น เมื่อจิตใจแนวแนจะชวยขจัดความเครียด ความวิตกกังวลความเศราหมอง เกิดปญญาที่จะคิดแกไขปญหาและเอาชนะอุปสรรคตางๆ ในชีวิตไดอยางมีสติ มีเหตุผล และยังชวยใหสุขภาพรางกายดีขึ้นดวย

Page 59: แผนการสอนที่ · 2007-03-13 · แผนการสอนที่ 1 ทัศนคติของชุมชนที่มีต ู ทอผี่มีความเครี

4. การจินตนาการ หลักการ การใชจินตนาการ เปนกลวิธีอยางหนึ่งที่เบี่ยงเบนความสนใจจากสถานการณอันเครงเครียดในปจจุบัน ไปสูประสบการณเดิมในอดีตที่เคยทําใหจิตใจสงบและเปนสุขมากอน การยอนระลึกถึงประสบการณที่สงบสุขในอดีต จะชวยใหจิตใจผอนคลายละวางจากความเครียดไดระยะหน่ึง การใชจินตนาการเปนวิธีการคลายเครียดไดช่ัวคราว ไมใชวิธีการแกปญหาที่สาเหตุ จึงไมเหมาะที่จะนํามาใชบอยๆ ในขณะใชจินตนาการ ตองพยายามใหเหมือนจริงที่สุดคลายจะสัมผัสไดครบทั้งภาพ รส กลิ่น เสีย และสัมผัสเพื่อจะไดเกิดอารมณคลอยตามจนรูสึกสงบไดเหมือนอยูสถานการณนั้นจริงๆ วิธีการฝก เลือกสถานที่ที่สงบ เปนสวนตัว ปลอดจากการรบกวนของผูอื่น นั่งในทาที่สบาย ถาไดเกาอี้ที่มีพนักพิงศีรษะดวยจะเปนการดีมาก หลับตาลง เริ่มจินตนาการถึงเหตุการณที่สงบสุขในอดีต เชน การนั่งดูพระอาทิตยตก การดําน้ําชมธรรมชาติ การเดิมชมสวนดอกไม การนั่งตกปลาริมตลิ่ง เมื่อจินตนาการจนจิตใสงบ และเพลิดเพลินแลวใหบอกสิ่งดีๆกับตัวเองวา ฉันเปนคนดี ฉันเปนคนเกง ฉันไมหว่ันกลัวตออุปสรรคใดๆ ฉันสามารถเอาชนะอุปสรรคตางๆ ไดแนนอน นับ 1...2...3... แลวคอยๆลืมตาขึ้นคงความรูสึกสงบเอาไวพรอมที่จะตอสูกับปญหาอุปสรรคในชีวิตตอไป

Page 60: แผนการสอนที่ · 2007-03-13 · แผนการสอนที่ 1 ทัศนคติของชุมชนที่มีต ู ทอผี่มีความเครี

ตัวอยางเร่ืองจินตนาการ ฉันกําลังเดินเลนริมชายหาด ผืนทรายแสนจะออนนุมและอบอุน ไดยินเสียงคลื่นที่ซัดสาดเขามาและเสียงนกรอง

เปนระยะๆ ฉันคอยๆลงไปในทะเล น้ําทะเลเย็นฉ่ําช่ืนใจและใสราวกระจก มองเห็นเปลือกหอย ปลาดาว และฝูงปลาตัวเล็กๆสี

เงินวายวนเวียนไปมา ฉันเริ่มแหวกวายน้ําทะเล รูสึกตัวเบาหวิวเปนอิสระจากความเครียดทั้งปวง บรรยากาศชางสงบ เปนธรรมชาติ และ

ชวยใหฉันผอนคลายไดมากเหลือเกิน ตอนนี้ฉันเตรียมพรอมแลวที่จะตอสูกับอุปสรรคในชีวิต ฉันจะไมหว่ันกลัวตอสิ่งใด ฉันตองเอาชนะปญหาที่เกิดขึ้น

ไดอยางแนนอน 3. การนวดคลายเครียด หลักการ

ความเครียดเปนสาเหตุทําใหกลามเนื้อหดเกร็ง เลือดไหลเวียนไมสะดวก ปวดตนคอ ปวดหลัง เปนตน การนวดจะชวยผอนคลายกลามเนื้อ กระตุนการไหลเวียนของเลือด ทําใหรูสึกปลอดโปรง สบายตัว หายเครียด และลดอาการเจ็บปวดตางๆลง

การนวดที่จะนําเสนอในที่นี้ เปนการนวดไทย ซึ่งสามารถนวดไดดวยตัวเอง และเหมาะสําหรับผูที่มีอาการปวดศีรษะ ปวดเมื่อยบริเวณตนคอ บา และไหล อันมีสาเหตุจากความเครียด

ขอควรระวัง 1. ไมควรนวดขณะที่กําลังเปนไข หรือกลามเนื้อบริเวณนั้นอักเสบ หรือเปนโรคผิวหนัง ฯลฯ 2. ควรตัดเล็บใหสั้นกอนนวดทุกครั้ง หลักการนวดที่ถูกวิธี 1. การกด ใหใชปลายนิ้วที่ถนัด ไดแก นิ้วหัวแมมือ นิ้วช้ีหรือนิ้วกลาง 2. ในที่นี้การนวดจะใชการกด และการปลอยเปนสวนใหญโดยใชเวลากดแตละครั้งประมาณ 10 วินาที และใชเวลาปลอยนานกวาเวลากด 3. การกดใหคอยๆเพิ่มแรงทีละนอย และเวลาปลอยใหคอยๆปลอย 4. แตละจุดควรนวดซ้ําประมาณ 3 - 5 ครั้ง

Page 61: แผนการสอนที่ · 2007-03-13 · แผนการสอนที่ 1 ทัศนคติของชุมชนที่มีต ู ทอผี่มีความเครี

จุดท่ีนวดมีดังนี้ 1. จุดกลางระหวางคิ้ว ใชปลายนิ้วช้ีหรือนิ้วกลางกด 3-5 ครั้ง 2. จุดใตหัวคิ้ว ใชปลายนิ้วช้ีหรือนิ้วกลางกด 3-5 ครั้ง 3. จุดขอบกระดูกทายทอย จุดกลางใชหัวแมมือกด 3-5 ครั้ง จุดสองจุดดานขางใชวิธีประสานมือบริเวณทายทอย แลวใช นิ้วหัวแมมือทั้งสองขางกดจุดสองจุดพรอมๆกัน 3-5 ครั้ง 4. บริเวณตนคอ ประสานมือบริเวณทายทอย ใชนิ้วหัวแมมือทั้งสองขางกดตามแนวสองขางกระดูกตน โดยกดไลจากตีนผม ลงมาถึงบริเวณบา 3-5 ครั้ง 5. บริเวณบา ใชปลายนิ้วมือขวาบีบไหลซายจากบาเขาหาตนคอ ใชปลายนิ้วมือซายบีบไหลขวาไลจากบาเขาหาตนคอ ทําซ้ํา 3-5 ครั้ง 6. บริเวณบาดานหนา ใชนิ้วหัวแมมือขวากดจุดใตกระดูกไหปลารา จุดตนแขนและจุดเหนือรักแรของบาซาย ใชนิ้วหัวแมมือ ซายกดจุดเดียวกันที่บาขวา ทําซ้ํา 3-5 ครั้ง 7. บริเวณบาดานหลัง ใชนิ้วที่ถนัดของมือขวาออมไปกดจุดบนและจุดกลางของกระดูกสะบักและจุดรักแรดานหลังของบอซาย ใชนิ้วที่ถนัดของมือซายกดจุดเดียวกันที่บาขวา ทําซ้ํา 3-5 ครั้ง

Page 62: แผนการสอนที่ · 2007-03-13 · แผนการสอนที่ 1 ทัศนคติของชุมชนที่มีต ู ทอผี่มีความเครี

แผนการสอนที่ 7 เร่ือง การชวยเหลือบุคคลเมื่อเกิดภาวะเครียด

เวลา 1 ชั่วโมง 30 นาที

จุดประสงคการเรียนรู เมื่อสิ้นสุดการอบรม ผูเขาอบรมสามารถบอกทักษะในการใหการชวยเหลือบุคคลเมื่อเกิดภาวะเครียด สาระสําคัญ ผูมีภาวะเครียดมีหลายระดับ ในการชวยเหลือควรเปนไปตามสภาพของผูรับบริการ การใหการชวยเหลือจะชวยใหผูปวยสามารถดํารงชีวิตไดตามปกติ นอกจากนี้ในรายที่มีภาวะเครียดรุนแรง อาจนําไปสูสาเหตุของโรคซึมเศราและการฆาตัวตายได จึงจําเปนที่จะตองใหบุคคลเหลานี้ไดรับการชวยเหลือที่เหมาะสม ต้ังแตระยะเริ่มแรกเพื่อปองกันการเจ็บปวยทั้งทางกายและทางจิตใจที่อาจะเกิดขึ้นตามมาได

Page 63: แผนการสอนที่ · 2007-03-13 · แผนการสอนที่ 1 ทัศนคติของชุมชนที่มีต ู ทอผี่มีความเครี

กิจกรรมการเรียนรู องคประกอบ/กลุม/เวลา กิจกรรม เนื้อหา / สื่อ

1. ขั้นรูชัดเห็นจริง ● ประสบการณ กลุมใหญ (10 นาที) ● ความคิดรวบยอด กลุมใหญ (20 นาที) ● สะทอนความคิดอภิปราย กลุม 3 คน (20 นาที) 2. ขั้นลงมือกระทํา ● ประยุกตแนวคิด กลุม 6 คน (30 นาที) ● ความคิดรวบยอด กลุมใหญ (10 นาที)

- วิทยากรนําเขาสูบทเรียน โดยเปดโอกาสใหผูเขาอบรมเลา ประสบการณในการชวยเหลือบุคคลที่มีภาวะเครียด ประมาณ 2-3 คน - วิทยากรเขียนสรุปลงแผนใส - วิทยากรบรรยายตามใบความรูที่ 1 - วิทยากรเชื่อมโยงเรื่องราวที่ผูเขาอบรมเลาในตอนตนให สัมพันธกับเนื้อหาในการบรรยาย - วิทยากรสาธิตการชวยเหลือผูที่มีความเครียดในชุมชน ใหแกผูเขาอบรมและใหผูเขาอบรมสังเกตการณขั้นตอน ตางๆ (อาจแบงกลุมกอนและอธิบายตามใบกิจกรรมที่ 1 กอนสาธิต) - แบงกลุม 3 คน ใหอภิปรายตามประเด็นที่กําหนดในใบ กิจกรรม - ใหตัวแทนกลุมนําเสนอผลงานกลุม 3-4 กลุมและเปด โอกาสใหกลุมที่มีความคิดเห็นแตกตางกันนําเสนอผลงาน กลุม - วิทยากรสรุป โยงจากทุกกลุมใหเปนขั้นตอนการชวยเหลือ คําพูดในแตละขั้นตอน ปญหา สาเหตุ และวิธีการจัดการ กับความเครียด - แบงกลุม 6 คน ใหปฏิบัติตามใบกิจกรรม - ใหตัวแทนกลุมนําเสนอผลงานกลุม 3-4 กลุม และเปด โอกาสใหกลุมที่มีความคิดแตกตางนําเสนอผลงานกลุม - วิทยากรสรุป

- แผนใส, ปากกา - ใบความรูที่ 1 - บทสาธิต - ใบกิจกรรมที่ 1 - แผนใส, ปากกา - ใบกิจกรรมที่ 2 - แผนใส, ปากกา

Page 64: แผนการสอนที่ · 2007-03-13 · แผนการสอนที่ 1 ทัศนคติของชุมชนที่มีต ู ทอผี่มีความเครี

แผนการสอนที่ 7 เร่ือง การชวยเหลือบุคคลเมื่อเกิดภาวะเครียด

ใบความรูท่ี 1

ความทุกข เปนของคูกับมนุษยทุกคน ไมเลือกเพศ ฐานะหรือวัย เด็กมีทุกขประสาเด็ก คนแกก็ทุกขประสาคนแก คนที่มีถานะการเงินดีมีช่ือเสียงเกียรติยศในสังคมก็ยังไมพน ใครจะทุกขมากหรือทุกขนอยขึ้นอยูกับวาเราจะมองความทุกขที่เกิดขึ้นอยางไรและมองเห็นทางแกไขผอนคลายความทุกขหรือไม โยปกติแลว คนทุกคนจะพยายามแกไขความทุกขที่เกิดขึ้นดวยตนเอง แตในบางครั้งบางปญหาแกไขเองไมได จะทนแบกภาระตอไปก็ไมไหว จึงจําเปนอยางยิ่งที่คนใกลชิด คนในครอบครัวหรือชุมชนเดียวกัน ตองใหความสนใจ เขาใจ เห็นใจ และใหความชวยเหลืออยาใหเขาเกิดความรูสึกวาเขาทุกขอยูคนเดียว แตควรทําใหเขารูสึกวาเมื่อเขาทุกขแลวเขายังมีคนที่ใหความชวยเหลือ ใหกําลังใจในการแกไขความทุกขใหทุกขนั้นผอนคลาย โดยเฉพะบางคนทุกขมาก แตอายที่จะใหคนอื่น ชวยและไมกลารองขอ ฉะนั้น ถาคนรอบตัวทานกําลังมีความทุกขขอใหเราใหความสนใจ ใหความสําคัญกับความทุกขที่เขาเผชิญอยู ไมมีใครหรอกอยากจมอยูในกองทุกข ถาเราไมยื่นมือเขามาชวยเหลือ เขาอาจจะหาทางออกหรือแกปญหาดวยวิธีที่เปนอันตรายตอตัวเองหรือคนใกลชิด บางคนกวาจะคิดไดวาถาเราสังเกตเขาสักนิด ซักถามเขาซักหนอย อยูเปนเพื่อเขาบางเหตุการณรายๆคงจะไมเกิดขึ้น เมื่อคิดไดมันก็สายไปแลว ฉะนั้น การดูแลกันในยามทุกขจึงเปนสิ่งมีคา ที่สามารถทําไดอยางแนนอน คนที่ทุกขใจ มีความทุกขจนทนตอไปไมได ยอมรับปญหานั้นไมได แกปญหาไมได ไมมีคนชวยเหลือหรือหาทางหนีก็ไมได ผูอยูใกลชิดควรชวยเหลือ ดังนี้ 1. สรางสัมพันธภาพ โดยการพูดคุยซักถาม เชน “ดูหนาตาไมคอยสบายเปนอะไรหรือเปลา” ถามถึงทุกขสุขในครอบครัว หรือการทํามาหากินเปนอยางไร 2. พูดคุยเพื่อหาปญหา เชน “ดูทาทางปญหาครั้งนี้จะทําใหไมสบายใจมากกวาธรรมดาถาพูดออกมา นอกจากได ระบายความทุกขออกมาบางแลวอาจจะหาทางชวยกันได” 3. ถาเขาเต็มใจพูดคุย ก็ควรถามรายละเอียดของปญหา และผลที่ตามมาจนไมสบายใจ เชน - เรื่องราวเปนมาอยางไร - ใครเขามาเกี่ยวของบาง - ผูที่เกี่ยวของรูสึกอยางไร - เรื่องที่เกิดขึ้นกระทบกระเทือนความรูสึกของตัวเองมากแคไหน - ที่ผานมาแกไขปญหาอยางไรหรือมีคนอื่นมาชวยแกไขดวยหรือไม

Page 65: แผนการสอนที่ · 2007-03-13 · แผนการสอนที่ 1 ทัศนคติของชุมชนที่มีต ู ทอผี่มีความเครี

4. พูดคุยเพื่อใหผูทุกขใจเขาใจสาเหตุและการเกิดปญหานี้ขึ้น โดยใชคําถาม เชน ใครบางที่ทําใหเกิดปญหานี้ขึ้น ทําใหเกิดไดอยางไร ตัวเขามีสวนดวยหรือไม หลังจากนั้นสรุปปญหาและสาเหตุใหผูที่มีความเครียดฟง เพื่อ ตรวจสอบความเขาใจตรงกันอีกครั้ง 5. ชวยกันคิดหาทางออกของปญหา ตามแนวทางดังตอไปนี้ ● พิจารณาวามีปญหาอยางไรบาง พยายามหาทางออกในการแกปญหาหลายทาง เพื่อเปนทางเลือก ● ช่ังน้ําหนักของแตละปญหา และเรียงลําดับปญหาตามความรีบดวน จากดวนมากไปจนถึงเรื่องที่รอได หรือ เรื่องที่แกไดยากไปจนถึงเรื่องที่แกไดงาย ● เริ่มแกปญหาจากปญหาที่งายไปปญหาที่ยาก หรือเรื่องที่ดวนมากไปจนถึงเรื่องที่รอได เรียงลําดับกอนหลัง วาแตละอยางจะแกอยางไร โดยดูวา - มีใครเกี่ยวของบาง - ใครจะชวยแกปญหาไดบาง - ตองไปหาใครกอน – หลัง หรือเปนเรื่องที่ตองทําดวยตัวเอง - คิดไวกอนวาจะพูดอยางไร ทําอยางไร - เตรียมใจไวเผื่อไมเปนไปตามที่คิดหวังไว บางปญหาสามารถแกไขไดโดยตรงทันทีตามที่เราตองการ แตบางอยางปญหาอาจตองชะลอยืดยาวออกไป เพื่อต้ังหลักหาทางแกไขหรือตองประนีประนอม พบกันครึ่งทาง ถึงแมวาจะแกไขปญหาตามที่ตองการไมไดทั้งหมด ก็ยังดีกวาไมไดแกไขอะไรเลย ในกรณีที่ไมสามารถแกไขอะไรไดเลย คงตองใหผูทุกขใจยอมรับความจริง ยอมรับสภาพที่เกิดขึ้น ผูที่สามารถยอมรับสิ่งตางๆที่เกิดขึ้นไดจะทําใหชีวิตมีความสุขขึ้น คนที่เขมแข็งกลาหาญในการเผชิญกับสิ่งที่ไมดี ลมเหลวในชีวิต แตสามารถสูชีวิตตอไปได เปรียบเสมือนคนที่ลมแลวพยายามลุกขึ้นเดินตอไป ยอมมีโอกาสดีกวาคนที่ไมยอมลุกขึ้น ● ถายังทําใจไมไดหรือในรายที่เคยมีปญหาทางสุขภาพจิตมากอน ควรจะไปพบผูที่มีความสามารถในการชวยเหลือไดที่สถานบริการสาธารณสุขตางๆที่ใกลบาน เชน สถานีอนามัย โรงพยาบาลใกลบาน ● ติดตามเพื่อประคับประคองจิตใจ และทําใหรูสึกวาไมถูกทอดทิ้งดวยการถามถึงความเปนอยูชวยแนะนําและรวมปรับวิธีการในการแกปญหาครั้งตอๆไป

Page 66: แผนการสอนที่ · 2007-03-13 · แผนการสอนที่ 1 ทัศนคติของชุมชนที่มีต ู ทอผี่มีความเครี

หากพบวาในชุมชนมีบุคคลที่มีปญหาทุกขใจจนสุดจะทน และหาทางออกดวยการทํารายตนเองนั้น บงบอกถึงสายสัมพันธของคนในชุมชนออนแอลง ชุมชนขาดการดูแลหวงใยกันซึ่งมิใชลักษณะที่พึงประสงค ดังนั้น เราควรกระตุนใหคนในชุมชนไดหันมารวมมือรวมแรงใจกัน เพื่อแสดงใหเห็นถึงพลังของชุมชนที่เขมแข็งสรางสายสัมพันธที่เหนียวแนนสนใจดูแลหวงใยรักใครกัน เนื่องจากทุกคนในชุมชนเปรียบเสมือนคนในครอบครัวเดียวกัน การที่จะสรรคสรางใหชุมชนมีแนวทางของการหวงใยกันนั้นมีหลายวิธีที่กระทําได โดยการปรึกษาระหวางสมาชิกในชุมชน ไมคิดวาเปนเรื่องของครอบครัวใดครอบครัวหนึ่ง คนใดคนหนึ่ง หรือคิดวาไมใชเรื่องของตน ซึ่งความคิดลักษณะนี้มิใชความคิดที่ผิด อาจเปนเพราะเรากังวลวาจะทําใหเรื่องบานปลายหรือถูกมองวาไปกาวกายเรื่องคนอื่น แทจริงแลวหากเราสามารถใหการชวยเหลืออยางถูกวิธี จะสามารถชวยชีวิตคนคนหนึ่งได เทากับเปนการสรางบุญหนทางหนึ่ง จึงไมควรละเลยไมใหความสําคัญ เราควรมารวมกันคิดวาทําอยางไรที่จะใหทุกคนเขามามีสวนรวมสรางชุมชนใหมีความรักใครและหวงใยซึ่งกันและกันซึ่งอาจจะทําไดดังวิธีการตอไปน้ี ● การทําพิธีเรียกขวัญที่ผานจากเหตุการณอันตรายหรือออกจากโรงพยาบาลมาอยูบาน ● จัดต้ังกลุมตางๆเพื่อดูแลกัน เชน กลุมเยี่ยมเยียนเพื่อนบาน กลุมสรางงานสรางชีวิตเพื่อใหเกิดความรูสึกเปน อันหนึ่งอันเดียวกันไมทอดทิ้งกัน ● มีกิจกรรมชื่นชมความสําเร็จของคนในชุมชนเพื่อสรางความรูสึกมั่นใจในตนเองวาตนเองมีคุณคาในชุมชน ● ต้ังกลุมเขียนจดหมาย เพื่อใหมีการสงขาวถึงกันและไมใหเกิดการทอดทิ้งกัน ● กลุมดูแลจิตใจเพื่อชวยเหลือผูเจ็บปวย ผูสูงอายุ ผูพิการหรือผูมีปญหา ใหไดรับการดูแลและอบอุนใจ โดยการ เยี่ยมเยือนกัน ● กลุมชวยแกปญหา เชน ความขัดแยงระหวางบุคคล ครอบครัว กลุมตางวัย ตางอาชีพ ● ควรมีกลุมรับเรื่องความทุกขใจ แกไข และรับเรื่องโดยคนที่เคารพนับถือ ไมควรซุบซิบนินทาหรือนําเรื่องของเขา ไปพูดคุยเปนที่สนุกสนาน

Page 67: แผนการสอนที่ · 2007-03-13 · แผนการสอนที่ 1 ทัศนคติของชุมชนที่มีต ู ทอผี่มีความเครี

แผนการสอนที่ 7 เร่ือง การชวยเหลือบุคคลเมื่อเกิดภาวะเครียด

บทสาธิต

ณ ตําบลบานโนนหอม อ. เมือง จ. สกลนคร นางทองมาอายุ 40 ป มีบุตร 2 คน คนโตเปนบุตรชายอายุ 18 ป เนื่องจากประสบอุบัติเหตูถูกรถยนตชนมอเตอรไซคถึงแกความตาย หลังจากเกิดเหตุ 1 สัปดาห นางทองมามีอาการนอนไมคอยหลับ หายใจไมอิ่ม กระวนกระวาย พูดนอยลง นางวันดีเปน อสม. ในหมูบานนั้น จึงเขาไปชวยเหลือโดยไปเยี่ยมนางทองมาที่บาน นางวันดี : สวัสดีจะวันนี้อยูกับใคร นางทองมา : อยูกับแม 2 คน นางวันดี : แลวคนอื่นๆ ไปไหนกันหมด นางทองมา : สามีไปรดน้ําผักที่สวน นางวันดี : ที่สวนปลูกอะไร นางทองมา : หลายอยาง มีแตงกวา หอม ผักชี นางวันดี : ใกลจะไดขายหรือยัง นางทองมา : ใกลแลว อาทิตยหนาคงขายไดบางสวน นางวันดี : ตอนนี้คนชวยงานลดลงมีปญหาอะไรไหม นางวันดี : ตอนนี้คนชวยงานลดลงมีปญหาอะไรอยากใหชวยเหลือไหม นางทองมา : ไมมี พอ – ลูก ชวยกันดี นางวันดี : แลวทองมาตอนนี้มีปญหาอะไรอยากใหชวยเหลือไหม นางทองมา : กินขาวไมอรอย นอนไมหลับ นางวันดี : มีอาการอื่นอีกหรือไม นางทองมา : หายใจไมอิ่ม นางวันดี : ฉันสังเกตดูวาทองมาหนาตาไมสดชื่น นางทองมา : นิ่งเงียบ ! น้ําตาคลอ นางวันดี : ถามีเรื่องไมสบายใจอะไร เลาใหฟงไดไหม พูดหรือระบายออกมาจะทําใหสบายใจขึ้น หรืออาจชวยหาหนทางแกไขได นางทองมา : ฉันคิดถึงลูกตลอดเวลา ลูกไมนาอายุสั้น เขาเปนเด็กดี ขยันทํางาน ไมคอยพูด เช่ือฟง พอ - แม นางวันดี : ฉันเขาใจความรูสึกของทองมา ทุกๆคนก็คิดแบบทองมา ทองมาเลี้ยงลูกไดดี และลูกคนเล็ก ก็เปนเด็กดี นางทองมา : สีหนาสดชื่นขึ้นบาง

Page 68: แผนการสอนที่ · 2007-03-13 · แผนการสอนที่ 1 ทัศนคติของชุมชนที่มีต ู ทอผี่มีความเครี

นางวันดี : ไดพูดคุยเรื่องนี้กับสามีหรือเปลา นางทองมา : เคยพูดเหมือนกัน แตเขาบอกวาลูกไปดีแลว เรียกคืนไมไดใหทําใจ นางวันดี : แลวคิดวาจะทําใจยอมรับไดเหมือนสามีบอกไดไหม นางทองมา : ก็พยายามเหมือนกัน แตก็ยังมีคิดบาง นางวันดี : ทองมาโชคดีที่มีสามีขยันทํางาน ยังมีลูกคนเล็กที่เปนเด็กดี และทองมาก็รับผิดชอบ ในการเลี้ยงดูแมไดเปนอยางดี ฉันช่ืนชมทองมามาก นางทองมา : สีหนาสดชื่นและยิ้ม นางวันดี : ตอไปทองมาคิดวาจะทําอยางไร เพื่อไมใหคิดมาก นางทองมา : ฉันก็จะไมอยูคนเดียว จะออกไปชวยสามีทํางานเหมือนเดิม นางวันดี : ดีแลวจะ และควรพูดหรือระบายความรูสึกไมสบายใจใหคนใกลชิดฟง จะไดแงคิดจากคนอื่นอีกดวย นางทองมา : ฉันจะทําตามนั้น นางวันดี : ตามที่คุยกันวันนี้ สรุปแลววาทองมาคิดมากเรื่องลูก ทําใหนอนไมหลับ กินขาวไมอรอย หายใจไมอิ่ม ทองมาคิดวาเปนตามที่ฉันพูดไหม นางทองมา : ที่ผานมาฉันก็คิดแบบที่คุณพูด จึงไมสบายใจ นางวันดี : ตอนนี้รูสึกอยางไร นางทองมา : ฉันเพิ่งรูวาการไดพูดระบายความไมสบายใจออกไป ทําใหรูสึกสบายใจขึ้น นางวันดี : ถารูสึกวายังไมสบายใจมากๆอีกก็มาพูดคุยกับฉันไดนะ นางทองมา : ฉันขอบใจมาก ที่เปนหวงครอบครัวฉัน นางวันดี : ไมเปนไรจะ คนเราอยูดวยกันก็ตองชวยเหลือซึ่งกันและกัน และฉันเปน อสม. ก็เปนหนาที่ที่ตองดูแลคนในหมูบานใหมีความสุขดวย ฉันกลับกอนนะ นางทองมา : ขอบใจอีกครั้งจะ

Page 69: แผนการสอนที่ · 2007-03-13 · แผนการสอนที่ 1 ทัศนคติของชุมชนที่มีต ู ทอผี่มีความเครี

แผนการสอนที่ 7 เร่ือง การชวยเหลือบุคคลเมื่อเกิดภาวะเครียด

ใบกิจกรรมที่ 1

คําชี้แจง 1. แบงกลุมๆละ 3 คน 2. ใชเวลาในการอภิปรายตามประเด็นที่กําหนด 10 นาที 3. นําเสนอกลุมละ 3 นาที ประเด็นอภิปราย 1. ขั้นตอนการชวยเหลือบุคคลเมื่อมีภาวะเครียดมีกี่ขั้นตอน อะไรบางอธิบาย 2. ยกตัวอยางคําพูดในแตละขั้นตอนดวย 3. ปญหาของผูปวยคืออะไร มีสาเหตุจากอะไร 4. ผูปวยไดรับการชวยเหลืออยางไร

Page 70: แผนการสอนที่ · 2007-03-13 · แผนการสอนที่ 1 ทัศนคติของชุมชนที่มีต ู ทอผี่มีความเครี

แผนการสอนที่ 7 เร่ือง การชวยเหลือบุคคลเมื่อเกิดภาวะเครียด

ใบกิจกรรมที่ 2 คําชี้แจง 1. แบงกลุม 3 คน 2. โดยแตละคนมีบทบาทดังนี้ คนที่ 1 เปนนายพร (โดยใหแยกนายพรไปตกลงบทบาทใหชัดเจน) คนที่ 2 เปนนายมา (ผูใหการชวยเหลือนายพร) ที่เหลือทั้งหมดเปนผูสังเกตการณ โดยตอบคําถามเหลานี้ 1. นายพร มีปญหา อาการอะไรบาง เกิดจากสาเหตุอะไร 2. นายมาใหการชวยเหลือ อยางไรบาง 3. การชวยเหลือที่ใหเหมาะสมหรือไม ควรปรับปรุง เพิ่มเติมเรื่องใดบาง 3. ใหผูที่แสดงเปนนายมา บอกความรูสึก และความคิดเห็นตอการทําหนาที่เปนผูชวยเหลือ นายพร ในครั้งนี้ 4. ใหนายพรบอกถึงความรูสึกที่มีตอการชวยเหลือที่ไดรับจากนายมา 5. ใหเวลาในการฝกปฏิบัติ 20 นาที

Page 71: แผนการสอนที่ · 2007-03-13 · แผนการสอนที่ 1 ทัศนคติของชุมชนที่มีต ู ทอผี่มีความเครี

กรณีศึกษาท่ีฝกปฏิบัต ิชีวิตของนายพร

นายพรเปนชายไทยวัยผูใหญ เพิ่งแตงงานได 6 เดือน นายพรไดยายเขามาทํางานที่ขอนแกน ทิ้งใหภรรยาทํางานอยูที่ภาคเหนือเพียงลําพัง วันหนึ่งนายพรไดรับโทรศัพทจากมารดาวาภรรยาของนายพรมีสามีใหม นายพรตกใจมากคาดไมถึงกับเหตุการณที่เกิดขึ้น นายพรยืนเฉย เหง่ือออก อาการปวดศีรษะเริ่มเกิดขึ้น กินไมได นอนไมหลับ เงียบเฉย ไมคอยพูด หายใจไมอิ่ม เบื่ออาหาร เพื่อนๆพานายพรไปพบแพทย ไดยามารับประทานหลายครั้งอาการไมทุเลา พอหมดฤทธิ์ยา อาการเริ่มเปนเหมือนเดิมทุกๆครั้ง

Page 72: แผนการสอนที่ · 2007-03-13 · แผนการสอนที่ 1 ทัศนคติของชุมชนที่มีต ู ทอผี่มีความเครี

แผนการสอนที่ 8 เร่ือง ระบบการดูแลผูท่ีมีความเครียดในชมุชน

เวลา 2 ชั่วโมง

จุดประสงคการเรียนรู เมื่อสิ้นสุดการอบรมผูเขาอบรมสามารถ 1. บอกถึงการคนหาผูมีความเครียดได 2. บอกถึงระบบการดูแลผูมีความเครียดได 3. บอกถึงการสงตอผูมีความเครียดได สาระสําคัญ การคนหาผูที่มีความเครียดในชุมชน และใหการดูแลชวยเหลืออยางทันทวงที เปนการปองกันไมใหเกิดปญหาสุขภาพจิตที่รุนแรงมากขึ้น ลดคาใชจายในการรักษาพยาบาล ชุมชนตองสรางเครือขายในการชวยเหลือกันเอง และเปนเครือขายที่สามารถปฏิบัติงานไดจริง ทั้งในการประเมินต้ังแตเริ่มมีอาการ และใหการชวยเหลือไดอยางรวดเร็ว ถาอาการไมดีขึ้น สามารถสงตอผูมีความเครียดไปรับการรักษาไดตามระบบโดยเร็ว สงผลใหชุมชนมีความสงบสุขตลอดไป

Page 73: แผนการสอนที่ · 2007-03-13 · แผนการสอนที่ 1 ทัศนคติของชุมชนที่มีต ู ทอผี่มีความเครี

กิจกรรมการเรียนรู องคประกอบ/กลุม/เวลา กิจกรรม เนื้อหา / สื่อ

● ประสบการณ กลุมใหญ (10 นาที) ● ความคิดรวบยอด กลุมใหญ (10 นาที) ● ประสบการณ กลุมใหญ (30 นาที) ● ความคิดรวบยอด กลุมใหญ (20 นาที) ● สะทอนความคิด/อภิปราย กลุมยอย (30 นาที)

- วิทยากรสุมถามผูเขาอบรม 3-4 คน วาจะสามารถคนหาผู มีความเครียดไดอยางไร / บุคคลกลุมใดที่มีความเสี่ยงตอ การเกิดความเครียด - สรุปคําตอบที่ได และโยงเขาสูหัวขอการสอน - วิทยากรบรรยายเรื่องการคนหาผูมีความเสี่ยงตอการเกิด ความเครียด - วิทยากรสุมถามผูเขาอบรม 4-5 คน วาในชุมชนของทาน มีการจัดระบบการดูแลผูมีความเครียดไดหรือไม ถาไดทํา อยางไร - สรุปคําตอบที่ไดและโยงเขาสูหัวขอการสอน - วิทยากรบรรยายแผนภูมิระบบการดูแลผูมีความเครียดใน ชุมชน - แบงกลุมผูเขาอบรมกลุมละ 5-10 คน ใหอภิปรายตามใบ กิจกรรม - สุมตัวแทน 3-4 กลุม นําเสนอและใหกลุมที่มีความคิดเห็น แตกตางนําเสนอเพิ่มเติม

- แผนใส, ปากกา - ใบความรูที่ 1 - แผนใส, ปากกา - ใบความรูที่ 2 - ใบกิจกรรมที่ 1 - แผนใส, ปากกา

Page 74: แผนการสอนที่ · 2007-03-13 · แผนการสอนที่ 1 ทัศนคติของชุมชนที่มีต ู ทอผี่มีความเครี

กิจกรรมการเรียนรู

องคประกอบ/กลุม/เวลา กิจกรรม เนื้อหา / สื่อ ● ประยุกตแนวคิด จับกลุม 3 คน (20 นาที)

- วิทยากรใหผูเขาอบรมจับกลุม 3 คน อภิปรายในหัวขอจะ นําความรูไปใชในชุมชนอยางไร และจะสงตอผูมี ความเครียดในกรณีใดบาง - สุมตัวแทน 3-4 กลุม นําเสนอและใหกลุมที่มีความคิดเห็น แตกตางกันนําเสนอเพิ่มเติม - วิทยากรสรุป - นัดหมายเพื่อพบกันครั้งตอไปและมอบหมายการบาน

- ใบชี้แจง

Page 75: แผนการสอนที่ · 2007-03-13 · แผนการสอนที่ 1 ทัศนคติของชุมชนที่มีต ู ทอผี่มีความเครี

แผนการสอนที่ 8 เร่ือง ระบบการดูแลผูท่ีมีความเครียดในชมุชน

ใบความรูท่ี 1

การคนหาผูท่ีมีความเสี่ยงตอการเกิดความเครียด ความเปลี่ยนแปลงตางๆที่เกิดในชีวิตของคนเรา จะกอใหเกิดความเครียดไดทั้งนั้น เหตุการณที่ทําใหเครียดไดแก 1. การแตงงาน 2. การหยารางกัน 3. การแยกกันอยูของสามี ภรรยา 4. การกลับมาคืนดีกันใหมอีกครั้งของสามีภรรยา 5. การตายจากของสามี หรือภรรยาที่รักกันมาก 6. การเจ็บปวยเรื้อรังหรือรุนแรง 7. การตายจากของคนใกลชิดในครอบครัว 8. การติดคุก 9. การถูกไลออกจากงาน 10. การเกษียณอายุการทํางาน จะเห็นไดวาเหตุการณบางอยาง เราอาจนึกไมถึงวาจะทําใหเครียด แตก็ทําใหเครียดไดจึงควรตระหนักในเหตุการณเหลานี้เอาไวดวย

Page 76: แผนการสอนที่ · 2007-03-13 · แผนการสอนที่ 1 ทัศนคติของชุมชนที่มีต ู ทอผี่มีความเครี

แผนการสอนที่ 8 เร่ือง ระบบการดูแลผูท่ีมีความเครียดในชมุชน

ใบความรูท่ี 1

คําชี้แจง 1. แบงกลุมๆละ 5-10 คน 2. ใหอภิปรายตามประเด็นที่กําหนด 15 นาที 3. ใหแตละกลุมนําเสนอกลุมละ 3 นาที ประเด็นที่อภิปราย 1. มีวิธีการอยางไรที่จะคนหาผูมีความเครียดในชุมชน เหตุการณใดบางที่ทําใหคนมีความเครียด 2. วิธีการที่ปฏิบัติไดจริงในชุมชน เพื่อคนหาและชวยเหลือผูที่มีความเครียดควรทําอยางไร 3. ในกรณีที่ใหการชวยเหลือแลวอาการไมทุเลา ทานจะสงตอไปรับบริการรักษาที่ใด เพราะอะไร

Page 77: แผนการสอนที่ · 2007-03-13 · แผนการสอนที่ 1 ทัศนคติของชุมชนที่มีต ู ทอผี่มีความเครี

แผนการสอนที่ 8 เร่ือง ระบบการดูแลผูท่ีมีความเครียดในชมุชน

ใบความรูท่ี 2 ระบบการดูแลผูมีความเครียด

สําหรับแกนนาํชุมชน

หมายเหตุ การใชแบบประเมินตรวจสอบซ้ํา 3, 6 เดือน หากพบวาคะแนนต่ํากวา 26 คะแนน ยุติการ เยี่ยมได

ผูมีความเสี่ยงตอการเกิดความเครียด

ใชแบบประเมิน ลงทะเบยีน

เครียด (ต้ังแต 26

คะแนนขึ้นไป

พูดคุยใหกําลังใจ

แนะนําและชวยเหลือ วิธีการคลายเครียด

อาการไมดีขึ้นสงตอเจาหนาที่

สาธารณสุขตามระดับ

ติดตามเยี่ยมเพื่อใหกําลังใจ

อยางนอย เดือนละ 1 คร้ัง เปนเวลา 6 เดอืน และใชใบ ประเมินซ้ํา เมื่อ 3,6 เดือน

ดํารงชีวิตได ตามปกติ

ตํ่ากวา 26 คะแนนลงไป

พูดคุยให กําลังใจ

ตามปญหา

ดํารงชีวิตได ตามปกต ิ

Page 78: แผนการสอนที่ · 2007-03-13 · แผนการสอนที่ 1 ทัศนคติของชุมชนที่มีต ู ทอผี่มีความเครี

แผนการสอนที่ 8 เร่ือง ระบบการดูแลผูท่ีมีความเครียดในชมุชน

ใบชี้แจง การบาน 3 เดือนหลังอบรม

1. นัดพบครั้งตอไป วันที่...................เดือน......................................................พ.ศ.............................. 2. ใน 3 เดือนที่ผานมาหลังอบรม (ธ.ค.- มี.ค. 2546) ทานไดประเมินผูมีความเสี่ยงตอการเกิดความเครียดกี่ราย (ใหนําเอาใบประเมินมาดวย) 2.1 เครียดปกติ..............................ราย 2.2 เครียดเล็กนอย........................ราย 2.3 เครียดปานกลาง......................ราย 2.4 เครียดมาก...............................ราย 2.5 อื่นๆ ระบุ................................ราย 3. วิธีที่ทานใหการชวยเหลือ คนหาปญหาที่ทําใหเครียด .1 ٱ จัดการกับอารมณของผูปวย .2 ٱ แนะนําวิธีการแกปญหาที่เหมาะสม .3 ٱ การปรับเปลี่ยนความคิดในทางที่ดี .4 ٱ ฝกใหผูปวยคลายความเครียดดวยวิธี .5 ٱ ฝกเกร็งและคลายกลามเนื้อ 5.1 ٱ ฝกการหายใจ 5.2 ٱ ฝกการทําสมาธิ 5.1 ٱ การใชจินตนาการ 5.2 ٱ การนวด 5.1 ٱ ......................................................อื่นๆ ระบุ 5.2 ٱ 4. ทานสงตอผูที่มีความเครียดไปพบเจาหนาที่สาธารณสุข..................ราย 4.1 ไดรับยา......................ราย 4.1 ไมไดรับยา..................ราย 4.1 อื่นๆ ระบุ....................ราย 5. สมุดลงทะเบียนมีปญหาในการใชอยางไร

Page 79: แผนการสอนที่ · 2007-03-13 · แผนการสอนที่ 1 ทัศนคติของชุมชนที่มีต ู ทอผี่มีความเครี

แผนการสอนที่ 8 เร่ือง ระบบการดูแลผูท่ีมีความเครียดในชมุชน

ใบชี้แจง การบาน 3 เดือนหลังอบรม

6. นัดพบครั้งตอไป วันที่...................เดือน......................................................พ.ศ.............................. 7. ใน 3 เดือนที่ผานมาหลังอบรม (ธ.ค.- มี.ค. 2546) ทานไดประเมินผูมีความเสี่ยงตอการเกิดความเครียดกี่ราย (ใหนําเอาใบประเมินมาดวย) 2.1 เครียดปกติ..............................ราย 2.2 เครียดเล็กนอย........................ราย 2.3 เครียดปานกลาง......................ราย 2.4 เครียดมาก...............................ราย 2.5 อื่นๆ ระบุ................................ราย 8. วิธีที่ทานใหการชวยเหลือ คนหาปญหาที่ทําใหเครียด .1 ٱ จัดการกับอารมณของผูปวย .2 ٱ แนะนําวิธีการแกปญหาที่เหมาะสม .3 ٱ การปรับเปลี่ยนความคิดในทางที่ดี .4 ٱ ฝกใหผูปวยคลายความเครียดดวยวิธี .5 ٱ ฝกเกร็งและคลายกลามเนื้อ 5.1 ٱ ฝกการหายใจ 5.2 ٱ ฝกการทําสมาธิ 5.1 ٱ การใชจินตนาการ 5.2 ٱ การนวด 5.1 ٱ ......................................................อื่นๆ ระบุ 5.2 ٱ 4. ทานสงตอผูที่มีความเครียดไปพบเจาหนาที่สาธารณสุข..................ราย 4.1 ไดรับยา......................ราย 4.1 ไมไดรับยา..................ราย 4.1 อื่นๆ ระบุ....................ราย

Page 80: แผนการสอนที่ · 2007-03-13 · แผนการสอนที่ 1 ทัศนคติของชุมชนที่มีต ู ทอผี่มีความเครี

10. สมุดลงทะเบียนมีปญหาในการใชอยางไร 11. คูมือ คลายเครียด นําไปใชเปนอยางไร มีปญหาหรือไม 12. คูมือทําอยางไรเมื่อใจเปนทุกข นําไปใชเปนอยางไร มีปญหาหรือไม 13. ทานพบปญหาจากการทํางานครั้งนี้ เรื่องอะไรบาง มีแนวทางแกไขอยางไร และตองการสนับสนุนเพิ่มเติมเรื่องอะไร 14. ความรูที่ทานตองการเพิ่มเติมในการดําเนินงานโครงการ

Page 81: แผนการสอนที่ · 2007-03-13 · แผนการสอนที่ 1 ทัศนคติของชุมชนที่มีต ู ทอผี่มีความเครี

ภาคผนวก

รายชื่อคณะทํางานแผนการสอน เร่ือง มารูจักความเครียดกันเถอะ

บรรณาธิการ 1. นางวัชนี หัตภพนม พยาบาลวิชาชีพ 7 2. นางสุวดี ศรีวิเศษ พยาบาลวิชาชีพ 7 คณะทํางาน 1. นางวิภาดา คณะไชย พยาบาลวิชาชีพ 7 2. นางกาญจนกนก สุรินทรชมภู พยาบาลวิชาชีพ 6 3. นายไพรวัลย รมซาย พยาบาลวิชาชีพ 6 4. นางไพลิน ปรัชญคุปต นักสังคมสงเคราะห 5 5. นางนิตยา งามคุณ พยาบาลวิชาชีพ 6 6. นางภาวิณี สถาพรธีระ พยาบาลวิชาชีพ 6 7. น.ส.เยาวภา ประจันตะเสน พยาบาลวิชาชีพ 5 8. นางวราภรณ รัตนวิศิษฐ พยาบาลวิชาชีพ 4 9. น.ส.วรรณภา สาโรจน นักสังคมสงเคราะห 4 10.น.ส.ผอูนรัตน กลางมณี พยาบาลวิชาชีพ 3