อจท.แบบวัดฯหน้าที่พลเมืองฯม.3

21
è ชื่อ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ชั้น ……………………………………………………………………. เลขที…………………………………………………………. ẺÇÑ´ áÅкѹ·Ö¡¼Å¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ ˹ŒÒ·Õ¾ÅàÁ×ͧ ÇѲ¹¸ÃÃÁ áÅСÒôíÒà¹Ô¹ªÕÇÔµã¹Êѧ¤Á Á. ó ตามมาตรฐานตัวชี้วัด กลุมสาระการเรียนรู สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ วัธนียวรรณ อุราสุข วรรัตน วรรณเลิศลักษณ สุรภา กรุดอินทร นครรัฐ โชติพรม ไชยพศ โลดํารงรัตน คณะบรรณาธิการและผูตรวจ จิราภรณ นวลมี ศมา เอี่ยมประดิษฐภัณ มพครั้งท ʧǹÅÔ¢ÊÔ·¸ÔìμÒÁ¾ÃÐÃÒªºÑÞÞÑμÔ ÃËÑÊÊÔ¹¤ŒÒ òóóóñøø ฉบับ เฉลย (à©ÅÂ) ÃËÑÊÊÔ¹¤ŒÒ òóôóñöö

Upload: aksornact

Post on 18-Jan-2017

4.868 views

Category:

Education


0 download

TRANSCRIPT

è

ชื่อ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ชั้น ……………………………………………………………………. เลขที่ ………………………………………………………….

ẺÇÑ́áÅкѹ·Ö¡¼Å¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ

˹ŒÒ·Õ¾ÅàÁ×ͧ ÇѲ¹¸ÃÃÁáÅСÒôíÒà¹Ô¹ªÕÇÔµã¹Êѧ¤Á Á.óตามมาตรฐานตัวชี้วัด กลุมสาระการเรียนรู สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑

วัธนียวรรณ อุราสุข

วรรัตน วรรณเลิศลักษณ

สุรภา กรุดอินทร

นครรัฐ โชติพรม

ไชยพศ โลดํารงรัตน

คณะบรรณาธิการและผูตรวจ

จิราภรณ นวลมี

ศมา เอี่ยมประดิษฐภัณ

พมิพครั้งที่ ๑ʧǹÅÔ¢ÊÔ·¸ÔìµÒÁ¾ÃÐÃÒªºÑÞÞѵÔ

ÃËÑÊÊÔ¹¤ŒÒ òóóóñøø

ฉบับเฉลย

(à©ÅÂ) ÃËÑÊÊÔ¹¤ŒÒ òóôóñöö

¤íÒªÕéᨧ

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ ไดกําหนดมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดไว

เปนกรอบและทศิทางในการกาํหนดเนือ้หา ทกัษะ กระบวนการเรยีนรู กจิกรรมการเรยีนการสอน และการประเมนิ

ผลการเรียนรูของผูเรียนวามีระดับความรู ความสามารถ และมีคุณธรรม จริยธรรม คานิยมตามที่กําหนดไวใน

มาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดกลุมสาระการเรียนรูตางๆ มากนอยเพียงใดรวมถึงพัฒนาการดานสมรรถนะ

สําคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงคตามเปาหมายที่กําหนดไวในหลักสูตรแกนกลางฯ ดวย

มาตรฐานการเรยีนรูจงึเปนเปาหมายสาํคญัในการพฒันาผูเรียนใหมคีวามรูความสามารถ ครอบคลมุ ๘

สาระการเรียนรู สวนตัวชี้วัดจะระบุสิ่งที่ผูเรียนตองรูและปฏิบัติได รวมถึงคุณลักษณะ ที่ตองเกิดขึ้นกับผูเรียน

ในแตละระดบัชัน้ สถานศกึษาและผูสอนจงึตองนาํตวัชีว้ดัไปจดัทาํหนวยการเรียนรู จดักระบวนการเรียนรู และ

กจิกรรมการเรยีนการสอน รวมถงึกาํหนดเกณฑสาํคญัทีจ่ะใชสาํหรบัประเมนิผลผูเรยีน เพือ่ตรวจสอบคณุภาพ

ผูเรยีนแตละคน พรอมทัง้จดัทาํหลกัฐานรายงานผลการเรียน และพฒันาการดานตางๆ ของผูเรียนเปนรายบคุคล

การจัดทําแบบวัดและบันทึกผลการเรียนรูของผูเรียนเปนรายบุคคลฉบับนี้ จึงมีวัตถุประสงคสําคัญ

เพื่ออํานวยความสะดวกแกผูสอน ในการนํากิจกรรมและเครื่องมือที่ออกแบบไวนี้ไปประยุกตใชเปนเครื่องมือ

วัดผลเพ่ือตรวจสอบผลการเรียนรูที่เกิดขึ้นกับผูเรียน จะไดนําผลการวัดมาปรับปรุงพัฒนาผูเรียนแตละคน

จนเต็มศักยภาพตามเปาหมายของหลักสูตร

ทัง้น้ีการวดัผลประเมนิผลระดบัชัน้เรยีน จดัเปนภาระงานสําคญัทีสุ่ดในกระบวนการวดัผลประเมนิผล

ของผูสอน เพราะตองการวัดความรู ทักษะ และความสามารถที่เกิดกับผูเรียนทุกคน ผูสอนจะไดนําผลการวัด

เหลาน้ันไปวางแผนจดัการเรยีนการสอนใหสอดคลองกบัความสามารถของผูเรยีนเปนรายบคุคล รายกลุม และ

หรือรายหองเรียน เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนใหไดตามเกณฑประกนัคณุภาพการศกึษาทีส่ถานศกึษา

แตละแหงกาํหนดไว

ดังน้ัน การประเมินผลผูเรียนจึงจําเปนตองใชเคร่ืองมือวัดผลที่มีคุณภาพ ซึ่งผูสอนตองสรางหรือ

เลือกใชเครื่องมือวัดผลที่มีคุณภาพสอดคลองกับตัวชี้วัด เพื่อนําผลการวัดมาใชตัดสินผลการเรียนของ

ผูเรียนไดอยางมั่นใจวา ระดับผลการเรียนที่ตัดสินนั้นสอดคลองกับระดับความรูความสามารถที่เกิดขึ้นจริง

ของผูเรียนแตละคน ซ่ึงมีคาความเที่ยงตรงและคาความเชื่อมั่นสูง แสดงใหเห็นถึงความสามารถของผูสอน

ในดานการจัดการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ และดานการจัดระบบประกันคุณภาพผูเรียนที่สามารถ

ตรวจสอบและรายงานผลแกผูปกครองนักเรียนได

แบบวัดและบันทึกผลการเรียนรูของผูเรียนฉบับนี้ จึงเปนประโยชนตอผูสอนและผูเรียนที่จะใช

วางแผนการประเมินผลการเรียนรู ร วมกัน เพ่ือนําไปสูการพัฒนาคุณภาพผู เรียนตามเปาหมายของ

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ ทุกประการ

คณะผูจัดทํา

วัดผลเพ่ือตรวจสอบผลการเรียนรูที่เกิดขึ้นกับผูเรียน จะไดนําผลการวัดมาปรับปรุงพัฒนาผูเรียนแตละคน

จนเต็มศักยภาพตามเปาหมายของหลักสูตร

วัดผลเพ่ือตรวจสอบผลการเรียนรูที่เกิดขึ้นกับผูเรียน จะไดนําผลการวัดมาปรับปรุงพัฒนาผูเรียนแตละคน

จนเต็มศักยภาพตามเปาหมายของหลักสูตรฉบับเฉลย

ÊÒúÑÞ

ẺáÊ´§¼Å¡ÒûÃÐàÁÔ¹¤Ø³ÀÒ¾µÒÁµÑǪÕéÇÑ´ªÑé¹»‚ (ñ)

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè ñ ¡®ËÁÒÂᾋ§áÅÐÍÒÞÒ ñ

¡Ô¨¡ÃÃÁ½ƒ¡·Ñ¡ÉÐ ñ

¡Ô¨¡ÃÃÁµÒÁµÑǪÕéÇÑ´ (Ê ò.ñ Á.ó/ñ) õ

Ẻ·´Êͺ»ÃШíÒ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè ñ ñó

ẺºÑ¹·Ö¡¼Å¡ÒûÃÐàÁÔ¹ ñõ

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè ò ÊÔ·¸ÔÁ¹Øɪ¹ ñö

¡Ô¨¡ÃÃÁ½ƒ¡·Ñ¡ÉÐ ñö

¡Ô¨¡ÃÃÁµÒÁµÑǪÕéÇÑ´ (Ê ò.ñ Á.ó/ò) ñù

Ẻ·´Êͺ»ÃШíÒ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè ò òô

ẺºÑ¹·Ö¡¼Å¡ÒûÃÐàÁÔ¹ òö

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè ó ÇѲ¹¸ÃÃÁä·ÂáÅÐÇѲ¹¸ÃÃÁÊÒ¡Å ò÷

¡Ô¨¡ÃÃÁ½ƒ¡·Ñ¡ÉÐ ò÷

¡Ô¨¡ÃÃÁµÒÁµÑǪÕéÇÑ´ (Ê ò.ñ Á.ó/ó) òù

Ẻ·´Êͺ»ÃШíÒ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè ó óö

ẺºÑ¹·Ö¡¼Å¡ÒûÃÐàÁÔ¹ óø

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè ô Êѧ¤Áä·Â óù

¡Ô¨¡ÃÃÁ½ƒ¡·Ñ¡ÉÐ óù

¡Ô¨¡ÃÃÁµÒÁµÑǪÕéÇÑ´ (Ê ò.ñ Á.ó/ô), (Ê ò.ñ Á.ó/õ) ôñ

Ẻ·´Êͺ»ÃШíÒ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè ô õð

ẺºÑ¹·Ö¡¼Å¡ÒûÃÐàÁÔ¹ õò

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè õ ¡ÒÃàÁ×ͧ¡Òû¡¤Ãͧã¹Âؤ»˜¨¨ØºÑ¹ õó

ô ¡Ô¨¡ÃÃÁ½ƒ¡·Ñ¡ÉÐ õó

¡Ô¨¡ÃÃÁµÒÁµÑǪÕéÇÑ´ (Ê ò.ò Á.ó/ñ), (Ê ò.ò Á.ó/ò), (Ê ò.ò Á.ó/ó), (Ê ò.ò Á.ó/ô) õö

Ẻ·´Êͺ»ÃШíÒ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè õ öõ

ẺºÑ¹·Ö¡¼Å¡ÒûÃÐàÁÔ¹ ö÷

Ẻ·´Êͺ»ÃÐàÁÔ¹¼ÅÊÑÁÄ·¸Ôì·Ò§¡ÒÃàÃÕ¹»ÃШíÒÇÔªÒ öø

ฉบับเฉลย

หนวยที่

มาตรฐานการ

เรียนรู

ตัวชี้วัดชั้น ม.๓ การวัดและประเมินผลสรุปผล

การประเมินระดับคุณภาพตามตัวชี้วัดชั้นปของ

หนวยการเรียนรูวิธีการประเมิน

เครื่องมือประเมินผล

๑ มฐ. ส ๒.๑

๑. อธิบายความแตกตางของการกระทําความผิดระหวางคดีอาญาและคดีแพง

ตรวจ ก. ๑.๑ ● ก. ๑.๑ ระบุประเภทของทรัพยสินตามหลักการของกฎหมายแพงและพาณิชย

ส ๒.๑ ม.๓/๑

ตรวจ ก. ๑.๒ ● ก. ๑.๒ จําแนกองคประกอบที่สําคัญที่เกี่ยวของกับกฎหมายแพงและพาณิชย

ตรวจ ก. ๑.๓ ● ก. ๑.๓ วิเคราะหการกระทําผิดและความรับผิดทางแพง

ตรวจ ก. ๑.๔ ● ก. ๑.๔ ระบุขั้นตอนของกระบวนการยุติธรรมทางแพงและอาญา

ตรวจ ก. ๑.๕ ● ก. ๑.๕ วิเคราะหและจําแนกความผิดทางแพงและอาญา

ตรวจ ก. ๑.๖ ● ก. ๑.๖ ระบุกฎหมายที่เกี่ยวของกับกรณีตัวอยางที่กําหนดให

ตรวจ ก. ๑.๗ ● ก. ๑.๗ วิเคราะหการกระทําความผิดทางอาญาและระบุฐานความผิด

ตรวจ ก. ๑.๘ ● ก. ๑.๘ อธิบายความแตกตางระหวางการกระทําความผิดทางแพงและอาญา

๒ มฐ. ส ๒.๑

๒. มีสวนรวมในการปกปองคุมครองผูอื่นตามหลักมนุษยชน

ตรวจ ก. ๒.๑ ● ก. ๒.๑ เขียนบรรยายสิทธิมนุษยชนในดานตางๆ

ส ๒.๑ ม.๓/๒

ตรวจ ก. ๒.๒ ● ก. ๒.๒ ตอบคําถามจากขอความที่กําหนดให

ตรวจ ก. ๒.๓ ● ก. ๒.๓ ระบวุธิกีารมสีวนรวมรบัรูและปฏบิตัทิีเ่กีย่วกบัสทิธมินษุยชน

ตรวจ ก. ๒.๔ ● ก. ๒.๔ วิเคราะหกรณีศึกษาดานสิทธิมนุษยชนแลวตอบคําถาม

ตรวจ ก. ๒.๕ ● ก. ๒.๕ ระบลุกัษณะการมสีวนรวมปกปองคุมครองผูอืน่ตามหลกัสทิธมินษุยชน

๓ มฐ. ส ๒.๑

๓. อนุรักษวัฒนธรรมไทยและเลือกรับวัฒนธรรมสากลที่เหมาะสม

ตรวจ ก. ๓.๑ ● ก. ๓.๑ อธิบายความสําคัญของวัฒนธรรมไทยและวัฒนธรรมสากล

ตรวจ ก. ๓.๒ ● ก. ๓.๒ ระบุความสําคัญของภูมิปญญาและวัฒนธรรมไทยจากภาพที่กําหนดให

* ก. หมายถึง กิจกรรมตามตัวชี้วัด

µÒÃÒ§ºÑ¹·Ö¡¼Å¡ÒûÃÐàÁÔ¹¤Ø³ÀÒ¾µÒÁµÑǪÕéÇÑ́ ªÑé¹»‚

ฉบับเฉลย

(๑)

µÒÃÒ§ºÑ¹·Ö¡¼Å¡ÒûÃÐàÁÔ¹¤Ø³ÀÒ¾µÒÁµÑǪÕéÇÑ́ ªÑé¹»‚

หนวยที่

มาตรฐานการ

เรียนรู

ตัวชี้วัดชั้น ม.๓ การวัดและประเมินผลสรุปผล

การประเมินระดับคุณภาพตามตัวชี้วัดชั้นปของ

หนวยการเรียนรูวิธีการประเมิน

เครื่องมือประเมินผล

ตรวจ ก. ๓.๓ ● ก. ๓.๓ ระบุระดับของการอนุรักษภูมิปญญาไทยและวัฒนธรรมไทย

ส ๒.๑ ม.๓/๓

ตรวจ ก. ๓.๔ ● ก. ๓.๔ ยกตวัอยางวัฒนธรรมไทยและวัฒนธรรมสากลท่ีมคีวามสาํคญั

ตรวจ ก. ๓.๕ ● ก. ๓.๕ อธิบายความสําคัญและประโยชนของวัฒนธรรมสากลแตละชนิด

ตรวจ ก. ๓.๖ ● ก. ๓.๖ อธิบายแนวทางการการเลือกรับวัฒนธรรมสากลอยางเหมาะสม

ตรวจ ก. ๓.๗ ● ก. ๓.๗ บอกแนวทางการอนุรักษและสบืทอดวัฒนธรรมไทย

ตรวจ ก. ๓.๘ ● ก. ๓.๘ เสนอแนวทางการอนรัุกษโบราณสถานของไทยอยางเหมาะสม

๔ มฐ. ส ๒.๑

๔. วิเคราะหปจจัยที่กอใหเกิดปญหาความขัดแยงในประเทศและเสนอแนวคิดในการลดความขดัแยง

ตรวจ ก. ๔.๑ ● ก. ๔.๑ วิเคราะหลักษณะสําคัญของสถาบันทางสังคมไทย

ส ๒.๑ ม.๓/๔-๕

ตรวจ ก. ๔.๒ ● ก. ๔.๒ วิเคราะหประเด็นความขัดแยงในสังคมไทยและเสนอแนวทางลดความขัดแยง

ตรวจ ก. ๔.๓ ● ก. ๔.๓ วิเคราะหปญหาทางสังคมและสถาบันทางสังคมที่เกี่ยวของ

ตรวจ ก. ๔.๔ ● ก. ๔.๔ วิเคราะหปญหาสังคมไทยและบอกแนวทางการแกไข

๕. เสนอแนวคิดในการดํารงชีวิตอยางมีความสุขในประเทศและสังคมโลก

ตรวจ ก. ๔.๕ ● ก. ๔.๕ วิเคราะหกรณีศึกษาแลวตอบคาํถามจากขอความทีกาํหนดให

ตรวจ ก. ๔.๖ ● ก. ๔.๖ อธิบายการดําเนินการปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

ตรวจ ก. ๔.๗ ● ก. ๔.๗ ระบุปจจัยที่สงเสริมการดํารงชีวิตใหมีความสุข

ตรวจ ก. ๔.๘ ● ก. ๔.๘ ระบุแนวทางการดําเนินชีวิตอยางมีความสุข

ตรวจ ก. ๔.๙ ● ก. ๔.๙ เขียนบรรยายลักษณะของสังคมไทยที่ตนเองตองการ

ฉบับเฉลย

(๒)

หมายเหตุ : ๑. ใหผูสอนประเมินผลระดับคุณภาพตามตัวชี้วัดชั้นปของหนวยการเรียนรู โดยนําคะแนนรวมทัง้หมดของทกุกจิกรรมตามตวัชีว้ดัในแบบบนัทกึการประเมนิของแตละหนวยการเรยีนรูมาเปรียบเทียบกับเกณฑการตัดสินคุณภาพของตัวชี้วัดตามหนวยการเรียนรูแตละหนวย

๒. ใหผู สอนนําผลการประเมินระดับคุณภาพตามตัวชี้วัดชั้นปของแตละหนวยการเรียนรู มาสรุปในตาราง โดยใสหมายเลขระดับคะแนน ๑ - ๔ (๔ = ดีมาก ๓ = ดี ๒ = พอใช ๑ = ปรับปรุง) ลงในชอง ❏ ตามระดับคุณภาพ

หนวยที่

มาตรฐานการ

เรียนรู

ตัวชี้วัดชั้น ม.๓ การวัดและประเมินผลสรุปผล

การประเมินระดับคุณภาพตามตัวชี้วัดชั้นปของ

หนวยการเรียนรู

วิธีการประเมิน

เครื่องมือประเมินผล

๕ มฐ. ส ๒.๒

๑. อธบิายระบอบการปกครองแบบตางๆ ที่ใชในยุคปจจุบัน

ตรวจ ก. ๕.๑ ● ก. ๕.๑ เขียนอธิบายรายละเอียดการปกครองระบอบประชาธิปไตยและระบอบเผด็จการ

ส ๒.๒ ม.๓/๑-๔

ตรวจ ก. ๕.๒ ● ก. ๕.๒ ระบุลักษณะสําคัญระบอบเผด็จการอํานาจนิยมและระบอบเผด็จการเบ็ดเสร็จ

ตรวจ ก. ๕.๓ ● ก. ๕.๓ วิเคราะหเปรียบเทียบประเทศที่ปกครองดวยระบอบประชาธิปไตยและประเทศที่ปกครองดวยระบอบเผด็จการ

๒. วเิคราะหเปรยีบเทยีบระบอบการปกครองของไทยกับประเทศอืน่ๆ ทีม่กีารปกครองระบอบประชาธบิไตย

ตรวจ ก. ๕.๔ ● ก. ๕.๔ วิเคราะหเปรียบเทียบประเทศตางๆ ที่มีการปกครองในระบอบประชาธิปไตย

ตรวจ ก. ๕.๕ ● ก. ๕.๕ จําแนกอํานาจหนาที่ของรัฐสภา คณะรัฐมนตรี และศาลไทย

๓. วิเคราะหรัฐธรรมนูญฉบับปจจุบันในมาตราตางๆ ทีเ่กีย่วของกบัการเลือกต้ัง การมีสวนรวมและการตรวจสอบการใชอํานาจรัฐ

ตรวจ ก. ๕.๖ ● ก. ๕.๖ วิเคราะหพฤติกรรมการมีสวนรวมทางการเมืองตามแนวทางประชาธิปไตย

ตรวจ ก. ๕.๗ ● ก. ๕.๗ ตอบคําถามจากขอความที่กําหนดใหเกี่ยวกับการเลือกตั้งของประเทศไทย

๔. วเิคราะหประเดน็ปญหาทีเ่ปนอปุสรรคตอ การพฒันาประชาธปิไตยของประเทศไทย และเสนอการแกไข

ตรวจ ก. ๕.๘ ● ก. ๕.๘ ระบุหลักการในการตรวจสอบการใชอํานาจรัฐตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

ตรวจ ก. ๕.๙ ● ก. ๕.๙ วิเคราะหปญหาและอุปสรรคที่มีผลตอการพัฒนาประชาธิปไตยของไทย

ตรวจ ก. ๕.๑๐ ● ก. ๕.๑๐ เสนอแนวทางการปฏิบัติตนของเยาวชนเพื่อชวยพัฒนาประชาธิปไตยของไทย

ฉบับเฉลย

(๓)

กิจกรรมที่ ๑ ใหนักเรียนยกตัวอยางทรัพยสินที่ซื้อขายกันไดและทรัพยสินที่ซื้อขายกันไมได

ตามหลักกฎหมายแพง โดยเขียนลงในกรอบที่กําหนดให

กิจกรรมฝกทักษะ

¡®ËÁÒÂᾋ§áÅÐÍÒÞÒ ๑˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè

กฎหมาย ถือเปนบรรทัดฐานทางสังคมที่สําคัญที่คนในสังคมตองยึดถือปฏิบัติเพื่อ

ความเปนระเบียบของสังคม กฎหมายไดกําหนด บทบาท หนาที่ รวมถึงขอหามตางๆ หากผูใด

ฝาฝนก็มีบทลงโทษที่กําหนดไวอยางชัดเจน การศึกษาความรูเกี่ยวกับกฎหมายจะชวยใหดําเนิน

ชีวิตแบบไมประมาท ปฏิบัติตามกฎเกณฑของสังคม และอยูรวมกันในสังคมไดอยางมีความสุข

………………………………………………..

………………………………………………..

………………………………………………..

………………………………………………..

………………………………………………..

………………………………………………..

………………………………………………..

………………………………………………..

………………………………………………..

………………………………………………..

………………………………………………..

………………………………………………..

ทรัพยสินที่ซื้อขายกันได

ทรัพยสินที่ซื้อขายกันไมได

ฉบับเฉลย

คอมพิวเตอร

ที่ดินธรณีสงฆ

โทรศัพทมือถือ

ที่ดินสวนสาธารณะ

สิทธิจํานํา

ไฟสองทางสาธารณะ

ที่ดิน

ยาเสพติด

อาคารพาณิชย

ปายจราจร

รถจักรยานยนต

สัตวปาสงวน

(พิจารณาคําตอบของนักเรียน โดยใหอยูในดุลยพินิจของครูผูสอน)๑

กิจกรรมที่ ๒ ใหนักเรียนอานขอความที่กําหนดใหและเติมคําลงในชองวางใหถูกตอง

๑. หมายถึงขอบังคับของรัฐ ซึ่งกําหนดความประพฤติของคนในสังคมและมีการกําหนดโทษ

สําหรับผูที่ฝาฝน

๒. เจาหนาที่ชั้นตนในกระบวนการยุติธรรม

๓. ทําหนาที่เสมือนเปนทนายของแผนดิน

๔. โทษระดับสูงสุดสําหรับการกระทําความผิดตามกฎหมายอาญา

๕. หนวยงานที่มีพนักงานคุมประพฤติซึ่งมีอํานาจหนาที่ในการสอดสองดูแลความประพฤติ

ของเด็กและเยาวชนตามคําพิพากษาของศาล

๖. บุคคลที่เปนผูรองหรือผูยื่นคําฟองตอศาล

๗. ผูใหคําแนะนําปญหาขอกฎหมายและเปนที่ปรึกษาในการตอสูคดีตามคํากลาวหาของโจทก

๘. ผูทําหนาที่ในการพิจารณาคดี

๙. เจาหนาที่ผูมีหนาที่ดําเนินการตามคําพิพากษาลงโทษจําเลย

๑๐. เจาหนาที่ทําหนาที่บังคับคดีตามคําสั่งของศาล

ฉบับเฉลย

ป ร ะ ห า ร ชี วิ ต

ส ถ า น พิ นิ จ แ ล ะ คุุ ม ค ร อ ง เ ด็ ก

เ จ า ห น า ที่ ร า ช ทั ณ ฑ

เ จ า ห น า ที่ บั ง คั บ ค ดี

โ จ ท ก

ก ฎ ห ม า ย

ท น า ย ค ว า ม

ผู พิ พ า ก ษ า

ต ำ ร ว จ

อั ย ก า ร

กิจกรรมที่ ๓ ใหนกัเรยีนคนหาคาํทีเ่กีย่วกบักฎหมายแพงและอาญา โดยพจิารณาจากขอความ

ที่กําหนดให แลวเขียนคําตอบลงในชองปริศนาอักษรไขวใหถูกตอง

แนวตั้ง ๑. เงิน

๒. การลงโทษทางอาญา

๓. สถานที่จองจําสําหรับโทษจําคุก กักขัง

๔. ทรัพยที่เคลื่อนที่ได

๕. ผูยื่นฟองคดี

๖. การกระทําที่จงใจหรือประมาทเลินเลอที่กระทําตอผูอื่นโดยผิดกฎหมาย

แนวนอน ๑. ประโยชนที่กฎหมายใหการรับรองคุมครอง

๔. นิติกรรมประเภทหนึ่งที่เกิดจากการตกลงกอความผูกพันในทางกฎหมาย

๘. กฎหมายที่ใชบังคับความสัมพันธระหวางเอกชนกับเอกชน

๙. เงินที่ผูกูยืมตองสงใหผูใหกูยืมพรอมดอกเบี้ยเมื่อครบกําหนดสัญญา

๑๐. การกระทําโดยผูกระทํารูสํานึกในการเคลื่อนไหวรางกายของตนเอง

๑๑. การกระทําโดยปราศจากความระมัดระวังซึ่งผูกระทําอาจใชความระมัดระวังเชนวานั้นได

แตหาไดใชใหเพียงพอไม

๑๒. ผูลงลายมือชื่อรับรองลายพิมพนิ้วมือของผูกูอยางนอย ๒ คน จึงจะเปนสัญญากูยืมที่มีผล

บังคับตามกฎหมาย

๑๓. การลักขโมยของผูอื่นโดยการใชกําลัง หรืออาวุธทํารายเจาของทรัพย

๑. ๔.

๘.

๙.

๑๐. ๓. ๕. ๖.

๑๑.

๒.

๑๒.

๑๓.

ฉบับเฉลย

สิ ท ธิ สั ญ ญ า

น แ พ ง

ห นี้

เ จ ต น า โ ล

ะ ริ จ ะ

ป ร ะ ม า ท เ

กั า ท ก มิ

ก ง รั ด

ขั พ ย า น

ชิ ง ท รั พ ย

กิจกรรมที่ ๔ ใหนักเรียนจําแนกประเภทของทรัพยตามลักษณะกฎหมายแพงและพาณิชย

โดยทําเครื่องหมาย ✓ ลงในตารางใหถูกตอง

ขอที่ รายการประเภทของทรัพย

อสังหาริมทรัพย สังหาริมทรัพย

๑. โฉนดที่ดิน

๒. เครื่องรับโทรทัศน

๓. ตั๋วรับจํานํา

๔. อุปกรณพรอมรถขายกาแฟ

๕. สิทธิจํานอง

๖. มาแขง

๗. แหวนใสโองฝงดิน

๘. สิทธิจํานํา

๙. ดอกเบี้ยบัญชีเงินฝาก

๑๐. เรือนแพ

๑๑. ชุดเฟอรนิเจอรรับแขก

๑๒. ตนทุเรียนจํานวน ๕๐ ตน

๑๓. ดอกผลจากพันธบัตร

๑๔. ชางลากซุง

๑๕. คาเชาที่ดิน

๑๖. พระเครื่อง

๑๗. เกาะสวนตัว

๑๘. เสาไมสักเรือนไทย

๑๙. หุนกูธนาคาร

๒๐. รางวัลจากสลากออมสิน

๘.ฉบับเฉลย

กิจกรรมที่ ๑.๑ ใหนกัเรียนดภูาพทีก่าํหนดใหแลวพจิารณาวาเปนทรพัยสนิท่ี

ซือ้ขายกนัไดหรอืไมแลวเขยีนตอบลงในชองวาง (ส ๒.๑ ม.๓/๑)

กิจกรรมตามตัวชี้วัด

คะแนนเต็ม คะแนนที่ได

ñð

ภาพที่เห็นนี้ คือ ..................................................

เปนทรัพยสินที ่......................................................

ภาพที่เห็นนี้ คือ ..................................................

เปนทรัพยสินที ่......................................................

ภาพที่เห็นนี้ คือ ..................................................

เปนทรัพยสินที ่......................................................

ภาพที่เห็นนี้ คือ ..................................................

เปนทรัพยสินที ่......................................................

ภาพที่เห็นนี้ คือ ..................................................

เปนทรัพยสินที ่......................................................

๑. ๒.

๓.

๕.

๔.

ฉบับเฉลย

พื้นที่วัด ซื้อขายกันไมได

เครื่องประดับ ซื้อขายกันได

พื้นที่ปาสงวน ซื้อขายกันไมได

บาน ที่อยูอาศัย ซื้อขายกันได

ปายสาธารณะ ซื้อขายกันไมได

กิจกรรมที่ ๑.๒ ใหนกัเรยีนพจิารณาขอความในกรอบ แลวนาํไปใสในชองวาง

ใหสัมพันธกัน (ส ๒.๑ ม.๓/๑)

คะแนนเต็ม คะแนนที่ได

õ

๑. การกระทําความผิดที่เปนการละเมิดตอ

บทบัญญัติของกฎหมาย ซ่ึงเปนลักษณะ

ที่เกี่ยวกับบุคคล ทรัพย นิติกรรม ระยะ

เวลา อายุความ หนี้ ละเมิด เอกเทศสัญญา

ทรัพยสิน ครอบครัว และมรดก

.....................................................................................................

๓. ทีด่นิและทรพัยอันตดิอยูกบัทีด่นิ ทีมี่ลกัษณะ

เปนการถาวรหรือประกอบเปนอันเดียวกัน

กบัทีด่นินัน้ และรวมถงึทรพัยสนิอันเกีย่วกบั

ท่ีดิน หรือทรัพยอันติดอยู กับที่ดินหรือ

ประกอบเปนอันเดียวกันกับที่ดินนั้น

.....................................................................................................

๒. นิติกรรมประเภทหนึ่ง ที่เกิดจากการตกลง

กอความผูกพนัในทางกฎหมาย ระหวางบคุคล

ตั้งแตสองฝายขึ้นไป ซึ่งโดยนิติกรรมนั้นๆ

ตองไมขดัตอกฎหมาย หรือขดัตอความสงบ

เรยีบรอยของประชาชน

.....................................................................................................

๔. กฎหมายที่ใชบังคับความสัมพันธระหวาง

เอกชนดวยกัน ถือเปนกฎหมายที่มีความ

เกี่ยวของกับชีวิตประจําวันเปนอยางมาก

ซึ่งประเทศไทยมีการจัดทําเปนประมวล

กฎหมายอยางเปนระบบ

.....................................................................................................

๕. • สาธารณสมบัติของแผนดิน เชน ปาสงวน

• สทิธทิีจ่ะไดรบับาํเหน็จ บาํนาญ จากราชการ

• ทรัพยสินที่กฎหมายหามมีไวในครอบครอง

• ที่วัดและที่ธรณีสงฆ

• ทรัพยสินที่ไดมาโดยขอกําหนดหามโอน

............................................................................................................

สัญญา

การกระทําความผิดทางแพง

ทรัพยสินที่ซื้อขายกันไมได

กฎหมายแพงและพาณิชย

อสังหาริมทรัพย

ฉบับเฉลย

การกระทําความผิดทางแพง

อสังหาริมทรัพย

สัญญา

กฎหมายแพงและพาณิชย

ทรัพยสินที่ซื้อขายกันไมได

กิจกรรมที่ ๑.๓ ใหนกัเรยีนอานกรณีตวัอยางท่ีเกีย่วกบัการกระทําผิดทางแพง

แลวเติมขอความในชองวางใหสมบูรณ (ส ๒.๑ ม.๓/๑)

คะแนนเต็ม คะแนนที่ได

õ

๑. นายยอดขับรถพุงเขาชนรถจักรยานยนตที่จอดไวซึ่งเปนของนายโชติ รถจักรยานยนต

เสียหาย การกระทําของนายยอดถือเปนการละเมิด เนื่องจากเปนการกระทําโดยประมาท

นายยอดจะตองชดใชคาเสียหายแกนายโชติ อันไดแก .................................................................................................

.............................................................................................................................................................................................................................................

๒. นายตั้มเชาซื้อรถยนตจากบริษัทแหงหนึ่ง เปนเงิน ๖๐๐,๐๐๐ บาท โดยทําสัญญาวาจะ

ชําระเงิน ๖๐ งวด งวดละ ๑๐,๐๐๐ บาท นายตั้มผอนชําระเงิน ๒๐ งวด ก็เลิกผอนชําระ

ในกรณีนี้ บริษัทขายรถยนตมีสิทธิ ...................................................................................................................................................

.............................................................................................................................................................................................................................................

๓. นายอนเอากอนหินขวางปาใสรั้วบานของนางออม โดยที่กอนหินไปถูกโคมไฟบนรั้วแตก

เสียหาย และทําใหเกิดไฟฟาช็อต นายอนจะตองชดใชนางออมโดยการ ..................................................

.............................................................................................................................................................................................................................................

.............................................................................................................................................................................................................................................

๔. นางสาวพลอยซื้อคอมพิวเตอรโนตบุกจากรานแหงหนึ่ง หลังจากที่นางสาวพลอยกลับ

มาถึงบาน เม่ือนําคอมพิวเตอรออกมาจากกลอง ก็พบวามีรอยแตกราวบริเวณหนาจอ

คอมพิวเตอร ดังนั้น รานขายคอมพิวเตอร จะตองรับผิดโดย ..............................................................................

.............................................................................................................................................................................................................................................

๕. นายแสงขายทีด่นิใหนายแกวเปนจาํนวนเงนิ ๑,๐๐๐,๐๐๐ บาท โดยทีน่ายแกววางเงนิมดัจาํ

ไว ๒๐๐,๐๐๐ บาท ทั้งสองนัดกันไปจดทะเบียนซื้อขายตอเจาพนักงานที่ดิน เมื่อถึงวันนัด

นายแกวไมไปจดทะเบียนตามนัด ดังนั้น นายแสงสามารถ ....................................................................................

.............................................................................................................................................................................................................................................

ฉบับเฉลย

จายคาซอมรถจักรยานยนต

บอกเลกิสญัญา และนายตัม้ซึง่เปนผูเชาซือ้จะตองนาํรถยนต

สงคืนแกบริษัท

ชดใชคาเสยีหายตางๆ

ที่เกิดขึ้น เชน คาโคมไฟ คาจางชางซอมไฟฟา เปนตน

เปลี่ยนคอมพิวเตอรเครื่องใหม

ใหแกนางสาวพลอย โดยที่นางสาวพลอยตองพิสูจนไดวาเปนความเสียหายที่เกิดจากราน

ริบเงินที่นายแกววางมัดจําไว

จํานวน ๒๐๐,๐๐๐ บาท ได

(พิจารณาคําตอบของนักเรียน โดยใหอยูในดุลยพินิจของครูผูสอน)

............................................................

............................................................

กิจกรรมที่ ๑.๔ ใหนกัเรยีนเตมิขอความทีข่าดหายไปในแผนผงักระบวนการ

ยุติธรรมทางแพงและอาญาใหสมบรูณ (ส ๒.๑ ม.๓/๑)

คะแนนเต็ม คะแนนที่ได

ñð

กระบวนการยุติธรรมทางแพง

⨷¡�àʹͤíÒ¿‡Í§µ‹ÍÈÒÅ¡ÒÃàÃÔèÁµŒ¹

¢Í§¡Ãкǹ¡ÒÃÂصԸÃÃÁ·Ò§

ᾋ§ã¹ÈÒŪÑé¹µŒ¹

............................................................

............................................................

............................................................

............................................................

............................................................

............................................................

โจทกหรือจําเลยอาจอุทธรณคําพิพากษาของ

ศาลชั้นตนตอศาลอุทธรณ ศาลฎีกาตามลําดับ

................................................................................

................................................................................

กระบวนการยุติธรรมทางอาญา (ในกรณ�ผูเสียหายแจงความตอตํารวจ)

สงฟองศาลชั้นตน

¡Ã³Õ¼ÙŒàÊÕÂËÒÂà਌§¤ÇÒÁµ‹ÍµíÒÃǨ¡ÒÃàÃÔèÁµŒ¹

¢Í§¡Ãкǹ¡ÒÃÂصԸÃÃÁ·Ò§

ÍÒÞÒã¹ÈÒŪÑé¹µŒ¹ตํารวจสอบสวนคดี

ศาลรับฟองเเละดําเนินการพิจารณาคดีสืบพยาน

จําเลยสามารถมีคําอุทธรณไปยังศาลอุทธรณเเละศาลฎีกาตามลําดับ

............................................................

............................................................

............................................................

............................................................

............................................................

............................................................

............................................................

............................................................

............................................................

............................................................

ฉบับเฉลย

ศาลพิจารณารับคําฟอง

ศาลพิจารณาคดีและมีคําพิพากษา

ศาลนัดสืบพยานฝายจําเลย

ศาลนัดพิจารณาคดีสืบพยานฝายโจทก

เจาพนกังานบงัคบัคดทีาํหนาทีบ่งัคบัคดตีามคาํพพิากษาหรอืคาํสัง่ศาล

อัยการสั่งฟองผูตองหา เสนอเห็นสมควรสั่งฟองสงสํานวนไปยังอัยการ

เจาหนาที่ราชทัณฑดําเนินการตามคําพิพากษา

ศาลพิจารณาคดีเเละมีคําพิพากษาลงโทษ

อัยการกลั่นกรองคดี

กิจกรรมที่ ๑.๕ ใหนกัเรียนอานขอความทีก่าํหนดใหแลววเิคราะหวาเกีย่วของ

กบัการกระทาํความผดิทางแพงหรอือาญา โดยใหเขยีนคาํตอบ

ลงในชองวาง (ส ๒.๑ ม.๓/๑)

คะแนนเต็ม คะแนนที่ได

ñð

ขอความ ความผิด

๑. ศาลอาจมีคําสั่งใหยึดทรัพย หรือนําทรัพยสินของจําเลยออก

ขายทอดตลาดเพื่อนําเงินมาชําระหนี้ใหฝายโจทก..................................................................

๒. เปนการกําหนดความสัมพันธของคูความระหวางเอกชนกับ

รัฐที่ปกครองประชาชน ..................................................................

๓. ผูกระทําความผิดรับโทษตามระดับของการกระทําความผิด

ภายในขอบเขตที่กฎหมายกําหนด ..................................................................

๔. การกระทําความผิดที่กอใหเกิดความเสียหายตอความสงบ

เรียบรอยของสังคมสวนรวม ..................................................................

๕. ศาลผูพิจารณาพิพากษาตัดสินคดี สามารถใชหลักจารีต

ประเพณีแหงทองถิ่นมาบังคับใชได ..................................................................

๖. บทลงโทษของผูกระทําความผิดมี ๕ ระดับ ไดแก

ริบทรัพยสิน ปรับ กักขัง จําคุก และ ประหารชีวิต ..................................................................

๗. เจาหนาท่ีราชทณัฑจะเขามาเกีย่วของโดยทาํหนาทีค่วบคมุตวั

ผูตองหาในระหวางการดําเนินคดี ..................................................................

๘. การคางชําระหนี้ตามที่ไดตกลงทําสัญญากูยืมเงิน ..................................................................

๙. เปนคดีที่สามารถยอมความ หรือโอนออนผอนปรนกันได ..................................................................

๑๐. การพิจารณาคดี ตองกระทําโดยเปดเผยตอหนาคูความ

และสาธารณชนทั่วไป ..................................................................

ฉบับเฉลย

ความผิดทางแพง

ความผิดทางแพง

ความผิดทางแพง

ความผิดทางแพง

ความผิดทางอาญา

ความผิดทางอาญา

ความผิดทางอาญา

ความผิดทางอาญา

ความผิดทางอาญา

ความผิดทางอาญา

กิจกรรมที่ ๑.๖ นักเรียนอานกรณีตัวอยางแลววิเคราะหวาเกี่ยวของกับ

กฎหมายแพงและพาณชิย หรอืกฎหมายอาญา (ส ๒.๑ ม.๓/๑)

คะแนนเต็ม คะแนนที่ได

õ

กรณีตัวอยางที่ ๑

นายศรทําสัญญาเชาบานนายสินอยางถูกตองเปนเวลา ๓ ป โดยกําหนดจายคาเชาทุกวันที่ ๓๐ ของ

เดือน นายศรจายคาเชาตรงตามกําหนดเปนเวลา ๓ เดือนติดตอกัน จากนั้นจึงเริ่มผิดนัดการจาย และคาง

คาเชาเปนเวลา ๖ เดือน และนายศรไดขนของยายหนีออกไปจากบานเชาในที่สุด

......................................................................................................................................................................................................................................................

กรณีตัวอยางที่ ๒

เจาหนาที่ตํารวจไดรับแจงจากรานทองในตัวเมืองแหงหนึ่งวา มีคนรายชายหนุม ๒ คน บุกเขามา

ภายในรานพรอมอาวุธครบมือ จากนั้นไดทําการทุบกระจกตูทองแลวกวาดทองคําจํานวนมากหลบหนีไป

......................................................................................................................................................................................................................................................

กรณีตัวอยางที่ ๓

นายแดงและนายดํา สมคบกันที่จะลักทรัพย โดยนายแดงพกอาวุธปนซอนทายรถจักรยานยนตซึ่งมี

นายดําเปนผูขี่ เมื่อเห็นเปาหมาย นายแดงใชปนขูเหยื่อผูเคราะหรายใหนําทรัพยสินมีคาออกมาให เมื่อได

ทรัพยสินที่ตองการแลว นายแดงและนายดําไดทําการหลบหนีโดยใชรถจักรยานยนต

......................................................................................................................................................................................................................................................

กรณีตัวอยางที่ ๔

หนังสือพิมพลงขาววา ผูรายชายหนุมไดวิ่งเขาประชิดตัวเหยื่อผูเปนหญิงสูงอายุ แลวใชมือซาย

กระชากเสื้อผูเสียหาย และทําการกระชากสรอยคอทองคําพรอมพระเล่ียมทอง จากนั้นไดวิ่งหลบหนีไป

อยางรวดเร็ว

......................................................................................................................................................................................................................................................

กรณีตัวอยางที่ ๕

นายเอกลกูชายของนายชยั ถอืจดหมายของนายชยัไปสงใหนายหาญ ซึง่ในจดหมายมเีนือ้ความขอยมื

เงินจากนายหาญ นายหาญไดใหเงินนายชัยยืม แตเมื่อเวลาผานไปหลายเดือน นายชัยก็ไมมีทีทาวาจะนํา

เงินที่ยืมไปมาคืนนายหาญ

......................................................................................................................................................................................................................................................

ฉบับเฉลย

เกี่ยวกับกฎหมายแพงและพาณิชย

เกี่ยวกับกฎหมายอาญา

เกี่ยวกับกฎหมายอาญา

เกี่ยวกับกฎหมายอาญา

เกี่ยวกับกฎหมายแพงและพาณิชย

๑๐

๑. นายโตงนําไมกระบองมากวัดแกวงเลน โดยหยอกลอกับนายจอมที่เปนเพ่ือนสนิท แต

นายโตงไมทันระมัดระวัง จนเปนเหตุใหเหวี่ยงไมกระบองไปฟาดถูกหัวนายจอม ทําให

หัวแตกเกิดเปนบาดแผลขนาดใหญ ผูกระทําความผิด คือ ......................................................................................

มีความผิดฐาน ......................................................................................................................................................................................................

๒. ขณะที่นางสาวยุยเดินอยูดานหนาหางสรรพสินคาแหงหนึ่ง ทันใดนั้น นายโอมไดวิ่งเขามา

กระชากสรอยคอทองคําที่คอนางสาวยุยแลวรีบวิ่งหนีไป แตมีพลเมืองดีที่อยูบริเวณนั้น

ชวยกันจับตัวนายโอมไวได แลวจึงนําสงเจาหนาที่ตํารวจ ผูกระทําความผิด คือ .............................

มีความผิดฐาน ......................................................................................................................................................................................................

๓. นายแอดเกิดมีปากเสียงกับนายสินผูเปนเพื่อนบาน จนเหตุการณบานปลายเมื่อนายแอด

เกิดความโมโหสุดขีด วิ่งเขาไปชกตอยนายสินอยางไมยั้งหลายหมัดจนชาวบานตองเขามา

หามปราม นายสนิกรามหกัตองนอนพกัรกัษาตวั ๑ เดอืนเตม็ ผูกระทาํความผดิ คอื .....................

มีความผิดฐาน ......................................................................................................................................................................................................

๔. นางสาวหนอยขับรถมาดวยความเร็วสูงจนมาถึงสี่แยก ทันใดนั้นมีเด็กวัยรุนวิ่งขามถนน

บนทางมาลาย นางสาวหนอยเบรกรถกะทันหัน แตไมทันทําใหรถพุงชนเด็กวัยรุนอยางแรง

เด็กวัยรุนเสียชีวิตในที่เกิดเหตุทันที ผูกระทําความผิด คือ ......................................................................................

มีความผิดฐาน ......................................................................................................................................................................................................

๕. นายเดชเลนดอกไมไฟดวยความคึกคะนอง โดยการจุดดอกไมไฟแลวขวางใสตามที่ตางๆ

อยางสนุกสนาน นายเดชขวางดอกไมไฟลูกหนึ่งไปถูกนางแหววที่เดินผานมา ทําให

นางแหววตกใจสุดขีดและไดรับบาดเจ็บที่แขน ผูกระทําความผิด คือ ..........................................................

มีความผิดฐาน ......................................................................................................................................................................................................

กิจกรรมที่ ๑.๗ ใหนักเรียนอานกรณีตัวอยางเกี่ยวกับการกระทําความผิด

ทางอาญา แลวระบุผู กระทําความผิดและฐานความผิด

(ส ๒.๑ ม.๓/๑)

คะแนนเต็ม คะแนนที่ได

õ

ฉบับเฉลย

นายโตง

ประมาททาํใหผูอืน่ไดรบัอนัตรายแกกาย

นายโอม

วิง่ราวทรพัย

นายแอด

ทาํรายรางกายจนเปนเหตใุหผูอืน่ไดรบัอนัตรายสาหสั

นางสาวหนอย

ขบัรถโดยประมาทเปนเหตใุหผูอืน่ถงึแกความตาย

นายเดช

กระทาํโดยประมาททาํใหผูอืน่ไดรบัอนัตรายแกกายหรอืจติใจ

๑๑

กิจกรรมที่ ๑.๘ ใหนกัเรยีนเขียนอธบิายความแตกตางของการกระทาํความผดิ

ทางแพงและอาญาตามประเด็นที่กําหนดให (ส ๒.๑ ม.๓/๑)

คะแนนเต็ม คะแนนที่ได

óð

ประเด็น คดีแพง คดีอาญา

ลกัษณะความผดิ

ที่กระทํา

.....................................................................................................

.....................................................................................................

.....................................................................................................

.....................................................................................................

.....................................................................................................

.....................................................................................................

.....................................................................................................

.....................................................................................................

.....................................................................................................

.....................................................................................................

.....................................................................................................

.....................................................................................................

.....................................................................................................

.....................................................................................................

.....................................................................................................

.....................................................................................................

.....................................................................................................

.....................................................................................................

ผลกระทบจาก

การกระทําผิด

.....................................................................................................

.....................................................................................................

.....................................................................................................

.....................................................................................................

.....................................................................................................

.....................................................................................................

.....................................................................................................

.....................................................................................................

.....................................................................................................

.....................................................................................................

.....................................................................................................

.....................................................................................................

.....................................................................................................

.....................................................................................................

.....................................................................................................

.....................................................................................................

.....................................................................................................

.....................................................................................................

ลักษณะของ

โทษที่จะลงแก

ผูกระทํา

ความผิด

.....................................................................................................

.....................................................................................................

.....................................................................................................

.....................................................................................................

.....................................................................................................

.....................................................................................................

.....................................................................................................

.....................................................................................................

.....................................................................................................

.....................................................................................................

.....................................................................................................

.....................................................................................................

.....................................................................................................

.....................................................................................................

.....................................................................................................

.....................................................................................................

.....................................................................................................

.....................................................................................................

ฉบับเฉลย

เปนการฝาฝนทีม่ลีกัษณะเกีย่วของกบับคุคล ทรัพย นิติกรรม ระยะเวลา ครอบครัว มรดก ตัวอยางการกระทําความผิดทางแพง เชน การผิดสัญญาชําระหนี้กูยืมเงิน การกระทําละเมิดที่กอใหเกิดความเสียหายตอทรัพยสิน

การกระทาํความผดิในคดแีพงจะมผีลกระทบระหวางผูกระทํากับผูเสียหายเทานั้น เชน หากเราเผลอทําขาวของเครื่องใชภายในรานคาเสียหาย ผลกระทบที่เกิดขึ้น คือ รานคาตองสูญเสียทรัพยสิน และตัวเราจะตองชดใชคาเสียหายใหแกรานคา การกระทําความผิดทางแพงจะไมสงผลกระทบตอสังคมสวนใหญ

การลงโทษในทางคดีแพงนั้นเปนลักษณะที่ศาลจะตัดสินใหผูกระทําความผิดชดใชความเสียหายที่เกิดขึ้นแกผู เสียหาย เชน ชําระหนี้เปนเงิน สงมอบทรัพยสิน ชดใชคาเสียหาย เปนตน

เปนการกระทําความผิดที่ฝาฝนบทบัญญัติแหงประมวลกฎหมายอาญา ซึ่งถือเปนการกระทําความผิดที่ส งผลเสียต อสังคมสวนรวม ตัวอยางการกระทําความผิดทางอาญา เชน ทํารายรางกาย ลักทรัพย วิ่งราวทรัพย ฆาคนตาย เปนตน

การกระทําความผิดทางอาญานั้นกอใหเกิดความเสียหายทั้งตัวบุคคลและสังคม เชน เหตุการณโจรบุกปลนรานทองโดยยิงเจาของรานทองบาดเจ็บสาหัสแลวกวาดทองหลบหนีไป เหตุการณนี้สงผลเสียแกตวับคุคล คอืเจาของรานทองไดรบับาดเจ็บ และยังสงผลเสียตอสังคมโดยรวม คือ ชาวบานตื่นตระหนก รูสึกไมมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน

ศาลจะพิพากษาใหผู กระทําความผิดทางอาญารับโทษตามระดับของการกระทําผิด ซึ่งกฎหมายอาญากําหนดโทษไว ๕ ระดับ คือ ริบทรัพยสิน ปรับ กักขัง จําคุก และ ประหารชีวิต

๑๒

๑. ทรัพยสินในขอใดจัดเปนอสังหาริมทรัพย

ก. สิทธิจํานอง ข. สิทธิจํานํา

ค. สัญญากูยืมเงิน ง. พันธบัตรรัฐบาล

๒. ขอตกลงที่บุคคลทั้ง ๒ ฝายคือผูซื้อกับผูขายกระทําลงไปโดยประสงคจะใหมีผลผูกพัน

ใชบังคับไดตามกฎหมาย ในทางกฎหมายเรียกวาอะไร

ก. เจตนา

ข. นิติกรรม

ค. กรรมสิทธิ์

ง. เอกเทศสัญญา

๓. การซื้อขายสังหาริมทรัพยที่ตองมีหลักฐานการซื้อขายเปนหนังสือนั้น มูลคาของทรัพยสิน

ตองไมนอยกวาเทาใด

ก. ๑๐,๐๐๐ บาท

ข. ๒๐,๐๐๐ บาท

ค. ๓๐,๐๐๐ บาท

ง. ๕๐,๐๐๐ บาท

๔. การซื้อขายอสังหาริมทรัพยและสังหาริมทรัพยในขอใดที่ตกเปนโมฆะ

ก. จดทะเบียนตอพนักงานเจาหนาที่

ข. ทําขอตกลงดวยวาจาและมีพยานบุคคลไมนอยกวา ๓ คน

ค. ขอเงินมัดจําคืนกรณีที่บริษัทไมสามารถหาสินคาใหตามสัญญาซื้อขายได

ง. ธนาคารมีจดหมายหลังการคิดดอกเบี้ยกรณีผิดนัดการผอนชําระหนี้บัตรเครดิต

๕. การกูยมืเงนิทีส่ามารถฟองรองใหบงัคบัคดีตามกฎหมายได มูลคาของทรัพยตองไมนอยกวา

เทาใด

ก. ๑๐๐ บาท

ข. ๕๐๐ บาท

ค. ๑,๐๐๐ บาท

ง. ๒,๐๐๐ บาท

ก.

ข.

ข.

ข.

ง.

แบบทดสอบประจําหนวยการเรียนรูที่ ๑

คําชี้แจง ใหนักเรียนวงกลมขอที่ถูกตองที่สุดเพียงขอเดียว

คะแนนเต็ม คะแนนที่ได

ñð

ฉบับเฉลย

๑๓

๖. หลักฐานการกูยืมในกรณีใดที่กฎหมายระบุวาตองมีพยานลงลายมือชื่อรับรองอยางนอย

๒ คน

ก. ผูกูยืมเปนบุคคลลมละลาย

ข. ผูกูยืมไมไดรับการศึกษาภาคบังคับ

ค. ผูกูยืมขอพิมพลายนิ้วมือในหนังสือกูยืม

ง. ผูกูยืมมีประวัติการผิดนัดชําระเงินกับธนาคาร

๗. ลักษณะการกระทําความผิดในขอใดที่ไมใชความผิดทางแพง

ก. ละเมิด

ข. นิติกรรม

ค. ลักทรัพย

ง. เอกเทศสัญญา

๘. องคประกอบสําคัญของการกระทําความผิดทางอาญา คืออะไร

ก. เจตนา

ข. การละเมิด

ค. การอําพราง

ง. การลิดรอนสิทธิ

๙. การกระทําความผิดทางอาญาที่เขาขายการปลนทรัพย จะตองมีผูรวมกระทําความผิดตั้งแต

กี่คนขึ้นไป

ก. ๒ คน

ข. ๓ คน

ค. ๕ คน

ง. กี่คนก็ไดแตตองมีการทําแผนโจรกรรม

๑๐. ขอใดไมใชการรับโทษทางคดีอาญา

ก. ปรับ

ข. กักขัง

ค. ริบทรัพยสิน

ง. การชดใชคาสินไหมทดแทน

ค.

ค.

ก.

ข.

ง.

ฉบับเฉลย

๑๔

แบบบันทึกผลการประเมิน

เครื่องมือวัดและแสดงผลการเรียนรูคะแนน ผลการประเมิน

เต็ม ได ผาน ไมผาน

● กิจกรรมตามตัวชี้วัด

ส ๒.๑ ม.๓/๑

กิจกรรมที่ ๑.๑

กิจกรรมที่ ๑.๒

กิจกรรมที่ ๑.๓

กิจกรรมที่ ๑.๔

กิจกรรมที่ ๑.๕

กิจกรรมที่ ๑.๖

กิจกรรมที่ ๑.๗

กิจกรรมที่ ๑.๘

๑๐

๑๐

๑๐

๓๐

…………….

…………….

…………….

…………….

…………….

…………….

…………….

…………….

รวม ๘๐

คะแนนรวมทั้งหมด ๘๐

● แบบทดสอบประจําหนวยการเรียนรูที่ ๑ ๑๐

ชวงคะแนน ระดับคะแนน ระดับคุณภาพ

๖๘ - ๘๐ ๔ ดีมาก

๕๔ - ๖๗ ๓ ดี

๔๐ - ๕๓ ๒ พอใช

ตํ่ากวา ๔๐ ๑ ปรับปรุง

เกณฑการประเมินตัวชี้วัดและแบบทดสอบ

ผาน = ไดคะแนนตั้งแตครึ่งหนึ่งของ

คะแนนเต็ม

ไมผาน = ไดคะแนนไมถงึครึง่ของคะแนนเตม็

เกณฑการตัดสินระดับคุณภาพของตัวชี้วัด

ฉบับเฉลย

๑๕