การมีส่วนร่วมของประชาชนในโครงการสร้างเสริมสุขภาพชุมชน...

9
หลักสูตรการใหบริการสาธารณะโดยการมีสวนรวมของประชาชน สถาบันพระปกเกลา การมีสวนรวมของประชาชนในโครงการพัฒนาชุมชน อุทัยวรรณ กาญจนกามล บทนํา: กลับคืนสูฐานคิดการพัฒนาแบบยั่งยืน ในชวง 4 ทศวรรษที่ผานมา ไดมีการวิพากษวิจารณถึงแนวทางการพัฒนาในอดีต 1, 2 วา เปน การพัฒนาแบบไมยั่งยืน มนุษยเปนเพียงสวนประกอบของการพัฒนา มีการใชแรงงานที่กดขี่มนุษย ดวยกันเพื่อผลประโยชนทางวัตถุและเงินตรา ผลที่ตามมาก็คือเปาหมายทางสุขภาพ ที่วางไวตั้งแต ..2520 ใหประชาชนมีสุขภาพดีถวนหนาในป .. 2543 นั้นไดรับการพิสูจนแลววายากที่จะบรรลุ ได เมื่อใชมาตรการลาหลังดังที่เคยทํามาในอดีต 15-1

Upload: uthaiwan-kanchanakamol

Post on 13-Nov-2014

15 views

Category:

Documents


9 download

DESCRIPTION

การก่อเกิดกิจกรรมทางสังคมและการเมืองร่วมกัน ที่เอื้ออำนวยให้ผู้คนในชุมชนมีการพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีเป็นการเพิ่มอำนาจแก่ประชาชน ชุมชนและสังคม (empowerment) การพัฒนาชุมชน ไม่ว่าโดยเจ้าหน้าที่องค์กรของภาครัฐหรือองค์กรพัฒนาเอกชนก็ตาม จุดเน้นควรจะเป็นการทำงานร่วมกับประชาชน และช่วยส่งเสริมให้ประชาชนในชุมชนมีบทบาทนำซึ่งจำเป็นอย่างยิ่งที่ นักพัฒนาทั้งหลายจะต้องหันมา ทบทวนบทบาทในการทำงานที่ผ่านมา แล้วปรับเปลี่ยนโลกทัศน์เป็นสิ่งแรก และพัฒนาทักษะต่างๆ ของตนเอง ในบทบาทใหม่ เพื่อให้เกิดความสำเร็จในทิศทางใหม่ อย่างไรก็ตาม เนื่องจากวัฒนธรรม อำนาจนิยมอุปถัมภ์ ได้ ฝังรากลึกในสังคมท้องถิ่นไทยมาเป็นเวลาช้านาน การเข้าไปร่วมทำงานพัฒนาชุมชนแนวใหม่ จำเป็นต้องคำนึงถึงสภาพความเป็นจริงตามข้อจำกัดของสังคมดังกล่าว ซึ่งต้องอาศัยความอดทน ความรู้สึกไว ความรู้เท่าทันต่อการเปลี่ยนแปลง และมีการมองโลกในแง่ดีด้วย เพื่อสนับสนุนให้สังคมเปลี่ยนแปลงอย่างกว้างขวาง ในอนาคต

TRANSCRIPT

Page 1: การมีส่วนร่วมของประชาชนในโครงการสร้างเสริมสุขภาพชุมชน

หลักสูตรการใหบริการสาธารณะโดยการมีสวนรวมของประชาชน สถาบันพระปกเกลา

การมีสวนรวมของประชาชนในโครงการพัฒนาชุมชน

อุทัยวรรณ กาญจนกามล

บทนํา: กลับคืนสูฐานคิดการพัฒนาแบบยั่งยืน ในชวง 4 ทศวรรษที่ผานมา ไดมีการวิพากษวิจารณถึงแนวทางการพัฒนาในอดีต1, 2วา เปนการพัฒนาแบบไมยั่งยืน มนุษยเปนเพียงสวนประกอบของการพัฒนา มีการใชแรงงานที่กดขี่มนุษยดวยกันเพื่อผลประโยชนทางวัตถุและเงินตรา ผลที่ตามมาก็คือเปาหมายทางสุขภาพ ที่วางไวตั้งแต ป พ.ศ.2520 ใหประชาชนมีสุขภาพดีถวนหนาในป พ.ศ. 2543 นั้นไดรับการพิสูจนแลววายากที่จะบรรลุได เมื่อใชมาตรการลาหลังดังที่เคยทํามาในอดีต 15-1

Page 2: การมีส่วนร่วมของประชาชนในโครงการสร้างเสริมสุขภาพชุมชน

หลักสูตรการใหบริการสาธารณะโดยการมีสวนรวมของประชาชน สถาบันพระปกเกลา

ดังนั้นประเทศตางๆ โดยเฉพาะอยางยิ่ง ประเทศโลกที่ 3 ไดพยายามเปลี่ยนแนวทางในการพัฒนาเสียใหมใหเปนกระบวนการ สรางความตระหนัก ในวิถีชีวิตที่เอื้ออํานวย ตอการมีคุณภาพชีวิตที่ดี 3,4 และการพัฒนานั้นตองไมเนนการพัฒนาทางวัตถุ แตใหคนเปนศูนยกลางแหงการพัฒนา มีความคิดที่จะพึ่งตนเอง และหาทางใหตนเองเขาไปมีสวนรวมอยางกวางขวาง ทั้งในทางเศรษฐกิจ สังคม ส่ิงแวดลอม และการเมือง แนวคิดในการพัฒนาสุขภาพชองปากก็ตองเปนไปในแนวเดียวกันกับ แนวทางการพัฒนาแบบยั่งยืน 5 กลาวคือ ใหความสําคัญกับองครวมแหงสุขภาพซึ่งชี้ชัดไปที่เจาของ สุขภาพทั้งในทางรางกาย และจิตใจ ของเขา ตลอดจน ครอบครัว และชุมชนของเขา แนวทางในการพัฒนาสุขภาพจึงตองหันมาเนนหนักในเรื่องการสงเสริมสุขภาพ และการปองกันโรคมากกวาการบําบัดรักษา ใหความสําคัญกับการดูแลสุขภาพชองปากของตนเอง มากกวาการหวังพึ่งนักวิชาชีพหรือผู เชี่ยวชาญดังที่เปนมาในอดีต และเหนือส่ิงอื่นใดก็คือ กระตุนใหประชาชนเขาไปมีสวนรวมในโครงการสงเสริมสุขภาพของชุมชนอยางแทจริง ซ่ึงเปนการทําใหเกิดการปรับเปลี่ยนยุทธศาสตรการทํางาน มาเปนประชาชนมีอํานาจในการดําเนินการ ตั้งแต รวมคิดรวมวางแผน ดําเนินการ ตลอดจนตรวจสอบการบริหารงานของผูดําเนินโครงการ ใหเกิดความมีโปรงใสและมีประสิทธิภาพ

ดังนั้นหากประชาชนสามารถเปลี่ยนแปลงสถานภาพที่เปนอยูเดิม โดยเขาไปมีสวนรวมกับโครงการสงเสริมสุขภาพชองปากอยางแทจริงก็จะทําใหเกิดการเรียนรูและนําไปสูคุณภาพชีวิตที่ดีกวาของชุมชนโดยสวนรวมในที่สุด เกิดอะไรขึ้นกับการมีสวนรวมของประชาชนในโครงการพัฒนาสุขภาพของรัฐในอดีต ? เมื่อศึกษาถึงแบบแผนของการดําเนินงานของโครงการพัฒนาชุมชนในอดีตในกรณีศึกษาของโครงการพํฒนาสุขภาพซึ่งดําเนินการโดยรัฐ มานานนับศตวรรษ สวนใหญเปนการพัฒนาแบบบนลงสูลาง (Top-down development) โดยหนวยงานจากภายนอกทั้งภาครัฐและเอกชนเปนผูใหและผูกระทําในขณณะที่ประชาชนในชุมชนถูกอุปโลกใหเปนผูรับหรือผูถูกกระทําตามเปาหมายที่มีการกําหนดมาแลวเรียบรอยจาก “เบื้องบน”ขาดการรับรูจากชุมชนตั้งแตแรกเริ่ม คร้ันตอมาในป พ.ศ. 2520 ประเทศไทยไดมีแนวนโยบายแหงรัฐในดานการพัฒนาสุขภาพของประชาชน อันไดแกสุขภาพดีถวนหนาในป พ.ศ. 2543 (HFA 2000) โดยยึดถือ การสาธารณสุขมูลฐานเปนกุญแจดอกสําคัญ เพื่อไขไปสูความมีสุขภาพดีของคนในชาติ กลวิธีของการสาธารณสุขมูลฐานที่สําคัญประการหนึ่งคือ “การมีสวนรวมของประชาชน” แตหลังจากที่โครงการพัฒนาสุขภาพไดดําเนินมากวา 25 ป ผูดําเนินโครงการพัฒนาสุขภาพของรัฐตางก็ไดใหทัศนะของการมีสวนรวมของประชาชน ในโครงการพัฒนาสุภาพของกรม กองตางๆ อยางหลากหลายและ แตกตางกัน อาทิ นโยบายมีชัดเจนแตในทางปฏิบัติประชาชนกลับไมมีโอกาสเขาไปมีสวนรวมเลย หรือมีการเปดโอกาสใหประชาชนมีสวนรวมเปนบางสวน จนถึง ไดเปดโอกาสใหประชาชนมีสวนรวมอยางแทจริง โดยอาศัยแนวคิดในเรื่อง “ความพรอม”ของ

15-2

Page 3: การมีส่วนร่วมของประชาชนในโครงการสร้างเสริมสุขภาพชุมชน

หลักสูตรการใหบริการสาธารณะโดยการมีสวนรวมของประชาชน สถาบันพระปกเกลา

ประชาชนเปนหลัก แตเปนที่นาสังเกตวา ผูดําเนินโครงการสวนใหญไดใหความเห็นคลายกันวา ประชาชน “ไมพรอม” ดังนั้นจึงเปดโอกาสใหเขามาสวนรวมนอย6,7

ดังนั้น มาตรการการมีสวนรวมของประชาชน ซ่ึงถือเปนสิ่งสําคัญยิ่งของการสาธารณสุข มูลฐาน จึงถือไดวา คอนขาง “ลมเหลว” ในชวงเวลาที่ดําเนินโครงการมากวา 1 ใน 4 ของศตวรรษที่ผานมา การมีสวนรวมของประชาชนในโครงการพัฒนาสุขภาพของรัฐเปนเชนไร ? ในเรื่องการมีสวนรวมของประชาชนในโครงการพัฒนาสุขภาพที่ดําเนินการโดยรัฐ Arnstein8

ไดระบุถึงพิสัย และระดับการมีสวนรวมไดอยางชัดเจน ดังที่ ปรากฏในแผนภาพที่ 1 โดย จัดระดับการมีสวนรวมไว 3 ระดับ รวม 8 ขั้นกลาวคือ

ในระดับแรก ของการมีสวนรวม ขั้นท่ี 1 ประชาชนถูกจัดแจง (manipulation) ใหรวมมือกับโครงการพัฒนาสุขภาพของรัฐตามความประสงคที่ทางราชการรองขอ หรือทําตามใบสั่ง มีการสั่งการลงมาจากหนวยงานราชการระดับสูง สูระดับลางใหประชาชนในชุมชนใหความรวมมือ เชนเกณฑแรงงาน ใหรวมบริจาค การเรี่ยไร หรือจัดตั้งกลุมเพื่อใหชวยปฏิบัติการทางจิตวิทยามวลชน ขั้นที่ 2 ประชาชนไดรับการเยียวยา (therapy)โดยใหประชาชนเขาไปเกี่ยวของเฉพาะในกลุมกิจกรรมสุขศึกษา โดยมีวัตถุประสงคจะควบคุมหรือทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมบางอยาง เชน เขารับการอบรมบาง หรือมีการสอนสุขศึกษาเพื่อใหประชาชนทําตาม ตั้งกฎ หรือสุขบัญญัติโดยไมคํานึงถึงความ แตกตางของวัฒนธรรมชุมชน และเศรษฐกิจสังคมของทองถ่ินที่มีธรรมชาติแตกตางกัน จัดวาเปน” การเยียวยา”

แบบหนึ่ง บันได 2 ขั้นในระดับแรกนี้ แทจริงแลวถือวาไมไดใหโอกาสแกประชาชนเขาไปมีสวนรวมแตอยางใด (Degree of Non-Participation)

ระดับท่ี 2 เรียกวา การมีสวนรวมแบบพอเปนพิธี ( Degree of Tokenism) เร่ิมตั้งแต ขั้นที่ 3 คือ การใหขอมูลขาวสาร (informing) หรือการประชาสัมพันธโครงการ (advertising) ขั้นที่ 4 ประชาชนอยูในฐานะผูใหคําปรึกษาโครงการ และใหความคิดเห็นเกี่ยวกับการดําเนินงานของเจาหนาที่ของรัฐ (consulting)และขั้นที่ 5 รัฐเปดโอกาสใหผูนําชุมชนบางคนเขารวมแสดงความคิดเห็นในเชิงปรึกษาหารือ แตไมใหอํานาจในการตัดสินใจ อารนสไตน อธิบายระดับการมีสวนรวมแบบนี้วา เปนการมีสวนรวมแบบพระอันดับ(placation) หรือแบบฉาบฉวย

ระดับท่ี 3 ถือวาประชาชนมีสวนรวมอยางแทจริง(Degree of Real Citizen Power) เร่ิมตั้งแตขั้นที่ 6 โดยชุมชนเปน “ผูริเร่ิม / ผูกระทํา” เพื่อใหบรรลุเปาหมายที่ชุมชนเปนผูกําหนดเอง และ หนวยงานภายนอกเปน “ผูสนับสนุน” เทานั้น หรือ องคกรชุมชนไดมีโอกาสไดเขาเปนภาคี (partnership)ในการดําเนินงานรวมกับรัฐ มีโอกาสไดรวมแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และทํางานรวมกัน

15-3

Page 4: การมีส่วนร่วมของประชาชนในโครงการสร้างเสริมสุขภาพชุมชน

หลักสูตรการใหบริการสาธารณะโดยการมีสวนรวมของประชาชน สถาบันพระปกเกลา

โดยทั้งประชาชนและเจาหนาที่ของรัฐตางก็เคารพใน ความคิดเห็นซึ่งกันและกัน ตั้งแต ระยะกําหนดหาปญหา การจัดลําดับความสําคัญของปญหา การออกแบบทางเลือกในการพัฒนาใหกับชุมชนเพื่อใหชุมชนสามารถพัฒนาหรือแกปญหาของพวกเขาเองได หรือแกไขปญหาสุขภาพในชุมชนของตนเองในแตละทองถ่ินซึ่งแตกตางกัน ขั้นที่ 7 เปนการมอบอํานาจใหไปดําเนินการ(delegate)ตามโครงการที่มี พันธสัญญารวมกันเนื่องจากเจาหนาที่ของรัฐมั่นใจในความสามารถของประชาชนวามีความพรอมที่จะดําเนินการ และ ในขั้นที่ 8 มีการเปดโอกาสใหเขาไปรวมควบคุมดูแล(citizen control)ในฐานะผู ตรวจสอบ ผูรวมกําหนดนโยบาย การดําเนินงานของรัฐในโครงการพัฒนาสุขภาพดวยวาสอดคลองกับนโยบายสาธารณะที่กําหนดไวแตแรกหรือไม ตรวจสอบความโปรงใสของการดําเนินงาน และดูแลในเร่ืองความมีประสิทธิภาพหรือประสิทธิผลของโครงการรวมกัน การใหโอกาสดังกลาว ถือวา ประชาชนมีพลังสามารถเขาไปควบคุมดูแลโครงการพัฒนาสุขภาพอยางจริงจัง และถือเปน การมีสวนรวมแบบอุดมคติซ่ึงบทบาทประชาสังคมในการพัฒนาชุมชนทองถ่ินเรื่องการสงเสริมสุขภาพชองปากก็คือการเขาไปมีสวนรวมอยางแทจริง ใน3 ขั้นสุดทายดังกลาว

15-4

Page 5: การมีส่วนร่วมของประชาชนในโครงการสร้างเสริมสุขภาพชุมชน

หลักสูตรการใหบริการสาธารณะโดยการมีสวนรวมของประชาชน สถาบันพระปกเกลา

ระดับ การมีสวนรวม อยางแทจริง (Degree of Citizen Power) ระดับการ มีสวนรวม พอเปนพิธี (Degree of Tokenism) ระดับการ ไมมีสวนรวม (Degree of Non-Participation)

ประชาชนควบคุม(Control) ไดรับมอบอํานาจ(Delegate) ไดเขารวมเปนภาคีกับรัฐ (Partnership) เปนตัวแทนแบบไมประดับ หรือหุนเชิด(Placation) เปนผูใหคําปรึกษา (Consultation) ไดขาวสาร (Informing) ไดรับการเยยีวยา (Therapy) ประชาชนถกูจัดแจง (Manipulation)

ประชาชนสามารถควบคุมโครงการพัฒนาสุขภาพไดอยางสมบูรณ ประชาชนมีอํานาจตัดสินใจในโครงการเปนสวนใหญ ประชาชนอยูในฐานะหุนสวนและมีสวนไดเสีย ประชาชนไดรวมคิด รวมกําหนดนโยบาย รวมตัดสินใจ รวมทํางาน ผูนําชุมชนบางคนถูกดึงเขารวมโครงการในฐานะเปนตัวแทนแตเพียงในนาม ไมมีสวนรวมวางแผน รวมคิด รวมตัดสินใจ รัฐสอบถามความคิดเห็นจากประชาชนเพื่อเปนขอมูลใน การตัดสินใจของผูดํ า เนินโครงการ แตไมใหรวมรับผิดชอบ ประชาชนไดรับขอมูลขาวสารประชาสัมพันธใหปฏิบัติตามโครงการ มีการเขาถึงและสื่อสารทางเดียว เพื่อใหเปลี่ยนพฤติกรรมสวนบุคคล อาทิ การใหสุขศึกษาเปนกลุม ประชาชนถูกเกณฑแรง ถูกจัดตั้ง ถูกเรี่ยไร ถูกขอรองใหทําตามหรือ ขอความรวมมือ ขูบังคับใหรวม

แผนภาพที่ 1 บันได 8 ขั้น ของการมีสวนรวมของประชาชน ในการพัฒนาชุมชน (ดัดแปลงจาก Arnstein 8 ,1971)

15-5

Page 6: การมีส่วนร่วมของประชาชนในโครงการสร้างเสริมสุขภาพชุมชน

หลักสูตรการใหบริการสาธารณะโดยการมีสวนรวมของประชาชน สถาบันพระปกเกลา

ดวยเหตุนี้ หากรัฐจัดความสัมพันธเสียใหม โดยการปรับเปล่ียนบทบาทจากผูอุปถัมภ หรือผูดําเนินการในฐานะผูเชี่ยวชาญไปเปนผูกระตุนจุดประกายหรือสนับสนุนใหองคกรชุมชนสามารถดําเนินโครงการในชุมชนของตนเองอยางแข็งขัน เอื้ออํานวยใหมีการสรางเครือขายในการทํางานรวมกันระหวางองคการบริหารทองถ่ิน องคกรพัฒนาเอกชน และองคกรประชาชน รวมทั้งเปดโอกาสใหประชาชนมีสวนรวมในการศึกษาโดย คิดและทําดวยกันกับอีกหลายภาคีที่มีสวนรับผิดชอบในโครงการก็จะทําใหชุมชนมีความตระหนักรู ถึงปญหาและความเปนจริงดังกลาว ทําใหเกิดการเรียนรูรวมกันก็จะมีการขยายผล เกิดพลังของกลุมทํางานที่มีวัฒนธรรมประชาธิปไตยแบบมีสวนรวม และนําไปสูการกระจายอํานาจในสังคม9 และองคความรูที่ไดรวมกันนั้นก็สามารถนําไปสูการสราง และผดุงอํานาจของสังคมอีกดวย10

และในเวลาตอมาก็จะเปลี่ยนไปเปน กิจกรรม ทางสังคมและการเมืองรวมกัน ที่เอื้ออํานวยใหผูคนในชุมชนมีการพัฒนาคุณภาพชีวิตไดในที่สุด11 วิธีการดังกลาวเปนการเพิ่มอํานาจ (empowerment) ตัวอยางที่มีใหเห็นเปนการเรียกรองใหมีปฏิบัติการทางสังคมไดแก กฎบัตรวาดวยการกําหนดกลยุทธและดําเนินการเพื่อสงเสริมสุขภาพ “ ออตตาวา” (Ottawa Charter for Health Promotion)12 ซ่ึงมีกลยุทธที่สําคัญในการสงเสริมสุขภาพคือ

1. กอกระแสกลุมพลังทางสังคม (ADVOCATE ) ในชุมชนเองโดยใหขอมูลขาวสารแก สาธารณชน เพื่อสรางกระแสสังคม เพื่อกําหนดนโยบายสาธารณะโดยกลุมหรือองคกรประชา ชนภายในหรือหนวยงานจากภายนอกจุดประกายความคิด ชักชวนใหเห็นถึงผลประโยชนที่จะไดรับหาก ลงมือทําในลักษณะรวมคิดรวมแรงแข็งขัน หรือ ช้ีใหเห็นถึงผลเสีย หากเพิกเฉย ทอดธุระ นั่นหมายถึงการสรางจิตสํานึกเพื่อสาธารณะของประชาชนรวมกัน

2. เอ้ืออํานวยใหประชาชนไดใชศักยภาพของตนเองอยางเต็มท่ี (ENABLE) โดยกําหนดใหมี ส่ิงแวดลอมที่เอื้ออํานวยให มีทักษะในการดําเนินชีวิตมีโอกาสที่จะเลือกทางเลือกที่มีคุณภาพแทนที่จะถูก ยัดเยียดใหคิดและทําอยางไมมีทางปฏิเสธได นั่นคือ ความสามารถในการดูแลตนเองไดอยางมี ประสิทธิภาพ (self - efficacy) ปจจัยที่สําคัญก็คือการเปดโอกาสใหชุมชนไดบริหารจัดการโครงการตางๆ ดวยตนเองโดยมีระบบอาสาสมัคร และกําลังคนจากชุมชนไมวาจะเปนปจเจกบุคคลเขามารวมกลุม จัดตั้งชมรม กองทุน สหกรณ หรือ ครอบครัว ก็ตาม หนวยงานจากภายนอกทําหนาที่เปน ผูสนับสนุน ขอมูลขาวสาร เทคนิคตางๆ และการจัดการ เพื่อใหชุมชนบรรลุสู การพึ่งพาตนเอง (local autonomy) ทําใหเกิดวงจรการบริหารโครงการดวยตนเอง และ สรางเครือขายออกไปอยางตอเนื่อง

3. เปนสื่อกลางในการประสานงานระหวางกลุมหรือหนวยงานตางๆ (MEDIATE) ผูประสานงาน คนกลาง หรือผูไกลเกลี่ยจะทําใหเกิดความ เขาใจในโครงการที่เกิดขึ้นในชุมชนอยางถองแท หรือชวยไกลเกลี่ยปญหาความขัดแยงระหวางหนวยงานตางๆ ทั้งในภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชนโดยยึดถือเปาหมายโดยรวม ของสวนรวม ที่ตางฝายไดมีสวนรวมกําหนดเปนหลัก 15-6

Page 7: การมีส่วนร่วมของประชาชนในโครงการสร้างเสริมสุขภาพชุมชน

หลักสูตรการใหบริการสาธารณะโดยการมีสวนรวมของประชาชน สถาบันพระปกเกลา

กลยุทธท่ีสําคัญท้ัง 3 ประการจะนําไปสูกิจกรรมที่สําคัญ อาทิ 1) การสรางนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ (Build Healthy Public Policy) การกําหนดนโยบาย

สาธารณะ มีความหมายกวางไปกวา การกําหนดนโยบายในระดับกระทรวงสาธารณสุขเทานั้น นั่นคือนโยบายสาธารณะที่มีผลกระทบตอสุขภาพ ที่ทั้งภาครัฐและภาคเอกชนจะตองขานรับและมีการปฏิบัติ อยางจริงจัง นโยบายสาธารณะใดก็ตาม ที่กอใหเกิดผลเสียตอสุขภาพชองปากก็จะตองเขาไปแกไข เปล่ียนแปลงเชนเดียวกัน ทั้งนี้เพื่อใหประชาชนมีทางเลือกที่ดีกวา

2) การสรางสรรคสิ่งแวดลอมท่ีเอ้ือตอสุขภาพที่ดี (Create Supportive Environment) การจัด ส่ิงแวดลอมที่สอดคลองกับวิถีชีวิตการทํางาน การใชเวลาวางในการนันทนาการโดยสรางสรรคสังคมที่มีสุขภาพดี (Healthy Society ) สรางสรรคเมืองที่มีสุขภาพดี (Healthy City) จัดที่ทํางานใหเอื้อตอสุขภาพดี (Healthy Workplace) สรางสรรคครอบครัวที่มีสุขภาพดี (Healthy Family) หรือสรางสรรคโรงเรียนที่เอื้อตอสุขภาพดีของนักเรียนและ ครู (Healthy School)

3) การทําใหชุมชนสามารถดํา เนินงานสงเสริมสุขภาพไดอย างแข็งขัน (Strengthening Community Action) โดยการเสริมสรางความเขมแข็งใหกับองคกรประชาชน และองคการบริหารทองถ่ินซ่ึงเปนการเพิ่มพลังชุมชน (community empowerment) เพิ่มอํานาจในการตัดสินใจใหกับกลุมแกนนําใน ชุมชนเริ่มตั้งแต เปดโอกาสใหชุมชนได รับขอมูลขาวสารดานสุขภาพชองปากที่ เปนประโยชน สรางสถานการณใหคนพบเองวาอะไรเปนสิ่งจําเปนตอสุขภาพของตนเอง ใหการปรึกษาถึงการไดมาซึ่งสิ่งสนองความจําเปนเหลานั้น ใหโอกาสไดเรียนรูแนวคิดเกี่ยวกับสุขภาพและทางเลือกในการดูแลสุขภาพ ชองปากชวยใหเขาไดรับรูวา พวกเขามีสิทธิ์ขั้นพื้นฐานที่จะตัดสินใจกําหนดชะตาชีวิตของตนเองและชุมชน พัฒนาทักษะหรือความสามารถในการควบคุมการปฏิบัติงาน ความสามารถในการ กําหนดวิสัยทัศนขององคกร กําหนดนโยบายและเปาหมายการดําเนินงาน เปดโอกาสใหมีสวนรวมคิดรวมดําเนินการตลอดจนประเมินผลการทํางานไดดวยตนเอง แนะนําชองทางที่จะไดรับการสนับสนุนดานการเงินและทรัพยากรอยางเพียงพอและตอเนื่อง ซ่ึงกลาวโดยรวมก็คือ เสริมสรางใหองคกรประชาชนและองคการบริหารทองถ่ินสามารถดําเนินโครงการสงเสริมสุขภาพชองปากในชุมชนไดอยางแข็งขัน

4) การชวยพัฒนาทักษะสวนบุคคล (Helping people develop their skills) เพื่อเขาจะมีความสามารถ คิดเปน ทําเปน แกปญหาเปนและมีพลังในการควบคุมตนเองซึ่งเปนการเสริมสรางอํานาจใหแกตนเอง (self-empowerment) โครงการพัฒนาโดยใหคนเปนศูนยกลางของการพัฒนานั้น จะสงเสริมใหคน มีทักษะชีวิต (Life Skill) รูจักคิด วิเคราะหอยางมีวิจารณญาณ รูจักเลือกแนวทางที่เหมาะสมสําหรับตัวเอง สามารถดูแลสุขภาพอนามัยไดดวยตนเอง และควบคุมสิ่งแวดลอมซึ่งสงผลกระทบตอสุขภาพชองปากของตนเองและผูคนในชุมชนได ตลอดจนถึงการเปดโอกาสใหประชาชนมีสวนรวมในการศึกษา รวมคิดรวมทํา ดวยกันซึ่งจะชวยสงเสริมทักษะสวนตัวในการคิด และทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพในเวลาอันรวดเร็ว.

15-7

Page 8: การมีส่วนร่วมของประชาชนในโครงการสร้างเสริมสุขภาพชุมชน

หลักสูตรการใหบริการสาธารณะโดยการมีสวนรวมของประชาชน สถาบันพระปกเกลา

5) ปรับเปลี่ยนระบบบริการสาธารณสุขเสียใหม (Re-orientation of Health Service)เพื่อใหมี ดุลยภาพที่ดีกวาระหวางบริการสงเสริมสุขภาพชองปาก กับบริการรักษา พยาบาล ระบบบริการสาธารณสุขในปจจุบันควรมีการปรับใหมีบริการสงเสริมสุขภาพใหมากขึ้น อาทิ ส่ือสารกับหนวยงานภายนอกให กวางขวางมากขึ้น ปรับบทบาทเจาหนาที่ในหนวยงานเสียใหมแทนที่จะมีบทบาทเพียงแคผูสงเคราะห ผูอุปถัมภ (the giver) หรือผูดําเนินการ (the doer) ดังเชนที่ผานมา จําเปนตองมีการเปดโลกทัศนเจาหนาที่สาธารณสุขใหกวางขวาง ยิ่งขึ้น ผูบริหารที่มีวิสัยทัศนทั้งหลายได จะริเร่ิมสรางสรรค ใหหนวยงานของตนเองทําโครงการนํารองหรือทํางานวิจัย และพัฒนาควบคูกันไปเพื่อปรับระบบบริการที่จากเดิมเคยเปนเชิงรับ ใหมาเปนเชิงรุก มากขึ้น และกําหนดบทบาทของทีมงานสุขภาพเสียใหมใหดําเนินงานในฐานะผูสง เสริม (the promoter) ผูจุดประกาย (the catalyst) ผูสนับสนุน (the supporter) ผู อํานวยความสะดวก (the facilitator) เพื่อใหประชาชนในฐานะเจาของสุขภาพ มี ความสามารถในการตัดสินใจ ใชบริการที่มีในหลายทางเลือก และมีความรับผิดชอบในการ ดูแลตนเองโดยพึ่งพิงผูใหบริการทางการแพทยและ สาธารณสุขใหนอยลงตลอดจนประชาชนก็มีความภาคภูมิใจที่ไดมีโอกาส และมีความเพียรพยายามเขาไป รวมจัดการในโครงการ พัฒนาสุขภาพเหลานั้นดวย นั่นคือการใหอํานาจประชาชน ในการเขาไปดูแล ควบคุมโครงการสงเสริมสุขภาพดวย และไมปลอยใหเปนอํานาจหนาที่ เฉพาะของ นักวิชาชีพหรือเจาหนาที่สาธารณสุขที่เกี่ยวของ แตเพียงลําพังฝายเดียวอีกตอไป

ดังนั้น การพัฒนาชุมชน ไมวาโดยเจาหนาที่องคกรของภาครัฐหรือองคกรพัฒนาเอกชนก็ตาม จุดเนนควรจะเปนการทํางานรวมกับประชาชน และชวยสงเสริมใหประชาชนในชุมชนมีบทบาทนําซึ่งจําเปนอยางยิ่งที่ นักพัฒนาทั้งหลายจะตองหันมาทบทวนบทบาทในการทํางานที่ผานมา แลวปรับเปลี่ยนโลกทัศนเปนสิ่งแรก และพัฒนาทักษะตางๆ ของตนเองในบทบาทใหม เพื่อใหเกิดความสําเร็จในทิศทางใหม

อยางไรก็ตาม เนื่องจากวัฒนธรรม อํานาจนิยมอุปถัมภ ได ฝงรากลึกในสังคมทองถ่ินไทยมาเปนเวลาชานาน การเขาไปรวมทํางานพัฒนาชุมชนแนวใหม จําเปนตองคํานึงถึงสภาพความเปนจริงตามขอจํากัดของสังคมดังกลาว ซ่ึงตองอาศัยความอดทน ความรูสึกไว ความรูเทาทันตอการเปลี่ยนแปลง และมีการมองโลกในแงดีดวย เพื่อสนับสนุนใหสังคมเปลี่ยนแปลงอยางกวางขวาง ในอนาคต

15-8

Page 9: การมีส่วนร่วมของประชาชนในโครงการสร้างเสริมสุขภาพชุมชน

หลักสูตรการใหบริการสาธารณะโดยการมีสวนรวมของประชาชน สถาบันพระปกเกลา

เอกสารอางอิง

1. ยุค ศรีอารยะ : “เครือขายอํานาจครอบโรคและวิกฤตเครษฐกิจฟองสบู ”ใน พิทยา วองกุล (บรรณาธิการ): กลียุคกับหายนะเศรษฐกิจไทย, โครงการวิถีทรรศน ,กรุงเทพ , หนา 3-39, 2540 .

2. เสนห็ จามริก : ฐานคิดสูทางเลือกใหมของสังคมไทย โครงการวิถีทรรศน,กรุงเทพ, 217 หนา, 2541. 3. Dhillon H.S. and Philip L. : Health promotion and communit action for health in devveloping

countises , World Health Organization ,Geneva , 1994 . 4. Smith S. : Why no egg ? Building competency and self - reliance: a primary health care

principle. Canadian Journal of public health,82(1):16-18 ,1991. 5. Pine,M.C.:Introduction ,principle,and practice of public health in Pine,M,C.(ed) Community oral

health Wright,Oxford,1-10,1977. 6. ลือชา วนรัตน : บทบาทขององคการบริหารสวนตําบล ในงานสงเสรมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดลอม

กรุงเทพ: สํานักงานวิชาการ กรมอนามัย , หนา 72-97, 2540. 7. อรทัย อาจอ่ําและ โรเช ชีกาล : การวิจัยและพัฒนาความจําเปนขั้นพื้นฐานในชุมชนรายไดนอยในเมือง:

กรณีวัดชองลม เอกสารทางวิชาการหมายเลข 165 สถาบันวจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล กรุงเทพหนา 32-57, 2536 .

8. Arnstein, S. Eight rungs on the ladder of citizen participation, in Cahn, E.S. and Passett, B.A. (eds), Citizen participation : effecting community changes, Praeger publishers, New York, 1971 .

9. Maguire, P.: Doing participatory research ; a feminist approach. Amherst, University of Massachusetts,1987.

10. Tandon R. Participatory research in the empowerment of people, Convergence,14(3): 20-27, 1981.

11. Smith,S , Pyrch,T., Lizardi AO: Participatory action research for health, World Health Forum, WHO ,Geneva . 14 :319-324,1993. 12. World Health Organization. : Ottawa Charter for Health Promotion, An International Conference on Health Promotion. The move toward a new public health. WHO Ottawa , Canada ,1:iii- v, 1986.

15-9