ประวัติตัวอักษรไทย

7

Click here to load reader

Upload: ploypapat

Post on 27-Jul-2015

25.398 views

Category:

Documents


1 download

TRANSCRIPT

Page 1: ประวัติตัวอักษรไทย

เบญจมาศ ยูถนันท - รวบรวมสรุป

1

ประวัติตัวอักษรไทย

เดิมชนชาติไทยตั้งภูมิลําเนาอยูในดินแดนซึ่งทุกวันน้ีเปนอาณาเขตจีนขางฝายใต ในราว พ.ศ.

2400 พวกจีนมีอํานาจมากขึ้น พวกไทยไมยอมอยูใตอํานาจจีน จึงพรอมใจกันอพยพจากเมืองเดิมมาตั้งภูมิลําเนาอยูในประเทศพมา มอญ ลาว มากขึ้นตามลําดับ พวกหนึ่งตั้งภูมิลําเนาอยูริมแมนํ้าสาละวิน และตอไปในแดนพมาจนถึงแดนอัสสัม เรียกวา “ไทยใหญ” อีกพวกหนึ่งตั้งภูมิลําเนาอยูในแดนตังเกี๋ย สิบสองเจาไท สิบสองปนนา เรียก “ไทยนอย” ตอมาอพยพลงมาถึงดินแดนลานชาง ลานนา และสยามประเทศ (ไทยกลาง) นอกจากนี้ยังมีไทยอยูในแดนจีน ตังเกี๋ย พมา มณฑลอัสสัม อินเดีย ยังพูดภาษาไทยดวยกันทั้งสิ้น เปนแตสําเนียงเทาน้ันที่ ผิดเพ้ียน สวนตัวอักษรที่พวกไทยใชอยูทุกวันน้ีก็มีหลายอยางมีเคามูลตาง ๆ กัน แบบอักษรไทยซึ่งพอขุนรามคําแหงทรงประดิษฐน้ันเปนอักษรของพวกไทยกลาง ยังมีอักษรของพวกไทยใหญและไทยเหนืออีก ตางหากแตลวนอาศัยแบบตัวอักษรซึ่งไดจากอินเดียทั้งสิ้น

ตํานานอักษรในประเทศอินเดีย

อักษรเกาที่สุดซ่ึงนักปราชญผูศึกษาโบราณคดีไดพบในประเทศอินเดีย คืออักษรพราหมณี เปนศิลาจารึกของพระเจาอโศก เม่ือ พ.ศ. 300 พวกพราหมณเปนผูคิดแบบโดยไดแบบอยางมาจากประเทศทางตะวันตก คือเมืองฟนิเซีย ซ่ึงเดิมตั้งอยูที่ทะเล เมดิเตอเรเนียนขางทิศตะวันออก ฟนีเซียเปนชาติแรกที่ไดคิดวิธีเขียนหนังสือโดยใชตัวอักษรลวน ๆ ไมใชรูปอยางชาวอียิปตหรือจีนเขียนอักษรของเขา ตัวอักษรฟนีเซียเปนตนเคาของอักษรกรีก ละติน และฝรั่งอื่น ๆ และเปนตนเคาของอักษรพราหมณีในประเทศอินเดียเหมือนกัน แตเน่ืองจากอินเดียเปนทวีปใหญ จึงเกิดการเปลี่ยนแปลงตัวอักษรเปน “อินเดียฝายเหนือ” และ “อินเดียฝายใต” ฝายเหนือ(พวกมคธ)ชอบใชกระดาษเปนเครื่องเขียน เขียนตัวอักษรเหลี่ยม ๆ เรียก “เทวนาครี” สวนฝายใต (พวกทมิฬ) มักใชใบลานเปนเครื่องเขียน ตัวอักษรเปนรูปกลม เรียก “คฤนถ” หรือ “ครนถ” ขอมไดดัดแปลงแกไขวิธีเขียนตัวอักษรมาจากอินเดีย แตตางกันที่

Page 2: ประวัติตัวอักษรไทย

เบญจมาศ ยูถนันท - รวบรวมสรุป

2

1. ตัวอักษรขอมเขียนไดบรรจงงดงามกวา 2. เสนเล็กซ่ึงเสมียนอินเดียขีดบนตัวอักษร ขอมมาเขียนเปนเสนใหญ เรียก “สก” (หนามเตย)

เปนรูปคลาย เสนผมหยิก อักษรขอมโบราณ มี 2 ชนิด คือ

1. อักษรบรรจง ใชสําหรับบันทึก 2. อักษรหวัด ใชสําหรับเขียนหนังสือธรรมดา

ประวัติอักษรไทยกลาง เมืองไทยอพยพจากเมืองเดิมมาตั้งภูมิลําเนาอยูติดกับอาณาเขตของมอญซึ่งขณะนั้นกําลังรุงเรืองมากทางตะวันออก ไทยจึงรับเอาอารยธรรมของมอญหลายอยาง รวมทั้งเอาแบบตัวอักษรของมอญมาดัดแปลงใชเขียนภาษาไทย เชน พวกไทยอาหม ไทยลื้อ ไทยสิบสองปนนา แตพวกไทยในสมัยน้ันไมชํานาญการเขียนตัวอักษร จึงเอาตัวอยางของอักษรมอญมาใชเขียนภาษาของตน แลวคงบกพรองแมจน ทุกวันน้ีการเขียนและการอานหนังสือไทยเหนือซ่ึงไดแบบอยางมาจากที่พวกไทยใชชั้นเดิมยังไมสะดวก พยัญชนะและสระบางตัวขาดหายไป วรรณยุกตไมมี วิธีเรียงสระและพยัญชนะไมเปนระเบียบเรียบรอย

พวกไทยนอยซ่ึงตั้งภูมิลําเนาอยูทางลํานํ้ายมระยะแรก ๆ คงใชอักษรไทยที่ไดแบบอยางมาจากมอญตอมาราว พ.ศ. 1500 พวกขอมไดแผอาณาเขตมาถึงดินแดนของไทยซึ่งตั้งอยูริมแมนํ้ายม ไทยคงศึกษาอักษรขอมหวัดเปนอักษรสําคัญที่ใชในทางราชการบานเมือง จึงแปลงตัวอักษรของไทยเดิมมาเปนรูปคลายตัวอักษรเหมือนอยางที่พวกไทยที่มาตั้งภูมิลําเนาอยูในประเทศพมา ก็ไดเอาแบบอยางอักษรพมาบางตัวมาใชเขียนภาษาของตน

ภายหลังพอขุนศรีอินทราทิตยประกาศตั้งสุโขทัยเปนอิสระเมื่อราว พ.ศ. 1800 อํานาจของขอมออนลง พระเจาแผนดินในราชวงศพระรวงกรุงสุโขทัยมีพระราชประสงคจะใหราษฎรเลิกประพฤติตามธรรมเนียมขอม และคงเลิกใชภาษาขอมในทางราชการกลับมาใชภาษาไทยอีกดวย

ในรัชกาลพอขุนรามคําแหง ทรงเห็นวาอักษรไทยที่ไดแบบอยางมาจากมอญไมสะดวกแกการเขียนภาษาไทย ถาใชตอไปกลัวจะขัดของอยูเนือง ๆ จะใชอักษรขอมลวน ๆ ก็ไมเปนการสมควรเพราะเมืองสุโขทัยเปนอิสระแลว พอขุนรามคําแหงจึง “หาใครใจในใจ แลใสลายสือไทยนี้”

“เม่ือกอนลายสือไทยนี้บมี” มหาศักราช 1025 ศก ปมะแม พอขุนรามคําแหง “หาใครใจในใจแลใสลายสือไทยนี้ ลายสือไทยนี้จึ่งมีเพ่ือพอขุนผูน้ันใสไว” (ลายสือไทยนี้ = หนังสือไทยอยางน้ี)

Page 3: ประวัติตัวอักษรไทย

เบญจมาศ ยูถนันท - รวบรวมสรุป

3

การใสลายสือไทยของพอขุนรามคําแหง ไดเอาอักษรขอมหวัดซ่ึงพวกไทยเปลี่ยนแปลงและใชเขียนภาษาไทยมาแกไขใหดีขึ้นเทาน้ันเปนสําคัญ (เม่ือกอนหนังสือไทยชนิดน้ีไมมี แตคงจะมีหนังสือไทยแบบอื่น ๆอยูแลว และพอขุนรามคําแหงทรงดัดแปลงใหเปนตัวหนังสือของสุโขทัยขึ้น) คือ

1. รูปสันฐานของตัวอักษรของพระองคคลายของขอม ไดเปลี่ยนใหสะดวกขึ้นแกผูเขียน 2. วิธีใชพยัญชนะแทนไมผัด คือใชพยัญชนะ 2 ตัวเรียงกัน ตัวหนาเปนตัวสะกด ตัวหลังเปน

ไมผัด เชน กนน = กัน วนน = วัน 3. แกไขหนามเตย โดยลบออกเสียบาง ทําใหประจบกันเปนตัวอักษรบาง 4. คิดเครื่องหมายวรรณยุกต คือ ไมเอก กับ กากบาท 5. เรียง พยัญชนะ สระ และวรรณยุกตไวในบรรทัดเดียวกัน

ตัวอักษรที่เกิดขึ้นในเมืองสุโขทัยไดแพรหลายไปในประเทศใกลเคียงที่อาณาเขตติดตอกัน คือดินแดนลานชาง ลานนาไทยและกรุงศรีอยุธยา ภายหลังลานชางเปลี่ยนตัวอักษรเปนแบบลาวซึ่งใชอยูในเวียงจันทรและหลวงพระบาง

ศิลาจารึกเกาที่สุดที่ปรากฏใชตัวอักษรไทยสุโขทัย คือศิลาจารึกของพระสุมนเถระ ที่วัดพระยืนเมืองลําพูน พระสุมนเถระองคน้ันไดมาจากเมืองสุโขทัย และอาจเปนผูนําอักษรไทยสุโขทัยไปใชในลานนาไทย แตภายหลังราว พ.ศ. 2050 ชาวลานนาไทยกลับไปใชตัวอักษรของพวกลื้อ (ไทยสิบสองปนนา)

พ.ศ. 2306 พมาตีเมืองเชียงใหมได แตเสียใหกับไทยเมื่อ พ.ศ. 2316 เมืองเชียงใหมเปนเมืองรางจนถึง พ.ศ. 2339 พระยากาวิละไดไปตั้งเมืองเชียงใหมเปนนครตามเดิม และกลับมาใชตัวอักษรไทยสุโขทัย ภายหลังจารึกและหนังสือตาง ๆ ที่เขียน ในเมืองเชียงใหมทุกวันน้ีเปนหนังสือไทยเหนือ ทั้งสิ้น

สยามฝายใต ตั้งแตพระเจาอูทองตั้งอาณาเขตเปนอิสระและสรางกรุงศรีอยุธยาเปนราชธานีเม่ือ พ.ศ. 1893 ไดเอาแบบอยางอักษรไทยสุโขทัยมาใชตอ ๆ มา จนเกิดมีแบบอักษรไทยซึ่งใชอยูทุกวันน้ี ลักษณะตัวอักษรไทยครั้งแผนดินสมเด็จพระนารายณมหาราชไมแปลกจากอักษรไทยปจจุบันน้ีมากนัก และตัวอักษรไทยครั้งกรุงเกาก็แปลกกับตัวอักษรไทยสุโขทัยเพียง 2 - 3 ตัวเทาน้ัน

Page 4: ประวัติตัวอักษรไทย

เบญจมาศ ยูถนันท - รวบรวมสรุป

4

แผนภูมิกําเนิดตัวอักษร

อักษรฟนีเซีย

อักษรพราหมณี อักษรฝร่ังตาง ๆ

อินเดียฝายเหนือ อินเดียฝายใต

ขอมโบราณ มอญโบราณ

ขอมจารึก ขอมหวัด อักษรไทยเดิม อักษรพมา

อักษรขอมตาง ๆ อักษรพอขุนรามคําแหง อักษรเงี้ยว

อักษรสยาม อักษรลาวลานชาง อักษรไทยตังเกี๋ย อักษรไทยอาหม

อักษรลื้อและลาวลานนาไทย

สรุปลักษณะอักขรวิธีสมัยพอขุนรามคําแหงที่ตางจากปจจุบัน

1. สระและพยัญชนะอยูในบรรทัดเดียวกัน เขียนติดตอกันไปโดยไมเวนวรรค 2. สระวางไวหนาพยัญชนะ ยกเวนสระอา (สมัยพระยาลิไท เปลี่ยนไวขางบน ขางใต (คือสระอิ, อี, พินทุอิ,

ไมมลาย, ไมมวน ไมโอคงเดิม สมัยพระนารายณมีการปฏิรูปตัวอักษรครั้งใหญ) 3. วรรณยุกตมี 2 รูป คือ รูปเอก รูปโท 4. สระอะ เม่ือมีตัวสะกด ใชพยัญชนะซอนกัน 2 ตัว เชน ขบบ (ขับ), หนงง (หนัง) ฯลฯ 5. สระเอีย ถาไมมีตัวสะกด ใช เชน มยย สยย

ถามีตัวสะกด ใช ย เชน สยง (เสียง) ดยว (เดียว) 6. สระอือ, ออ ไมมีตัวสะกดไมมี อ เคียง เชน ชื่, พ ท 7. สระอัว ไมมีตัวสะกด ใช วว ตวว หวว ววว 8. สระอึ ไมมีใช ใช อี หรือ อื แทน เชน จิ่ง, ขื้น 9. นฤคหิต แทน ม เชน กลํ (กลม)

Page 5: ประวัติตัวอักษรไทย

เบญจมาศ ยูถนันท - รวบรวมสรุป

5

⌦ ดานที่ 1 (ตอจากตอนที่เรียน)

⌫ ⌫ ⌫ ⌫ ⌫ ⌫ ⌫ ⌦ ⌫⌫ ⌫ ⌫ ⌫

⌫⌫ ⌦ ⌫ ⌫ ⌫⌫ ⌫ ⌫ ⌫ ⌫ ⌫ ⌫ ⌫⌫ ⌫⌫ ⌫

Page 6: ประวัติตัวอักษรไทย

เบญจมาศ ยูถนันท - รวบรวมสรุป

6

อธิบายความหมายของศัพท คําที่ คําศัพท ความหมาย

(1) จกอบ ภาษีผานดาน

(2) ลูทาง สะดวกสบาย (3) กวา ไป (4) พอเช้ือเสื้อคํา พอผูใหกําเนิด พอที่ลวงลับไปแลว (เสื้อคํา ใชคูกับ

พอเช้ือ) (5) เยียขาว ฉางขาว (ภาคอีสานเรียก เลาขาว หรือ เยียขาว) (6) ไพรฟาขาไท ประชาชน บริวาร (7) ผิดแผกแสกวางกัน ผิดใจแตกแยก เปนความกัน (ในกฎหมายตราสามดวง

ใชวาผิดแผกแซกวาง) (8) สวนดูแทแล สอบสวนดูแนแลว สอบถามดูแนแลว ไตสวน (9) จึงแลงความแกขาดวยซื่อ ตัดสินความแกเขาทั้งสองดวยความยุติธรรม (10) บเขาผูลักมักผูซอน ไมเขากับผูรายลักทรัพย ไมเห็นแกผูรับของโจร (มัก แปลวา ชอบ เห็นแกตัว) (11) บใครพีน นาจะหมายถึง ไมยินดี (12) บใครเดือด นาจะหมายถึง ไมยินดียินราย ไมเดือดรอน (13) มาสู มาอยูดวย (14) ชอยเหนือเฟอกู ชวยเหลือเอื้อเฟอกอบกู

(ชอย = ชวย, เหนือ = เหลือ, กู = ยก, อุมชู, ดูแล) (15) ตวง จน, จนกระทั่ง (16) ขาเสือกขาเสือ ขาศึก (17) หัวพุงหัวรบ หัวหนา, แมทัพนายกอง (18) อันณื่ง อันหนึ่ง (19) หั้น นั้น (20) ไพรฟาหนาปก ประชาชนที่มีทุกขรอน (21) เถืง ถึง (22) บไร ไมยาก

Page 7: ประวัติตัวอักษรไทย

เบญจมาศ ยูถนันท - รวบรวมสรุป

7

แบบตัวอักษรพอขุนรามคําแหงเปรียบเทียบกับปจจุบัน