ดร.เอ็ดเบ็ดการ์

11

Upload: krusupharat

Post on 03-Jul-2015

2.048 views

Category:

Education


0 download

DESCRIPTION

ชาวพุทธตัวอย่าง

TRANSCRIPT

Page 1: ดร.เอ็ดเบ็ดการ์
Page 2: ดร.เอ็ดเบ็ดการ์

ดร. เอ ็มเบดการ ์ ม ีช ื่อเต ็มว ่า ดร . พิมพา รามชิเอ ็มเบดการ ์เป ็นคนในวรรณะจันฑาลซึ่งส ังคมฮ ินด ูของอ ินเด ียร ังเก ียจ

“เน ื่องจากเป ็นวรรณะที่ต ำ่าส ุดบางคร ั้งก ็เร ียกวรรณะนี้ว ่า อ” วรรณะ คือคนไม่ม ีวรรณะหรือไม ่ม ีส ังก ัด ส ำาหร ับพวกที่ม ี

วรรณะหรือม ีส ังก ัดจะม ี 4 กลุ่ม ตามล ำาด ับค ือ กษัตร ิย ์ พราหมณ์ “ ” แพศย์ และศ ูทร เร ียกว ่าพวก สวรรณะ และส ำาหร ับวรรณะจัน

ฑาลนี้จะถ ูกห ้ามไม ่ให ้เข ้าไปใช้น ำ้าในสระสาธารณะร ่วมก ันก ับ พวกวรรณะอื่น ๆ ข ้างต ้นด ังกล ่าว ให้ใช ้เฉพาะนำ้าท ี่สกปรก

เท ่าน ั้น พวกเด ็ก ๆ ก ็ไม ่อน ุญาตให้เข ้าเร ียนในโรงเร ียนที่เด ็กฮ ินด ูเร ียนกันทั้งท ี่พวกเขานับถ ือเทพเจ ้าองค ์เด ียวก ันก ับพวก

ฮินด ูท ั้งหลาย อยู่ภายใต้ประเพณีว ัฒนธรรมอนัเด ียวก ัน แต่โบสถ์ฮ ินด ูก ็ไม ่ยอมให้พวกเขาเข ้าไปส ักการะหร ือร ่วมพิธ ีทาง

ศาสนาเป ็นอ ันขาด ร ้านตัดผม ร ้านทำาผม และร ้านซักร ีดเส ื้อผ ้าก ็ไม ่ยอมให้พวกเขาไปใช้บร ิการ เพราะเอ ็มเบดการ ์เป ็นเด ็กสมองด ี จ ึงได ้โอกาสเข ้าเร ียน

มหาว ิทยาล ัย ได ้ท ุนเร ียนต่อจากมหาราชาแห่งเม ือง บาโรดา เม ื่อเร ียนจบปร ิญญาตรีแล ้วได ้ศ ึกษาต่อท ี่ประเทศอ ังกฤษ โดย

ตั้งใจเร ียนและตั้งตวงความร ู้ให ้ได ้มากที่ส ุด เขาเร ียนว ิชา ร ัฐศาสตร ์และเศรษฐศาสตร ์ จนจบปร ิญญาโทและเร ียนต่อ

ปริญญาเอกที่ มหาว ิทยาล ัยโคล ัมเบ ีย

Page 3: ดร.เอ็ดเบ็ดการ์

เม ื่อท ่านเด ินทางกล ับมาอ ินเด ีย ก ็ได ้พยายามต่อส ู้เพ ื่อคน

วรรณะเด ียวก ัน และก ับความ อยุต ิธรรม ที่ส ังคมฮ ินด ู ย ัดเย ียดให้ กับคนในวรรณะตำ่ากว ่า ท ่านมีผลต่อความเคล ื่อนไหวหลายๆ อย่างในอินเด ียขณะนั้น เช ่น เป ็นจ ัณฑาลคนแรก ที่ได ้ร ับ

ตำาแหน่งเป ็นร ัฐมนตร ีว ่าการกระทรวงย ุต ิธรรม คอยช่วยคนวรรณะตำ่าท ี่ถ ู

ข่มเหงร ังแก หลังจากที่อ ินเด ียได ้ร ับเอกราช ก็เป ็นผ ู้ร ่วมร ่าง ร ัฐธรรมนูญของอ ินเด ียด ้วย

  ดร. เอ ็มเบดการ ์ ย ังผ ูกพ ันต ่อพระพุทธศาสนาอย่างมากมาย โดยเร ิ่มเก ิดความสนใจมาจากการอ ่านพุทธประว ัต ิ ท ่านศ ึกษา

แล้วพบว ่า พระพุทธศาสนาเป ็นศาสนาที่ไม ่ม ีข ้อร ังเก ียจในเร ื่อง วรรณะ ไม่ป ิดก ั้นการศกึษาพระธรรม ให้ความเสมอภาค และ

ภราดรภาพแก่คนทุกชั้น ท ำาให ้ท ่านเก ิดแรงศร ัทธาอย่างแรงกล ้า ได ้กล ่าวสด ุด ีพระพุทธศาสนา ไว ้ในหนังส ือของท่านหลายเล ่ม

เช ่น "พุทธธรรม, ” ลักษณะพิเศษของพระพุทธศาสนา และค ำา ปาฐกถาอ ื่นๆ ซึ่งได ้ร ับการต ีพ ิมพ ์ในภายหลัง เช ่น "การที่

พระพุทธศาสนาหมดไปจากอินเด ีย" เป ็นต ้น  ในขณะนั้น อ ินเด ียน ับว ่าม ีชาวพุทธน้อยมาก แทบไม่ม ีเหล ือแต ่ท ่านได ้กระทำาค ุณูปการต่อพระพุทธศาสนาอย่างย ิ่งใหญ่ใน

การเอาชีว ิตเป ็นเด ิมพ ัน ค ือการเป ็นผ ู้น ำาชาวพุทธวรรณะศูทรกว ่า ห้าแสนคน ปฏิญาณตนเป ็นพุทธมามกะ ในงานฉลองพุทธชยันต ี

  ท่านได้กล ่าวว ่า "ข้าพเจ ้าเก ิดมาจากตระก ูลท ี่น ับถ ือศาสนา ฮินด ู แต ่ข ้าพเจ ้าจะขอตายในฐานะพุทธศาสนิกชน"

 

 

Page 4: ดร.เอ็ดเบ็ดการ์

ประว ัต ิการศ ึกษา ดร . เอ ็มเบดการ ์ ส ำาเร ็จการศกึษาปร ิญญาเอกทาง

เศรษฐศาสตร ์ ปร ิญญาเอกทางร ัฐศาสตร ์ และเป ็นนิต ิบ ัณฑิต อังกฤษ ได้ร ับปร ิญญาเอกกิตต ิมศ ักด ิ์ทางด ้านกฎหมายจาก

มหาว ิทยาล ัยโคล ัมเบ ียอาชพี ดร . เอ ็มเบดการ ์ ประกอบอาชีพเป ็นทนายความ เช่นเด ียวก ับ

มหาตมคานธี ต ่อมาได ้ร ับแต ่งต ั้งให ้เป ็นสมาชิกสภานิต ิบ ัญญัต ิ ของร ัฐบอมเบย ์

ผลงานเดน่ ดร . เอ ็มเบดการ ์ ได ้ท ำาการต ่อส ู้เพ ื่อส ังคม เศรษฐกิจ การเม ือง

และศาสนา จนสำาเร ็จและสามารถทำาให ้คนในวรรณะจันฑาลมี ความเสมอภาพกับคนในวรรณะอื่น ในทุก ๆ ด ้าน แต่อย ่างไรก ็

ด ีส ังคมอ ินเด ียในปัจจ ุบ ันโดยทางนิต ิน ัยน ั้นถ ือว ่าม ีความเท ่า เท ียมก ัน แต่ในทางพฤติน ัยย ังม ีการแบ่งช ั้นวรรณะกันอย ู่เร ื่อย

มาผลงานทางพระพทุธศาสนา ดร . เอ ็มเบดการ ์ ถ ือว ่าเป ็นบ ุคคลแรกของอ ินเด ียท ี่ได ้น ำาเอา

พระพุทธศาสนากลับมาส ู่มาต ุภ ูม ิ (ถิ่นก ำาเน ิดพระพุทธศาสนา ) โดยตัวท ่านเองในเบ ื้องแรกนั้นน ับถ ือศาสนาพราหมณ์ ต ่อมา

จึงเปล ี่ยนมานับถ ือพระพุทธศาสนา ท่านได ้เข ้าพ ิธ ีอย ่างเป ็น ทางการ และท่านได ้ยกย ่องพระพุทธศาสนาว ่า เป ็นศาสนาที่

สร ้างส ันต ิภาพให้แก ่โลก เพราะพระพุทธศาสนาเป ็นศาสนาที่ เป ็นประชาธ ิปไตย ให้ความเสมอภาค ภราดรภาพ และยกย่อง

ความเป ็นมนุษย ์อย ่างเท ่าเท ียมก ัน

Page 5: ดร.เอ็ดเบ็ดการ์
Page 6: ดร.เอ็ดเบ็ดการ์

เหตุการณ์ท ีส่ ำาค ัญมากประการหนึง่กค็ ือ การที่ดร . เอ ็มเบดการ ์ไดเ้ป ็นผ ู้น ำาชาวพทุธศทูรกว ่า๕ แสน

คน ปฏญิาณตนเป็นพทุธมามกะ เหตุการณ์ตอนนีเ้ป ็น เร ื่องท ีน่า่สนใจมาก

ตามจร ิงท ่าน ดร . เอ ็มเบดการ ์ สนใจพระพทุธ ศาสนามาก่อนหนา้น ี้แล ้ว จากการไดศ้กึษาพทุธ

ประว ัต ิ ซ ึ่งเข ียน โดยทา่น พระธ ัม มานันทะ โกสัมพี ชื่อว ่า " ภควาน บุดดา" (พระผู้มพีระภาคเจ ้า ) ทา่นได้

ทราบจากการศกึษาว ่า พระพทุธศาสนา เป ็นศาสนาที่ ไมม่ขี ้อร ังเก ียจในเร ื่องวรรณะ ไมป่ ิดก ัน้การศ ึกษา

พระธรรม ใหค้วามเสมอภาค และภราดรภาพแก่คน ทกุชัน้ ใน จ ิตใจของ ด . รเอ ็มเบดการ ์ เป ็นชาวพุทธอยู่

ก่อนแล้ว แต่ทา่นต้องการทำาใหเ้ป ็นร ูปธรรมยิง่ข ึ้น ส ิง่ ทีต่ ั้งใจไว ้ก ็ค ือ การได้ ปฏญิาณตนเป็น ชาวพทุธ

พร้อมก ับพีน่ ้องชาวอธิศทูร ใน งานฉลองพทุธชยนัต ิ

Page 7: ดร.เอ็ดเบ็ดการ์

ดร. เอ ็มเบดการ ์ ได ้กล ่าวสดดุ ีพระพทุธศาสนา และได้เข ียนหนังส ือเผยแผ่พระพทุธธรรมหลายเล ่ม

เชน่" พทุธ ธรรม ลักษณะพิเศษของพระพุทธศาสนา " และคำาปาฐกถา อื่นๆ ที่ ได ้ร ับการตีพมิพภ์ายหลัง เชน่

"การที่พระพทุธศาสนาหมดไปจากอินเด ีย" เป ็นต ้น ก่อนหนา้ท ีจ่ะมงีานฉลองพุทธชยันต ี เป ็นท ีท่ราบ

กันดวี ่า ขณะนัน้อ ินเด ียมชีาวพุทธอยูแ่ทบจะเร ียกไดว้ ่า เป ็น อ ัพโภหาร ิก ค ือ นอ้ยมากจนเร ียกไมไ่ด ้วา่ม ี แตเ่หตุ

ทีม่งีานฉลองนี้ข ึน้ได ้ เน ื่องจากทา่นยวาห์ ราล เนร ูห ์ ซ ึ่ง ทา่นไดก้ล ่าวค ำา ปราศร ัยไว ้ในที่ ประชุมโลกสภา

( ร ัฐสภาของอินเดยี เร ียกว ่า โลกสภา ) เร ื่องการจ ัดงาน ฉลองพทุธชยันต ี ว ่า " พระพทุธเจ ้า เป ็น บ ุตรทีป่ราด

เปร ื่องย ิง่ใหญ่ และรอบร ู้ท ีส่ดุของอ ินเด ีย ในโลกนีซ้ ึ่ง เต ็มไปด้วยความวุ่นวาย เค ียดแค้น และร ุนแรง คำาสอน

ของพระพทุธเจ ้า ส ่องแสงเหมอืนดวงอาทติยท์ ีร่ ุ่งโรจน์ ไมม่คีนอินเด ียคนใด ทีจ่ะน ำาเกยีรต ิยศ เกยีรต ิภมู ิ กล ับ

มาสูอ่ ินเด ียได ้ เทา่กบัพระพุทธองค์ หากเราไมจ่ ัดงานฉลองใหท้ ่านผู้น ีแ้ล ้วเราจะไปฉลองว ันส ำาค ัญของใคร"และได้กล ่าวอ ีกตอนหนึ่งว ่า"ข้าพเจ ้าไมข่อนบัถ ือ

ศาสนาใดๆในโลกทัง้น ัน้ แต ่หากจะต้องเล ือกนบัถอืแล ้วข ้าพเจ ้าขอเล ือกนบัถ ือพระพทุธศาสนา"

Page 8: ดร.เอ็ดเบ็ดการ์

ในการปฏญิาณตนเป็นชาวพทุธ ๕ แสนคน เม ือ่ว ันท ี่ ๑๔ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๙๙นั้น มพีระภกิษ ุอย ูใ่นพธิ ี ร ่วม เป ็น ส ักข ีพยาน ด้วย ๓ รูป ค ือ ทา่นพระส ังฆร ัตนเถระ

พระสัทธราติสสะเถระ และพระปัญญานันทะเถระ ในพธิ ี มกีารประดบัธงธรรมจกัรและสายร ุ้งอยา่งงดงาม ในพธิ ี

นัน้ ผ ู้ ปฏญิาณตนได้กล ่าวค ำาปฏญิาณตนเป็น พทุธมามกะ และคำาปฏญิญา ๒๒ ข้อ ของทา่นเอ ็มเบ

ดการ ์๑. ข้าพเจ ้าจะไมบ่ ูชาพระพรหม พระศ ิวะ พระว ิษณุต ่อไป๒. ข้าพเจ ้าจะไมเ่ช ือ่ว ่าพระราม พระกฤษณะ เป ็น

พระเจ ้า ข ้าพเจ ้าจะไมเ่คารพต่อไป๓. ข้าพเจ ้าจะไมเ่คารพบูชาเทวดาทัง้หลายของศาสนาฮินดตู ่อไป๔. ข้าพเจ ้าจะไมเ่ช ื่อล ัทธ ิอวตารต่อไป๕. ข้าพเจ ้าจะไมเ่ช ื่อว ่า พระพทุธเจ ้าค ืออวตารของพระ

ว ิษณุ การเช ื่อเช ่นน ัน้ ค ือคนบ้า๖. ข้าพเจ ้าจะไมท่ ำาพ ิธ ีสารท และบิณฑบาตแบบฮินดตู ่อไป๗.ข้าพเจ ้าจะไมท่ ำาส ิ่งท ีข่ ัดต ่อค ำาสอนของพระพทุธเจา้๘. ข้าพเจ ้าจะไมเ่ช ิญพราหมณ์มาทำาพธิ ีทกุอยา่งไป๙. ข้าพเจ ้าเช ื่อว ่าทกุคนทีเ่ก ิดมาในโลกนีม้ศีกัด ิ์ศร ีและฐานะเสมอกัน๑๐. ข้าพเจ ้าจะตอ่ส ูเ้พ ือ่ความมสี ิทธ ิเสร ีภาพเสมอกนั๑๑. ข้าพเจ ้าจะปฏบิ ัต ิมรรคมอีงค ์ ๘ โดยครบถว้น

Page 9: ดร.เอ็ดเบ็ดการ์

๑๒. ข้าพเจ ้าจะบ ำาเพญ็บารม ี ๑๐ ทศั โดยครบถ้วน๑๓. ข้าพเจ ้าจะแผ่เมตตาแกม่นษุยแ์ละสตัว ์ทกุจ ำาพวก๑๔. ข้าพเจ ้าจะไมล่ ักขโมยคนอื่น๑๕. ข้าพเจ ้าจะไมป่ระพฤติผ ิดในกาม๑๖. ข้าพเจ ้าจะไมพ่ดูปด๑๗. ข้าพเจ ้าจะไมด่ ื่มสรุา๑๘. ข้าพเจ ้าจะบ ำาเพญ็ตนในทาน ศีล ภาวนา๑๙. ข้าพเจ ้าจะเล ิกนบัถอืศาสนาฮนิด ู ท ีท่ ำาใหส้ ังคมเลว

ทราม แบ่งช ัน้วรรณะ๒๐.ข้าพเจ ้าเช ื่อว ่าพทุธศาสนาเทา่น ัน้ท ีเ่ป ็นศาสนาทีแ่ท ้จร ิง๒๑. ข้าพเจ ้าเช ื่อว ่าการทีข่ ้าพเจ ้าห ันมานบัถ ือพระพทุธศาสนานัน้เป ็นการเก ิดใหมท่ ีแ่ทจ้ร ิง๒๒. ตั้งแต ่น ีเ้ป ็นต ้นไป ข้าพเจา้จะปฏบิ ัต ิตนตามคำาสอนของพระพทุธศาสนาอยา่งเคร ่งคร ัดหลังจากปฏญิาณตนเป็นพทุธมามกะ

Page 10: ดร.เอ็ดเบ็ดการ์

คุณธรรมทีค่วรถอืเป ็นแบบอยา่ง   ดร. เอ ็มเบดการ ์ ใช ้ธรรมะนำาการเมอืงของอ ินเดยี สมยัต ่อส ู้เอกราช

จากอังกฤษ เปน็ผ ูน้ ำาของร ัฐสภาผูร้ ่างร ัฐธรรมนูญของอ ินเดยี เปน็บคุคล แรกที่น ำาเอาพระพุทธศาสนากลับมาสู่มาต ุภมู ิ จ ึงเปน็ท ีศ่ร ัทธาของชาว

อินเดยีท ั่วไป จนกลับใจหนัมานับถอืพระพทุธศาสนาตามอย่างท ่านรวม เปน็จ ำานวนหลายล้านคน ทำาให้เราเห ็นคณุธรรมที่ควรถ ือเปน็แบบอย่าง

ของท่านหลายประการ ซึ่งพอจะสร ุปไดด้งัน ี้ ๑. มคีวามมุมานะพยายามในการศกึษาเลา่เร ียน แมจ้ะประสบกับ

ความยากลำาบากและความเดอืดร ้อนมากเพยีงใด แต่ ดร .เอ ็มเบดการ ์ก ็ ก้มหน้ามมุานะต่อไป โดยไมห่ย ุดย ั้งจนกระทั่งจบมธัยมศกึษา เตร ียม

อุดมศกึษา ปร ิญญาตรี ปร ิญญาโท และปร ิญญาเอก นี่คอืความสำาเร ็จของเดก็ยากจนที่เก ิดในวรรณะศทูรที่ไดม้าดว้ยความมมุานะเพียรพยายาม ๒. มีความอดทนเปน็เลศิ เม ื่อคร ั้งศ ึกษาเล ่าเร ียน โดยเฉพาะใน

มหาวิทยาล ัย ดร . เอ ็มเบดการ ์ ไดเ้ผชิญกับป ัญหาต่างๆ ถกูข ่มเหงจาก นักศ ึกษาต่างวรรณะ บางคนไดข้ ่มเหง ร ังแก ทุบต ีอย ่างทาร ุณ แต่ท ่าน

ก็ไดก้ ัดฟนัต ่อส ู้ก ับเหตุการณเ์หล่าน ั้นดว้ยความอดทน และไดน้ ำาเหตุการณเ์หล่าน ั้นมาเปน็ก ำาล ังใจให้มคีวามมมุานะในการศกึษาเล ่าเร ียนยิ่งข ึน้ ๓. มสีต ิปญัญาดี นอกจากมีความมมุานะและความอดทนในการศึกษา

เล ่าเร ียนแลว้ ดร . เอ ็มเบดการ ์ ย ังมสีต ิปญัญาดอี ีกดว้ย ข้อนี้เห ็นจากการ ที่ท ่านสามารถศึกษาเล ่าเร ียนจนไดป้ร ิญญาเอก โดยเฉพาะปร ิญญาเอก

ท่านจบหลายสาขา ไดแ้ก ่ ปร ัชญากฎหมาย จากมหาวิทยาล ัยโคลัมเบยี ว ิทยาศาสตร ์ จากมหาวิทยาล ัยลอนดอน และวรรณคดี จาก

มหาวิทยาล ัยออสมาเนีย ๔. ยึดม ัน่ในพระพทุธศาสนาอย่างม ัน่คง ดร . เอม็เบดการ ์ ไดน้ ำาหล ักธรรมทางพระพุทธศาสนามาเป ็นหลักในการปฏิบตั ิระบบชั้นวรรณะของ

สังคมอ ินเดยี ดงัท ี่ท ่านประกาศไว ้ตอนหนึ่งว ่าระบบวรรณะนั้นเปน็ความ บกพร่อง ใครเกดิมาเปน็วรรณะเลวก็ต ้องเลวอยู่ช ั่วชาติ จะท ำาอย ่างไรก็

ไมม่ทีางดขี ึ้นมาได ้ ข ้อน ี้จ ึงเป ็นเร ื่องฟงัไมข่ ึ้นอ ีกต ่อไป ... กฎแห่งกรรม ของพระพุทธเจ ้าไม ่มใีครลบล้างได ้ พระพุทธเจ ้าทรงสรรเสร ิญความ

เพยีร ชัยชนะของแต่ละคนขึ้นอยู่ก ับความเพียร ยาจกก็สามารถยกตน ขึ้นเปน็มหาเศรษฐีได ้ เพราะความเพียร

Page 11: ดร.เอ็ดเบ็ดการ์