ข้อสังเกตถึงคำชี้แจงของรองศาสราจารย์รังสรรค์...

22
ยื นบนความเปนธรรม สองนําดวยสัจจะ 1 ขอสังเกตถึงคําชี้แจงของรองศาสราจารยรังสรรค เนียมสนิท (รักษาการคณบดีคณะนิติศาสตร) เร�อง ขอเท็จจริงเกี่ยวกับคณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน ฉบับที่ ๑ วันที่ ๒๔ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๔ กราบนมัสการ กราบเรียน และเรียน คําชี้แจง ทามกลางสถานการณความขัดแยง สิ่งที่ไดเรียนรูและเกิดขึ้นมาโดยตลอด คือ ความจริง มักถูกทําลาย และบิดเบือนไปอยางปราศจากมโนธรรม สัจธรรมดังกลาวไมมีขอยกเวนแมแตใน สถาบันอุดมศึกษา และบุคคลที่เคยอยูในฐานะเพื่อนรวมงาน หรืออางเสมอวาเปนพี่นองกัน โดยที่ผานมา เมื่อปฏิบัติหนาที่ในฐานะเปนผูบริหารคณะนิติศาสตร ขาพเจาเลือกวิธีที่จะให ขอมูลขอเท็จจริงตามลําดับขั้นตอนการบังคับบัญชา เพราะถือวา เรื่องภายในองคกรสามารถ บริหารจัดการไดภายใตระบบกลไกขั้นตอนตางๆ ทางราชการ และการเปดเผยขอมูลในบางเรื่อง เปนสิ่งละเอียดออนตอความเขาใจของนักศึกษาและบุคคลภายนอก ซึ่งอาจสงผลกระทบตอชื่อ เสียง ภาพลักษณของคณะและ/หรือมหาวิทยาลัยได แตทวาปรากฎการณเกือบหนึ่งปที่ผานมา นับแตมีการสรรหาคณบดีคณะนิติศาสตร (กันยายน ๒๕๕๓) จนกระทั่งปจจุบัน สามารถประมวล ความไดวา มีความพยายามสรางชุดขอมูลอยางเปนระบบและขบวนการ เพื่อทําลายความนาเชื่อ ถือ และชื่อเสียงของขาพเจา ทั้งภายในคณะ หนวยงานอื่น และภายนอกมหาวิทยาลัย เพียงเพื่อ ประโยชนแหงตนและกลุมตนเทานั้น ประกอบกับ คําชี้แจงจากรักษาการคณบดีคณะนิติศาสตร เรื่อง ขอเท็จจริงเกี่ยวกับคณะ นิติศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน ครั้งที่ ๑ - ๒ ลงวันที่ ๑๖ และ ๑๗ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๔ ซึ่ง ใชลีลาการปรุงแตงวาทกรรมใหนาเชื่อถือ แตบิดเบือนขอเท็จจริงอยางปราศจากความรับผิดชอบ ดวยเหตุนี้ ขาพเจาจึงขอแถลงเปนลายลักษณอักษรเพื่อตอบคําชี้แจงเปนรายขอตามที่รักษา การคณบดีไดชี้แจง และมีขอสังเกตในแตละขอแตละประเด็น ดังตอไปนี

Upload: mrjub-law222

Post on 12-Mar-2016

212 views

Category:

Documents


0 download

DESCRIPTION

ข้อสังเกตถึงคำชี้แจงของรองศาสราจารย์รังสรรค์ เนียมสนิท (รักษาการคณบดีคณะนิติศาสตร์) เรื่ออง ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ฉบับที่ ๑ วันที่ ๒๔ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๔

TRANSCRIPT

ยืนบนความเปนธรรม สองนําดวยสัจจะ 1

ขอสังเกตถึงคําชี้แจงของรองศาสราจารยรังสรรค เนียมสนิท (รักษาการคณบดีคณะนิติศาสตร)

เร� อง ขอเท็จจริงเกี่ยวกับคณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน ฉบับที่ ๑

วันที่ ๒๔ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๔

กราบนมัสการ กราบเรียน และเรียน

คําชี้แจง

ทามกลางสถานการณความขัดแยง สิ่งที่ไดเรียนรูและเกิดขึ้นมาโดยตลอด คือ ความจริง

มักถูกทําลาย และบิดเบือนไปอยางปราศจากมโนธรรม สัจธรรมดังกลาวไมมีขอยกเวนแมแตใน

สถาบันอุดมศึกษา และบุคคลที่เคยอยูในฐานะเพื่อนรวมงาน หรืออางเสมอวาเปนพี่นองกัน

โดยที่ผานมา เมื่อปฏิบัติหนาที่ในฐานะเปนผูบริหารคณะนิติศาสตร ขาพเจาเลือกวิธีที่จะให

ขอมูลขอเท็จจริงตามลําดับขั้นตอนการบังคับบัญชา เพราะถือวา เรื่องภายในองคกรสามารถ

บริหารจัดการไดภายใตระบบกลไกขั้นตอนตางๆ ทางราชการ และการเปดเผยขอมูลในบางเรื่อง

เปนสิ่งละเอียดออนตอความเขาใจของนักศึกษาและบุคคลภายนอก ซึ่งอาจสงผลกระทบตอชื่อ

เสียง ภาพลักษณของคณะและ/หรือมหาวิทยาลัยได แตทวาปรากฎการณเกือบหนึ่งปที่ผานมา

นับแตมีการสรรหาคณบดีคณะนิติศาสตร (กันยายน ๒๕๕๓) จนกระทั่งปจจุบัน สามารถประมวล

ความไดวา มีความพยายามสรางชุดขอมูลอยางเปนระบบและขบวนการ เพื่อทําลายความนาเชื่อ

ถือ และชื่อเสียงของขาพเจา ทั้งภายในคณะ หนวยงานอื่น และภายนอกมหาวิทยาลัย เพียงเพื่อ

ประโยชนแหงตนและกลุมตนเทานั้น

ประกอบกับ คําชี้แจงจากรักษาการคณบดีคณะนิติศาสตร เรื่อง ขอเท็จจริงเกี่ยวกับคณะ

นิติศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน ครั้งที่ ๑ - ๒ ลงวันที่ ๑๖ และ ๑๗ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๔ ซึ่ง

ใชลีลาการปรุงแตงวาทกรรมใหนาเชื่อถือ แตบิดเบือนขอเท็จจริงอยางปราศจากความรับผิดชอบ

ดวยเหตุนี้ ขาพเจาจึงขอแถลงเปนลายลักษณอักษรเพื่อตอบคําชี้แจงเปนรายขอตามที่รักษา

การคณบดีไดชี้แจง และมีขอสังเกตในแตละขอแตละประเด็น ดังตอไปนี้

ยืนบนความเปนธรรม สองนําดวยสัจจะ2

ขอ ๑. “คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน พัฒนามาจากหลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต

ในลักษณะโครงการพิเศษ สังกัดคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มาตั้งแตปการศึกษา ๒๕๔๗

จึงจัดตั้งขึ้นเปนคณะนิติศาสตรในปพ.ศ. ๒๕๔๙ มีสถานะเปนหนวยงานของมหาวิทยาลัยที่พึ่ง

ตนเอง โดยอาศัยงบประมาณรายได จากคาหนวยกิตนักศึกษาเปนหลัก ดังนั้น การดําเนินงานจึง

ตองคํานึงถึงผลประโยชนของนักศึกษาเปนสําคัญ นั่นหมายความวา ระบบคุณภาพและการประกัน

คุณภาพจึงเปนประเด็นสําคัญสูงสุดในการบริหารงานของคณะนิติศาสตร” (หนา ๑ ยอหนาที่ ๑)

ขอสังเกต

๑. การจัดการศึกษาวิชานิติศาสตร เปนผลสืบเนื่องจาก พ.ศ. ๒๕๔๖ มหาวิทยาลัย

ไดมีน โยบายมหาวิทยาลัยขอนแกน เ รื่ อ ง Comp r ehen s i v e Un i v e r s i t y โดยผู บริหาร

มหาวิทยาลัยไดสงมอบนโยบายดังกลาวใหคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร เปนผูรับผิดชอบ

ซึ่งในปพ.ศ.๒๕๔๗ ไดมีการจัดการศึกษาหลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร ตาม

ระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแกน วาดวย การบริหารและการจัดการหลักสูตรมหาวิทยาลัยขอนแกน

ในลักษณะโครงการพิเศษ พ.ศ. ๒๕๓๗ ซึ่งมีระบบการบริหารและจัดการหลักสูตรไดอยางคลอง

ตัวและมีประสิทธิภาพ แตกตางจากการจัดการหลักสูตรในระบบปกติของมหาวิทยาลัย และมี

ศักยภาพในการพึ่งตนเอง

ตอมา พ.ศ. ๒๕๔๘ มหาวิทยาลัยไดบรรจุเรื่องการจัดตั้งคณะนิติศาสตรไวในแผน

พัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษาระยะที่ ๙ ของมหาวิทยาลัยขอนแกน ดังนั้น เพื่อเตรียมความพรอม

ในการจัดตั้ งคณะนิติศาสตร จึ ง เปลี่ยนสถานะจากหลักสูตรฯ สังกัดคณะมนุษยศาสตรและ

สังคมศาสตร เปนโครงการจัดตั้งคณะนิติศาสตร โดยกําหนดใหผูอํานวยการหลักสูตร ปฏิบัติหนาที่

ผูอํานวยการโครงการจัดตั้งคณะนิติศาสตร ทําหนาที่บริหารจัดการการศึกษาใหไดมาตรฐานทาง

วิชาการและวิชาชีพทางกฎหมาย สําหรับการบริหารงบประมาณใหอาศัยระบบของคณะมนุษยศาสตร

และสังคมศาสตร

ปพ.ศ. ๒๕๔๙ สภามหาวิทยาลัยไดมีประกาศ ฉบับที่ ๒/๒๕๔๙ เรื่องจัดตั้งคณะนิติศาสตร

โดยกําหนดวัตถุประสงคการจัดตั้งคณะไววา “เพื่อใหการผลิตบัณฑิตสาขาวิชานิติศาสตรในโครงการ

จัดตั้งคณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน มีประสิทธิภาพเอื้อประโยชนตอการพัฒนาศักยภาพ

ทางวิชาการและมาตรฐานวิชาชีพ บังเกิดผลดีตอการพัฒนามหาวิทยาลัยขอนแกน”

ยืนบนความเปนธรรม สองนําดวยสัจจะ 3

และ (๑) ใหคณะนิติศาสตรเปนหนวยงานหนึ่งของมหาวิทยาลัยมีสถานะเทียบเทาคณะตางๆ ของ

มหาวิทยาลัย และ (๒) ใหการบริหารงานของคณะนิติศาสตร เปนไปตามระเบียบมหาวิทยาลัย

ขอนแกน วาดวยคณะนิติศาสตร พ.ศ. ๒๕๔๙

ที่ลําดับมานั้นเพื่อจะชี้ใหเห็นวา ในการจัดการศึกษาของคณะนิติศาสตรจุดหมายสําคัญ

ไดแก “มาตรฐานทางวิชาการ” ควบคูกับ “มาตรฐานทางวิชาชีพ” สวนระบบการประกันคุณภาพ

เปนเครื่องมือสนับสนุนเพื่อใหไปสู เปาหมายดังกลาว ซึ่งเปนไปตามพระราชบัญญัติการศึกษา

แหงชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ มิใชเปนประเด็นสําคัญสูงสุดในการบริหารงานของคณะนิติศาสตรตามที่

รองศาสตราจารยรังสรรคฯ เขาใจ

ซึ่งฐานทรัพยากรที่จําเปนตอการประกันคุณภาพการศึกษาดังกลาว เปนหนาที่ความรับผิด

ชอบของมหาวิทยาลัยไมใชเปนการผลักภาระทั้งหมดใหแกคณะ เนื่องจากคณะมีแหลงรายไดหลัก

มาจากคาธรรมเนียมการศึกษา และในการบริหารงบประมาณเงินรายไดนั้น คณะก็ไมไดบริหาร

จัดการงบประมาณเองทั้งหมด แตตองมีการกันสวนใหแกมหาวิทยาลัยเปนจํานวน ๑๕ เปอรเซ็นต

และคาใชจายสวนกลางอีก ๒,๐๐๐ บาทตอนักศึกษาหนึ่งรายในแตละปงบประมาณ สําหรับเปน

เงินบํารุงทรัพยากรสวนกลาง เชน หองสมุดสารสนเทศ ศูนยคอมพิวเตอร บริการสาธารณูปโภคขั้น

พื้นฐาน เปนตน

การที่รักษาการคณบดีไดชี้แจงตามขอ ๑ ทําใหสาธารณชนเขาใจทํานองวา การบริหาร

งานของคณะนิติศาสตรที่ผานมา ไมใหความสําคัญสูงสุดกับระบบคุณภาพและการประกันคุณภาพ

และทําดูประหนึ่งวา คณะนิติศาสตรเปนนิติบุคคลแยกตางหากจากมหาวิทยาลัยขอนแกน ซึ่งใน

ทางการบริหารองคกรขนาดใหญที่มีหนวยงานในสังกัดตองดูแลนั้น หลักการบริหารตองมีการ

จํ าแนกว าหน วยงานใดเปนลูกคนเล็ก คนกลาง และคนโต หน วยงานที่ อยู ในระยะกอตั้ ง

มหาวิทยาลัยตองใหการสงเคราะห หนวยงานขนาดกลางที่มีความพรอมระดับพอชวยตนเองได

ยอมตองไดรับการสนับสนุนและอุดหนุนเปนบางโอกาส และหนวยงานใดที่มีความพรอม ยอมตองไดรับ

การชวยชี้แนะและวางแผนที่ดี แตในมหาวิทยาลัยแหงนี้ดูเหมือนวาจะใชทฤษฎีมุมกลับของทฤษฎี

ดังกลาว ดังเชนที่เกิดกับคณะนิติศาสตรเปนตน

ยืนบนความเปนธรรม สองนําดวยสัจจะ4

แตจกัอยางไร การบรหิารคณะนติศิาสตรทีผ่านมา ขาพเจาสามารถนาํพาคณะไปถงึเปาหมายได

ทั้ง ๆ ที่ปจจัยสนับสนุนและเอื้อตอการประกันคุณภาพจะขาดการสงเคราะหก็ตาม พิจารณาไดจาก

(๑) มาตรฐานทางวิชาการ ไดแก

๑.๑ คุณภาพของครูบาอาจารยที่รับผิดชอบบรรยายรายวิชาตาง ๆ ในหลักสูตรที่มีชื่อเสียง

และเปนที่ยอมรับในวงการนิติศาสตร โดยครอบคลุมทั้งสายวิชาการ (๓๒ %) สายวิชาชีพทางกฎหมาย

(๔๕ %) และสายวิชาอื่นที่เกี่ยวของ (๒๓ %)

๑.๒ การจัดโครงการ/กิจกรรมเพื่อพัฒนาศักยภาพทางวิชาการ ทักษะวิชาชีพ และสํานึก

รับผิดชอบตอสังคม รวม ๑๙๑ โครงการ จําแนกเปน กิจกรรมพัฒนาศักยภาพทางวิชาการ (๖๕ โครงการ)

กิจกรรมสงเสริมทักษะวิชาชีพ (๖๒ โครงการ) และกิจกรรมปลูกฝุงระบบคุณธรรม (๖๔ โครงการ)

๑.๓ จํานวนผูตองการเขาศึกษาในคณะที่เพิ่มมากขึ้นในแตละป

๑.๔ การจัดทําบันทึกความรวมมือทางวิชาการกับองคกรวิชาชีพทางกฎหมายและที่เกี่ยวของ

ประกอบดวย สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ สํานักงานอัยการสูงสุด สํานักงานกิจการ

ยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม สํานักยุติธรรมจังหวัด ฯลฯ

๑.๕ บัณฑิตที่สําเร็จการศึกษา สามารถทํางาน ประกอบวิชาชีพ และศึกษาตอระดับสูงได

อยางมีประสิทธิภาพ เปนที่ยอมรับกันในวงกวาง

(๒) มาตรฐานทางวิชาชีพ ไดแก การรับรองและเทียบเทามาตรฐานหลักสูตรจากองคกร

วิชาชีพทางกฎหมาย โดยเนติบัณฑิตยสภา และสภาทนายความ

ดังนั้น จากหลักฐานเชิงประจักษสามารถสรุปไดวา การบริหารงานของคณะที่ผานมา ไดคํานึง

และใหความสําคัญกับมาตรฐานทางวิชาการและมาตรฐานทางวิชาชีพตามเจตนารมณของการจัดตั้ง

คณะ สําหรับทรัพยากรที่เอื้อตอการประกันคุณภาพการศึกษานั้น ถึงแมวาคณะจะมีขอจํากัดดาน

งบประมาณ แตกระนั้นก็มีความสามารถจัดการศึกษาใหเปนที่ยอมรับและผานเกณฑการพิจารณา

รับรองจากองคกรวิชาชีพ ซึ่งหลักเกณฑพิจารณารับรองมาตรฐานก็มีการพิจารณาถึงมาตรฐานหลักสูตร

เครื่องอุปกรณที่เอื้อตอการเรียนการสอน หองเรียน หองสมุด และคุณภาพผูสอนประกอบการพิจารณา

ยืนบนความเปนธรรม สองนําดวยสัจจะ 5

ขอ ๒. “ตั้งแตกอตั้งคณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกนเปนตนมา ยังไมมีคณบดีตัวจริง

ที่เปนผูบริหารสูงสุดของคณะมาโดยตลอด แตมีผูรักษาการมาตั้งแตตน มหาวิทยาลัยขอนแกนจึง

ไดเริ่มกระบวนการสรรหาคณบดี ตั้งแตกันยายน พ.ศ. ๒๕๕๓ โดยสภามหาวิทยาลัยขอนแกนได

เห็นชอบให อาจารยกิตติบดี ใยพูล เปนผูรักษาการคณบดีคณะนิติศาสตรเปนระยะเวลา ๖ เดือน ตั้งแต

๑ ธันวาคม ๒๕๕๓ ถึงวันที่ ๓๑ พฤษภาคม ๒๕๕๔ โดยมีคณะกรรมการกํากับติดตามประเมิน

ผลการปฏิบัติงานของผูรักษาการคณบดีคณะนิติศาสตร จึงหมายความวา ขณะนี้ผลการสรรหา

คณบดีตัวจริงยังไมไดขอยุติ”

ขอสังเกต

ตามขอ ๒ ของคําชี้แจงของรักษาการคณบดี ฯ นั้น ไดใหขอมูลตามความเปนจริงแตใหไม

ครบถวน ไมทราบเชนกันวาเจตนาหรือไมอยางไร แตในทางกฎหมายตองสันนิษฐานไวกอนวาบุคคล

ทุกคนกระทําการโดยสุจริต

ขออธบิายใหทราบดงันี ้ตามระเบยีบมหาวทิยาลยัขอนแกน วาดวย คณะนติศิาสตร พ.ศ. ๒๕๔๙

ขอ ๒๗ (บทเฉพาะกาล) ไดกําหนด “ใหผูอํานวยการตามคําสั่งมหาวิทยาลัยขอนแกนที่ ๑๐๓๒/๒๕๔๘

ปฏิบัติหนาที่รักษาการคณบดี้ี โดยวรรคสามไดกําหนดวา “การปฏิบัติหนาที่ตามความในวรรคกอน

ใหทําไปพลางกอนจนกวาจะมีการตราระเบียบ ขอบังคับ ประกาศ หรือคําสั่งที่เกี่ยวกับเรื่องดังกลาวตอไป”

ดวยในวันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๕๓ สภามหาวิทยาลัยขอนแกนไดมีคําสั่งแตงตั้งคณะ

กรรมการสรรหาคณบดีคณะนิติศาสตร โดยมีรองศาสตราจารยสุมนต สกลไชย อธิการบดี เปนประธาน

ซึ่งมีกระบวนการสรรหาตามขอบังคับมหาวิทยาลัยขอนแกนวาดวย การสรรหาคณบดี พ.ศ. ๒๕๕๒

จนกระทั่งเมื่อวันที่ ๑ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ ผูชวยศาสตราจารยเยาวลักษณ อภิชาติวัลลภ

ในฐานะกรรมการและเลขานุการคณะกรรมการสรรหาฯ ไดเสนอตอที่ประชุมสภามหาวิทยาลัย

เมื่อคราวประชุมครงที่ ๑๐/๒๕๕๓ โดยคณะกรรมการสรรหาฯ เสนอชื่อนายกิตติบดี ใยพูล เปนผูสมควร

ไดรับการพิจารณาแตงตั้งใหดํารงตําแหนงคณบดีคณะนิติศาสตร แตในรายงานการประชุมไดปรากฎ

ชัดวา คณะกรรมการสรรหาฯ ไดใหความเห็นเพิ่มเติมใหผูไดรับการสรรหามีภาระตองกระทําการ

ยืนบนความเปนธรรม สองนําดวยสัจจะ6

เพิ่มเติมและผานการประเมินผลโดยคณะกรรมการกํากับและประเมินผลฯ ซึ่งที่ประชุมสภาจึงแตงตั้ง

ใหนายกิตติบดีฯ รักษาการคณบดีคณะนิติศาสตรไปกอนเปนระยะเวลา ๖ เดือน และแตงตั้งคณะกรรมการ

กํากับติดตามประเมินฯ

จึงมีประเด็นทางกฎหมายวา

(๑) การที่คณะกรรมการสรรหาฯ ใหความเห็นเพิ่มเติมเสมือนหนึ่งการทดลองงาน

(Probation) นั้น เปนการกระทําการที่ชอบดวยกฎหมายหรือไม เพราะในทางปกครอง เมื่อไมมีกฎหมาย

ใหอํานาจไว ไมสามารถกระทําได โดยขอบังคับวาดวยการสรรหาคณบดีฯ ขอ ๑๐ “ใหอํานาจ

คณะกรรมการสรรหาคัดเลือกใหไดบุคคลผูสมควรดํารงตําแหนงคณบดี จํานวน ๑ ชื่อ โดยพิจารณาจาก

ประวัติ คุณสมบัติ ผลงาน ประสบการณ วิสัยทัศน แนวคิด แผนงาน และขอมูลอื่นที่เปนประโยชน

และสอดคลองกับสถานภาพและปุญหาของคณะ จากนั้นใหคณะกรรมการเสนอสภามหาวิทยาลัย

เพื่อพิจารณาแตงตั้งตอไป” ระเบียบดังกลาว กําหนดหนาที่ของคณะกรรมการมีเพียงพิจารณากลั่นกรอง

และคัดเลือกกอนนําเขาที่ประชุมสภา กฎหมายมิไดใหอํานาจหนาที่ในการใหความเห็นเพิ่มเติมตอสภา

การที่คณะกรรมการสรรหาฯ ไดใหความเห็นเพิ่มเติมซึ่งทําใหเกิดภาระเพิ่มเติม จะถือเปนการใชอํานาจ

เกินเลยกวาที่กฎหมายกําหนดไวหรือไม

(๒) การทีค่ณะกรรมการสรรหาฯไดเสนอชือ่แลว สภามหาวทิยาลยัมอีาํนาจพจิารณาไมแตงตัง้

หรือแตงตั้งเปนอยางอื่นไดหรือไม เพราะกฎหมายกําหนดเพียงวา ใหคณะกรรมการเสนอสภามหาวิทยาลัย

เพื่อพิจารณาแตงตั้งตอไป

(๓) การกํากับติดตามประเมินผล ซึ่งตลอดระยะเวลาดังกลาวไดดําเนินการสงเอกสาร/ขอมูล

ตางๆ ตามที่คณะกรรมการกํากับติดตามฯ ไดกําหนดเงื่อนไข แตไมปรากฎวามีการเชิญไปใหขอมูล

เพิ่มเติม หรือ แจงผลการประเมินมาใหทราบแตอยางใด ซึ่งตามระเบียบแบบแผนและหลักนิติธรรม

ตองแจงผลใหทราบลวงหนา เพื่อจะไดเตรียมความพรอมสําหรับการดําเนินการตอไป รวมถึงการใหโอกาส

ปรับปรุงแกไข หรืออุทธรณตอไป จึงสงสัยวาการปฏิบัติงานของคณะกรรมการชุดดังกลาวมีความโปรงใส

ปราศจากอคติหรือไม อยางไร

ยืนบนความเปนธรรม สองนําดวยสัจจะ 7

(๔) โดยเมื่อวันที่ ๑๓ มิถุนายน ๒๕๕๔ ขาพเจาไดมีหนังสือทวงสิทธิและใหมหาวิทยาลัย

เสนอแตงตั้งเปนคณบดีตามมติของคณะกรรมการสรรหาฯ ซึ่งทานอธิการบดีไดกรุณาตอบกลับเมื่อ

วันที่ ๑๔ มิถุนายน ๒๕๕๔ โดยแจงวา มหาวิทยาลัยไมสามารถเสนอชื่อทานตอสภามหาวิทยาลัย

เพื่อแตงตั้งใหดํารงตําแหนงคณบดีคณะนิติศาสตรได เนื่องจาก รายงานผลของคณะกรรมการฯ

เสนอตอที่ประชุมสภามหาวิทยาลัยครั้งที่ ๔/๒๕๕๔ เมื่อวันที่ ๑ มิถุนายน ๒๕๕๔ วาเพื่อใหการ

ดําเนินงานของคณะนิติศาสตรสามารถดําเนินการตอไปได เกิดประโยชนตอสวนรวมประเด็นตาง ๆ

ไดรับการแกไขอยางเปนระบบ คําตอบเชนนี้ก็เปนเชนเดิม กลาวคือ ไมมีรายละเอียดและเหตุผลประกอบ

อนึ่งกรณีตาม (๑)-(๔) นั้น เปรียบเปรยเหมือนผลไมของตนไมเปนพิษ หรือ “Fruit of

the poisonous tree” กลาวคือ ถาที่มาของจุดเริ่มตน (ตนไม) มีความดางพรอย มัวหมองหรือไมถูกตอง

แ ล ว ( T a i n t e d ) อ ะ ไ ร ก็ ต า ม ที่ เ ป น ผ ล ต า ม ม า ( ผ ล ไ ม ) ย อ ม ต อ ง มี ม ล ทิ น เ ช น นั้ น ด ว ย

สําหรับความตอนทายที่รักษาการคณบดี สรุปวา “จึงหมายความวา ขณะนี้ผลการสรรหา

คณบดีตัวจริงยังไมไดขอยุติ” จึงขัดแยงกันเองกับที่รักษาการคณบดีชี้แจงไวในขอ ๓ วา “สภามหาวิทยาลัย

ขอนแกน ฯ ไดพิจารณาเห็นชอบใหมีผูรักษาการคณบดีคณะนิติศาสตรคนใหมตอจากผูรักษาการ

คณบดีคนเดิม โดยมอบหมายใหพิจารณาดําเนินการปรับปรุงระเบียบวาดวยคณะนิติศาสตร การจัดระบบ

กระบวนการภายในกอนเริ่มกระบวนการสรรหาคณบดีใหมตอไป”

ขอ ๓. ตามคําชี้แจงขอ ๓-๔ ของรักษาการคณบดี ทําใหสามารถสรุปอยางนี้ไดหรือไม

ขอสังเกต

๓.๑ รักษาการคณบดีถูกสงเขามาโดยมีธงคําตอบเพื่อแกไขระเบียบฯ และเริ่ม

กระบวนสรรหาคณบดีใหมใชหรือไม

๓.๒ รักษาการคณบดีเริ่มทําการบานโดย (๑) สรางสถานการณความอึมครึม

ภายในขึ้นใชหรือไม ดังเชน เหตุอางเอกสารสูญหาย บุคลากรไมเชื่อฟง ทําใหบังเกิดความสงสัยใน

บุคลากรบางกลุม แนนอนวาเพื่อโยงใหถึงขาพเจา (๒) มีคําสั่งตัดโอนอัตราและยายขาพเจาและ

บุคลากรจํานวน ๑๔ คน ไปสังกัดหนวยงานอื่น ทั้งนี้ เพื่อตองการตัดสิทธิขาพเจาและบุคลากรในการ

เสนอชื่อผูสมควรดํารงตําแหนงคณบดี เนื่องจาก มีเหตุใหระยะเวลาการปฏิบัติราชการในคณะนั้นสะดุด

หยุดลงใชหรือไม

ยืนบนความเปนธรรม สองนําดวยสัจจะ8

ขอ ๔. การที่รักษาการคณบดีไดกลาวอางไวในขอ ๔ วา การแตงตั้งขาพเจาดํารงตําแหนง

อาจเกิดขอโตแยงและความขัดแยงภายในขึ้น โดยอางวา มีสโมสรนักศึกษาคณะนิติศาสตรมาเขาชื่อ

จํานวนมากเพื่อรองเรียนเกี่ยวกับพฤติกรรมการบริหารงาน

ขอสังเกต

รักษาการคณบดีตองการสื่อใหสาธารณชนเขาใจใชหรือไมวา ขาพเจาไมไดรับความไว

วางใจจากนักศึกษาทั้งหมดโดยเลือกใชคําวา “สโมสรนักศึกษา” เพราะ สโมสรนักศึกษาถือเปนตัวแทน

ของนักศึกษาทุกคน ขาพเจาจึงขอเรียนถามวา

๔.๑ สภามหาวิทยาลัยใชบริบทอื่นเขามาพิจารณาการสรรหาคณบดีคณะนิติศาสตร

ใชหรือไม

๔.๒ คณะกรรมการกํากับติดตามและประเมินผลฯ พิจารณาเรื่องอื่นประกอบนอกเหนือ

จากประเด็นที่มอบหมายใหขาพเจาดําเนินการใชหรือไม

๔.๓ การรองเรียนดังกลาวนั้น ไดกระทําการในนามสโมสรนักศึกษา หรือนามสวนบุคคล

การอางอิงสโมสรนักศึกษาเพื่อใหสื่อวาเปนผูแทนของนักศึกษาทั้งหมด ไดมีการจัดทําประชามติ

หรือประชุมกรรมการอํานวยการ/กรรมการบริหาร เพื่อขอมติที่ประชุมหรือไม

กรณีนักศึกษารองเรียนและไมสนับสนุนนั้น ก็เปนนักศึกษาสวนนอยและที่ผานมาเขาใจใน

ความแตกตาง ซึ่งเปนสิทธิเสรีภาพของปจเจกชน การใชอํานาจในฐานะเปนผูบริหารก็ใชหลักความเมตตา

เปนที่ตั้งประกอบกับความเปนศิษยอาจารย โดยหวังอยูเสมอวา เหตุการณที่เกิดขึ้นจักเปนอุทาหรณ

ใหนักศึกษากฎหมายไดรูจักถึงหลักการสดับตรับฟงและชั่งนํ้าหนักคําพยานตอไป เชนเดียวกัน

ความไมพอใจของนักศึกษากับผูบริหารคณะยอมมีอยูทุกคณะ หากแตไมลุกลามใหญโตเพราะเปน

ไปตามธรรมชาติและบริสุทธิ์ ปราศจากการตกเปนเครื่องมือของผู ใหญที่ ไรจรรยาบรรณ

แตการที่ รักษาการคณบดีกรุณาอางเหตุดังกลาว ทั้ งๆ ที่ทราบกันดีวา ในอดีต

มหาวิทยาลัยขอนแกนเคยประสบวิกฤตการณอยางไร ไมทราบเหมือนกันวา เราจะไมเรียนรูประสบการณ

ในอดีตเลยหรือ ถามิเชนนั้น ขาพเจาขอเสนอวาในการสรรหาทุกระดับภายในมหาวิทยาลัยขอนแกน

ไลมาตั้งแตสภามหาวิทยาลัย อธิการบดี คณบดี หัวหนาสวนงาน และหัวหนางาน ตองใหนักศึกษาเขามา

มีสวนรวมในการเลือกตั้งโดยตรง ควรมิควรฝากใหพิจารณา

ยืนบนความเปนธรรม สองนําดวยสัจจะ 9

๔.๔ สําหรับประเด็นเรื่องความไมพอใจหรือความขัดแยงของบุคลากรภายในองคกร

นั้น ถือเปนปกติที่มีอยูควบคูกับสังคมมนุษยทุกหมูเหลา ซึ่งเชื่อวาทุกหนวยงานในมหาวิทยาลัยขอนแกน

ยอมตองมีปรากฎการณเชนวานั้นดุจกัน หากแตสามารถแกไขปญหาไดโดยอาศัยหลักนิติธรรม

ปราศจากอคติ และไมเลือกปฏิบัติอยางไมเปนธรรม เพราะผูบริหารไมอาจสนองตอบความตองการ

ของทุกคนได แตผูบริหารมีหนาที่ตองมีจุดยืนทางจริยธรรมในการปกปองและรักษาประโยชนใหแก

องคกร และที่ผานมาขาพเจาในฐานะผูบังคับบัญชาไมเคยใชอํานาจในทางที่เปนโทษแกบุคลากร

ที่อยูในขบวนการดังกลาวเลย ทั้งที่มีประจักษพยานหลักฐานชัดเจน อาทิ การปลุกปนนักศึกษาโดย

ใหขอมูลเท็จ การนําเอาความในไปขายขางนอก ฯลฯ แตเลือกใชพรหมวิหารธรรมกับบุคลากรทุกคน

หากถึงที่สุดก็วางอุเบกขากับผูนั้น รวมถึงประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการปฏิบัติราชการ เพราะเขาใจ

ดีวา ความบกพรองผิดพลาดยอมเปนปกติธรรมดา สําหรับคนทํางาน โดยเฉพาะคณะที่เพิ่งเริ่มตน

หากแตพิจารณาวา บุคลากรดังกลาวตั้งใจทํางาน มีเจตนาดี ทุมเทการทํางาน และไมทุจริต สวนศักยภาพ

ที่เปนเลิศนั้น ตองอาศัยระยะเวลาเพื่อสงเสริมใหเกิดการพัฒนา มิใชเปนผูบังคับบัญชาที่โยนความผิด

ใหแกเพื่อนรวมงานแตประการใด ความดังกลาวสามารถไตถามไดจากบุคลากร

ความขอ ๔.๔ เรื่องความขัดแยงภายในเขาใจวา รักษาการคณบดีซึ่งทานเปนหนึ่งใน

คณะผูบริหารมหาวิทยาลัยคงทราบเปนอยางดี เพราะชวงเริ่มตนของผูบริหารมหาวิทยาลัยก็มีปรากฎการณ

ความขัดแยงภายในขึ้นหลายครั้งเชนกัน ซึ่งสังเกตวา ขอบกพรองที่ผูบริหารพึงตองระมัดระวังและ

ทบทวนไดแกเรื่อง “อํานาจ” และ “การใชอํานาจ” โดยเฉพาะอยางยิ่งอํานาจที่มาจากบทบัญญัติ

แหงกฎหมาย เพราะ เมื่อวินาทีใดที่ใชอํานาจตามกฎหมาย ความรับผิดยอมผูกพันกับผูใชอํานาจ

นับแตวินาทีนั้นอยางมิอาจปฏิเสธได ซึ่งหากการใชอํานาจเปนการใชอํานาจที่เกินขอบเขต ลุแกอํานาจ

ไมตรงตามเจตนารมณของกฎหมาย ไมเคารพศักดิ์ศรีความเปนมนุษยและ/หรือมีอคติเพราะเหตุอื่นใด

ความรับผิดยอมผูกพันมากขึ้นเปนลําดับ ยิ่งในบริบทปจจุบัน

ยืนบนความเปนธรรม สองนําดวยสัจจะ10

ขอ ๕. ตามคําชี้แจง ขอ ๕ รักษาการคณบดี ใหขอมูลทํานองวา ตําแหนงรองอธิการบดี

ฝายแผนและพัฒนาบุคลากร มีภาระงานมากอยูแลว แตจําใจตองรับตําแหนงและเขาใจดีวาเผชิญกับ

ปญหาอยางแนนอน นั้น

ขอสังเกต

๕.๑ เมื่อขาพเจาพบกับรักษาการคณบดี ทานมักจะอางความเปนพี่นองอยูเสมอ และ

ขาพเจาสัมผัสไดวา รักษาการคณบดีทานนี้เปนคนดี มีความสามารถ มีเทคนิคชั้นครูในการประนีประนอม

ซึ่งตอนสรรหาอธิการบดีครั้งลาสุด ยังบนเสียดายวา รองศาสตราจารยรังสรรคฯ มีบุคลิกภาพและ

คุณสมบัติเหมาะสมกับตําแหนงอธิการบดี ไมยิ่งหยอนกวาทานเดิม หากไดรับการสนับสนุน

ทีก่ลาวมาขางตน เพือ่ใหทราบวา ขาพเจามคีวามรูสกึทีด่กีบัรกัษาการคณบดทีานนี ้แตความดแีละความชืน่ชม

เปนคนละเรื่องกับความถูกตองและเปนธรรม โดยขาพเจาเตือนทานอยางกัลยาณมิตรวา การแตงตั้ง

ทานเปนรักษาการคณบดีคณะนิติศาสตร อาจไมชอบดวยกฎหมายเนื่องจาก การปฏิบัติหนาที่รักษาการ

คณบดีตามที่สภามอบหมาย เชน การปรับแกไขระเบียบ การปรับปรุงระบบงาน การเขามาปรับเปลี่ยน

โอนยายบุคลากร ฯลฯ เปนการปฏิบัติหนาที่เชนเดียวกับคณบดีคณะนิติศาสตร ดังนั้น คุณสมบัติ

ของรักษาการคณบดีคณะนิติศาสตรจึงตองเปนดุจเดียวกับคณบดีคณะนิติศาสตร แตทานไมมี

คุณสมบัติดังกลาว ตามที่ระบุไวในขอ ๙ วรรคสองแหงระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแกนวาดวย

คณะนิติศาสตร พ.ศ. ๒๕๔๙ ซึ่งเปนไปตามประกาศสภามหาวิทยาลัยเรื่องจัดตั้งคณะนิติศาสตร

และเปนบทบัญญัติเฉพาะที่กํากับการใชอํานาจตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยขอนแกน พ.ศ. ๒๕๔๑

ดังนั้น การที่สภามหาวิทยาลัยขอนแกนใชอํานาจตามพระราชบัญญัติฯ โดยไมคํานึงถึงบทบัญญัติเฉพาะ

ยอมเปนการใชอํานาจที่ไมชอบดวยหลักนิติธรรม

ความในวรรคกอน เปรียบไดกับ “งาชางยอมไมเคยงอกจากปากสุนัข” เฉกกัน

๕.๒ เมื่อที่มาของอํานาจชอบธรรมเปนที่สงสัย การใชอํานาจจะชอบธรรมหรือไม จะ

เปนการใชอํานาจที่มีเจตนาแฝงหรือไม ดังไดตั้งขอสังเกตไวในขอ ๓ (๓.๑-๓.๒) เพราะ ในศตวรรษ

ที่ ๒๑ นี้ คนที่มีอํานาจไมสามารถใชอํานาจโดยปราศจากตรวจสอบได

ยืนบนความเปนธรรม สองนําดวยสัจจะ 11

๕.๓ การที่รักษาการคณบดีอางวา จะยึดหลักประนีประนอมไมรื้อฟนเรื่องอดีต สานตอ

งานเดิม และงานเฉพาะหนาใหดําเนินการตอไปไดนั้น

ขาพเจาไมสูแนใจวา นโยบายของผูรักษาการคณบดีจะอยูภายในขอบวัตถุประสงคที่

สภามหาวิทยาลัยมอบหมายหรือไม และที่สําคัญไมมีหลักการประนีประนอมใด ที่จะยอมไกลเกลี่ย

ระหวางความถูกตองกับความไมถูกตอง การไมรื้อฟนเรื่องในอดีตนั้น อาจทําใหรักษาการคณบดีมี

มลทินวา เปนผูมีสวนสนับสนุนขบวนการดังกลาว ชวยเหลือปกปดความผิดหรือไม ซึ่งอาจขยายผล

ไปถึงการเปนเจาพนักงานละเวนการปฏิบัติหนาที่โดยมิชอบ เพื่อใหเกิดความเสียหายแกผูหนึ่งผูใด

ซึง่กฎหมายอาญาบญัญตัโิทษจาํคกุตัง้แตหนึง่ปถงึสบิป ความขอนี ้ทาํใหนกึขึน้ไดวา อธกิารบดทีานปจจบุนั

ก็เชนกันมักจะอางวา มีผูรองเรียนขาพเจากับองคกรอิสระ และสภามหาวิทยาลัยไดสงตอใหอธิการบดี

ดําเนินการ แตอางวาทานไมดําเนินการตอ (เก็บเขาลิ้นชัก) ทํานองใหเขาใจไดวาชวยเหลือขาพเจา

ซึ่งรักษาการคณบดีและอธิการบดีจักไมรูเลยหรือวา หลักการพื้นฐานของผูบริหารคือการใหความเปนธรรม

โดยมีสัจจะเปนเครื่องมือใหเกิดความเปนธรรม มิใชการกวาดขยะซุกเขาใตพรม ซึ่งไมมีวันที่จักพูดไดวา

บานนี้สะอาดและมีธรรมาภิบาล

การแสวงหาสัจจะภายในคณะนิติศาสตรไมยาก เพียงผูบริหารใชความกลาหาญ โดย

ทบทวนวา กลัดกระดุมผิดที่ตรงจุดใด จุดเริ่มของปญหาความขัดแยงอยูที่ใด ใครมีเจตนาแฝงเรน

เพื่อประโยชนแหงตนและพวกพองอยางไร ซึ่งขาพเจาไดเลาใหรักษาการคณบดีทราบถึง “ขบวนการ

เหลือบทางการศึกษานิติศาสตร หากไมเชื่อขาพเจา ก็อาจใชขอมูลที่ไดเปนเงื่อนงําไปสูการแสวงหา

พยานแวดลอมอยางมหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง มหาวิทยาลัย

พะเยา รวมถึงอีกหลายสถาบันมาประกอบการแสวงหาขอเท็จจริง และทานจักพบเครือขายกลุม

ธุรกิจการศึกษาที่ถักทออยางเปนระบบ โดยจะโยงใยมาที่สภามหาวิทยาลัยแหงนี้ดวยหรือไม สุดที่จะ

คาดหมายได

ยืนบนความเปนธรรม สองนําดวยสัจจะ12

๕.๒ นโยบายรักษาการคณบดี “สานตองานเดิม” และ “งานเฉพาะหนา”

เทาที่ทราบ รักษาการคณบดีไดดําเนินการตางกรรมตางวาระดังนี้

(๑) ตัดโอนและ/หรือยายบุคลากรทั้งสายผูสอนและสายสนับสนุนไปสังกัดหนวยงานอื่น

(๒) ทําลายระบบวินัยทางการเงินโดยขยายวงเงินจากเดิมที่คุมยอดอยูที่ ๒ ลานบาท เปน

๓ ลานบาท

(๓) ไมใหเกียรติทานที่ปรึกษาซึ่งเปนอาจารยผูอาวุโส โดยไมทําตามที่ตนรับปากไว

(๔) เสนอแตงตั้งรักษารองคณบดี

(๕) ปรับเปลี่ยนอัตรากําลังสายสนับสนุนเปนสายผูสอน โดยพลการและไมคํานึงถึงอัตรา

เดิม ซึ่งวางแผนไวเพื่อความกาวหนาของสายสนับสนุน และไมมีอัตราทดแทน

(๖) ละเลยเพิกเฉยไมดําเนินการใด ๆ ตามขั้นตอนทางราชการ เมื่อบุคลากรรองเรียนวา

ถูกคุกคามจากบุคลากรภายในคณะ

การกระทาํ (๑) - (๖) รกัษาการคณบดใีชอาํนาจกระทาํการโดยไมผานคณะกรรมการบรหิาร

คณะตามที่สภามหาวิทยาลัยเคยใหคําแนะนําแกรักษาการคณบดีคนเดิมไว หรือจะวาไปการเปลี่ยนคน

อาจทําใหมาตรฐานเปลี่ยนไปดวยก็เปนเปนได ดังที่สังคมคุนชินกับคําวา ๒ มาตรฐาน

ขอ ๖. ตามขอ ๖ ของคําชี้แจงฯ รักษาการคณบดีไดอธิบายถึงปญหาตาง ๆ ที่เกิดขึ้น

ภายในคณะตั้งแตขอ ๖.๑-๖.๑๑

ขอสังเกต

(๑) เรื่องความเหมาะสมถึงจรรยาบรรณและมารยาทของผูบริหารองคกร การที่ผูดํารง

ตําแหนงผูบริหารนําความบกพรองหรือจุดออนขององคกรมาเปดเผยสูสาธารณะ ยอมสงผลกระทบ

กระเทือนทั้งทางตรงและทางออมตอความเชื่อมั่นและศรัทธาแกองคกร สถาบัน เปนการบังควรแลวหรือ

ซึ่งในหลักการบริหารจัดการองคกร ไมวาภาครัฐหรือภาคเอกชน ถือวาเรื่องละเอียดออนเชนวานั้นเปน

สิ่งตองหามและเปนคุณธรรมขั้นสูงของผูบริหาร เสมือนการ “สาวไสใหกากิน” เขาลักษณะ “การขาย

ขอมูลภายใน” หรือ หลัก Insider และ/หากแมวา ความเชื่อมั่นของนักศึกษา ประชาคม และสังคม

ที่มีตอคณะลดลงหรือเสื่อมถอย ใครจะเปนผูรับผิดชอบ หรือองคกรวิชาชีพมีขอสงสัยจากขอมูลที่ทาน

รักษาการคณบดีไดเผยแพรออกไป วาแตเดิมเมื่อเขาตรวจรับรองมาตรฐานมหาวิทยาลัยไดใหขอมูลไมตรง

ยืนบนความเปนธรรม สองนําดวยสัจจะ 13

กับขอมูลใหม และขอตรวจสอบใหมอีกครั้ง ใครจะเปนผูรับผิดชอบ หรือผูใชบัณฑิตไมเชื่อมั่นตอ

คุณภาพการศึกษา ซึ่งอาจสงผลกระทบตอโอกาสในการทํางานของบัณฑิตดวยไซร ใครจะเปน

ผูรับผิดชอบ เปนตน

ทั้งนี้ ในการเปดเผยขอมูลทางราชการ เพื่อความโปรงใสตามหลักธรรมาภิบาลนั้น ไมได

ความหมายวา จะสามารถเปดเผยขอมูลทางราชการไดอยางอําเภอใจ การเปดเผยขอมูลตองเปนไปอยาง

ระมัดระวังไมใหไปกระทบกระเทือนตอสิทธิเด็ดขาดของผูอื่น กระทําเทาที่จําเปน ในวาระเทศะที่เหมาะสม

และเปดเผยกับผูที่มีอํานาจหรือสิทธิที่จะรับรูเทานั้น แตคําลงทายของหนังสือชี้แจงของรักษาการคณบดี

กลับสงเสริมใหมีการเผยแพรขอเท็จจริงดังกลาวในวงกวางยิ่ง ๆ ขึ้นไปจนถึงขนาดมีผูเอาไปเผยแพร

ใน social network เอาทีเดียว

อนึ่ง นาเสียดายยิ่งทีี่ตําราทางการบริหารไมไดอธิบายใหทราบวา เมื่อคนโลภ คนโงเขลา

และคนบาอํานาจมารวมกันเปนฝายบริหาร องคกรจะเปนอยางไร

(๒) ขอเท็จจริงที่ปรากฎตามขอ ๖.๑-๖.๑๑ แสดงใหเห็นชัดวา ทานรักษาการคณบดีได

ใหขอเท็จจริงอยางขาวเปนเทา ไมทราบวาเปนการจงใจหรือบกพรองในการตรวจสอบขอมูลกอนเสนอ

ตอสาธารณะอยางปราศจากความรับผิดชอบ โดยจําแนกใหเห็นเปนประเด็นดังนี้

๒.๑ สืบเนื่องจาก ๖.๑ อางถึง สถานภาพของคณะนิติศาสตรวาไมมีความชัดเจนวา

เปนองคกรในกํากับหรือหนวยงานภายใน

ขอเทจ็จรงิ : คณะนติศิาสตรไดถกูจดัตัง้ขึน้โดยประกาศสภามหาวทิยาลยั ที ่๒/๒๕๔๙

ซึง่ไดกาํหนดไวอยางชดัเจน ตามขอ ๓ วา “ใหจดัตัง้คณะนติศิาสตร เปนหนวยงานหนึง่ของมหาวทิยาลยั

มีสถานะเทียบเทากับคณะตางๆ ของมหาวิทยาลัย เวนแตกรณีที่มีกฎหมายกําหนดไวเปนการ

เฉพาะ”

โดยขอ ๔ กําหนดวา “การบริหารงานของคณะนิติศาสตรใหเปนไปตามระเบียบ

มหาวิทยาลัยขอนแกน วาดวยคณะนิติศาสตร พ.ศ. ๒๕๔๙”

ยืนบนความเปนธรรม สองนําดวยสัจจะ14

หมายความวา คณะนิติศาสตรมีสถานะเปนหนวยงานที่มีสถานะเทียบเทากับคณะตาง ๆ

ของมหาวิทยาลัย และไมใชมีสถานภาพเปนองคกรในกํากับ โดยการบริหารจัดการคณะตองอิงกับ

กฎหมายเฉพาะไดแก ระ เบียบมหาวิทยาลัยขอนแกน ว าด วยคณะนิติศาสตร พ .ศ .๒๕๔๙

ซึ่งบทเฉพาะกาลขอ ๒๗ ใหผูอํานวยการตามคําสั่งมหาวิทยาัยขอนแกนที่ ๑๐๓๒/๒๕๔๘ ปฏิบัติหนาที่

รักษาการคณบดี และใหคณะกรรมการบริหารหลักสูตรตามคําสั่งที่ ๑๖๑๙/๒๕๔๘ ปฏิบัติหนาที่

รักษาการคณะกรรมการประจําคณะ โดยการปฏิบัติหนาที่ดังกลาววรรคสาม กําหนดใหทําไปพลางกอน

จนกวาจะมีการตราระเบียบ หรือคําสั่งเปลี่ยนแปลงตอไป ดังนั้น

(ก) การบริหารงบประมาณจึงอยูภายใตระบบการเงินการคลัง การพัสดุ และระบบการ

ตรวจสอบของมหาวิทยาลัย

(ข) การบริหารงานบุคคลอยูภายใตระบบการบริหารงานบุคคลของมหาวิทยาลัย

(ค) อาจารยประจําคณะ ไดมีกําหนดไวเฉพาะในขอ ๑๒ ของระเบียบฯ เนื่องจากลักษณะ

เฉพาะของศาสตร และเอื้อประโยชนตอความเชื่อมั่นเชื่อถือของสังคม

(ง) สวนขอสงสัยเรื่องการออกระเบียบภายในวาเปนอํานาจของผูใดนั้น ขอ ๑๕ แหง

ระเบียบฯ ไดกําหนดไวใน (๓) วา “ใหคณบดีมีอํานาจออกระเบียบ ขอบังคับ หรือคําสั่งภายในกิจการ

ของคณะ”

ดังนั้น การที่รักษาการคณบดีอางถึงความไมชัดเจน ทั้งๆ ที่สามารถตรวจสอบไดในชั้นตน

จากเอกสารอางอิง จึงเปนกรรมที่สอเจตนาในทางไมสุจริตอยางชัดแจง ซึ่งเปนคนละเรื่องคนละประเด็น

กับการที่ระเบียบภายในของมหาวิทยาลัยไมตรงกับคํานิยามความหมายของเกณฑจากหนวยงาน

ภายนอก เพราะเรื่องเชนวานั้น ถือเปนประเด็นทางการบริหารจัดการมิใชประเด็นเรื่องอํานาจและหนาที่

ความชอบดวยกฎหมายตามที่ทานรักษาการคณบดีเขาใจ

๒.๒ สืบเนื่องจากขอ ๖.๒ ใหขอมูลวา คณะนิติศาสตรมีผลการประเมินอยูลําดับทายของ

คณะตาง ๆ นั้น ขอเรียนชี้แจงวา

หากที่ผานมาของคณะนิติศาสตร นั้น การบริหารงานของคณะมีผลงานยํ่าแยอยางที่

กลาวหาจริง เพราะเหตุใดสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัย จึงยอมปลอยใหขาพเจาปฏิบัติหนาที่

ยืนบนความเปนธรรม สองนําดวยสัจจะ 15

รักษาการคณบดีมาตลอดนับแตพ.ศ. ๒๕๔๙ ซึ่งทั้งอธิการบดีและรักษาการคณบดี รวมถึงนายกสภา

มหาวิทยาลัยก็เปนสวนหนึ่งของผูบริหารในบริบทเชนนั้น

แตอยางไร ขอเรียนใหทราบวา การทํางานระหวางคณะกับผูบริหารที่ผานมาเปนไป

อยางถอยทีถอยอาศัย ตางมีความเขาใจในขอจํากัดของแตละฝาย โดยเฉพาะคณะที่อยูในระยะกอตั้ง

ปจจัยความพรอมทั้งดานกายภาพ บุคลากร และโครงสรางระบบงานตาง ๆ อยูในชวงของการเรียนรู

เพื่อใหเกิดการพัฒนา ซึ่งความเขาใจเชนวานี้ทําใหบังเกิดการปกปองอยางเปนกัลยาณมิตร โดยถือ

หลักการพัฒนาอยางคอยเปนคอยไป แตสิ่งที่รักษาการคณบดี ซึ่งสวมหมวกใบแรกเปนรองอธิการบดี

ฝายแผนและพัฒนาบุคลากร กลับกลาวหาโดยดูประหนึ่งวา จะไมเขาใจบริบทของคณะนิติศาสตรเลย

โดยโยนจุดออนและความบกพรองที่เกิดขึ้นทุกประการใหแกคณะถายเดียว แตกลับไมประชุม

ทบทวนและกลาแสดงความรับผิดชอบในฐานะ “ผูบริหารสูงสุด” ที่มีหนาที่เปนเสมือน “พอแม

หรือกัปตัน” แตกลับปดภาระความรับผิดชอบ โดยชี้มูลความผิดพลาดใหแก “ผูใตบังคับบัญชา” ซึ่ง

เปรียบเสมือน “ลูกหรือลูกทีม” เมื่ออาจเกิดผลกระทบตอมหาวิทยาลัย โดยไมสํารวจตรวจตรา

วาตนไดทําหนาที่สงเคราะห ชวยเหลือ และอุดหนุนใหลูกไดเติบใหญเปนหลักเปนฐานที่มั่นคง

แลวหรือยัง อุปมาเหมือนดั่งนิทานอีสปเรื่องลูกแกะกับสุนัขจิ้งจอก ที่สุดทายลูกแกะยอมเปนเหยื่อ

อยูวันยังคําฉันใด เลหของสุนัขจิ้งจอกยอมตองเอาตัวรอดฉันนั้น

๒.๓ สืบเนื่องจากขอ ๖.๓ ไดกลาวหาวา คณะนิติศาสตรไมสงรายงานประจําป

รายงานทางการเงิน และรายงานผลการดําเนินการหลักสูตร ในลักษณะโครงการพิเศษ

ขอเท็จจริง : การตรวจประเมินประจําป เพื่อกํากับมาตรฐานคุณภาพการศึกษา

ภายในเปนหนาที่ที่ทุกคณะจะตองไดรับการตรวจ และการตรวจประเมินมีปฏิทินการดําเนินการเปน

ประจําตอเนื่อง รักษาการคณบดีกําลังจะกลาวหาวา สํานักงานประเมินฯ ไมปฏิบัติหนาที่หรืออยางไร

ไมทราบได และรายงานประจําปของคณะนิติศาสตร ป ๒๕๕๐-๒๕๕๓ คุณวรวิทย ไชยตา งานแผนฯ

ไดยืนยันการสงรายงานกับคุณภาวนา กิตติวิมลชัย นักวิเคราะหนโยบายและแผน การที่ไมปรากฎขอมูล

ยอมไมอาจหยั่งทราบไดวาระบบการจัดเก็บเอกสารของหนวยงานดังกลาวเปนอยางไร หากแตตองการ

ขอมูล ทานในฐานะเปนรักษาการคณบดียอมสามารถขอไดจากงานแผนของคณะไดอยูเสมอ

ยืนบนความเปนธรรม สองนําดวยสัจจะ16

สําหรับรายงานทางการเงินก็เชนกัน คณะไดมีการรายงานทางการเงิน เปนประจําทั้ง

รายเดือน และรายงานประจําปตามระเบียบมหาวิทยาลัย และระบบการบริหารจัดการงบประมาณ

ของคณะ ก็อยูภายใตระเบียบแบบแผนและระบบของกองคลัง ทั้งในสวนการเงิน การบัญชี การพัสดุ และ

การตรวจสอบภายใน เนื่องจาก คณะนิติศาสตรมิใชองคกรในกํากับ เปนแตเพียงแตกตางกับคณะอื่น

อยูตรงอาศัยเงินรายไดของตนเปนหลักเทานั้น

สวนการรายงานผลการดําเนินการของหลักสูตรในลักษณะโครงการพิเศษ ดังกลาวอางนั้น

เมื่อหลักสูตรในลักษณะโครงการพิเศษ สังกัดคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตรไดเปลี่ยนสถานภาพ

เปนโครงการจัดตั้งคณะนิติศาสตร และคณะนิติศาสตรเปนลําดับแลว มีเหตุผลใดที่จําตองรายงานผล

ตามระเบียบวาดวยหลักสูตรในลักษณะโครงการพิเศษ

๒.๔ สืบเนื่องจากขอ ๖.๔

ขอเท็จจริง : การับนักศึกษาตามที่กลาวอางไดผานความเห็นชอบของคณะกรรมการ

บริหารคณะอยางถูกตองแลว ซึ่งรักษาการคณบดีสามารถสอบถามไดจากที่ประชุมกรรมการบริหารคณะ

โดยการรับนักศึกษาในแตละปการศึกษานั้น ทางคณะมีหนาที่ตองแจงขอมูลกับทาง

มหาวิทยาลัย (สํานักทะเบียนและประมวลผล) ซึ่งในปการศึกษา ๒๕๕๔ ตามอางคณะไดแจงการ

รับนักศึกษารวม ๔ วิธี กลาวคือ (๑) การรับตรงโควตาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (๒) การรับในระบบ

แอดมิชชั่น (๓) การรับโดยวิธีสอบตรง และ (๔) การรับนักศึกษาอื่น รวม ๔๐๐ คน สวนประเด็นการ

เรียกนักศึกษาเพิ่มเติมรอบที่สอง เนื่องจาก ยังมีที่นั่งวางอยูอีกประมาณ ๖๐ ที่นั่ง ดังนั้นเพื่อใหครบ

ตามจํานวนและเปดโอกาสทางการศึกษาจึงเรียกเพิ่มเติมอีก ๑๒๐ คน ซึ่งเผื่อสละสิทธิ เนื่องจาก

ระยะเวลาดังกลาวสถาบันอุดมศึกษาตาง ๆ อยูในชวงกําลังเปดภาคเรียน และการเรียกเพิ่มเติม

คณะไดนักศึกษาเพิ่มเติมอีก ๕๐ คนโดยประมาณ

เพราะเหตุที่คณะอาศัยเงินรายไดเปนหลักในการพึ่งพาตนเอง และไมไดรับงบประมาณ

สนบัสนนุหรอือดุหนนุจากมหาวทิยาลยั จงึจาํเปนตองมปีรมิาณนกัศกึษาทีเ่พยีงพอตอการจดัการศกึษา

อยางมีคุณภาพ และที่ผานมาการจัดการศึกษาของคณะเปนที่ยอมรับอยางสูงทั้งคุณภาพและมาตรฐาน

โดยขอใหเปรียบเทียบกับการจัดการศึกษานิติศาสตรของสถาบันอื่นที่มีลักษณะใกลเคียงกันเปน

เครื่องชี้วัด ประจักษพยานในขอนี้รักษาการคณบดีสามารถสอบถามไดจาก

ยืนบนความเปนธรรม สองนําดวยสัจจะ 17

คณาจารยผูทรงคุณวุฒิ และ/หรือบรรดาศิษยเกา ศิษยปจจุบันวา มีความภูมิใจกับคุณภาพมาตรฐาน

ทางวิชาการที่คณะคัดสรรมาใหหรือไมเพียงใด รวมตลอดถึงการหาขอมูลจากแวดวงนิติศาสตร

วามีความชื่นชมกับแนวทางการจัดการศึกษาของคณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกนอยางไร

เพราะมิเชนนั้น ผูทรงคุณวุฒิในวงการนิติศาสตรระดับประเทศ คงไมใหความกรุณาและไววางใจ

แกคณะนิติศาสตรแหงนี้ รวมถึงการที่สถาบันอื่นเขาเยี่ยมชมกิจการและศึกษาดูงาน ตลอดจนเชิญ

ใหเปนกรรมการผูทรงคุณวุฒิในการจัดทําหลักสูตรอยางตอเนื่อง หากปรากฎขอเท็จจริงดังที่รักษาการ

คณบดีไดใหขอมูลไว

อยากเรยีนทานรกัษาการคณบดวีา ไมมหีลกัการบรหิารทฤษฎไีหน ทีส่อนวาใหใชหใูน

การบรหิารงาน เพราะ บรรดาเจาทฤษฎทีัง้หลายเขาใจดวีา พระเจาสรางหมูาสองขาง เพือ่สดบัตรบัฟงความ

ใหรอบดาน แตวันนี้ ทานรักษาการคณบดีคณะนิติศาสตรไดใชหูทั้งสองขางแลวหรือยัง ดังการอางอิง

เกณฑมาตรฐานของสกอ.เรื่องสัดสวนอาจารยตอนักศึกษา เสมือนทานไมเขาใจถึงเรื่องการพัฒนา

อยางคอยเปนคอยไป โดยคํานึงถึงคุณภาพมาตรฐานของครูบาอาจารยที่มาถายทอดความรูใหแก

นักศึกษา ซึ่งสาขาวิชานิติศาสตรเปนสาขากึ่งวิชาชีพ การมีอาจารยพิเศษผูทรงคุณวุฒิภายนอกเปน

อาจารยผูรับผิดชอบรายวิชา ยอมแสดงถึงศักยภาพและคุณภาพในการจัดการศึกษาเปนที่ยอมรับนับถือ

และความหลากหลายอยางมีคุณภาพดังกลาวถือเปนจุดแข็งของคณะนิติศาสตร สถาบันแหงนี้

เกณฑมาตรฐานของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาเรื่องสัดสวนอาจารยตอ

นักศึกษาที่อางนั้น เปนเพียงตัวบงชี้เพื่อใหการจัดการศึกษาเปนไปอยางมีคุณภาพ แตทั้งนี้ จะตอง

สอดคลองกับลักษณะการเรียนการสอนที่ใชในแตละศาสตรดวย นั่นหมายความวา คุณภาพทางวิชาการ

เปนเรือ่งสาํคญัของการจดัการศกึษา / การทีค่ณะคดัสรรอาจารยทีม่คีณุภาพและความรูความเชีย่วชาญเฉพาะ

มาเปนอาจารยผูรบัผดิชอบบรรยายรายวชิาใหแกนกัศกึษา ตองถอืวาเปนไปตามเจตนารมณของการจดัการ

ศึกษาอยางมีคุณภาพ และสอดคลองกับลักษณะเฉพาะของการจัดการศึกษานิติศาสตร

สําหรับการใหขอมูลวามีอาจารยประจําตามเกณฑอยูเพียง ๕ คน ก็เปนความเท็จ

เนื่องจาก อาจารยจํานวน ๕ คนตามอางนั้น เปนอาจารยที่ปรากฎตามเลขที่อัตรากําลังของ

มหาวิทยาลัย โดยที่ผานมาคณะไดจัดทําแผนพัฒนาอัตรากําลังบุคลากรสายผูสอนเสนอตอ

มหาวิทยาลัย จํานวน ๑๐ อัตรา ปรากฎวา มหาวิทยาลัยจัดสรรอัตรากําลังอาจารยประเภทเงินรายได

ยืนบนความเปนธรรม สองนําดวยสัจจะ18

จํานวน ๒ อัตรา ประกอบกับขอ ๑๒ แหงระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแกนวาดวย คณะนิติศาสตร

พ.ศ. ๒๕๔๙ ไดกําหนดที่มาของอาจารยไวหลายประเภท รวมทั้งสิ้น ๑๒ คน ทั้งอาจารยประจํา

ประเภทสัญญาจางเฉพาะกิจ และอาจารยตามโครงการพัฒนาบัณฑิตเปนบุคลากรสายผูสอน โดย

มหาวิทยาลัยไดมีคําสั่งแตงตั้งใหเปนอาจารยประจําคณะนิติศาสตร จากขอมูลดังกลาวทําใหปจจุบัน

คณะนิติศาสตรมีบุคลากรสายผูสอนรวม ๑๗ คน

ที่สําคัญ คณะไดวางแผนพัฒนาบัณฑิตเพื่อกลับมาเปนอาจารยในระยะที่ ๒ อีก ๑๐ คน

ในระหวางพ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๘ เพื่อสงเสริมพัฒนาบุคลากรสายผูสอนใหเปนกําลังสําคัญในการบริหาร

จัดการศึกษาคณะนิติศาสตรอยางยั่งยืนตอไป

๒.๕ สืบเนื่องจาก ขอ ๖.๕

ขอเท็จจริง : การฟองรอง และกลาวหาแกขาพเจา

ประเดน็ทีม่อีาจารยไดฟองรองดาํเนนิคดแีกขาพเจา กม็พีฤตกิรรมการประวงิคดมีาโดยตลอด

ขอเลื่อนศาลชั้นไตสวนมูลฟอง มาแลว ๒ ครั้ง เหตุที่ไมตอบโตเพราะเขาใจวาการดํารงตําแหนงคณบดี

คือ บุคคลสาธารณะที่ผูมีสวนไดเสียพึงวิพากษวิจารณไดโดยสุจริต สวนคดีความที่ถูกฟองก็

หวังแตเพียงวา นัดครั้งที่สาม อาจารยผูฟองคงไมแถลงศาลขอเลื่อนคดีอีก รวมถึงถอนฟอง หรือทิ้งฟอง

คดีนั้น ซึ่งขาพเจาไดมีหนังสือเรียนแจงแกอัยการเจาของสํานวนแลวใหกรุณาคัดคานการเลื่อนคดี

และจะยํ้าใหมีการแถลงคัดคานการเลื่อนคดี ถอนฟองอีกทางดวย

การฟองคดีนี้ไดกลาวหาวา ขาพเจาเปนเจาพนักงานทุจริตตอหนาที่ราชการ ตาม

ประมวลกฎหมายอาญามาตรา ๑๕๗ และความผิดฐานยักยอกทรัพย ซึ่งไมขออธิบายรายละเอียดใน

ที่นี้ แตอยากจะขอใหนักศึกษาที่มีหัวใจยุติธรรม ประชาคมนิติศาสตร และทุกทาน ชวยเปน

กําลังใจและสนับสนุนใหอาจารยผูฟองคดีโปรดกรุณาอยาเลื่อนคดีอีก หรือถอนฟอง หรือทิ้งฟอง

โดยอางเหตุวา ขาพเจาไมไดเปนคณบดีแลว เนื่องจากนักนิติศาสตรไมควรไกลเกลี่ยหรือใหอภัยตอ

ทุจริตชน หรือผูฟองซึ่งมีความรูทางกฎมายทราบเปนอยางดีวา ความรับผิดทางอาญาฐานแกลงเอา

ความเท็จใหผูอื่นรับโทษทางอาญา ฟองเท็จ พยานเท็จ และเบิกความอันเปนเท็จมีองคประกอบความผิด

และโทษทางอาญาอยางไร

ยืนบนความเปนธรรม สองนําดวยสัจจะ 19

ขอเท็จจริง : ขอรองเรียนที่มีพฤติกรรมการบริหารงานไมโปรงใส

ตามที่รักษาการคณบดีกลาวอางไวในขอ ๖.๕ นั้น มหาวิทยาลัยไดมีคําสั่งแตงตั้ง

คณะกรรมการสอบสวนหาขอเท็จจริง (๓๘๗/๒๕๕๔) ลงวันที่ ๒๘ มกราคม ๒๕๕๔ ทําหนาที่สอบสวน

ขอเท็จจริงกรณีที่ขาพเจาถูกกลาวหาและรองเรียนวามีพฤติกรรมทุจริต ซึ่งนับแตวันมีคําสั่งจนกระทั่ง

ปจจุบันลวงมากวา ๕ เดือนแลวยังไมทราบผลการสอบสวน โดยขาพเจาไดมีหนังสือถึงอธิการบดี

ขอทราบและเปดเผยผลการสอบสวนดังกลาว โดยอาศัยอํานาจตามพระราชบัญญัติขอมูลขาวสาร

ของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐ ซึ่งนัยยะแหงขอเท็จจริงขาพเจาไดใหรายละเอียดอยางครบถวนแก

คณะกรรมการสอบสวนแลว

สําหรับประเด็นการที่มักโจมตีขาพเจาวาไมยึดระเบียบแบบแผนทางราชการนั้น ใน

สถานการณของขาพเจาไมอาจยึดระเบียบทางราชการไดอยางเครงครัด แตมีความกลาหาญในการ

ตัดสินใจเพื่อประโยชนของนักศึกษาและภาพลักษณของคณะเปนสําคัญ และการไมยึดระเบียบแบบแผน

ราชการนั้นไมไดมีการทุจริตแตประการใด ซึ่งตามหลักนิติรัฐและสุจริตชนผูบริหารจําตองอยูภายใต

หลักธรรมาภิบาล การที่จะกลาวหาผูใดไปในทางเสื่อมเสียชื่อเสียง เกียรติคุณ ทางเจริญและสิทธิอื่นๆ

จําตองมีพยานหลักฐานที่เพียงพอประกอบการกลาวหามิใชอาศัยเพียงจินตนาการตามความรูสึกนึกคิด

หรือประสบการณของตนเอง ซึ่งการจินตนาการหรืออาศัยบรรทัดฐานแหงตนมาเปนกรอบความคิด

โดยปราศจากพยานหลักฐานใด ๆ ไดกอใหเกิดความเสียหายแกขาพเจา อนึ่งเขาใจวา การดังกลาว

อาจทําใหบางสวนมองวา ขาพเจาไมใหความสําคัญ แตขอเรียนวา ขาพเจาไมไดมีเจตนา เพียงตองการ

ผลลัพธเพื่อรักษาประโยชนขององคกรเปนที่ตั้ง

ขอเท็จจริง : การขาดคุณสมบัติของพนักงานมหาวิทยาลัยเนื่องจากยังไมได

ตําแหนงทางวิชาการ (ผูชวยศาสตราจารย)

ขาพเจาคาดเดาเจตนาของรกัษาการคณบดไีมถกูวา ทานตองการขูถงึสถานภาพความมัน่คง

ในอาชีพการงานหรือไม จึงหยิบยกเรื่องนี้ขึ้นมาเปนประเด็น ถาใชทัศนคติเชนนี้เปนอันตรายอยางยิ่ง

สําหรับการเปนมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐ ซึ่งตรงกับขอหวงใยและกังวลของบุคลากรที่เปนพนักงาน

และลูกจางมหาวิทยาลัย

ยืนบนความเปนธรรม สองนําดวยสัจจะ20

แตสําหรับกรณีขาพเจานั้น รักษาการคณบดีในฐานะเปนรองอธิการบดีฝายแผนและ

พัฒนาบุคลากรไมทราบเลยหรืออยางไรวา ประกาศก.บ.ม. มหาวิทยาลัยขอนแกน (ฉบับที่ ๓/๒๕๕๓)

เรื่องหลักเกณฑ วิธีการจาง การบรรจุและแตงตั้งและการทําสัญญาพนักงานมหาวิทยาลัย (เพิ่มเติม)

ลงวันที่ ๓ มิถุนายน ๒๕๕๓ นั้น ไดกําหนดใหระยะเวลาดังกลาวไมนับระยะเวลาในการปฏิบัติหนาที่

ในตําแหนงผูบริหาร ขาพเจาจะไมตําหนิเลย หากทานไมไดกํากับดูแลฝายพัฒนาบุคลากร

สวนเรื่องอื่น เมื่อบุคลากรสายผูสอนและสายสนับสนุน จํานวน ๒๗ คน ไดมีหนังสือ

สอบถามขอมูลขอเท็จจริงเกี่ยวกับการบริหารงานของคณะ และขอทราบเหตุผลที่นายกิตติบดี ใยพูล

มิไดรับการแตงตั้งเปนคณบดีตามมติของคณะกรรมการสรรหา (๑๓ มิถุนายน ๒๕๕๔) แตไมไดรับ

คําตอบจากผูบริหาร เชนเดียวกัน มิหนําซํ้า ยังมีเหตุบังเอิญที่บุคลากรจํานวน ๑๔ คน ทั้งสายผูสอนและ

สายสนับสนุน ไดมีคําสั่งดวนที่สุดลงวันที่ ๑๕ และ ๑๖ มิถุนายน ตามลําดับใหตัดโอนยายออกจากคณะ

จะมีสวนสัมพันธกันหรือไม ไมอาจทราบได ?

ยืนบนความเปนธรรม สองนําดวยสัจจะ 21

บทสงทาย

ตลอดเกือบเดือนที่ผานมา ขาพเจาไดแตเฝารอถึงเหตุผลและความชอบธรรม ประกอบการ

ใชอํานาจตาง ๆ ของทาน แตก็ไมไดรับคําตอบ หรือใหคําตอบที่ไมตรงกับสิ่งที่ถาม เสมือนถามทานวา

ไปไหนมา แตคําตอบคือสามวาสองศอก มาโดยตลอด แตบัดนี้ ทานตองระลึกเสมอวาทานมาเปนรักษาการ

คณบดีคณะนิติศาสตร ซึ่งคณะนี้เปนคณะวิชาที่สอนใหนักศึกษามุงแสวงหาความเปนธรรม แตในขณะที่

ผูบริหารกลับถูกวินิจฉัยวา ไมมีอํานาจที่ชอบธรรม คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกนจะสูหนา

คณะนิติศาสตร สถาบันอื่นไดอยางไร

อยากเรียนทานรักษาการคณบดีใหทราบวา ฟางสองเสนสุดทายท่ีทําใหอูฐหลังหัก ไดแก

(๑) การติดประจานรายชื่อและรูปถายขาพเจาและเพื่อนซึ่งเปนบุคลากรทํางานราชการ

โดยรอบคณะ เสมือนหนึ่งยิ่งกวาเปนอาชญากร ซึ่งแมแตผูตองหา จําเลย และผูตองขังยังไดรับการคุมครอง

ในเกียรติยศ ชื่อเสียง และศักดิ์ศรีความเปนคน ดังศาลปกครองไดมีคําวินิจฉัยวา การติดประกาศจับ

พรอมรปูถายผูตองสงสยัในขอหาความมัน่คงภายในราชอาณาจกัร เปนการละเมดิตอศกัดิศ์รคีวาม

เปนมนุษย แตนี่ขาพเจาและนอง ๆ เปนครูอาจารยและพนักงานราชการ กลับถูกทําลายและลิดรอนคุณคา

เชนวานั้น

(๒) คําชี้แจงของรักษาการคณบดีคณะนิติศาสตร (รองศาสตราจารยรังสรรค เนียมสนิท)

ลงวันที่ ๑๖-๑๗ มิถุนายนที่ผานมา ซึ่งมีเนื้อหาเกินกวารอยละแปดสิบนั้น เปนเรื่องกึ่งจริงกึ่งเท็จ ที่ภาษา

อังกฤษใชคําวา Half Truth ตามที่แสดงความจริงใหทราบแลวขางตน ซึ่งสมควรแลวหรือที่บุคคลซึ่งมี

คุณวุฒิ วัยวุฒิ และภาวะวิสัยเชนนั้น จักไมเขาใจ

โดยเมื่อวันสงมอบงาน (๓ มิถุนายน ๒๕๕๔) บุคคลดังกลาวไดพูดกับขาพเจาวา “กิตติบดี

ไมมีความผิดอะไร” โดยมีผูชวยศาสตราจารยวีระศักดิ์ จารุชัยนิวัฒน ผูชวยศาสตราจารยวิไลวรรณ

สมโสภณ อาจารยละอองกาญจน เหลาไพบูลย และคุณชาญวิทย โคว เปนประจักษพยานรวมถึง

เมื่อวันที่ ๑๒ มิถุนายน บุคคลดังกลาวไดตั้งคําถามแกขาพเจาทางโทรศัพทวา “กิตติบดีคุณไปทํา

อะไร อธิการบดีเคาหรือเปลา” กรณีหลังหวังวารองศาสตราจารยรังสรรคฯ คงไมอางเหตุเพราะหลงลืม

มิเชนนั้นแลว ยิ่งทําใหสงสัยวา นอกจากประสาทหูแลว ยังบกพรองทางสมองอีกทางหนึ่งหรือไม

หรือนิทานตอนนี้ สอนใหรูวา การถูกเชิดเปนตัวแทนนาเห็นใจเปนอยางยิ่ง

ยืนบนความเปนธรรม สองนําดวยสัจจะ22

บัดนี้ เหตุการณตาง ๆ ที่เกิดขึ้น อันเปนผลมาจากการใชอํานาจตางกรรมตางวาระก็ดี หรือ

พฤติกรรมประกอบการกระทําหลายกรรมหลายบทก็ดี ขาพเจานอมรับเทียบเชิญดังกลาวดวยความ

หฤหรรษยิ่ง

เชือ่มัน่และศรทัธา

กิตติบดี ใยพูล