แนวทางการผลิตสิ่งทอขนาดเล็กที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม...

48
แ น ว ท า ง ก า ร ผ ลิ ต สิ่ ง ท อ ข น า ด เ ล็ ก ที่ เ ป็ น มิ ต ร กั บ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม

Upload: department-of-environmental-quality-promotion-thailand

Post on 13-Mar-2016

219 views

Category:

Documents


0 download

DESCRIPTION

ส่วนภาคธุรกิจและวิสาหกิจชุมชน สำนักส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

TRANSCRIPT

แ น ว ท า ง ก า ร ผ ลิ ต สิ่ ง ท อ ข น า ด เ ล็ ก ที่ เ ป็ น มิ ต ร กั บ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม

แ น ว ท า ง ก า ร ผ ลิ ต สิ่ ง ท อ ข น า ด เ ล็ ก ที่ เ ป็ น มิ ต ร กั บ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม

แนวทางการผลิตสิ่งทอขนาดเล็ก ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ISBN : 978-974-7530-85-8 พิมพ์ครั้งที่ 1 : พฤษภาคม 2551 จำนวน 2,000 เล่ม ที่ปรึกษา ดร.มณทิพย์ ศรีรัตนา ทาบูกานอน อธิบดีกรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม นายจตุพร บุรุษพัฒน์ รองอธิบดีกรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม นางรัชนี เอมะรุจิ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมการมีส่วนร่วมของ ประชาชน คณะทำงานกรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม นางสุวรรณา เตียรถ์สุวรรณ ผู้อำนวยการส่วนส่งเสริมเทคโนโลยีที่เหมาะสม นางวรวรรณ ประชาเกษม นักวิชาการสิ่งแวดล้อม 8ว ดร.วรางคณา ศรนิล นักวิชาการสิ่งแวดล้อม 7ว นางสาวรุจิรา ชัยศิริถาวรกุล วิศวกร 4 คณะทำงานมหาวิทยาลัยเชียงใหม ่รศ.ดร.เจษฎา เกษมเศรษฐ์ ผู้อำนวยการสถาบันวิจัยและพัฒนา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ นางนิตยา มหาไชยวงศ์ ผู้จัดการโครงการฝ้ายแกมไหม สถาบันวิจัยและพัฒนาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ นายสุรชัย ลีวัฒนานุกูล ผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีสะอาด จัดพิมพ์และเผยแพร ่ส่วนส่งเสริมเทคโนโลยีที่เหมาะสม สำนักส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 49 ถนนพระราม 6 ซอย 30 พญาไท กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท์ 0-2298-5653 โทรสาร 0-2298-5650

แ น ว ท า ง ก า ร ผ ลิ ต สิ่ ง ท อ ข น า ด เ ล็ ก ที่ เ ป็ น มิ ต ร กั บ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม

คำนำ แนวทางการผลิตสิ่งทอขนาดเล็กที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเป็นส่วนหนึ่งของโครงการศึกษาเพื่อพัฒนาเกณฑ์การผลิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ซึ่งกรม ส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อมร่วมกับศูนย์วิชาการเทคโนโลยีและสิ่งทอพื้นบ้าน (ฝ้ายแกมไหม) สถาบันวิจัยและพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเชยีงใหม ่ ทำการศกึษาแนวทางการประยกุต์ใชเ้ทคโนโลยสีะอาดในสถานประกอบการสิ่งทอขนาดเล็ก เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนแนวทางการลดมลพิษ ณ แหล่งกำเนิดที่เกิดขึ้นจากกระบวนการผลิตและพัฒนายกระดับคุณภาพผลิตภัณฑ์เป็นสินค้าที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและขยายกลุ่มผู้ซื้อไปสู่ตลาดสากลต่อไป กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่ งแวดล้อม ขอขอบคุณคณะกรรมการร่าง เกณฑ์การผลิตสิ่งทอขนาดเล็กที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและคณะกรรมการ ตรวจประเมินสถานประกอบการที่เข้าร่วมโครงการ ประกอบด้วยผู้แทนจากมหาวทิยาลยัเชยีงใหม ่สถาบนัพฒันาอตุสาหกรรมสิง่ทอ กรมสง่เสรมิอตุสาหกรรม ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 1 สำนักงานสิ่งแวดล้อมภาคที่ 1 และ 2 ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคลธนไพศาล สำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัดเชียงใหม่ สำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดเชียงใหม่ ลำพูน และลำปาง คณะผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่า แนวทางการผลิตสิ่งทอขนาดเล็กที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมฉบับนี้จะเกิดประโยชน์กับสถานประกอบการและหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องในการส่งเสริมให้เกิดการผลิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เพื่อรักษา สิ่งแวดล้อมที่ดีให้ยั่งยืนสืบไป คณะผู้ดำเนินโครงการ พฤษภาคม 2551

แ น ว ท า ง ก า ร ผ ลิ ต สิ่ ง ท อ ข น า ด เ ล็ ก ที่ เ ป็ น มิ ต ร กั บ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม

แ น ว ท า ง ก า ร ผ ลิ ต สิ่ ง ท อ ข น า ด เ ล็ ก ที่ เ ป็ น มิ ต ร กั บ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม

สารบัญ บทนำ 1 กระบวนการผลิตสิ่งทอขนาดเล็ก 3 แนวทางการผลิตสิ่งทอขนาดเล็กที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 5 • การจัดการวัตถุดิบ • การทำความสะอาดฝ้าย ต้มล้างไขมัน • การล้างทำความสะอาด หลังการต้มล้างไขมัน • การย้อมสีเคมี และสีธรรมชาติ • การล้างสีส่วนเกิน • การจัดการที่ดี • ระบบบำบัดน้ำเสีย • เครื่องมือที่ควรใช้ในกระบวนการผลิต • อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล • การใช้พลังงาน เกณฑ์การผลิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 33 หลักเกณฑ์การให้คะแนนและระดับการรับรอง 40 ตราสัญลักษณ์การผลิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 41 เอกสารอ้างอิง 42

แ น ว ท า ง ก า ร ผ ลิ ต สิ่ ง ท อ ข น า ด เ ล็ ก ที่ เ ป็ น มิ ต ร กั บ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม

�แ น ว ท า ง ก า ร ผ ลิ ต สิ่ ง ท อ ข น า ด เ ล็ ก ที่ เ ป็ น มิ ต ร กั บ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม

บทนำ พื้นที่ภาคเหนือมีกลุ่มสถานประกอบการผลิตสิ่งทอขนาดเล็กประมาณ 3 แสนราย ส่วนใหญ่เป็นการผลิตผ้าฝ้าย จุดเด่นของสิ่งทอพื้นที่ภาคเหนือ คือมีความหลากหลายของผลิตภัณฑ์และเป็นงานฝีมือ สามารถเข้าถึงลูกค้าในกลุ่มประเทศยุโรป (EU) และญี่ปุ่น โดยลูกค้าต่างประเทศมักต้องการสินค้าที่เป็นมิตรกบัสิง่แวดลอ้ม ทำใหส้ถานประกอบการต้องปรบัปรงุกระบวนการผลติใหเ้ปน็มติรกบัสิง่แวดลอ้ม เทคโนโลยสีะอาดเปน็เครือ่งมอืหนึง่ทีช่ว่ยลดมลพษิ ณ แหลง่กำเนดิ โดยยึดหลักการ 1A (Avoid : การหลีกเลี่ยง) 3R (Reduce : การลดการใช้ที่ ไม่จำเป็น, Reuse : การใช้ซ้ำ, Recycle : การนำกลับมาใช้ใหม่) และ 1T (Treat and Dispose : การบำบัดและการทำลาย) ประโยชน์ของเทคโนโลยีสะอาด • ใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพช่วยลดต้นทุนการผลิต • ลดมลพิษจากกระบวนการผลิต • พัฒนายกระดับคุณภาพสินค้า • ลดความเสี่ยงในการเกิดอุบัติเหต ุ

�แ น ว ท า ง ก า ร ผ ลิ ต สิ่ ง ท อ ข น า ด เ ล็ ก ที่ เ ป็ น มิ ต ร กั บ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม

�แ น ว ท า ง ก า ร ผ ลิ ต สิ่ ง ท อ ข น า ด เ ล็ ก ที่ เ ป็ น มิ ต ร กั บ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม

กระบวนการผลิตสิ่งทอขนาดเล็ก

�แ น ว ท า ง ก า ร ผ ลิ ต สิ่ ง ท อ ข น า ด เ ล็ ก ที่ เ ป็ น มิ ต ร กั บ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม

กระบวนการผลิตสิ่งทอขนาดเล็ก ในกระบวนการผลิตสิ่งทอขนาดเล็ก ประกอบด้วยขั้นตอนต่างๆ ดังรูป ซึ่งอยู่ในวัฏจักรชีวิตของผลิตภัณฑ์ ได้แก่ การเตรียมเส้นใย การย้อม การทอ การตกแต่งสำเร็จ การตัดเย็บ การใช้งาน และการทิ้งทำลาย ซึ่งขั้นตอนที่ก่อให้เกิดมลพิษมากที่สุด คือการเตรียมเส้นด้ายและการย้อมสี ดังนั้นการควบคุมการใช้ทรัพยากรในขั้นตอนนี้จึงมีความสำคัญมาก โดยเฉพาะการใช้น้ำ ถ้าใช้อย่างมีประสิทธิภาพจะช่วยให้การใช้ทรัพยากรและวัตถุดิบอื่นๆ ลดลง

กระบวนการผลิตสิ่งทอขนาดเล็ก

วัตถุดิบและทรัพยากร ฝ้าย ของเสียจากกระบวนการผลิต

ปั่นฝ้าย (ปั่นมือ/จากโรงงาน)

ทำความสะอาดฝ้าย ต้มล้างไขมัน

ล้างทำความสะอาดและบิดหรือปั่นหมาดๆ

ย้อมสี

ล้างสีส่วนเกินและบิดหรือปั่นหมาดๆ

ทอ

น้ำ, ฟืน/ก็าซหุงต้ม, สารทำความสะอาด

น้ำ, ไฟฟ้า

น้ำ, สีธรรมชาติ/สีเคมี

น้ำและไฟฟ้า

น้ำเสีย,ขี้เถ้า

น้ำเสีย

น้ำเสีย

น้ำเสีย

ผลิตภัณฑ์

�แ น ว ท า ง ก า ร ผ ลิ ต สิ่ ง ท อ ข น า ด เ ล็ ก ที่ เ ป็ น มิ ต ร กั บ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม

แนวทางการผลิตสิ่งทอขนาดเล็ก ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม แนวทางการผลิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมจัดทำขึ้นเพื่อช่วยให้ผู้ผลิตสิ่งทอขนาดเล็กสามารถนำแนวคิดของเทคโนโลยีสะอาด (Clean Technology-CT) มาปฏิบัติเพื่อปรับปรุงการผลิตให้เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมมากขึ้น ตามหลักการ 1A (Avoid : การหลกีเลีย่ง) 3R (Reduce : ลดการใชท้ี่ไมจ่ำเปน็, Reuse : การใชซ้ำ้, Recycle : การนำกลับมาใช้ใหม่) 1T (Treatment and Dispose : การบำบัดและทำลายทิ้งที่ปลายทาง) ผลลัพธ์ที่ ได้คือลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมตั้งแต่ต้นทางและสามารถควบคุมคุณภาพผลิตภัณฑ์ซึ่งเป็นการพัฒนายกระดับกระบวนการผลติ หลกัการดงักลา่วมคีวามสำคญัตอ่กระบวนการผลติแตล่ะขัน้ตอน ซึ่งมีข้อควรปฏิบัติ ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 การจัดการวัตถุดิบ 3 จดบันทึกแหล่งที่ซื้อฝ้ายและเส้นฝ้าย 3 จดบันทึกปริมาณและราคาในการซื้อแต่ละครั้ง 3 จดบันทึกการนำไปใช้งานในแต่ละครั้ง เช่น นำไปตีฟู ปั่นเส้นฝ้าย และย้อมสี เป็นต้น

�แ น ว ท า ง ก า ร ผ ลิ ต สิ่ ง ท อ ข น า ด เ ล็ ก ที่ เ ป็ น มิ ต ร กั บ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม

3 เรียงลำดับการนำฝ้ายออกมาใช้ตามลำดับก่อน-หลัง และเก็บในที่แห้ง สะอาด และมีอากาศถ่ายเทได้ดี 3 เลือกซื้อแหล่งผลิตฝ้ายที่มีคุณภาพ และมีกระบวนการผลิตที่เป็นมิตร กับสิ่งแวดล้อม เพราะคุณภาพของเส้นฝ้ายที่ดี จะช่วยให้การย้อมติดสี ได้ดี ขั้นตอนที่ 2 การทำความสะอาดฝ้าย ต้มล้างไขมัน 3 ล้างไขมันออกจากฝ้ายด้วยน้ำร้อน สามารถเติมสบู่หรือผงซักฟอกได้ ทั้งนี้ต้องทำความสะอาดฝ้ายทุกครั้งไม่ว่าจะย้อมสีประเภทใดก็ตาม เพราะการต้มล้างไขมันที่ดีจะช่วยควบคุมคุณภาพการผลิต ทำให้การ ย้อมติดสีได้ดี 3 ปจัจยัทีม่ผีลตอ่การลา้งไขมนั คอื อณุหภมู ิเวลา และความเขม้ขน้ของ สบู่ ผงซักฟอกหรือด่างที่ใช้ การเพิ่มปัจจัยใดปัจจัยหนึ่งสามารถลด ปัจจัยอื่นๆ ได้ เช่น การใช้เวลาในการแช่เส้นด้ายฝ้ายนานขึ้นจะทำให้ ใช้สบู่น้อยลง และใช้อุณหภูมิต่ำลงได้ 3 ควรแบ่งฝ้ายออกเป็นพวง พวงละ 200-300 กรัม เพื่อสะดวกต่อ การกลับฝ้ายขณะต้มล้างไขมัน ย้อมสี และการบิดน้ำออกจากฝ้าย

�แ น ว ท า ง ก า ร ผ ลิ ต สิ่ ง ท อ ข น า ด เ ล็ ก ที่ เ ป็ น มิ ต ร กั บ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม

ข้อสังเกตุ : การต้มล้างไขมัน นำเส้นฝ้ายที่ผ่านการล้างไขมันและตากจนแห้งแล้ว มาทำการทดสอบการล้างไขมัน ดังนี้ 1. นำเส้นฝ้ายพอประมาณใส่ลงในแก้วที่บรรจุน้ำประมาณครึ่งแก้ว 2. จับเวลาที่ฝ้ายจมถึงก้นแก้ว 3 ถ้าใช้เวลาประมาณ 10 วินาที แสดงว่าต้มล้างไขมันออกจากฝ้าย ได้ดี 3 ถา้ใชเ้วลามากกวา่ 10-20 วนิาท ีแสดงวา่ยงัมีไขมนัอยูต่อ้งเปลีย่น วิธีการต้มล้างไขมัน ขั้นตอนที่ 3 การล้างทำความสะอาด หลังจากการต้มล้างไขมัน ล้างทำความสะอาดฝ้ายด้วยน้ำสะอาดหลังจากต้มล้างไขมัน บิดฝ้าย ให้หมาด แล้วนำไปตากให้แห้ง ขั้นตอนนี้จะใช้น้ำจำนวนมากหากล้างด้วยวิธี น้ำล้น การปรับเปลี่ยนมาใช้อ่างซีเมนต์ และนำน้ำจากการล้างครั้งที่ 3 มาใช้เป็น

การต้มล้างไขมันออกไม่หมด เส้นฝ้ายจะลอยตัว

การต้มล้างไขมันออกหมด เส้นฝ้ายจะจมลงแก้ว

�แ น ว ท า ง ก า ร ผ ลิ ต สิ่ ง ท อ ข น า ด เ ล็ ก ที่ เ ป็ น มิ ต ร กั บ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม

น้ำล้างครั้งที่ 1 (เรียกว่าทำความสะอาดแบบสวนทาง) จะช่วยลดปริมาณการ ใช้น้ำลงได้ประมาณ 50%

ประโยชน์การล้างทำความสะอาดฝ้าย

3 กำจัดสิ่งสกปรกที่เจือปนในเส้นใย 3 ช่วยให้เส้นใยดูดซึมน้ำสารเคมีและติดสีได้ดี

อ่างล้างทำความสะอาดแบบสวนทาง

การล้างทำความสะอาดด้วยวิธีน้ำล้น

�แ น ว ท า ง ก า ร ผ ลิ ต สิ่ ง ท อ ข น า ด เ ล็ ก ที่ เ ป็ น มิ ต ร กั บ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม

ขั้นตอนที่ 4 การย้อมสีเคมีและสีธรรมชาต ิ

3 แบ่งฝ้ายออกเป็นพวง พวงละ 200-300 กรัม เพื่อให้สะดวกต่อการ กลับฝ้ายและการบิดน้ำออก 3 ควรมีอุปกรณ์ช่วยในการกลับฝ้าย เพื่อให้การกลับฝ้ายทำได้ง่ายขึ้น และได้ฝ้ายที่มีสีติดสม่ำเสมอ 3 ควรจบัเวลาที่ใช้ในระหวา่งการยอ้ม เพื่อหาระยะเวลาที่เหมาะสม 3 เมื่อย้อมได้สีที่ต้องการแล้ว ก่อนนำไปล้างสีส่วนเกินในอ่างแบบ สวนทาง ควรบิดฝ้ายให้หมาดทุกครั้งเพื่อลดการใช้น้ำในการล้าง

การเตรียมฝ้ายก่อนย้อม

�0แ น ว ท า ง ก า ร ผ ลิ ต สิ่ ง ท อ ข น า ด เ ล็ ก ที่ เ ป็ น มิ ต ร กั บ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม

3 วางแผนการย้อม ด้วยการคำนวณปริมาณวัตถุดิบที่ต้องการ เช่น ปริมาณฝ้าย น้ำ เกลือ และสีที่จะใช้ย้อม 3 ชั่ง ตวง หรือวัดปริมาณวัตถุดิบที่ใช้ด้วยเครื่องมือที่เหมาะสม และ จดบันทึกทุกครั้ง 3 ละลายสีให้หมดก่อน แล้วจึงเทน้ำสีลงไปในหม้อย้อม คนน้ำสีให้ทั่ว หม้อย้อม แล้วจึงนำฝ้ายลงย้อม

3 หลีกเลี่ยงการใช้สารช่วยย้อม (mordant) ที่เป็นอันตราย เช่น จุนสี 3 หลีกเลี่ยงการใช้สีที่ไม่ได้รับการรับรองมาตรฐานการผลิต 3 ควรใช้สีที่ ได้รับการรับรองความปลอดภัยและมาตรฐานการผลิต เพราะสีจะติดทนตลอดอายุการใช้งาน

หลีกเลี่ยงการใช้

การย้อมสีเคมี

��แ น ว ท า ง ก า ร ผ ลิ ต สิ่ ง ท อ ข น า ด เ ล็ ก ที่ เ ป็ น มิ ต ร กั บ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม

การตัดสินใจเลือกใช้สีเคมีประเภทต่างๆ

สีโดเรก็ท ์

คณุสมบตั ิ

l ยอ้มงา่ย

l ราคาถกู

l เฉดสสีดใส

l คงทนตอ่การซกัตำ่

(ถา้ตอ้งการใหส้คีงทน ตอ้งเตมิจนุสซีึง่เปน็สารอนัตรายที่ไมค่วรใช)้

l ควรยอ้มทีอ่ณุหภมูนิำ้เดอืด 100 ํC

l ไมจ่ำเปน็ตอ้งเตมิโซดาแอชเพือ่เปน็สารชว่ยยอ้ม

สรีแีอคทฟี

คณุสมบตั ิ

l ยอ้มงา่ย

l ราคาปานกลาง

l เฉดสสีดใส

l คงทนตอ่แสงและการซกัด ี

l ควรยอ้มทีอ่ณุหภมูนิำ้เดอืด 60-80 ํC

สซีลัเฟอร ์

คณุสมบตั ิ

l ยอ้มยาก

l ราคาถกู

l มปีญัหาผา้เปือ่ย

สแีวต๊

คณุสมบตั ิ

l ยอ้มยาก

l ราคาแพง

l เฉดสเีขม้

l คงทนตอ่แสงและการซกัด ี

สแีอสดิ

คณุสมบตั ิ

l ใชย้อ้มไหม

l ยอ้มงา่ย

l เฉดสสีดใส

l คงทนตอ่การซกัปานกลาง

��แ น ว ท า ง ก า ร ผ ลิ ต สิ่ ง ท อ ข น า ด เ ล็ ก ที่ เ ป็ น มิ ต ร กั บ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม

3 การย้อมสีธรรมชาติ ต้องใช้เวลาสำหรับการเตรียมสี และต้องอาศัย ทักษะความชำนาญในการย้อม 3 ต้องจดบันทึกและเก็บตัวอย่างผ้าทุกครั้งเมื่อได้สีที่ต้องการ เพื่อเป็น ข้อมูลในการย้อมครั้งต่อไป

การย้อมสีธรรมชาติ

��แ น ว ท า ง ก า ร ผ ลิ ต สิ่ ง ท อ ข น า ด เ ล็ ก ที่ เ ป็ น มิ ต ร กั บ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม

การเลือกวัตถุดิบและเตรียมสี 3 ใช้วัสดุที่มีในท้องถิ่น หลีกเลี่ยงแหล่งให้สีที่เป็นแหล่งอาหารหรือพืช หายาก 3 สามารถใช้วัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรเป็นแหล่งให้สีได้ เช่น เปลือก ผลไม้ตามฤดูกาลและขี้เลื่อย 3 การตัดเปลือกไม้เพื่อทำสี ควรตัดเปลือกไม้เฉพาะส่วนผิวเท่านั้นและ หลีกเลี่ยงการตัดโค่นต้นไม้ 3 เมื่อนำพืชหรือต้นไม้มาใช้งาน ควรปลูกพืชหรือต้นไม้นั้นทดแทน เพื่อป้องกันการขาดแคลนแหล่งสี

วิธีตัดเปลือกไม้ที่ถูกวิธี คือตัดเฉพาะส่วนเปลือกไม้สีเท่านั้น วิธีนี้ต้นไม้สามารถสร้างเปลือกใหม่ ทดแทนเปลือกเดิมได้

��แ น ว ท า ง ก า ร ผ ลิ ต สิ่ ง ท อ ข น า ด เ ล็ ก ที่ เ ป็ น มิ ต ร กั บ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม

3 เปลือกไม้ที่ใช้แล้วสามารถนำกลับมาใช้เป็นฟืน ส่วนใบไม้หรือส่วน อื่นๆ สามารถนำไปทำปุ๋ยได้ 3 หลีกเลี่ยงการใช้สารช่วยย้อม (mordant) ที่เป็นอันตราย เช่น จุนสี 3 ควรใช้สารช่วยย้อมอื่นทดแทนจุนสี เช่น ใช้เหล็กจะให้สี ในโทน เทา-ดำ สารสม้จะใหส้ีในโทน เหลอืง-เขยีว-นำ้ตาล หรอืใชส้ารชว่ยยอ้ม จากธรรมชาติ เช่น น้ำเต้าหู้ เป็นต้น 3 ควรย่อยเปลือกไม้หรือใบไม้ให้มีขนาดเล็กก่อนนำไปต้มสกัดสี ช่วยให้ ใช้เปลือกไม้หรือใบไม้ปริมาณน้อยกว่าการใช้เปลือกไม้หรือใบไม้ที่ ไม่ได้ย่อย 3 ควรใช้ผ้าห่อเปลือกไม้ขณะต้ม เพราะเมื่อได้น้ำสีที่ต้องการสามารถนำ ไปใช้ ได้ทันที ไม่ต้องเสียเวลากรองซ้ำอีกครั้ง 3 เปลือกไม้ที่สกัดสีออกแล้วนำไปตากแดดให้แห้งและใช้เป็นฟืนต่อไปได้ 3 ควรเก็บผ้าที่ย้อมได้และรายละเอียดที่เกี่ยวข้อง เพื่อเป็นตัวอย่างใน การย้อมครั้งต่อไป

เปลือกไม้ก่อนนำไปต้มสกัดสี

��แ น ว ท า ง ก า ร ผ ลิ ต สิ่ ง ท อ ข น า ด เ ล็ ก ที่ เ ป็ น มิ ต ร กั บ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม

การสกัดสีธรรมชาติ

การเก็บตัวอย่างผ้า

��แ น ว ท า ง ก า ร ผ ลิ ต สิ่ ง ท อ ข น า ด เ ล็ ก ที่ เ ป็ น มิ ต ร กั บ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม

3 การเติมเกลือแต่ละครั้งต้องมีปริมาณที่แน่นอนขึ้นกับปริมาณฝ้าย การเติมเกลือมากเกินความจำเป็นนอกจากจะสิ้นเปลืองแล้ว ยังส่งผล ให้ความสามารถในการดูดติดสีของฝ้ายลดลง 3 น้ำสีที่เหลือจากการย้อมและยังมีสีเข้มอยู่ สามารถนำไปย้อมรองพื้น เส้นด้าย เป็นการรองพื้นก่อนจะนำไปย้อมสีที่เข้มขึ้น 3 น้ำที่ ใช้ย้อมสีควรเป็นน้ำอ่อน เพราะน้ำที่มีความกระด้างจะทำให้ สีย้อมไม่ดูดติดเนื้อผ้า และต้องกำจัดเหล็กออกจากน้ำก่อน เนื่องจาก น้ำที่มีสนิมเหล็กจะทำให้ผ้าที่นำลงย้อมมีโทนสีเทา-ดำ วิธีการกำจัด เหล็กสามารถทำได้หลายวิธี เช่น การปล่อยให้น้ำสัมผัสอากาศแล้ว กรองเอาเหล็กออกหรือปล่อยให้ตกตะกอน หรือใช้เปลือกประดู่หรือ เศษไม้ประดู่ที่สกัดสีออก แล้วแช่ในน้ำที่มีสนิมเหล็กละลายอยู่

ข้อแนะนำสำหรับการย้อมสีประเภทต่างๆ

ตัวอย่างการปรับปรุงคุณภาพน้ำบาดาลก่อนนำมาใช้ ในกระบวน การย้อม การทำให้น้ำเป็นละอองช่วยให้น้ำสัมผัสอากาศนานขึ้น ทำให้สนิมเหล็กตกตะกอนได้ ส่วนการกรองน้ำด้วยสารกรอง เรซิ่น เป็นวิธีกำจัดความกระด้างของน้ำ

��แ น ว ท า ง ก า ร ผ ลิ ต สิ่ ง ท อ ข น า ด เ ล็ ก ที่ เ ป็ น มิ ต ร กั บ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม

3 การทดสอบการย้อมติดสี

ใช้กระดาษชำระหรือสำลีชุบน้ำ บิดให้หมาด จากนั้นนำมากดชับและถูบนผืนผ้า ถ้ามีสีติดออกมากบักระดาษชำระหรอืสำล ี แสดงวา่ ผา้ผนืสตีก ควรปรบัปรงุวธิกีารลา้งไขมันและย้อมสี

หรือทดสอบจากเส้นฝ้ายหลังจากย้อมและตากให้แห้ง ด้วยการทำให้เส้นฝ้ายเปียกแล้วบิดหมาด จากนั้นนำกระดาษชำระหรือสำลีมากดทบับนเสน้ฝา้ย สงัเกตสทีีต่ดิมากบักระดาษชำระหรอืสำล ี

��แ น ว ท า ง ก า ร ผ ลิ ต สิ่ ง ท อ ข น า ด เ ล็ ก ที่ เ ป็ น มิ ต ร กั บ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม

ขั้นตอนที่ 5 การล้างสีส่วนเกิน

3 ทำการล้างสีส่วนเกิน แล้วบิดหมาดและตากแดดให้แห้ง โดยการล้าง ไม่ควรล้างแบบน้ำล้น ให้ใช้วิธีแบบสวนทาง เพื่อประหยัดน้ำ และลด การทำงานของเครื่องสูบน้ำ การล้างสีส่วนเกินด้วยวิธีการล้างแบบ สวนทาง ลดปริมาณการใช้น้ำและลดการทำงานของเครื่องสูบน้ำได้ ประมาณ 50% เมื่อเทียบเวลาที่ ใช้ ในระหว่างการทำงานเท่าเดิม จากนั้นบิดหมาดแล้วตากแดดให้แห้ง นำไปทอต่อไป

ก า รทดสอบคว ามค งทนต่ อแสงแดด ให้ตัดผ้าเป็นชิ้นเล็กๆ แล้วนำไปซักทำความสะอาด จากนั้นใช้ผ้า่หนาๆ หรือกระดาษ ปิดทับผ้าบางส่วนเอาไว้ แล้ว จึงนำไปตากแดดจนแห้ง แล้วเทียบสี ในส่วนที่ตากแดดและส่วนที่อยู่ในร่ม

��แ น ว ท า ง ก า ร ผ ลิ ต สิ่ ง ท อ ข น า ด เ ล็ ก ที่ เ ป็ น มิ ต ร กั บ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม

3 ควรบิดหรือปั่นหมาด ก่อนนำฝ้ายลงล้างในอ่างน้ำ เพื่อลดปริมาณ สิ่งสกปรกที่จะปนเปื้อนในอ่างถัดไป ทำให้ใช้น้ำล้างได้จำนวนครั้ง มากขึ้น 3 ไม่ควรนำฝ้ายไปล้างในน้ำสาธารณะโดยตรง 3 การล้างสีซัลเฟอร์ ควรใช้วิธีต้มเพื่อล้างสีส่วนเกินและโซเดียมซัลไฟด์ ออกไป

วิธีล้างแบบสวนทาง คือการนำน้ำในอ่างสุดท้ายเวียนกลับมาใช้เป็นน้ำ ในอ่างแรกที่มีความสกปรก วิธีนี้เป็นการล้างทำความสะอาดแบบประหยัดน้ำ

ปล่อยทิ้ง

อ่างใบที่ 1 อ่างใบที่ 2 อ่างใบที่ 3

�0แ น ว ท า ง ก า ร ผ ลิ ต สิ่ ง ท อ ข น า ด เ ล็ ก ที่ เ ป็ น มิ ต ร กั บ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม

การเก็บเส้นฝ้ายและผ้าผืนเพื่อรอการนำจำหน่าย ควรเก็บในถุงหรือบริเวณที่สะอาดเพื่อป้องกันฝุ่น และเก็บไว้ห่างจากแสงแดดเพื่อรักษาสีฝ้ายให้สม่ำเสมอ

การจัดการที่ดี (Good House Keeping) การจัดการที่ดีช่วยลดการสูญเสียวัตถุดิบ สารเคมี และลดความเสี่ยงต่อ อันตรายขณะปฏิบัติงาน

3 จัดเก็บวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์ เป็นสัดส่วนและใช้บรรจุภัณฑ์ที่สามารถ รักษาคุณภาพวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์ได้ 3 จัดเก็บสีและสารเคมี แยกเป็นสัดส่วน มีภาชนะบรรจุที่สามารถ รักษาสมบัติของสีและสารเคมีได้ มีการระบุชื่อ วันที่ซื้อ วันหมดอายุ และนำมาใช้ตามลำดับก่อนหลัง 3 จัดให้มีบริเวณเตรียมสี สารเคมี เป็นสัดส่วน 3 จัดเก็บวัสดุที่ ไม่ ใช้แล้ว วัสดุที่ปนเปื้อนสี และสารเคมีอย่างเป็น สัดส่วน ห่างไกลจากผู้ที่ไม่เกี่ยวข้อง 3 คัดแยกของเสียและของที่ยังใช้ประโยชน์ได้ออกจากกัน เพื่อนำกลับ มาใช้ประโยชน์ 3 เก็บกวาดเศษวัสดุก่อนที่จะใช้น้ำล้างทำความสะอาด 3 แยกเศษฝ้ายและเศษวัสดุอื่นๆ ออกจากน้ำทิ้งก่อนเข้าระบบบำบัด 3 รักษาความสะอาดเรียบร้อยของบริเวณโดยรอบ 3 หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหาร ดื่มน้ำ หรือสูบบุหรี่ในที่ทำงาน

ข้อแนะนำในการเก็บรักษาฝ้ายและผ้าผืน

��แ น ว ท า ง ก า ร ผ ลิ ต สิ่ ง ท อ ข น า ด เ ล็ ก ที่ เ ป็ น มิ ต ร กั บ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม

ระบบบำบัดน้ำเสีย การตัดสินใจเลือกใช้ระบบบำบัดน้ำเสียขึ้นกับกำลังการผลิต ปริมาณ น้ำเสีย และที่สำคัญคือประเภทของสีที่ใช้ในกระบวนการย้อม ระบบบำบัดน้ำเสียที่เหมาะสมสำหรับกระบวนการย้อมสีธรรมชาติ ที่ ไม่มีการเติมเกลือและจุนสี สามารถใชบ้อ่เกรอะและบอ่ซมึ หรอืสามารถนำไปรดนำ้ตน้ไม้ ได ้ สำหรบักระบวน การย้อมสีด้วยเคมี ต้องใช้การบำบัดที่มีความซับซ้อนและมีค่าใช้จ่ายในการบำบัดสูงกว่า

รูปแปลนบ่อเกรอะและบ่อซึม สำหรับบำบัดน้ำเสียจากการย้อมสีธรรมชาต ิ

��แ น ว ท า ง ก า ร ผ ลิ ต สิ่ ง ท อ ข น า ด เ ล็ ก ที่ เ ป็ น มิ ต ร กั บ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม

รูปตัดบ่อเกรอะและบ่อซึม สำหรับบำบัดน้ำเสียจากการย้อมสีธรรมชาติ

ตัวอย่างระบบบำบัดน้ำเสียจากการย้อมสีเคมี

ประกอบด้วยการตกตะกอนด้วยสารส้ม

และการกรองผ่านชั้นทรายหยาบและละเอียด

��แ น ว ท า ง ก า ร ผ ลิ ต สิ่ ง ท อ ข น า ด เ ล็ ก ที่ เ ป็ น มิ ต ร กั บ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม

เครื่องมือที่ควรใช้ ในกระบวนการผลิต เครื่องมือที่จำเป็นและควรมีไว้ ใช้ ในกระบวนการผลิต เพื่อช่วยในการควบคุมคุณภาพของผลิตภัณฑ์

นาฬิกาสำหรับจับเวลาการต้มล้างไขมัน ต้มสกัดสี และต้มย้อมส ี

เทอร์โมมิเตอร์สำหรับใช้วัดอุณหภูมิน้ำในการต้มย้อม

��แ น ว ท า ง ก า ร ผ ลิ ต สิ่ ง ท อ ข น า ด เ ล็ ก ที่ เ ป็ น มิ ต ร กั บ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม

กระดาษสำหรับวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH)

เพื่อตรวจสอบคุณภาพน้ำ ก่อนนำมาใช้ในกระบวนการผลิต

��แ น ว ท า ง ก า ร ผ ลิ ต สิ่ ง ท อ ข น า ด เ ล็ ก ที่ เ ป็ น มิ ต ร กั บ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม

ตราชั่งขนาดเล็กสำหรับชั่งสีและสารช่วยย้อม

ตราชั่งขนาดใหญ่สำหรับชั่งฝ้าย

��แ น ว ท า ง ก า ร ผ ลิ ต สิ่ ง ท อ ข น า ด เ ล็ ก ที่ เ ป็ น มิ ต ร กั บ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม

กระบอกตวงสำหรับการตวงน้ำสี หรือสารละลายที่ใช้ในกระบวนการผลิต

ไม้พายหรือเครื่องมือกลับฝ้ายสำหรับกลับฝ้าย

ขณะต้มล้างไขมันหรือย้อมส ี

��แ น ว ท า ง ก า ร ผ ลิ ต สิ่ ง ท อ ข น า ด เ ล็ ก ที่ เ ป็ น มิ ต ร กั บ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม

ตัวอย่างตารางบันทึกการใช้วัตถุดิบ สี และเชื้อเพลิง

ใช้ในการตรวจสอบและควบคุมคุณภาพผลิตภัณฑ์

วันที่/ เส้นด้าย สีธรรมชาติ เลข

เวลา (กก.) มาตรวัด

น้ำ

ล้าง ย้อม วัสดุ สี น้ำหนัก แหล่งที่มา/ มอร์

ไขมัน ที่ (กรัม) การใช้งาน แดนท์

ได้

1

2

3

4

5

6

��แ น ว ท า ง ก า ร ผ ลิ ต สิ่ ง ท อ ข น า ด เ ล็ ก ที่ เ ป็ น มิ ต ร กั บ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม

อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล เป็นอุปกรณ์ที่ใช้เพื่อลดความเสี่ยงต่ออันตรายด้านสุขอนามัยหรืออุบัติเหตุในการทำงาน โดยเฉพาะขั้นตอนการผสมสีและย้อมสี ผู้ปฏิบัติงานควรใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลทุกครั้ง

ผ้าปิดจมูกป้องกันฝุ่นขณะทอผ้า

��แ น ว ท า ง ก า ร ผ ลิ ต สิ่ ง ท อ ข น า ด เ ล็ ก ที่ เ ป็ น มิ ต ร กั บ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม

หน้ากากป้องกันสีเคมีและสารเคมี

ถุงมือใช้สำหรับพลิกกลับฝ้ายหรือล้างทำความสะอาดฝ้าย

�0แ น ว ท า ง ก า ร ผ ลิ ต สิ่ ง ท อ ข น า ด เ ล็ ก ที่ เ ป็ น มิ ต ร กั บ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม

ผ้ากันเปื้อนใช้ขณะย้อมสี

การใช้พลังงาน การต้มล้างไขมันและการย้อมสีเป็นกระบวนการที่ต้องพลังงานความร้อน ส่วนใหญ่ใช้ฟืนที่สามารถหาได้ทั่วไปหรือหาซื้อมาเก็บไว้ใช้ ควรใช้เตาประหยัดพลังงานหรือใช้ฉนวนกันความร้อนให้กับหม้อต้ม เพราะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพของเตา ทำให้ใช้ฟืนน้อยลง และช่วยลดค่าใช้จ่ายสำหรับการซื้อฟืนหรือค่าขนส่งลงได้

��แ น ว ท า ง ก า ร ผ ลิ ต สิ่ ง ท อ ข น า ด เ ล็ ก ที่ เ ป็ น มิ ต ร กั บ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม

ควรเก็บฟืนในที่ร่มและแห้ง ช่วยป้องกันความชื้น

ทำให้ฟืนให้พลังงานความร้อนได้เต็มที่

ลักษณะเด่นของเตาประหยัดพลังงาน

คือ ช่องวางฟืนต้องยกขึ้นเหนือพื้นเตา

และตั้งหม้อต้มให้ใกล้ไฟจะทำให้น้ำร้อน

หรือเดือดเร็วและใช้เวลาต้มน้อย

��แ น ว ท า ง ก า ร ผ ลิ ต สิ่ ง ท อ ข น า ด เ ล็ ก ที่ เ ป็ น มิ ต ร กั บ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม

��แ น ว ท า ง ก า ร ผ ลิ ต สิ่ ง ท อ ข น า ด เ ล็ ก ที่ เ ป็ น มิ ต ร กั บ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม

เกณฑ์การผลิตที่เป็นมิตร กับสิ่งแวดล้อม

��แ น ว ท า ง ก า ร ผ ลิ ต สิ่ ง ท อ ข น า ด เ ล็ ก ที่ เ ป็ น มิ ต ร กั บ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม

เกณฑ์การผลิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เกณฑ์การตรวจประเมินมีทั้งหมด 14 ข้อ ซึ่งเป็นการประเมินกระบวน การผลิตตั้งแต่เริ่มต้น จนกระทั่งเสร็จสิ้นการทอเป็นผืนผ้า รายละเอียดการตรวจประเมินเน้นการประยุกต์ใช้หลักการเทคโนโลยีสะอาด (Clean Technology) ซึ่งเป็นการเน้นการลดมลพิษ ณ แหล่งกำเนิด ระดับการประเมิน หมายเหตุ เกณฑ์การประเมิน ผ่าน/ไม่ คะแนน ผ่าน 1. การบันทึกข้อมูลการผลิต ไม่มี และการใช้เส้นฝ้ายปั่นมือ ฝ้ายโรงงาน และการสาวไหม 1.1 ปริมาณการใช้ฝ้าย แหล่งกำเนิด เส้นด้ายปั่นมือ ที่ผลิตได้ เมล็ดฝ้ายที่เหลือ และการจัดการกับเมล็ดฝ้าย เศษฝ้าย 1.2 ปริมาณรังไหม น้ำ สารเคมี ที่ใช้ในการสาวไหม ไหมที่สาวได้ และการจัดการ กับหนอนไหม 2. การบันทึกปริมาณด้ายที่นำ ไม่ม ี เข้าย้อมรวมถึงสีย้อม สารเคมี น้ำ และเชื้อเพลิงที่ใช้

��แ น ว ท า ง ก า ร ผ ลิ ต สิ่ ง ท อ ข น า ด เ ล็ ก ที่ เ ป็ น มิ ต ร กั บ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม

ระดับการประเมิน หมายเหตุ เกณฑ์การประเมิน ผ่าน/ไม่ คะแนน ผ่าน 3. การบันทึกแหล่งที่มาของพืช ไม่มี หรือวัสดุให้สีตามธรรมชาติ วิธีการได้มาซึ่งพืชหรือวัสดุ ให้สีตามธรรมชาติ และใช้ ประโยชน์จากวัสดุเหล่านี้ ให้มากที่สุด 4. การบันทึกปริมาณด้ายที่นำ ไม่มี เข้าย้อม รวมถึงพืชหรือวัสดุ ให้สีตามธรรมชาติ สารช่วยย้อม (Mordant) สารเคมี น้ำ และเชื้อเพลิง ที่ใช้ 5. ไม่ใช้สี และสารเคมี ไม่มี ในการย้อมและตกแต่งสิ่งทอ ที่อยู่ในรายการต้องห้าม ตามกฎหมายของประเทศไทย และข้อกำหนดของประเทศ ผู้ซื้อ และไม่ใช้สีเอโซ (Azo dyes) ที่ถูกประกาศ ห้ามใช้ใน The Directive restrictions on the marketing and use of

��แ น ว ท า ง ก า ร ผ ลิ ต สิ่ ง ท อ ข น า ด เ ล็ ก ที่ เ ป็ น มิ ต ร กั บ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม

ระดับการประเมิน หมายเหตุ เกณฑ์การประเมิน ผ่าน/ไม่ คะแนน ผ่าน certain dangerous substances and preparations (azocolourants) และคุณลักษณะด้านอนุภาค โลหะหนักเป็นไปตาม มาตรฐานผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรม มอก. 2231-2548 6. ปริมาณน้ำใช้ต่อน้ำหนัก > 200 l/kg ได้คะแนน 0

ผลิตภัณฑ์ (ปริมาณน้ำใช ้ > 150-200 l/kg ไดค้ะแนน 1

ครอบคลุมถึง น้ำใช้ในการ > 100-150 l/kg ได้คะแนน 2

ล้างไขมัน > 75-100 l/kg ได้คะแนน 3

น้ำใช้ในการย้อมสี < 75 l/kg ได้คะแนน 4

น้ำล้างฝ้ายในทุกขั้นตอน ไม่ทราบ ไม่ได้คะแนน

และน้ำใช้อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับ คือไม่ผ่าน

กระบวนการผลิต) 7. การใช้ซ้ำ (Reuse) และ/ ไม่มี หรือ ใช้หมุนเวียน (Recycle) น้ำล้าง และ/หรือ ใช้การล้าง แบบสวนทาง (Counter flow) และไม่ใช้การล้างในระบบน้ำ ล้น (Overflow) รวมทั้งไม่ล้าง ในลำน้ำสาธารณะ

��แ น ว ท า ง ก า ร ผ ลิ ต สิ่ ง ท อ ข น า ด เ ล็ ก ที่ เ ป็ น มิ ต ร กั บ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม

ระดับการประเมิน หมายเหตุ เกณฑ์การประเมิน ผ่าน/ไม่ คะแนน ผ่าน 8. ใช้อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล ไม่มี สำหรับป้องกันสารเคมี ฝุ่น เสียง และอันตรายจาก การทำงาน (อุปกรณ์ป้องกัน อย่างน้อยประกอบด้วย หน้ากาก ผ้าปิดจมูก รองเท้าบูท ถุงมือ ผ้ากันเปื้อนขณะย้อม) 9. มีอุปกรณ์ตรวจวัดและ/ มีแต่ไม่ได้ใช้งาน/ หรือวิธีการที่เกี่ยวข้องกับ ไม่มี ได้คะแนน 0 การควบคุมปัจจัยการผลิต มีแต่ใช้งาน และมีการบำรุงรักษาให้อยู่ใน ไม่สม่ำเสมอ สภาพพร้อมใช้งาน (อุปกรณ์ ได้คะแนน 1 ตรวจวัด เช่น ตาชั่งใหญ่ มี/ใช้งานถูกต้อง ตาชั่งเล็ก กระบอกตวง สม่ำเสมอ อุปกรณ์กลับฝ้าย เครื่องวัด ได้คะแนน 2 อุณหภูมิ ความเป็นกรด-ด่าง นาฬิกาจับเวลา) 10. มาตรการส่งเสริมให้มีการใช้ ไม่มีมาตรการ พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ ไดค้ะแนน 0 มมีาตรการ ได้คะแนน 1 มีมาตรการแสดงผล ได้คะแนน 2

��แ น ว ท า ง ก า ร ผ ลิ ต สิ่ ง ท อ ข น า ด เ ล็ ก ที่ เ ป็ น มิ ต ร กั บ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม

ระดับการประเมิน หมายเหตุ เกณฑ์การประเมิน ผ่าน/ไม่ คะแนน ผ่าน 11. การจัดการวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว ไม่มี อย่างถูกต้อง ไม่ทำการเผาวัสดุ บรรจุภัณฑ์ สารเคมีที่ไม่ใช้แล้ว 12. แผนการปรับปรุงการผลิต ไม่ม ี ตามแนวทางเทคโนโลยีสะอาด หรือจากภูมิปัญญาท้องถิ่น 13. การดูแลรักษาความสะอาด ไม่ม ี ความเป็นระเบียบเรียบร้อย ในบริเวณโรงงาน และนำ การจัดการที่ดี (Good House Keeping) มาใช้เป็นประจำ 14. น้ำทิ้งที่ระบายออกจาก ไม่ม ี สถานที่ผลิต 14.1 คุณลักษณะ 14.2 ภาระความสกปรกในรูป ซีโอดี (COD loading) ไม่เกิน 50 g/kg ผลิตภัณฑ์

��แ น ว ท า ง ก า ร ผ ลิ ต สิ่ ง ท อ ข น า ด เ ล็ ก ที่ เ ป็ น มิ ต ร กั บ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม

รายละเอียดเกี่ยวกับการประเมิน เรื่องการจัดการที่ดี (Good House Keeping) การประเมนิเรือ่งการจดัการทีด่ ี (Good House Keeping) สถานประกอบการ ต้องมีการดำเนินการในหัวข้อต่างๆ ต่อไปนี้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 (7 ข้อจาก 10 ข้อ) o จัดเก็บวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์เป็นสัดส่วน และใช้บรรจุภัณฑ์ที่สามารถ รักษาคุณภาพวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์ได้ o จัดเก็บสีและสารเคมี แยกเป็นสัดส่วน มีภาชนะบรรจุที่สามารถ รักษาสมบัติของสีและสารเคมีได้ มีการระบุชื่อ วันที่ซื้อ วันหมดอายุ และนำมาใช้ตามลำดับก่อนหลัง o ไม่พบสารเคมีหก รั่วไหล หรือสารเคมีเสื่อมสภาพ o จัดให้มีบริเวณเตรียมสี สารเคมี เป็นสัดส่วนและมีการละลายสี/ สารเคมีให้ละลายจนหมด o จัดเก็บวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว วัสดุที่ปนเปื้อนสี สารเคมี อย่างเป็นสัดส่วน ห่างไกลจากผู้ที่ไม่เกี่ยวข้อง o ไม่พบการเปิดน้ำทิ้งไว้ และไม่พบน้ำรั่วไหล o คัดแยกของเสียและของที่ยังใช้ประโยชน์ได้ออกจากกันเพื่อนำกลับ มาใช้ประโยชน์ o เก็บกวาดเศษวัสดุก่อนที่จะใช้น้ำล้างทำความสะอาด o แยกเศษฝ้าย/เศษวัสดุอื่นๆออกจากน้ำทิ้งก่อนเข้าระบบบำบัด o รักษาความสะอาดเรียบร้อยของบริเวณโดยรอบ

�0แ น ว ท า ง ก า ร ผ ลิ ต สิ่ ง ท อ ข น า ด เ ล็ ก ที่ เ ป็ น มิ ต ร กั บ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม

หลักเกณฑ์การให้คะแนนและระดับการรับรอง สถานประกอบการที่ ได้รับการรับรองในระดับดีเยี่ยม ต้องผ่านเกณฑ์ การผลิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมทั้ง 14 ข้อ และต้องได้คะแนนจากข้อ 6 ข้อ 9 และข้อ 10 รวม 8 คะแนน สถานประกอบการที่ได้รับการรับรองในระดับระดับดีมาก ต้องผ่านเกณฑ์การผลิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมทั้ง 14 ข้อ และต้องได้คะแนนจากข้อ 6 ข้อ 9 และข้อ 10 รวม 7 คะแนน สถานประกอบการที่ ได้รับการรับรองในระดับระดับระดับดี ต้องผ่านเกณฑ์การผลิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมทั้ง 14 ข้อ และต้องได้คะแนนจากข้อ 6 ข้อ 9 และข้อ 10 รวม 6 คะแนน

��แ น ว ท า ง ก า ร ผ ลิ ต สิ่ ง ท อ ข น า ด เ ล็ ก ที่ เ ป็ น มิ ต ร กั บ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม

ตราสัญลักษณ์การผลิตที่เป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อม ตราสัญลักษณ์การผลิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม หรือตราสัญลักษณ์ตัว G จะมอบให้แก่สถานประกอบการที่ผ่านเกณฑ์การผลิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม โดยเป็นสื่อประชาสัมพันธ์ให้ผู้บริโภคทราบว่าการผลิตของสถานประกอบการให้ความสำคัญกับการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่าและลดผลกระทบของมลภาวะที่เป็นพิษต่อสิ่งแวดล้อม

ระดับดีเยี่ยม ตราสัญลักษณ์สีทอง

ระดับดีมาก ตราสัญลักษณ์สีเงิน

ระดับดี ตราสัญลักษณ์สีทองแดง

ผู้ประกอบการที่ผ่านเกณฑ์การผลิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ในปี 2550

��แ น ว ท า ง ก า ร ผ ลิ ต สิ่ ง ท อ ข น า ด เ ล็ ก ที่ เ ป็ น มิ ต ร กั บ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม

เอกสารอ้างอิง สถาบนัวจิยัและพฒันาวทิยาศาสตรแ์ละเทคโนโลย ีมหาวทิยาลยัเชยีงใหม.่ (2550) รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการส่งเสริมการผลิตสิ่งทอขนาดเล็กที่เป็น มิตรกับสิ่งแวดล้อม พื้นที่ภาคเหนือ. กรุงเทพฯ : กรมส่งเสริมคุณภาพ สิ่งแวดล้อม.