๑ ๑๙ มิถุนายน ๒๕๕๘ - sac...ของพระองค เอง...

13
ฐานขอมูลแหลงโบราณคดีที่สําคัญในประเทศไทย, ศมส. การสํารวจแหลงโบราณคดีที่ อ.เมือง และ อ.แกงคอย จ.สระบุรี วันที่ ๑๗-๑๙ มิถุนายน ๒๕๕๘ ตามรอยจารึก จ... ที ่ อ.เมือง และ อ.แก ่งคอย จ.สระบุรี นิสา เชยกลิ่น ไม่นานมานี้ ผู ้เขียน มีโอกาสไปจังหวัดสระบุรี ซึ่งถือเปนเมืองสําคัญเมืองหนึ่งมาแตโบราณ สันนิษฐานวาตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ.๒๐๙๒ สมัยสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ โดยแบงพื้นที่บางสวนของเมืองลพบุรีกับเมืองนครนายกมารวมกันแลวตั้งขึ้นเปน เมืองสระบุรี สวนที่มาของชื่อ สระบุรี” คาดวามาจากทําเลที่ตั้งครั้งแรกมีบึงอยูใกล คือ บึงหนองโงง” เมื่อตั้งเมืองขึ้นจึงไดนํา คําวา สระ” มารวมเขากันกับคําวา บุรี” เปนชื่อเมือง สระบุรี 0 เมื่อจังหวัดสระบุรีมีประวัติศาสตรความเปนมาที่ยาวนานเชนนี้จึงไมแปลกที่จะมีโบราณสถานสําคัญเปนจํานวนมาก ผูเขียนไดไปเยี่ยมชมโบราณสถานหลายๆ แหง ไดแก เจดียภูธาตุรางที่ อบต.หนองยาว วัดพระพุทธฉาย วัดถ้ําพระโพธิสัตว และ ผาเสด็จพัก แตละแหงลวนมีประวัติศาสตรที่นาสนใจศึกษา มีศาสนสถานเปนที่ยึดเหนี่ยวจิตใจและเคารพสักการะของ ศาสนิกชน ซึ่งโบราณสถานที่กลาวมาขางตนนี้มีจารึกพระปรมาภิไธยยอถึง ๓ แหง อันเปนเครื่องหมายการเสด็จเยือนของ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ ๕ ซึ่งไดเดินทางไปในที่นั้นๆ จารึกพระปรมาภิไธยยอนี้นับเปนหลักฐานทาง ประวัติศาสตร ผูเขียนจึงขอตามรอยประวัติศาสตรจากจารึกพระปรมาภิไธยยอ จ.ป.ร. พระปรมาภิไธย หมายถึง พระนามของพระมหากษัตริยที่ปรากฏจารึกในพระสุบรรณบัฏหลังจากพระราชพิธี ราชาภิเษกแลว โดยเริ่มมีครั้งแรกในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๔) ทรงโปรดใหเฉลิมพระปรมาภิไธย ของพระองคเอง และเฉลิมพระปรมาภิไธยถวายแดสมเด็จพระบูรพมหากษัตริยาธิราชในอดีต1 อักษรพระปรมาภิไธยยอ คืออักษรที่ยอจากพระปรมาภิไธยของพระมหากษัตริยใหเหลือเพียง ๓ อักษร มักใชใน พระราชลัญจกรซึ่งเปนสัญลักษณประจําพระองค และตราสัญลักษณงานพระราชพิธี 2 สําหรับอักษรพระปรมาภิไธยยอของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณฯ พระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว3 นั้น มาจากคําวา มหาจุฬาลงกรณปรมราชาธิราชจึงมีอักษรพระปรมาภิไธยวา จ.ป.รศิลปากร, กรม, พระปรมาภิไธยที่พบในประเทศไทย (กรุงเทพฯ: บริษัทรุงศิลปการพิมพ (๑๙๗๗) จํากัด, ๒๕๔๕, ๓๔. เรื่องเดียวกัน, ๑๐. เรื่องเดียวกัน, ๑๑. พระปรมาภิไธยตามจารึกในพระสุบรรณบัฎวา พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ บดินทรเทพยมหามงกุฏ บุรุษรัตนราช รวิวงศ วรุตมพงศบริพัตร วรขัติยราชนิกโรดม จาตุรันตบรมมหาจักรพรรดิราชสังกาศ อุภโตสุชาติสังสุทธเคราะหณี จักรีบรมนาถ อดิศวรราชรามวรัง กูร สุจริตมูลสุสาธิต อรรคอุกฤษฏไพบูลย บุรพาดูลยกฤษฎาภินิหาร สุภาธิการรังสฤษดิ์ ธัญลักษณวิจิตรโสภาคยสรรพางค มหาชโนตมางคประณต บาทบงกชยุคล ประสิทธิสรรพศุภผลอุดมบรมสุขุมมาลย ทิพยเทพาวตารไพศาลเกียรติคุณอดุลยพิเศษ สรรพเทเวศรานุรักษ วิสิษฐศักดิ์สมญาพินิต ประชานาถ เปรมกระมลขัติยราชประยูร มูลมุขมาตยาภิรมย อุดมเดชาธิการ บริบูรณคุณสารสยามาทินครวรุตเมกราชดิลก มหาปริวารนายกอนันต มหันตวรฤทธิเดช สรรวิเศษสิรินทร อเนกชนนิกรสโมสรสมมติ ประสิทธิ์วรยศมโหดมบรมราชสมบัติ นพปดลเศวตฉัตราดิฉัตร สิริรัตโนปลักษณมหา บรมราชาภิเษกาภิลิต สรรพทศทิศวิชิตชัย สกลมไหศวริยมหาสวามินทร มเหศวรมหินทรมหารามาธิราชวโรดม บรมนาถชาติอาชาวศรัย พุทธาทิไตร รัตนสรณารักษ อดุลยศักดิ์อรรคนเรศราธิบดี เมตตากรุณาสีตลหฤทัย อโนปมัยบุญการ สกลไพศาลมหารัษฎาธิบดินทร ปรมินทรธรรมิกหาราชาธิราช บรมนาถบพิตร พระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวแตเนื ่องจากพระปรมาภิไธยมีความยาวมาก จึงนิยมกลาวพระปรมาภิไธยประโยคตนเพียงประโยคเดียว และใสเครื่องหมายไปยาลนอย อาจตามดวยสรอยพระปรมาภิไธยประโยคทายดวย

Upload: others

Post on 30-Jan-2020

4 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: ๑ ๑๙ มิถุนายน ๒๕๕๘ - SAC...ของพระองค เอง และเฉล มพระปรมาภ ไธยถวายแด สมเด

ฐานขอมูลแหลงโบราณคดีท่ีสําคัญในประเทศไทย, ศมส.

การสํารวจแหลงโบราณคดีที่ อ.เมือง และ อ.แกงคอย จ.สระบรุี วนัที่ ๑๗-๑๙ มิถุนายน ๒๕๕๘

ตามรอยจารึก จ.ป.ร. ที่ อ.เมือง และ อ.แก่งคอย จ.สระบุรี

นิสา เชยกล่ิน

ไม่นานมานี ้ผู้ เขียนมีโอกาสไปจังหวัดสระบุรี ซึ่งถือเปนเมืองสําคัญเมืองหน่ึงมาแตโบราณ สันนิษฐานวาต้ังข้ึนเม่ือ

พ.ศ.๒๐๙๒ สมัยสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ โดยแบงพื้นท่ีบางสวนของเมืองลพบุรีกับเมืองนครนายกมารวมกันแลวต้ังข้ึนเปน

เมืองสระบุรี สวนท่ีมาของช่ือ “สระบุร”ี คาดวามาจากทําเลท่ีต้ังครั้งแรกมีบึงอยูใกล คือ “บึงหนองโงง” เม่ือต้ังเมืองข้ึนจึงไดนํา

คําวา “สระ” มารวมเขากันกับคําวา “บุรี” เปนช่ือเมือง “สระบุรี”0

เม่ือจังหวัดสระบุรีมีประวัติศาสตรความเปนมาท่ียาวนานเชนน้ีจึงไมแปลกท่ีจะมีโบราณสถานสําคัญเปนจํานวนมาก

ผูเขียนไดไปเย่ียมชมโบราณสถานหลายๆ แหง ไดแก เจดียภูธาตุรางท่ี อบต.หนองยาว วัดพระพุทธฉาย วัดถํ้าพระโพธิสัตว และ

ผาเสด็จพัก แตละแหงลวนมีประวัติศาสตร ท่ีนาสนใจศึกษา มีศาสนสถานเปนท่ียึดเหน่ียวจิตใจและเคารพสักการะของ

ศาสนิกชน ซึ่งโบราณสถานท่ีกลาวมาขางตนน้ีมีจารึกพระปรมาภิไธยยอถึง ๓ แหง อันเปนเครื่องหมายการเสด็จเยือนของ

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลท่ี ๕ ซึ่งไดเดินทางไปในท่ีน้ันๆ จารึกพระปรมาภิไธยยอน้ีนับเปนหลักฐานทาง

ประวัติศาสตร ผูเขียนจึงขอตามรอยประวัติศาสตรจากจารึกพระปรมาภิไธยยอ จ.ป.ร.

พระปรมาภิไธย หมายถึง พระนามของพระมหากษัตริย ท่ีปรากฏจารึกในพระสุบรรณบัฏหลังจากพระราชพิธี

ราชาภิเษกแลว โดยเริ่มมีครั้งแรกในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลท่ี ๔) ทรงโปรดใหเฉลิมพระปรมาภิไธย

ของพระองคเอง และเฉลิมพระปรมาภิไธยถวายแดสมเด็จพระบูรพมหากษัตริยาธิราชในอดีต1

อักษรพระปรมาภิไธยยอ คืออักษรท่ียอจากพระปรมาภิไธยของพระมหากษัตริยใหเหลือเพียง ๓ อักษร มักใชใน

พระราชลัญจกรซึ่งเปนสัญลักษณประจําพระองค และตราสัญลักษณงานพระราชพิธี2

สําหรับอักษรพระปรมาภิไธยยอของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณฯ พระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว3

๔ น้ัน

มาจากคําวา “มหาจุฬาลงกรณปรมราชาธิราช” จึงมีอักษรพระปรมาภิไธยวา “จ.ป.ร”

๑ ศิลปากร, กรม, พระปรมาภิไธยที่พบในประเทศไทย (กรุงเทพฯ: บริษัทรุงศิลปการพิมพ (๑๙๗๗) จํากัด, ๒๕๔๕, ๓๔. ๒ เรื่องเดียวกัน, ๑๐. ๓ เรื่องเดียวกัน, ๑๑. ๔ พระปรมาภิไธยตามจารึกในพระสุบรรณบัฎวา “พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ บดินทรเทพยมหามงกุฏ บุรุษรัตนราช

รวิวงศ วรุตมพงศบริพัตร วรขัติยราชนิกโรดม จาตุรันตบรมมหาจักรพรรดิราชสังกาศ อุภโตสุชาติสังสุทธเคราะหณี จักรีบรมนาถ อดิศวรราชรามวรัง

กูร สุจริตมูลสุสาธิต อรรคอุกฤษฏไพบูลย บุรพาดูลยกฤษฎาภินิหาร สุภาธิการรังสฤษดิ์ ธัญลักษณวิจิตรโสภาคยสรรพางค มหาชโนตมางคประณต

บาทบงกชยุคล ประสิทธิสรรพศุภผลอุดมบรมสุขุมมาลย ทิพยเทพาวตารไพศาลเกียรติคุณอดุลยพิเศษ สรรพเทเวศรานุรักษ วิสิษฐศักดิ์สมญาพินิต

ประชานาถ เปรมกระมลขัติยราชประยูร มูลมุขมาตยาภิรมย อุดมเดชาธิการ บริบูรณคุณสารสยามาทินครวรุตเมกราชดิลก มหาปริวารนายกอนันต

มหันตวรฤทธิเดช สรรวิเศษสิรินทร อเนกชนนิกรสโมสรสมมต ิประสิทธ์ิวรยศมโหดมบรมราชสมบัติ นพปดลเศวตฉัตราดิฉัตร สิริรัตโนปลักษณมหา

บรมราชาภิเษกาภิลิต สรรพทศทิศวิชิตชัย สกลมไหศวริยมหาสวามินทร มเหศวรมหินทรมหารามาธิราชวโรดม บรมนาถชาติอาชาวศรัย พุทธาทิไตร

รัตนสรณารักษ อดุลยศักดิ์อรรคนเรศราธิบดี เมตตากรุณาสีตลหฤทัย อโนปมัยบุญการ สกลไพศาลมหารัษฎาธิบดินทร ปรมินทรธรรมิกหาราชาธิราช

บรมนาถบพิตร พระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว”

แตเนื่องจากพระปรมาภิไธยมีความยาวมาก จึงนิยมกลาวพระปรมาภิไธยประโยคตนเพียงประโยคเดียว และใสเครื่องหมายไปยาลนอย

อาจตามดวยสรอยพระปรมาภิไธยประโยคทายดวย

Page 2: ๑ ๑๙ มิถุนายน ๒๕๕๘ - SAC...ของพระองค เอง และเฉล มพระปรมาภ ไธยถวายแด สมเด

ฐานขอมูลแหลงโบราณคดีท่ีสําคัญในประเทศไทย, ศมส.

การสํารวจแหลงโบราณคดีที่ อ.เมือง และ อ.แกงคอย จ.สระบรุี วนัที่ ๑๗-๑๙ มิถุนายน ๒๕๕๘

จารึกพระปรมาภิไธยยอท่ีวัดพระพุทธฉาย

จารึกหลักแรก ผูเขียนขอกลาวถึงจารึกพระปรมาภิไธยยอ จ.ป.ร. ท่ีวัดพระพุทธฉาย ตําบลหนองปลาไหล อําเภอเมือง

สระบุรี จังหวัดสระบุรี “พระพุทธฉาย” หรือเงาพระพุทธเจา เปนรอยประทับพระพุทธรูปยืนเลือนลางอยู ท่ีชะงอนผา

มีตํานานเลาวา พระพุทธเจาเสด็จมาท่ีเขาฆาฏกะ (เขาพระพุทธฉาย) เพื่อโปรดนายพรานฆาฏกะจนสําเร็จพระอรหันต

ครั้นพระพุทธเจาเสด็จกลับ พระฆาฏกะไดทูลขอใหประทานส่ิงอันเปนอนุสรณเพื่อสักการะกราบไหว พระพุทธเจาจึงทรงแสดง

พุทธปาฏิหาริยใหเงาของพระองคติดอยูในเน้ือหินท่ีเง้ือมเขาพระพุทธฉาย และไดประทับ "รอยพระบาทเบ้ืองขวา" ไว ณ บนยอด

ภูเขาแหงน้ีดวย

การคนพบพระพุทธฉาย สันนิษฐานวาถูกคนพบในสมัยพระเจาทรงธรรมแหงกรุงศรีอยุธยา ซึ่งมีรับส่ังใหคนหารอยพระ

พุทธบาทตามภูเขาทุกแหง จึงพบพระพุทธฉาย พระเจาทรงธรรมโปรดใหสรางมณฑปครอบไวเปนสถานท่ีเคารพสักการะของ

พุทธศาสนิกชน เม่ือเวลาผานไปทางราชการเห็นวามณฑปพระพุทธฉายทรุดโทรมลงมาก ไมอาจปลอยปละละเลยตอไปได พ.ศ.

๒๕๓๗ กรมศิลปากรไดต้ังงบประมาณบูรณะซอมแซมวัดพระพุทธฉายใหงดงามและเจริญจวบจนปจจุบัน4

จารึกพระปรมาภิไธยยอ จ.ป.ร. ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ประดิษฐานอยูบริเวณเชิงผาตรงกลาง

ระหวางพระพุทธไสยาสนกับมณฑปสองยอดท่ีครอบพระพุทธฉาย

เม่ือวันท่ี ๑๖ ธันวาคม พ.ศ.๒๔๓๙ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวเสด็จประพาสเมืองสระบุรโีดยรถไฟพระ

ท่ีน่ัง ถึงตําบลปากเพรียวบาย ๒ โมงครึ่ง และเสด็จประทับแรมท่ีพลับพลาริมแมนํ้าตรงแกงมวง

วันท่ี ๑๗ ธันวาคม เวลาโมงเชาเศษ ทรงมาพระท่ีน่ังออกทุงนาเขาดง ถึงพระพุทธฉายเวลา ๓ โมงเชาเศษ เสด็จข้ึน

นมัสการพระพุทธฉาย ประทับเสวยพระกระยาหารเชาแลวโปรดใหจารึกอักษรพระปรมาภิไธยยอท่ีเชิงผา พรอมกับจารึกปท่ี

เสด็จพระราชดําเนิน ร.ศ.๗๙ (พ.ศ.๒๔๐๓), ร.ศ.๙๑ (พ.ศ.๒๔๑๕), ร.ศ.๑๐๔ (พ.ศ.๒๔๒๘) และ ร.ศ.๑๑๕ (พ.ศ. ๒๔๓๙)5

ตําแหนงลูกศรสีเหลือง-บริเวณท่ีมีจารึกพระปรมาภิไธยยอ

๕ ทศพล จังพาณิชยกุล, ตามรอยพระพุทธบาท : รวมรอยพระพุทธบาททัว่ประเทศ ๔๙๑ แหง (กรุงเทพฯ : คอมมา, ๒๕๕๕), ๑๓๒-

๑๓๓. ๖ ศิลปากร, กรม, พระปรมาภิไธยที่พบในประเทศไทย, ๔๘.

Page 3: ๑ ๑๙ มิถุนายน ๒๕๕๘ - SAC...ของพระองค เอง และเฉล มพระปรมาภ ไธยถวายแด สมเด

ฐานขอมูลแหลงโบราณคดีท่ีสําคัญในประเทศไทย, ศมส.

การสํารวจแหลงโบราณคดีที่ อ.เมือง และ อ.แกงคอย จ.สระบรุี วนัที่ ๑๗-๑๙ มิถุนายน ๒๕๕๘

เชิงผาท่ีมีจารึกพระปรมาภิไธยยอและพระนามาภิไธยยอ

จารึกพระปรมาภิไธยยอและปท่ีเสด็จ

Page 4: ๑ ๑๙ มิถุนายน ๒๕๕๘ - SAC...ของพระองค เอง และเฉล มพระปรมาภ ไธยถวายแด สมเด

ฐานขอมูลแหลงโบราณคดีท่ีสําคัญในประเทศไทย, ศมส.

การสํารวจแหลงโบราณคดีที่ อ.เมือง และ อ.แกงคอย จ.สระบรุี วนัที่ ๑๗-๑๙ มิถุนายน ๒๕๕๘

จารึกพระปรมาภิไธยยอ

จารึก ร.ศ. ครั้นเสด็จพระราชดําเนิน

ลักษณะจารึกท่ีพบเปนอักษร “จปร” สลักเช่ือมเปนเสนเดียวกัน รอยสลักลงดวยสีทองเกือบท้ังหมด สําหรับขนาด

ตัวอักษร “จปร” ซึ่งขอมูลท่ีปรากฏในหนังสือ พระปรมาภิไธยท่ีพบในประเทศไทย ระบุวาอักษร “จปร” วามีขนาดรวมกันกวาง

๒๕ เซนติเมตร สูง ๓๐ เซนติเมตร 6

แตเม่ือวัดขนาดของจารึกแลวพบวาขนาดตัวอักษร “จปร” รวมกันกวาง ๙๐ เซนติเมตร สูง ๑๕๓ เซนติเมตร และ

ตัวเลขปท่ีเคยเสด็จ ไดแก “๗๙” “๙๑” “๑๐๔” และ “๑๑๕” กวาง ๕๕ เซนติเมตร สูง ๑๐๔ เซนติเมตร 7

ปจจุบันสภาพของอักษรยังมีความชัดเจนและสมบูรณ บางตําแหนงของจารึกถูกปดดวยทองคําเปลวแตไมมีผลกับตัว

จารึก

นอกจากน้ี ยังพบจารึกพระปรมาภิไธยยอ พระนามาภิไธยยอ และพระนามพระบรมวงศานุวงศอีกหลายพระองค ซึ่งได

เสด็จพระราชดําเนินหรือเสด็จมานมัสการพระพุทธฉายภายหลัง อาทิ จารึกพระปรมาภิไธยยอในพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว

ภูมิพลอดุลยเดชมหาราช จารึกพระนามาภิไธยยอในสมเด็จพระนางเจาสิริกิต พระบรมราชินีนาถ ครั้นเสด็จพระราชดําเนินมา

นมัสการพระพุทธฉาย เม่ือวันท่ี ๓ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๑๖ เปนตน

ศิลปากร, กรม, พระปรมาภไิธยท่ีพบในประเทศไทย, ๕๐.

๘ สํารวจเม่ือวันท่ี ๑๗ มิถุนายน ๒๕๕๘

Page 5: ๑ ๑๙ มิถุนายน ๒๕๕๘ - SAC...ของพระองค เอง และเฉล มพระปรมาภ ไธยถวายแด สมเด

ฐานขอมูลแหลงโบราณคดีท่ีสําคัญในประเทศไทย, ศมส.

การสํารวจแหลงโบราณคดีที่ อ.เมือง และ อ.แกงคอย จ.สระบรุี วนัที่ ๑๗-๑๙ มิถุนายน ๒๕๕๘

จารึกพระปรมาภิไธยยอ พระนามาภิไธยยอ และพระนามของพระบรมวงศานุวงศ

จารึกพระนามาภิไธยยอ “อด”

และวันท่ี ๒๒ พฤศจิกายน ๒๔๖๓

จารึกพระนามาภิไธยยอ “สว”

จารึกพระปรมาภิไธยยอท่ีวัดถํ้าพระโพธิสัตว

จารึกหลักตอมาอยูท่ีวัดถํ้าพระโพธิสัตว หมูท่ี ๑๐ ตําบลทับกวาง อําเภอแกงคอย จังหวัดสระบุรี เปนวัดสายวิปสสนา

กัมมัฏฐานท่ีซอนตัวอยูทามกลางหุบเขา ไรสัญญาณโทรศัพท เหมาะอยางย่ิงกับการเปนสถานท่ีปฏิบัติธรรมสําหรับผูตองการปลีก

วิเวกอยางแทจริง

ถํ้าพระโพธิสัตว มีหลายช่ือเรียกไดแก ถํ้าพระงาม ถํ้าเขานํ้าพุ เปนถํ้าท่ีมีภาพสลักนูนตํ่าศิลปกรรมสมัยทวารวดี

(พุทธศตวรรษท่ี ๑๓-๑๔) ภาพประกอบดวยบุคคล ๖ คนในอิริยาบถท่ีตางกัน สันนิษฐานไดวาเปนภาพสลักเลาเรื่องตอน

พระพุทธเจาแสดงธรรม เหลาเทพยดามาเฝาสดับพระธรรม

Page 6: ๑ ๑๙ มิถุนายน ๒๕๕๘ - SAC...ของพระองค เอง และเฉล มพระปรมาภ ไธยถวายแด สมเด

ฐานขอมูลแหลงโบราณคดีท่ีสําคัญในประเทศไทย, ศมส.

การสํารวจแหลงโบราณคดีที่ อ.เมือง และ อ.แกงคอย จ.สระบรุี วนัที่ ๑๗-๑๙ มิถุนายน ๒๕๕๘

ภาพสลักนูนต่ํา ศิลปกรรมสมัยทวารวดี ถํ้าพระโพธิสัตว

จารึกพระปรมาภิไธยย่อ จ.ป.ร. ของพระบาทสมเด็จพระจลุจอมเกล้าเจ้าอยูห่วัทีว่ดัถํา้พระโพธิสตัว์นี ้จารึกเมื่อวนัที่

๒๐ ธันวาคม พ.ศ.๒๔๓๙ (ร.ศ.๑๑๕)

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หวัเสด็จฯ จากสระบุรีโดยรถไฟถึงที่พกัรถไฟแก่งคอย เสด็จลงจากรถไฟ

แล้วทรงม้าไปตามทางป่าถึงบ้านลาวเวลา ๔ โมงเช้า พกัเสวยพระกระยาหารเช้าจากนัน้ทรงม้าไปเร่ือยๆ บ่ายโมงเศษถึง

ตําบลพนุํา้โจน พระองค์ทอดพระเนตรนํา้ตกแล้วโปรดให้จารึกอกัษรพระปรมาภิไธยย่อ และปีที่เสด็จไว้ที่บริเวณเนินเขาเหนอื

นํา้ตก 8

ปัจจุบนัจารึกหลกันีอ้ยู่ในบริเวณที่เข้าถึงและเห็นได้ยาก ไม่มีปา้ยหรือจดุใดที่บ่งบอกว่าอยู่ตําแหน่งใด ตอนที่ไป

สํารวจได้สอบถามเจ้าหน้าที่ของวดัก็ไม่สามารถชีบ้อกตําแหน่งจารึกได้ เพียงแค่บอกว่ามีจารึกอยู่จริง ผู้ เขียนและทีมสํารวจ

ได้ตรวจดพืูน้ที่รอบๆ นํา้ตก ต้องสงัเกตก้อนหินก้อนเล็กก้อนใหญ่เพ่ือหาจารึก จนเดินไปถึงเนินเขาเหนือนํา้ตกซึ่งก่ิงไม้ตกลง

มาปกคลมุจารึก

การสํารวจและวดัขนาดจารึกเป็นไปอย่างลําบาก เพราะตําแหน่งจารึกอยู่บริเวณเนินผาต้นนํา้ซึ่งอยู่ต่ํากว่าก้อนหิน

ที่ทีมสํารวจยืนอยู่ แต่มีช่องว่างระหว่างหินพอให้แทรกตวัลงไปวดัขนาดจารึก “จปร” ซึ่งตวัอกัษรคล้ายกับจารึกที่วดัพระพทุธ

ฉาย และตัวเลข “๑๑๕” อยู่ใต้ตัวตัวอักษร พืน้ที่ขอบเขตจารึกทัง้ตัวอักษรและตัวเลข กว้าง ๓๔ เซนติเมตร สูง ๔๕

เซนติเมตร ห่างออกไป ๔๕ เซนติเมตรทางทิศตะวนัออก หรือทางซ้ายมือเมื่อหนัหน้าเข้าหาจารึก พบตวัอกัษร “พร” ขนาด

กว้าง ๒๕ เซนติเมตร สงู ๑๕ เซนติเมตร สภาพปัจจุบนัจารึกค่อนข้างสมบรูณ์อยู่มากเมื่อเทียบกับสภาพแวดล้อมที่ไม่ได้รับ

การดแูลเอาใจใส่เท่าใดนกั 9

๑๐

๙ ศิลปากร, กรม, พระปรมาภิไธยที่พบในประเทศไทย, ๓๖-๓๘. ๑๐ สํารวจเม่ือวันท่ี ๑๘ มิถุนายน ๒๕๕๘

Page 7: ๑ ๑๙ มิถุนายน ๒๕๕๘ - SAC...ของพระองค เอง และเฉล มพระปรมาภ ไธยถวายแด สมเด

ฐานขอมูลแหลงโบราณคดีท่ีสําคัญในประเทศไทย, ศมส.

การสํารวจแหลงโบราณคดีที่ อ.เมือง และ อ.แกงคอย จ.สระบรุี วนัที่ ๑๗-๑๙ มิถุนายน ๒๕๕๘

สํารวจจารึก

สภาพแวดลอมบริเวณน้ําตก

สภาพแวดลอมบริเวณน้ําตก

สภาพแวดลอมบริเวณน้ําตก

Page 8: ๑ ๑๙ มิถุนายน ๒๕๕๘ - SAC...ของพระองค เอง และเฉล มพระปรมาภ ไธยถวายแด สมเด

ฐานขอมูลแหลงโบราณคดีท่ีสําคัญในประเทศไทย, ศมส.

การสํารวจแหลงโบราณคดีที่ อ.เมือง และ อ.แกงคอย จ.สระบรุี วนัที่ ๑๗-๑๙ มิถุนายน ๒๕๕๘

จารึกพระปรมาภิไธย

จารึกพระปรมาภิไธย

Page 9: ๑ ๑๙ มิถุนายน ๒๕๕๘ - SAC...ของพระองค เอง และเฉล มพระปรมาภ ไธยถวายแด สมเด

ฐานขอมูลแหลงโบราณคดีท่ีสําคัญในประเทศไทย, ศมส.

การสํารวจแหลงโบราณคดีที่ อ.เมือง และ อ.แกงคอย จ.สระบรุี วนัที่ ๑๗-๑๙ มิถุนายน ๒๕๕๘

จารึกตัวอักษร พร (มุมซาย-บน ของภาพ)

วัดขนาดจารึก

หมายเหต ุจารึกพระปรมาภิไธยหลักน้ีอยูในตําแหนงที่คอนขางหายาก ไมมีปายบอกตําแหนงชัดเจน ทางวัดควรทําปายบอกทาง

ใหเห็นชัดเจน สําหรับทางที่เดินไปยังจารึกคอนขางลําบากตองคอยๆ ปนกอนหินขึ้นไป

Page 10: ๑ ๑๙ มิถุนายน ๒๕๕๘ - SAC...ของพระองค เอง และเฉล มพระปรมาภ ไธยถวายแด สมเด

ฐานขอมูลแหลงโบราณคดีท่ีสําคัญในประเทศไทย, ศมส.

การสํารวจแหลงโบราณคดีที่ อ.เมือง และ อ.แกงคอย จ.สระบรุี วนัที่ ๑๗-๑๙ มิถุนายน ๒๕๕๘

๑๐

จารึกพระปรมาภิไธยย่อที่ผาเสด็จพัก

จารึกหลักสุดท้ายที่ไปสํารวจคือ จารึกที่ผาเสด็จพัก หมู่ที่ ๕ ตําบลทับกวาง อําเภอแก่งคอย จังหวัดสระบุรี

เป็นสถานที่ประวติัศาสตร์สําหรับกิจการการรถไฟแห่งประเทศไทย เป็นทางผ่านของเส้นทางรถไฟที่ใช้เดินทางมุ่งเข้าสู่ภาค

อีสาน ซึ่งเป็นทางรถไฟสายแรกของประเทศไทย คือ ทางรถไฟสายพระมหานคร-นครราชสีมา ก่อสร้างขึน้ตามพระราชดําริ

ของพระบาทสมเด็จพระจลุจอมเกล้าเจ้าอยู่หวั

เส้นทางดงักล่าวนีจ้ะต้องผ่านจงัหวดัสระบุรี ซึ่งในสมยัก่อนเส้นทางจากสระบรีุไปอําเภอแก่งคอยต้องใช้เวลานาน

มากเพราะถนนหนทาง เช่น ถนนมิตรภาพยงัไม่มี มีเพียงเส้นทางโบราณเป็นถนนลกูรัง เป็นหลมุเป็นบ่อแทบตลอดทางทัง้ยงั

คดเคีย้วไปมาจากระยะทางจริง ๑๒ กิโลเมตร กลายเป็น ๑๖ กิโลเมตร

ดงันัน้ จึงได้สร้างทางรถไฟสายตะวนัออกเฉียงเหนือ สายแก่งคอย-มวกเหล็ก ตดัผ่านเทือกเขาดงพญาเย็นเพ่ือมุ่งสู่

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เมื่อสร้างทางรถไฟมาถึงบริเวณแก่งคอย ซึ่งที่แห่งนีไ้ด้เกิดเร่ืองเล่าเก่ียวพระบุญญาบารมีของ

พระบาทสมเด็จพระจลุจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวว่า ระหว่างสร้างทางรถไฟพบก้อนหินขนาดใหญ่หลายแห่งขวางเส้นทางจงึต้อง

ระเบิดหินเป็นช่วงๆ จนมาถึงผาเสด็จพกัซึ่งมีชะโงกหินยื่นออกมาเป็นก้อนขนาดมหึมา นายช่างและวิศวกรสัง่ให้ระเบิดทิง้

คนงานพยายามระเบิดหินอยู่หลายครัง้หลายคราก็ไม่เป็นผลสําเร็จ

ความนีท้ราบถึงพระเนตรพระกรรณของพระบาทสมเด็จพระจลุจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงโปรดให้นําตราแผ่นดินไป

ประทับตรงโคนต้นไม้ใหญ่บริเวณนัน้เป็นการเอาเคล็ด และมีพระราชกระแสรับสั่งให้นายช่างระเบิดหินต่อไป ว่ากันว่า

ชาวบ้านบางคนกลวัไม่กล้าระเบิดต่อ เนื่องจากมีนายช่างและคนงานบางคนเป็นไข้ป่าเจ็บหนกัจนถึงเสียชีวิต จึงโปรดเกล้าฯ

ให้สร้างศาลเพียงตาขึน้ที่ใกล้เงือ้มผา 10

๑๑

จารึกพระปรมาภิไธยย่อที่ผาเสด็จพัก จารึกขึน้เมื่อวันที่ ๒๒ ธันวาคม พ.ศ.๒๔๓๙ (ร.ศ.๑๑๕) พระบาทสมเด็จ

พระจลุจอมเกล้าเจ้าอยู่หวัเสด็จประพาสมาพร้อมด้วยสมเด็จพระนางเจ้าเสาวภาผ่องศรี พระอคัรราชเทวี ตามลํานํา้ป่าสัก

และเสด็จขึน้บก เสด็จฯ ต่อโดยรถไฟจากที่ประทบัแรมเข้าในดงถึงที่สดุทางรถไฟในเวลานัน้ (ตําบลหินลบั) เวลาบ่าย ๓ โมง

เศษ เสด็จลงจากรถไฟเสด็จพระราชดําเนินต่อไปตามทางที่ยงัไม่ได้วางเหล็กรางข้ามห้วยสองแห่ง เสด็จต่อมาถึงศิลาใหญ่ ณ

ผาแห่งนี ้เวลาบ่าย ๕ โมง ทรงโปรดให้จารึกพระปรมาภิไธย พระนามาภิไธย และพระราชทานนามศิลาตําบลนีว้่า “ผาเสด็จ

พกั” ติดไว้บนชะง่อนหินแห่งนัน้ พอเวลาจวนค่ํา ก็เสด็จกลบัมาประทบัยังที่พกัรถไฟ เสด็จขึน้รถไฟกลบัมาถึงพลบัพลาที่

ประทบัเวลาทุ่มเศษ 11

๑๒

จารึกพระปรมาภิไธยย่อที่ผาเสด็จพกัถกูจารึกไว้ทีก้่อนหินก้อนใหญ่ที่ยืน่ออกมา โดยจารึกด้วยตวัอกัษร “จปร” และ

“สผ” (พระนามาภิไธยย่อของสมเด็จพระนางเจ้าเสาวภาผ่องศรี) เลข ๑๑๕ (ปีทีม่าเยือน) และคําว่า “ผาเสด็จพกั” ซึ่งมี

ความสงูจากพืน้ประมาณ ๕ เมตร จึงทําให้ไม่สามารถวดัขนาดจารึกได้ สภาพปัจจุบนัจารึกอยู่ในสภาพค่อนข้างสมบรูณ์

ตวัอกัษรยงัอยู่ครบถ้วน 12

๑๓

๑๑ ศิลปากร, กรม, พระปรมาภิไธยที่พบในประเทศไทย, ๔๔. ๑๒ เรื่องเดียวกนั, ๔๕. ๑๓ สํารวจเม่ือวันท่ี ๑๗ มิถุนายน ๒๕๕๘

Page 11: ๑ ๑๙ มิถุนายน ๒๕๕๘ - SAC...ของพระองค เอง และเฉล มพระปรมาภ ไธยถวายแด สมเด

ฐานขอมูลแหลงโบราณคดีท่ีสําคัญในประเทศไทย, ศมส.

การสํารวจแหลงโบราณคดีที่ อ.เมือง และ อ.แกงคอย จ.สระบรุี วนัที่ ๑๗-๑๙ มิถุนายน ๒๕๕๘

๑๑

ผาเสด็จพกั

กอนหินท่ีมีจารึกพระปรมาภิไธยยอ

Page 12: ๑ ๑๙ มิถุนายน ๒๕๕๘ - SAC...ของพระองค เอง และเฉล มพระปรมาภ ไธยถวายแด สมเด

ฐานขอมูลแหลงโบราณคดีท่ีสําคัญในประเทศไทย, ศมส.

การสํารวจแหลงโบราณคดีที่ อ.เมือง และ อ.แกงคอย จ.สระบรุี วนัที่ ๑๗-๑๙ มิถุนายน ๒๕๕๘

๑๒

จารึกพระปรมาภิไธยยอ จ.ป.ร. และพระนามาภิไธยยอ ส.ผ. และคําวา ผาเสด็จพัก

พระบรมราชานุสาวรียพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว

Page 13: ๑ ๑๙ มิถุนายน ๒๕๕๘ - SAC...ของพระองค เอง และเฉล มพระปรมาภ ไธยถวายแด สมเด

ฐานขอมูลแหลงโบราณคดีท่ีสําคัญในประเทศไทย, ศมส.

การสํารวจแหลงโบราณคดีที่ อ.เมือง และ อ.แกงคอย จ.สระบรุี วนัที่ ๑๗-๑๙ มิถุนายน ๒๕๕๘

๑๓

ศาลหลวงพอผาเสด็จ

จากการตามรอยจารึกพระปรมาภิไธยยอท้ัง ๓ แหง พบวาพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวเสด็จประพาสท่ี

สระบุรีอยูหลายครั้ง โดยเฉพาะเสด็จไปท่ีวัดพระพุทธฉายถึง ๔ ครั้งตามท่ีจารึกไว และเม่ือครั้งท่ีทรงเสด็จเยือนสระบุรีเม่ือ พ.ศ.

๒๔๓๙ (ร.ศ.๑๑๕) พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวเสด็จพระราชดําเนินไปยังสถานท่ีสําคัญของเมืองสระบุรี ดังน้ี

วันท่ี ๑๖ ธันวาคม เสด็จมาประพาสท่ีสระบุรีโดยรถไฟพระท่ีน่ัง และเสด็จประทับแรมท่ีพลับพลาริมแมนํ้าตรงแกงมวง

วันท่ี ๑๗ ธันวาคม เสด็จพระราชดําเนินไปทรงนมัสการพระพุทธฉายและรอยพระพุทธบาทท่ีวัดพระพุทธฉาย

วันท่ี ๒๐ ธันวาคม เสด็จไปทอดพระเนตรนํ้าตกท่ีวัดถํ้าพระโพธิสัตว

และวันท่ี ๒๒ ธันวาคม เสด็จไปยังพลับพลาท่ีกรมรถไฟปลูกสําหรับเปนท่ีประทับ ระหวางทางทรงแวะพักท่ีผาเสด็จพัก

และพระราชทานนามให

แตใชวาจารึกพระปรมาภิไธยยอท่ีจังหวัดสระบุรีจะมีเพียง ๓ แหงตามท่ีกลาวมาเทาน้ัน ยังมีจารึกอยูท่ีอ่ืนอีก ไดแก

จารึกท่ีถํ้ามหาสนุก จารึกท่ีถํ้าวิมานจักรี และจารึกท่ีผาเขาขาด เพียงแตการสํารวจครั้งน้ีระบุพื้นท่ีสํารวจเพียงแคอําเภอเมือง

สระบุรีและอําเภอแกงคอยเทาน้ัน หากมีโอกาสผูเขียนและทีมสํารวจคงไดไปตามรอยจารึก จ.ป.ร. อีกครั้ง

หนังสืออางอิง

ทศพล จังพาณิชยกุล. ตามรอยพระพุทธบาท : รวมรอยพระพุทธบาทท่ัวประเทศ ๔๙๑ แหง. กรุงเทพฯ : คอมมา, ๒๕๕๕.

ศิลปากร, กรม. พระปรมาภไิธยท่ีพบในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: บริษัทรุงศิลปการพิมพ (๑๙๗๗) จํากัด, ๒๕๔๕.