๖ เดือน ๖ คุณภาพ๑....

18

Upload: others

Post on 20-May-2020

7 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: ๖ เดือน ๖ คุณภาพ๑. มีโรงเรียนที่มีชื่อเ ียงดี มีความพร้อมที่จะเป็นโรงเรียนดีใกล้บ้าน
Page 2: ๖ เดือน ๖ คุณภาพ๑. มีโรงเรียนที่มีชื่อเ ียงดี มีความพร้อมที่จะเป็นโรงเรียนดีใกล้บ้าน

กระทรวงศึกษาธิการ

๖ เดือน ๖ คุณภาพ (ตุลาคม ๒๕๕๓ - มีนาคม ๒๕๕๔)

Page 3: ๖ เดือน ๖ คุณภาพ๑. มีโรงเรียนที่มีชื่อเ ียงดี มีความพร้อมที่จะเป็นโรงเรียนดีใกล้บ้าน

๖ เดือน ๖ คุณภาพ (ตุลาคม ๒๕๕๓ - มีนาคม ๒๕๕๔)

จัดพิมพ์ กระทรวงศึกษาธิการ

ปีที่พิมพ์ พ.ศ.๒๕๕๓

พิมพ์ครั้งที่ ๑ จำนวนพิมพ์๖๐,๐๐๐เล่ม

พิมพ์ที่ โรงพิมพ์ชุมนุม หกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทยจำกัด

๗๙ถนนงามวงศ์วานแขวงลาดยาวเขตจตุจักรกรุงเทพมหานคร๑๐๙๐๐

โทร.๐-๒๕๖๑-๔๕๖๗โทร าร๐-๒๕๗๙-๕๑๐๑

นายโชคดีออ ุวรรณผู้พิมพ์ผู้โฆษณาพ.ศ.๒๕๕๓

Page 4: ๖ เดือน ๖ คุณภาพ๑. มีโรงเรียนที่มีชื่อเ ียงดี มีความพร้อมที่จะเป็นโรงเรียนดีใกล้บ้าน

คำนำ การขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่ อง (พ.ศ. ๒๕๕๑ - ๒๕๖๑)

เป็นภารกิจเร่งด่วนที ่ ำคัญเพื ่อมุ ่งเน้นให้เกิดการเปลี ่ยนแปลงใน ๔ ใหม่ ได้แก่

การพัฒนาคุณภาพ คนไทยยุคใหม่ ครูยุคใหม่  ถานศึกษาและแหล่งเรียนรู ้ใหม่

และระบบบริหารจัดการใหม่ ซึ่งภารกิจหลายเรื่องมีความก้าวหน้าประ บผล ำเร็จ

ให้เห็นอย่างเป็นรูปธรรมและปรากฏ ู่ ายตา าธารณชน

การ านต่องานปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่ องต่อจากนี้ จะเป็นภารกิจ

พิเศษที่มีความชัดเจนยิ่งขึ้นภายใต้จุดเน้นการดำเนินนโยบาย๖ เดือน ๖ คุณภาพ

การศึกษา(ตุลาคม๒๕๕๓-เมษายน๒๕๕๔)อันประกอบด้วย๑) เรียนฟรี เรียนดี

๑๕ ปี อย่างมีคุณภาพเป็นการนำงบประมาณในปีพ.ศ.๒๕๕๔จำนวน๘หมื่นล้านบาท

ลงไป ู่ ถานศึกษา พร้อมทั้ง ่งเ ริมให้ภาคีเครือข่ายมี ่วนร่วมในการบริหารจัดการ

งบประมาณ ๒) การพัฒนาคุณภาพผู้เรียน เป็นการกำหนดจุดเน้นการพัฒนา

คุณภาพของผู้เรียนในแต่ละระดับอย่างชัดเจน ๓) คุณภาพการศึกษาตลอดชีวิต

สำหรับประชาชน เป็นการกำหนดให้ กศน. ตำบลเป็นแหล่งเร ียนรู ้ตลอดชีวิต

ของประชาชนกว่า ๓๐ ล้านคน ๔) คุณภาพสถานศึกษายุคใหม่ โดย ่งเ ริมให้มี

โรงเรียนดีประจำตำบล เพื่อเพิ่มความเท่าเทียมทางการศึกษาให้มากขึ้น ๕) คุณภาพ

ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา ด้วยการจัดตั้งกองทุนเทคโนโลยีและ

 าร นเทศและ๖) คุณภาพครู โดยจะดำเนินการพัฒนาครูทั้งระบบ

อย่างไรก็ตามการผลักดันนโยบาย๖เดือน๖คุณภาพการศึกษาไป ู่การปฏิบัติ

ให้บรรลุความ ำเร็จอย่างที่มุ ่งหวังนั้น จำเป็นต้องมีแรงขับเคลื่อนที่มีความมุ่งมั ่น

โดยเฉพาะอย่างยิ่ง องค์กรที่มี ่วนเกี่ยวข้องในแต่ละนโยบาย และประชาชนซึ่งเป็น

ฐานราก ำคัญในการร่วม นับ นุนการศึกษาภายใต้การบูรณาการจุดเน้นการดำเนินงาน

ที่มีความเชื่อมโยง เพื่อร่วมนำการศึกษาไป ู่เป้าหมายแห่งการพัฒนาผู้เรียนให้เป็น

คนเก่งคนดีและมีความ ุขเป็นคุณภาพของเด็กไทยในอนาคตเป็นผู้ที่มีความ ามารถ

คิดเป็นทำเป็นแก้ปัญหาเป็นก้าวไกล ู่ ากลและมีความเป็นพลเมืองที่ มบูรณ์ ืบไป

(นายชินวรณ์บุณยเกียรติ)

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ

Page 5: ๖ เดือน ๖ คุณภาพ๑. มีโรงเรียนที่มีชื่อเ ียงดี มีความพร้อมที่จะเป็นโรงเรียนดีใกล้บ้าน

สารบัญ หน้า

๑. เรียนฟรีเรียนดี๑๕ปีอย่างมีคุณภาพ ๑

๒.การพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ๒

๓.คุณภาพการศึกษาตลอดชีวิต ำหรับประชาชน ๖

๔.คุณภาพ ถานศึกษายุคใหม่ ๗

๕.คุณภาพด้านเทคโนโลยี าร นเทศทางการศึกษา ๑๑

๖.คุณภาพครู ๑๒

Page 6: ๖ เดือน ๖ คุณภาพ๑. มีโรงเรียนที่มีชื่อเ ียงดี มีความพร้อมที่จะเป็นโรงเรียนดีใกล้บ้าน

๖ เดือน ๖ คุณภาพ

๖ เดือน ๖ คุณภาพ

นายชินวรณ์ บุณยเกียรติ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ได้กำหนด

จุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ ในการดำเนินงานตามเป้าหมายการปฏิรูป

การศึกษาในทศวรรษที่ องตามนโยบาย๖ เดือน๖คุณภาพ (ตุลาคม๒๕๕๓ -

มีนาคม๒๕๕๔)ดังนี้

๑. เรียนฟรี เรียนดี ๑๕ ปี อย่างมีคุณภาพ จะมีการนำเงินงบประมาณจำนวน ๘ หมื่นล้านบาท ในปีงบประมาณ

๒๕๕๔ ดำเน ินการให้ลงไป ู ่ ถานศึกษาอย่างแท้จร ิง โดยให้กรรมการ

 ถานศึกษาและผู ้ปกครองมี ่วนร่วมในการบริหารงบประมาณเพื ่อพัฒนา

คุณภาพการศึกษา โดยให้ ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานจัดวาง

ระบบและกำหนดยุทธศา ตร์ที่ชัดเจน เพื่อให้ผู้ปกครองและกรรมการ ถานศึกษา

เข้ามามี ่วนร่วมกับผู ้บริหาร ถานศึกษาในการพิจารณากรอบการใช้จ่าย

งบประมาณของ ถานศึกษา เป็นการเปิดโอกา ให้ประชาชนได้เข้ามาม ี่วนร่วม

ในการจัดการศึกษา มีการจัดทำคู่มือการปฏิบัติที ่ชัดเจน เป็นการเริ ่มต้นของ

การมี ่วนร่วมทางการศึกษาระดับฐานรากทำให้ชุมชน นับ นุนการศึกษา

Page 7: ๖ เดือน ๖ คุณภาพ๑. มีโรงเรียนที่มีชื่อเ ียงดี มีความพร้อมที่จะเป็นโรงเรียนดีใกล้บ้าน

๖ เดือน ๖ คุณภาพ

๒. การพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ตามแนวทางการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที ่อง กระทรวงศึกษาธิการ

ประกาศชัดเจนว่าผู้เรียนในแต่ละระดับ ควรมีจุดเน้นในการพัฒนาอย่างไร เพื่อให้

เป็นเป้าหมายที่ประชาชนได้เห็นอย่างชัดเจนและมี ่วนร่วมในการพัฒนาผู้เรียน

ต่อไปโดยกำหนดจุดเน้นการศึกษาในแต่ละระดับดังนี้

✿ ระดับปฐมวัย จะเน้นในเรื ่องการพัฒนาคุณภาพ มองเด็กไทย

ให้ได้รับ ารไอโอดีนและมีคุณลักษณะใฝ่รู้ใฝ่เรียน

Page 8: ๖ เดือน ๖ คุณภาพ๑. มีโรงเรียนที่มีชื่อเ ียงดี มีความพร้อมที่จะเป็นโรงเรียนดีใกล้บ้าน

๖ เดือน ๖ คุณภาพ

✿ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานจะมีการเน้นเป็นช่วงชั้นอย่างชัดเจนเชน่

✦ ระดับประถมศึกษาปีที่ ๑ - ประถมศึกษาปีที่ ๓ จะเน้นให้มี

การอ่านออกเขียนได้คิดเลขเป็นใฝ่ดีมีวินัยมีความรับผิดชอบ

✦ ระดับประถมศึกษาปีที่ ๔ - ประถมศึกษาปีที่ ๖ จะเน้นให้มี

การอ่านคล่อง เขียนคล่อง มีทักษะในการคิดขั้นพื้นฐาน มีทักษะชีวิตเพื่อการศึกษา

อย่าง ร้าง รรค์ใฝ่ดีใฝ่รู้มีจิต าธารณะ

Page 9: ๖ เดือน ๖ คุณภาพ๑. มีโรงเรียนที่มีชื่อเ ียงดี มีความพร้อมที่จะเป็นโรงเรียนดีใกล้บ้าน

๖ เดือน ๖ คุณภาพ

✦ ระดับมัธยมศึกษาปีที ่ ๑ - มัธยมศึกษาปีที ่ ๓ ให้มีทักษะ

ในการคิดชั้น ูง มีทักษะชีวิต รู้จักการแก้ไขปัญหา ใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้

และแ วงหาความรู้คิดเป็นทำเป็นแก้ปัญหาเป็นและอยู่อย่างพอเพียง

✦ ระดับมัธยมศึกษาปีที ่ ๔ - มัธยมศึกษาปีที ่ ๖ ให้มีทักษะ

ในการคิดชั้น ูง ทักษะชีวิตในการแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยี การรักการเรียนรู้

การค้นพบตัวเอง การแ วงหาความรู้ด้วยตนเอง การใช้ภาษาต่างประเทศเพื่อ

การ ื่อ ารอย่าง ร้าง รรค์คุณลักษณะที่พึงประ งค์ของระดับนี้คือมีความรักชาติ

ศา นาพระมหากษัตริย์มีความมุ่งมั่นมีความเป็นพลเมือง

Page 10: ๖ เดือน ๖ คุณภาพ๑. มีโรงเรียนที่มีชื่อเ ียงดี มีความพร้อมที่จะเป็นโรงเรียนดีใกล้บ้าน

๖ เดือน ๖ คุณภาพ

✿ ระดับอาชีวศึกษา จะมุ่งเน้นการพัฒนาฝีมือแรงงานที่มีคุณภาพ

มีทักษะชีวิตและทักษะอาชีพมีความ ามารถทางด้านเศรษฐกิจ

✿ ระดับมหาวิทยาลัย มุ ่งเน้นด้านความเป็นเลิศทางวิชาการ และ

 ่งเ ริมศักยภาพในการแข่งขัน มุ่งเน้นเรื่อง หกิจศึกษา โดยจะให้มหาวิทยาลัย

มี ่วนร่วมกับภาคเอกชน ให้มหาวิทยาลัย นองตอบต่อการช่วยเหลือ ังคม โดยมี

๑มหาวิทยาลัย๑จังหวัด

Page 11: ๖ เดือน ๖ คุณภาพ๑. มีโรงเรียนที่มีชื่อเ ียงดี มีความพร้อมที่จะเป็นโรงเรียนดีใกล้บ้าน

๖ เดือน ๖ คุณภาพ

๓. คุณภาพการศึกษาตลอดชีวิตสำหรับประชาชน ให้ กศน. ตำบลเป็นศูนย์การเรียนรู้ชุมชนตลอดชีวิต เป็นการศึกษา

นอกระบบ การศึกษาตามอัธยาศัยที่เป็นการเรียนฟรี  ำหรับประชาชนวัยทำงาน

๓๐ ล้านคน และเป็นศูนย์การเรียนรู ้ชุมชนของประชาชนนอกระบบทั้งหมด

 ามารถเรียนรู้ได้ตลอดเวลา ่งเ ริมเรื่องทักษะชีวิตและความเปน็พลเมือง

Page 12: ๖ เดือน ๖ คุณภาพ๑. มีโรงเรียนที่มีชื่อเ ียงดี มีความพร้อมที่จะเป็นโรงเรียนดีใกล้บ้าน

๖ เดือน ๖ คุณภาพ

๔. คุณภาพสถานศึกษายุคใหม่ เป็นการพัฒนาคุณภาพ ถานศึกษา โดยให้ ถานศึกษานานาชาติ

จำนวน๕๐๐ โรง และ ถานศึกษาเอกชน จำนวน๕๐๐ โรง โรงเรียนการศึกษา

ขั้นพื้นฐานระดับมัธยมศึกษา ู่มาตรฐาน๕๐๐ โรง เป็น ถานศึกษาระดับWorld Class

โรงเรียนดีระดับอำเภอ ๒,๕๐๐ โรง เพื ่อ ่งเ ริมความเป็นเลิศทางวิชาการ

 ่วนโรงเรียนดีประจำตำบลต้องเน้นด้านคุณภาพ ความเ มอภาค และความร่วมมือ

จากประชาชนทุกภาค ่วนจำนวน๗,๐๐๐โรงโดยใช้ยุทธศา ตร์๗๗๗ดังนี้

Page 13: ๖ เดือน ๖ คุณภาพ๑. มีโรงเรียนที่มีชื่อเ ียงดี มีความพร้อมที่จะเป็นโรงเรียนดีใกล้บ้าน

๖ เดือน ๖ คุณภาพ

✿๗แรก ในการดำเนินการแรกคือการพัฒนาโรงเรียนดีประจำตำบล

ใน๔เดือนแรกมีเป้าหมายในการดำเนินการ๗ประการได้แก่

๑. มีแผนงานในการพัฒนาที่ชัดเจน

๒. มีเป้าหมายในการพัฒนาที่ชัดเจน

๓. โรงเรียนมีการพัฒนาด้านกายภาพที่ชัดเจนมีความ ะอาด

๔. มี ภาพแวดล้อมที่ วยงามมีบริเวณโดยรอบร่มรื่น

๕. มีบรรยากาศอบอุ่น

๖. มีความปลอดภัย

๗. ให้องค์กรปกครอง ่วนท้องถิ่นมี ่วนร่วมเป็นเจ้าของ

Page 14: ๖ เดือน ๖ คุณภาพ๑. มีโรงเรียนที่มีชื่อเ ียงดี มีความพร้อมที่จะเป็นโรงเรียนดีใกล้บ้าน

๖ เดือน ๖ คุณภาพ

✿๗ที่ องคือการพัฒนาใน๔เดือนต่อมาจะมีการพัฒนา๗ประการ

ได้แก่

๑. มีห้อง มุด๓ดี

๒. มีห้องปฏิบัติการ

๓. มีศูนย์การเรียนรู้อาชีพ

๔. มีศูนย์กีฬาชุมชน

๕. มีห้อง ุขาที่ถูก ุขลักษณะ

๖. มีครูที่ใช้แหล่งเรียนรู้และใช้ICT

๗. มีการบริหารที่นำไป ู่การเปลี่ยนแปลง

Page 15: ๖ เดือน ๖ คุณภาพ๑. มีโรงเรียนที่มีชื่อเ ียงดี มีความพร้อมที่จะเป็นโรงเรียนดีใกล้บ้าน

๖ เดือน ๖ คุณภาพ

�0

✿๗ประการ ุดท้ายจะเป็นคุณลักษณะที่พึงประ งค์ได้แก่

๑. มีโรงเรียนที่มีชื่อเ ียงดีมีความพร้อมที่จะเป็นโรงเรียนดีใกล้บ้าน

๒. มีนักเรียนที่ใฝ่รู้

๓. มีนักเรียนใฝ่เรียน

๔. มีนักเรียนใฝ่ดี

๕. มีความเป็นไทย

๖. มี ุขภาพดี

๗. รักงานอาชีพ

Page 16: ๖ เดือน ๖ คุณภาพ๑. มีโรงเรียนที่มีชื่อเ ียงดี มีความพร้อมที่จะเป็นโรงเรียนดีใกล้บ้าน

๖ เดือน ๖ คุณภาพ

��

๕. คุณภาพด้านเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการจะมีการจัดตั้งกองทุนเทคโนโลยีและ าร นเทศ

เพื่อการศึกษา เพื่อ นับ นุนและ ่งเ ริมการผลิต วิจัย และพัฒนาการใช้เทคโนโลยี

 าร นเทศเพื่อการศึกษา โดยในครั้งแรกรัฐบาลได้จัด รรงบประมาณให้จำนวน

๕ ล้านบาท คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กทช.)  นับ นุนให้อีก

๗๕ ล้านบาท ขณะนี้ได้ดำเนินการเปิดบัญชีกองทุนแล้ว โดยในการประชุม

คณะกรรมการกองทุน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ได้มอบหมาย

ให้ดำเนินงานทั้งหมด๔เรื่องคือ

✿เรื่องกฎหมายในการจัดตั้ง ถาบันเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา

✿ การดำเนินการกองทุนให้มี ำนักงานกองทุนที่ชัดเจน

✿บูรณาการหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งหมดให้มาทำงานร่วมกัน เพื่อที่จะ

ยกระดับเทคโนโลยี าร นเทศเพื่อการศึกษา

✿ จัดกิจกรรมเรื่องเทคโนโลย ีาร นเทศเพื่อการศึกษาพัฒนาการศึกษา

ตามเป้าหมายการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่ องโดยยึดหลัก3Nได้แก่

✦ NedNet (National Education Network) เครือข่ายเพื่อการศึกษา

แห่งชาติ เป็นศูนย์กลางเครือข่ายหลักในการ ่งเ ริม  นับ นุน พัฒนา และ

นำเทคโนโลยี าร นเทศและการ ื่อ าร (ICT) มาช่วยในการจัดการเรียนการ อน

รวมถึงการวิจัยค้นคว้าแลกเปลี่ยนข้อมูลความรู้จาก ถาบันการศึกษา หน่วยงาน

ทางการศึกษาและแหล่งความรู้ทั่วประเทศและนานาชาติ

Page 17: ๖ เดือน ๖ คุณภาพ๑. มีโรงเรียนที่มีชื่อเ ียงดี มีความพร้อมที่จะเป็นโรงเรียนดีใกล้บ้าน

๖ เดือน ๖ คุณภาพ

��

✦ NEIS (National Education Information System) ศูนย์ าร นเทศ

เพื่อการศึกษาแห่งชาติ เป็นศูนย์กลางรวบรวม จัดเก็บ และเชื่อมโยงระบบข้อมูล

 าร นเทศด้านการศึกษา เพื่อใช้ในการบริหารจัดการการศึกษาวิจัยการค้นคว้า

และแลกเปลี่ยนข้อมูลของกระทรวงศึกษาธิการและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

✦ NLC (National Learning Center) ศูนย ์การเร ียนรู ้แห ่งชาติ

เป็นศูนย์กลางรวบรวมจัดเก็บและเชื่อมโยง ื่อการเรียนการ อนและการเรียนรู้เพื่อ

ใช้เป็นแหล่งแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การศึกษาวิจัย และค้นคว้าของกระทรวงศึกษาธิการ

และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องตลอดจนประชาชนทุกภาค ่วน

๖. คุณภาพครู จะมีการพัฒนาคุณภาพครูทั ้งระบบ ทั ้งการผลิต การพัฒนาการใช้

การพัฒนาค่าตอบแทน การแก้ไขปัญหาหนี้ ินครู การยกระดับมาตรฐานวิชาชีพครู

โดยในช่วง๖ เดือนที่ผ่านมาถือว่ามีการพัฒนาไปมากพอ มควรทั้งเรื่องการปรับ

ฐานเงินเดือน การแก้ไขกฎ ก.ค.ศ. เพื่อให้ครูชั้นผู้น้อยได้มีค่าตอบแทนเพียงพอ

และเหมาะ มกับวิชาชีพ การแก้ไขกระบวนการในการดูแลเรื่องวิทยฐานะของครู

โดยในปีงบประมาณ ๒๕๕๔ จะมีการพัฒนาครูอย่างเข้มข้น เช่น การคืนครู

ให้นักเรียนโดยการจ้างครูธุรการอย่างต่อเนื่องการพัฒนาครูแนวใหม่การ ร้างขวัญ

และกำลังใจให้กับครูโดยการประเมินวิทยฐานะแบบเน้นผลงาน

ขอให้องค์กรหลักทั้งหมดรับไปปฏิบัติโดยบูรณาการให้มีความเชื่อมโยงกัน

ตามอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบของแต่ละองค์กรหลัก ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง

กับ ๖ เดือน ๖ คุณภาพ

Page 18: ๖ เดือน ๖ คุณภาพ๑. มีโรงเรียนที่มีชื่อเ ียงดี มีความพร้อมที่จะเป็นโรงเรียนดีใกล้บ้าน