· ต านการลามไฟ ชุดดับเพลิง...

16
1 SAFET Y LIFE วันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2561 ณ หอง ประชุม 214-215 ศูนยนิทรรศการและการ ประชุมไบเทค บางนา กรุงเทพมหานคร วิทยากร นายปริญญา วงธํารง หัวหนาสวน ตรวจสอบสมรรถนะรถ สํานักวิศวกรรมยานยนต กรมการขนสงทางบก นางมะลิ รักเปยม ผูอํานวยการกอง กําหนดมาตรฐาน สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ อุตสาหกรรม นางสาวพีรพร พละพลีวัลย สถาบัน พัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ นายสมคิด รัตนประภาพร สหพันธ อุตสาหกรรมสิ่งทอแหงประเทศไทย นายจํารัส มวลชัยภูมบริษัท ซี.อี.ซี. อินเตอรเนชั่นแนล ลิมิเต็ด (สาขาประเทศไทย) นายธํารง คุโณปการ อุปนายกสมาคม สงเสริมความปลอดภัยและอนามัยในการทํางาน (ประเทศไทย) ดําเนินการอภิปราย: ดร.ธีระ พงศอนันต ผูจัดการสมาคมสงเสริมความปลอดภัยและ อนามัยในการทํางาน (ประเทศไทย) หัวขอการเสวนา กําหนดมาตรฐานความปลอดภัยดาน อัคคีภัยของวัสดุตกแตงภายในรถโดยสาร มาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม สําหรับสิ่งทอตานการลามไฟ มาตรฐานความปลอดภัยดานอัคคีภัย -สิ่งทอ (Fire Safety Standards) เทคโนโลยี คุณสมบัติ และมาตรฐาน ของผากันไฟ (Fire Resistant Fabrics) ประสบการณจากผูใชงานจริง (เสื้อผา ตานการลามไฟ ชุดดับเพลิง ชุดทํางานปองกัน ความรอนและเปลวไฟ) สรุปเนื้อหาจากการเสวนา กําหนดมาตรฐานความปลอดภัยดาน อัคคีภัยของวัสดุตกแตงภายในรถโดยสาร คุณปริญญา วงธํารง หัวหนาสวนตรวจสอบ สมรรถนะรถ สํานักวิศวกรรมยานยนต กรมการ ขนสงทางบกเสวนาเปนทานแรกโดยมีสาระ สําคัญสรุปไดดังนีสํานักวิศวกรรมยานยนต กรมการขนสง ทางบก สังกัดกระทรวงคมนาคม รับผิดชอบงาน ดานการขนสงบนถนน ซึ่งในดานความปลอดภัย ทางถนนดูแลในสามสวนดวยกันคือ 1. คน ไดแก คนขับ คนประจํารถ (กระเปารถเมล เปนตน) 2. ตัวรถ มาตรฐานตัวรถ/สวนควบ ประจํารถ 3. ผูประกอบการขนสง บริษัทขนสง โดยการทํางานจะทําตามนโยบายรัฐบาล แผน- ยุทธศาสตรและปฏิญญาสากลตางๆ ที่เราเขา เปนภาคีโดยตองปฏิบัติตามแนวทางที่กําหนด มา ไดแก ปริญญา วงธํารง ดร.ธีระ พงศอนันต www.safetylifethailand.com

Upload: others

Post on 23-Jan-2020

3 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1:  · ต านการลามไฟ ชุดดับเพลิง ชุดทํางานป องกัน ความร อนและเปลวไฟ) สรุปเนื้อหาจากการเสวนา

1SAFET Y LIFE

วนัที ่30 มถินุายน พ.ศ. 2561 ณ หองประชุม 214-215 ศนูยนทิรรศการและการประชุมไบเทค บางนา กรงุเทพมหานคร

วทิยากรนายปริญญา วงธํารง หัวหนาสวน

ตรวจสอบสมรรถนะรถ สาํนกัวิศวกรรมยานยนตกรมการขนสงทางบก

นางมะลิ รักเปยม ผู อํานวยการกองกาํหนดมาตรฐาน สาํนกังานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม

นางสาวพีรพร พละพลีวัลย สถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ

นายสมคิด รัตนประภาพร สหพันธอุตสาหกรรมสิ่งทอแหงประเทศไทย

นายจํารัส มวลชัยภูม ิ บริษัท ซี.อี.ซี.อินเตอรเนชัน่แนล ลิมิเต็ด (สาขาประเทศไทย)

นายธํารง คุโณปการ อุปนายกสมาคมสงเสริมความปลอดภัยและอนามัยในการทํางาน(ประเทศไทย)

ดําเนินการอภิปราย: ดร.ธรีะ พงศอนนัตผูจัดการสมาคมสงเสริมความปลอดภัยและอนามัยในการทํางาน (ประเทศไทย)

หัวขอการเสวนา กาํหนดมาตรฐานความปลอดภัยดาน

อัคคีภัยของวัสดุตกแตงภายในรถโดยสาร มาตรฐานผลิตภัณฑ อุตสาหกรรม

สําหรับสิ่งทอตานการลามไฟ มาตรฐานความปลอดภัยดานอัคคีภัย

-สิ่งทอ (Fire Safety Standards) เทคโนโลยี คุณสมบัติ และมาตรฐาน

ของผากันไฟ (Fire Resistant Fabrics) ประสบการณจากผูใชงานจริง (เสือ้ผา

ตานการลามไฟ ชุดดับเพลิง ชุดทํางานปองกันความรอนและเปลวไฟ)

สรุปเนื้อหาจากการเสวนากําหนดมาตรฐานความปลอดภัยดาน

อคัคภียัของวสัดตุกแตงภายในรถโดยสารคณุปริญญา วงธํารง หัวหนาสวนตรวจสอบ

สมรรถนะรถ สาํนกัวิศวกรรมยานยนต กรมการขนสงทางบกเสวนาเปนทานแรกโดยมีสาระสาํคัญสรุปไดดังนี้

สาํนกัวิศวกรรมยานยนต กรมการขนสงทางบก สงักดักระทรวงคมนาคม รับผดิชอบงานดานการขนสงบนถนน ซึง่ในดานความปลอดภัยทางถนนดูแลในสามสวนดวยกันคือ 1. คนไดแก คนขับ คนประจํารถ (กระเปารถเมลเปนตน) 2. ตัวรถ มาตรฐานตัวรถ/สวนควบประจํารถ 3. ผูประกอบการขนสง บริษัทขนสงโดยการทํางานจะทําตามนโยบายรัฐบาล แผน-ยุทธศาสตรและปฏิญญาสากลตางๆ ท่ีเราเขาเปนภาคีโดยตองปฏิบัติตามแนวทางท่ีกําหนดมา ไดแก

ปริญญา วงธํารง

ดร.ธีระ พงศอนันต

www.safetyl i fethai land.com

Page 2:  · ต านการลามไฟ ชุดดับเพลิง ชุดทํางานป องกัน ความร อนและเปลวไฟ) สรุปเนื้อหาจากการเสวนา

2SAFET Y LIFE

ปฏิญญาบราซิล: Improving GlobalRoad Safety เนนในการพัฒนาความปลอดภัยทาง ถนนของโลก

ยุทธศาสตรดานความปลอดภัยทางถนน: Six Safe Strategies (กมธ.)

ศูนยปลอดภัยคมนาคม: คมนาคมปลอดภัย สังคมไทยเปนสุข

แผนปองกันและบรรเทาสาธารณภัยแหงชาติ พ.ศ. 2558: ภัยจากการคมนาคม

ปฏิญญามอสโก : ทศวรรษแหงความปลอดภัยทางถนน พ.ศ. 2554-2563

สําหรับนโยบายดานความปลอดภัยของกรมขนสงทางบกมีอยูดวยกนั 5 เสาหลัก ไดแก

1. การบริหารจัดการความปลอดภัยทางถนน

2. ถนนและการสญัจรอยางปลอดภัย3. ยานพาหนะปลอดภัย4. ผูใชรถใชถนนปลอดภัย5. การตอบสนองหลังการเกิดอุบัติเหตุท้ังนี ้สาํนกัวิศวกรรมยานยนต รับผดิชอบ

เสาหลักท่ี 3 คือ ยานพาหนะปลอดภัย เปนการดูแลตัวรถหรือยานพาหนะโดยสารชนิดตางๆ

5. มาตรฐานความแข็งแรงของท่ีนั่ งจุดยึดท่ีนั่ง และจุดยึดเข็มขัดนิรภัย (ลงนามประกาศ 7 ก.ค.59)

6. มาตรฐานระบบหามลอ ABS [สํานักกฎหมาย (สนก.) กาลังพิจารณา]

7. มาตรฐานระบบหนวงความเร็วรถ(Endurance Braking System) [สาํนกักฎหมาย(สนก.) กาลังพจิารณา]

8. มาตรฐานวัสดุสาหรับติดต้ังภายในรถโดยสาร (ลงนามประกาศ 14 ต.ค. 59)

9. มาตรฐานแผนสะทอนแสง (ลงนามประกาศ 22 มี.ค. 60)

10. มาตรฐานอุปกรณตอพวงของรถลากจงูและรถพวง (ลงนามประกาศ 31 ม.ค. 61)

11. มาตรฐานอุปกรณยดึตูคอนเทนเนอร(ปรับปรุงแกไขรางประกาศฯ)

12. มาตรฐานรถขนสงวัตถุอันตราย(ปรับปรุงแกไขรางประกาศฯ)

13. เคร่ืองตรวจสภาพรถครบทุกหนวย-งาน (อยูระหวางการตรวจรับ)

14. บคุลากรตรวจสภาพพรอมทุกหนวย-งาน (เร่ิมปฏิบัติงาน พ.ค. 60)

15. มาตรฐานรถโรงเรียนและรถรับสงนักเรียน (ลงนามหนังสือ 29 ก.ค. 59)

16. มาตรฐานรถยนตไฟฟา (ลงนามประกาศ 9 ม.ค. 60)

17. มาตรฐานการบาํรุงรักษารถระหวางการใชงาน (กฎกระทรวง) (ผาน ครม. แลว 14มี.ค. 60)

มาตรฐานความปลอดภยัดานอคัคภียัของวสัดตุกแตงภายในรถโดยสาร

ในหัวขอท่ี 8 มาตรฐานวัสดุสาหรับติดต้ังภายในรถโดยสาร กรมการขนสงทางบกไดดําเนินการออกเปนประกาศฯ เร่ือง กําหนดคุณสมบัติดานการลุกไหม การลามไฟของวัสดุท่ีใชตกแตงภายในรถโดยสาร พ.ศ. 2559 ลงวันท่ี 14 ตุลาคม 2559 แลว ซึง่มีสาระสาํคัญคือกําหนดคุณสมบัติดานการลุกไหมของวัสดุท่ีใชตกแตงในบริเวณตางๆ ของรถโดยสารซึ่งตองมีคุณสมบติัในดานการลุกไหม การลามไฟตามมาตรฐานท่ีกาํหนดเปนการลดความรุนแรงจากเหตุการณเม่ือเกิดไฟไหมบนรถโดยสาร อีกท้ังยงัเพิม่ระยะเวลาสาหรับผูโดยสารในการหลบหนี

โดยไดจดัทําโครงการเรงดวนยกระดับมาตรฐานวิศวกรรมยานยนต ระหวางป 2559-2561 ถงึ17 โครงการ ไดแก

1. ตรอ. ออนไลน (ใชงานแลว ก.ย. 59)2. สถานตรวจระบบกาซ Online (ใชงาน

แลว ก.ย. 59)3. ศูนยควบคุมระบบตรวจสภาพรถ

(VICC) ศูนย monitor ตรอ. และสถานตรวจระบบกาซท่ัวประเทศรวม 81 แหง (อยูระหวางการจดัซือ้จดัจาง)

4. มาตรฐานความแข็งแรงโครงสรางตัวถังรถโดยสาร (ลงนามประกาศ 1 ก.ค. 59)

Page 3:  · ต านการลามไฟ ชุดดับเพลิง ชุดทํางานป องกัน ความร อนและเปลวไฟ) สรุปเนื้อหาจากการเสวนา

3SAFET Y LIFE

ออกจากตั วรถด วย ท้ั งนี้มีผลใชบังคับต้ังแตวันท่ี 1 มกราคม 2562เปนตนไป (ใชบังคับกับรถ ท่ีจดทะเบียนใหมและรถท่ีจดทะเบียนแลวมี การเปล่ียนตัวถัง)

กลุมรถเปาหมาย : รถโดยสารตามกฎหมายวาดวยการขนสงทางบก (รถโดยสาร 1ชั้น 2 ชั้น และรถตูโดยสาร) โดยรถท่ีเขาขายเงื่อนไขการบังคับใชของประกาศฯ คือ รถปรับอากาศ 2 ประเภท ดังนี้

“รถ M2” หมายถึง รถท่ีใชในการขนสงผูโดยสารท่ีมีท่ีนัง่ผูโดยสารมากกวา 8 ท่ีนัง่ไมรวมผูขับรถ โดยมีน้าํหนกัรวมสงูสดุของรถไมเกิน 5,000 กิโลกรัม ท้ังรถโดยสารประจําทางรถโดยสารไมประจําทาง และรถโดยสารสวนบคุคล

“รถ M3” หมายความวา รถท่ีใชในการขนสงผูโดยสารท่ีมีท่ีนัง่ผูโดยสารมากกวา 8ท่ีนั่ง ไมรวมผูขับรถ โดยมีน้ําหนักรวมสูงสุดของรถเกิน 5,000 กิโลกรัม ท้ังรถโดยสารประจําทาง รถโดยสารไมประจําทาง และรถโดยสารสวนบุคคล

เหตุผลท่ีบงัคับใชเฉพาะกบัรถปรับอากาศไมครอบคลุมถึงรถพัดลม เนื่องจากรถปรับอากาศเวลาไฟไหมจะลุกลามเร็วมาก อีกท้ังผูโดยสารมักหนอีอกมาไมทันเพราะกระจกปดทึบทุกดานและประตูฉุกเฉินมีนอย สวนรถพัดลมประตูหนาตางมีมากและเปดออกงาย ทําใหหนี ไฟออกมาได เร็ว ท่ี สําคัญมีการระบายอากาศดีทําใหควบคุมเพลิงไดงายกวา

เนือ้หาทีส่าํคญัของประกาศฯวัสดุท่ีเกี่ยวของ หมายถึง สิ่งท่ีนามาใช

ประกอบเปนเคร่ืองอุปกรณหรือสวนควบของรถหรือตกแตงภายในรถโดยสาร ไดแก

ท่ีนัง่ ผามาน ผนัง ท่ีบุผนัง ท่ีปูพื้น พืน้รถหมายเหต:ุ วัสดุท่ีเกีย่วของตามรายการ

ตางๆ ขางตนใหนบัจากพืน้ผวิดานนอกสดุลึกลงไป 13 มิลลิเมตร

มาตรฐานการทดสอบทีก่รมการขนสงทางบกยอมรบั

มาตรฐานทดสอบท่ีกรมการขนสงทางบกยอมรับใหทําการทดสอบวัสดุ

มาตรฐานความปลอดภัยดานอัคคีภัยของวัสดุตกแตงภายในในรถโดยสารตามขอกําหนดสหประชาชาติท่ี 118 (UN R118 )อนุกรม ท่ี 02 ข้ึนไป

มาตรฐาน Federal Motor VehicleSafety Standards ท่ี 302 (FMVSS-302) วาดวยมาตรฐานการลามไฟของวัสดุภายในรถ(ยอมรับสําหรับรถ M2 และสําหรับรถ M3 ในแนวราบ)

มาตรฐานการลามไฟดานขางของวัสดุ

(ISO 5658 -2:2006 2:2006 2:2006) :Reaction to fire tests-spread of flame-Part2: Lateral spread on building and transportproducts in vertical configuration)

มาตรฐานอ่ืนๆ ท่ีเทียบเทาตามท่ีกรมการขนสงทางบกกาํหนด

กรณรีถ M2 วัสดุท่ีใชทําท่ีนัง่ ผามาน ผนงั ท่ีบุผนัง

ท่ี ปูพื้ นและพื้ นรถ มาตรฐาน UN R118,FMVSS-302 , ISO 5658-2:2006 2:2006หรือมาตรฐานอ่ืนๆ ท่ีเทียบเทา

กรณรีถ M3 วัสดุท่ีใชทําท่ีนั่งท่ีติดต้ังตามแนวราบ

พื้นรถ หรือท่ีปูพื้น มาตรฐาน UN R118,FMVSS-302 หรือมาตรฐานอ่ืนๆ ท่ีเทียบเทา

วัสดุท่ีใชทําท่ีนั่งท่ีติดต้ังตามแนวด่ิงผามาน ผนงั หรือท่ีบผุนงั มาตรฐาน UN R118,ISO 5658 -2:2006 หรือมาตรฐานอ่ืนๆ ท่ีเทียบเทา

Page 4:  · ต านการลามไฟ ชุดดับเพลิง ชุดทํางานป องกัน ความร อนและเปลวไฟ) สรุปเนื้อหาจากการเสวนา

4SAFET Y LIFE

เงือ่นไขการบังคบัใช รถโดยสารท่ีจดทะเบียนใหม รถท่ีมีการเปล่ียนตัวถัง รถท่ีไดจดทะเบียนใหมเนื่องจากแจง

เลิกใชรถตามมาตรา 79 ท่ีมีการเปล่ียนตัวถัง รถท่ีมีการแกไขเปล่ียนแปลงเคร่ือง

อุปกรณหรือสวนควบของรถหรือการตกแตงรถตามท่ีกําหนด

เงือ่นเวลาการบังคบัใชต้ังแตวันท่ี 1 มกราคม 2562 เปนตนไปหนวยงานทดสอบหนวยงานทดสอบท่ีกรมการขนสงทางบก

ยอมรับใหทําการทดสอบวัสดุ หนวยงานทดสอบท่ีไดรับการรับรอง

มาตรฐาน ISO/IEC 17025: 2005 หรือ มอก.17025-2548 ข้ึนไป วาดวยความสามารถของหองปฏิบัติการทดสอบ และหองปฏิบัติการสอบเทียบ (General requirements for thecompetence of testing and calibrationlaboratories)

หนวยงานทดสอบท่ีไดรับการรับรองดานมาตรฐานความปลอดภัยดานอัคคีภัยของวัสดุตกแตงภายในรถโดยสารตามขอกําหนดสหประชาชาติท่ี 118

มาตรฐานท่ีใชทดสอบ: UN R118 (แนว-ราบและแนวด่ิง), FMVSS-302

ไดรับการรับรอง: Lab ISO 17025 เฉพาะFMVSS-302

2. ศูนยเทคโนโลยโีลหะและวสัดุแหงชาต ิท่ีอยู: 114 อุทยานวิทยาศาสตรประเทศ-

ไทย ถ.พหลโยธิน ต.คลองหนึ่ง อ.คลองหลวงจ.ปทุมธาน ี12120

มาตรฐานท่ีใชทดสอบ: FMVSS-3023. ศูนยวิจัยเพื่อความปลอดภัยจาก

อคัคภียั จุฬาลงกรณมหาวทิยาลยัท่ีอยู: 254 ถนนพญาไท แขวงวังใหม

เขตปทุมวัน กรุงเทพ 10330มาตรฐานท่ีใชทดสอบ: UN R118 (แนว-

ราบและแนวด่ิง), ISO 56584. สถาบันยานยนตท่ีอยู: 655 นคิมอุตสาหกรรมบางป ูซอย

1 ถนนสุขุมวิท กม.34 ต.บางปูใหม อ.เมือง-สมุทรปราการ จ.สมุทรปราการ 10280

มาตรฐานท่ีใชทดสอบ: UN R118 (แนว-ราบ และแนวด่ิง), FMVSS-302

ไดรับการรับรอง: Lab ISO 170255. บรษิทั อนิเตอรเทค เทสติง้ เซอรวสิ-

เซส (ประเทศไทย) จากัด (อยูระหวางการขอรับรอง Lab ตาม ISO 17025)

ท่ีอยู: 1285/5 ถนนประชาชื่น แขวง-วงศสวาง เขตบางซื่อ กรุงเทพฯ 10800

มาตรฐานท่ีใชทดสอบ: UN R118 (แนว-ราบ และแนวด่ิง), FMVSS-302

คุณสมบัติของผูผลิตวัสดุ หรือผูผลิตรถทัง้คนั

ผูผลิตวัสดุหรือผูผลิตรถท้ังคันจะตองมีคุณสมบัติอยางใดอยางหนึง่ ดังนี้

หนวยงานทดสอบท่ีไดรับการรับรองมาตรฐาน Federal Motor Vehicle SafetyStandards ท่ี 302 (FMVSS-302 ) วาดวยมาตรฐานการลามไฟของวัสดุภายในรถ

หนวยงานทดสอบท่ีไดรับการรับรองมาตรฐานการลามไฟดานขางของวัสดุ (ISO5658-2: 2006: Reaction to fire tests : spreadof flame-Part 2: Lateral spread on building andtransport products in vertical configuration)

สถาบันการศึกษาท่ีมีหองปฏิบัติการ

ทดสอบดานการลามไฟของวัสดุ หรือสถาบันหรือหนวยงานอ่ืนๆ ของรัฐท่ีกรมการขนสงทางบกยอมรับ

รายชือ่หนวยงานทดสอบคุณสมบัติดานการลุกไหม การลามไฟของวัสดุท่ีใชตกแตงภายในรถโดยสารทีก่รมการขนสงทางบกใหการยอมรบั(http://apps.dlt. go.th/esb/approve.html)

1. สถาบันพฒันาอตุสาหกรรมสิง่ทอท่ีอยู: ซอยตรีมิตร ถนนพระราม4 แขวง

พระโขนง เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110

Page 5:  · ต านการลามไฟ ชุดดับเพลิง ชุดทํางานป องกัน ความร อนและเปลวไฟ) สรุปเนื้อหาจากการเสวนา

5SAFET Y LIFE

ไดรับการรับรองระบบคุณภาพการผลิตตามมาตรฐาน ISO 9001:2008 ข้ึนไป ดานการผลิตวัสดุหรือชิน้สวนหรือการผลิตรถท้ังคัน

ไดรับการรับรองระบบคุณภาพการผลิตจากหนวยงานตรวจประเมินระบบคุณภาพการผลิตท่ีแนบทายความตกลงวาดวยการรับรองขอกําหนดทางเทคนิคของยานยนต อุปกรณและสวนควบท่ีติดต้ังหรือใชในยานยนต และเงื่อนไขสาหรับการยอมรับรวมกันของการใหความเห็นชอบในขอกําหนดทางเทคนิค ค.ศ.1958 ของคณะกรรมาธกิารเศรษฐกจิยโุรปแหงสหประชาชาติ

ไดรับการรับรองระบบคุณภาพการผลิตจากหนวยงานตรวจประเมินระบบคุณภาพการผลิตท่ี ได รับอนุญาตจากคณะกรรมการแหงชาติวาดวยการรับรองระบบงาน [NationalAccreditation Council (NAC)] ของกระทรวงอุตสาหกรรมดานการผลิตวัสดุหรือการผลิตรถท้ังคัน

เอกสารที่ เก่ียวของเพื่อขอรับความเห็นชอบวสัดุ

เอกสารทัว่ไป ภาพถายบัตรประจําตัวประชาชน หนงัสอืรับรองการจดทะเบยีนนติิบคุคล หนังสือมอบอํานาจ (ถ้ํามี) พรอม

ภาพถายบัตรประจําตัวประชําชนของผูมอบอํานาจ และผูรับมอบอํานาจ

หนังสือคําขอความเห็นชอบแบบวัสดุเอกสารทางเทคนคิ แบบแสดงขอมูลรายละเอียดของวัสดุ

(รายละเอียดตามภาคผนวก 1 ทายประกาศ) หนังสือรับรองหรือรายงานผลการ

ทดสอบท่ีออกโดยหนวยงานทดสอบท่ีกรมฯยอมรับ (ตามขอ 7 ในประกาศฯ)

หลักฐานการรับรองระบบคุณภาพการผลิตดานการผลิตวัสดุหรือการสรางประกอบรถของผูผลิตวัสดุ หรือของผูผลิตรถท้ังคัน

ISO 9001:2008 ข้ึนไป ขอกําหนดทางเทคนิค ค.ศ. 1958

ของคณะกรรมาธิการเศรษฐกิจยุโรปแหงสห-ประชาชาติ

หลักฐานการรับรองจากคณะกรรมการแหงชาติวาดวยการรับรองระบบงาน [NationalAccreditation Council (NAC)] ของกระทรวงอุตสาหกรรม

มาตรฐานผลติภณัฑอตุสาหกรรมสาํหรบัสิง่ทอตานการลามไฟ

คุณมะลิ รักเปยม ผู อํานวยการกองกาํหนดมาตรฐาน สาํนกังานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม เลาถึงมาตรฐานสิ่งทอของสํานักมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม (สมอ.) โดยเกร่ินถึงความเปนมาของ สมอ. วา ต้ังมา 50 ปแลว มีภารกิจตาม พ.ร.บ. 2 ฉบับคือ พ.ร.บ.

มาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม พ.ศ. 2511และ พ.ร.บ. การมาตรฐานแหงชาติ พ.ศ. 2551

ภารกจิตาม พ.ร.บ. มาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 ไดแก กําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม (มอก.) การตรวจสอบรับรองตาม มอก. การกํากบัดูแลการใชเคร่ืองหมาย มอก. และการจดัต้ังศูนยทดสอบยานยนตและยางลอแหงชาติ (งานใหม)

ภารกิจตาม พ.ร.บ. การมาตรฐานแหง-ชาติ พ.ศ. 2551 ไดแก เสนอแนะนโยบายและยุทธศาสตรดานการมาตรฐานของประเทศรับรอง/อนุญาตดานการตรวจสอบและรับรองมาตรฐาน (ระบบงาน) หรือท่ีเรียกวา NAC และกาํกบัดูแลผูประกอบการดานการตรวจสอบและรับรอง

นอกจากนี้ สมอ.ยังตองทําตามนโยบายรัฐบาล อาทิ กาํหนดมาตรฐานผลิตภัณฑชมุชน(มผช.) หรือรูจักกดันดีในชื่อ ผลิตภัณฑ OTOPใหการรับรองตาม มผช. สงเสริม/พัฒนาผู

ประกอบการชุมชน และจุดทะเบียนผลิตภัณฑอักภารกิจหนึ่งท่ีสําคัญมากคือ การทํา

ตามพนัธกรณกีบัตางประเทศ เชน รวมกจิกรรมดานการมาตรฐานกับองคระหวางประเทศประสานงานเพื่อการปฏิบัติตามพันธกรณีขององคกรการคาโลก ภายใตการตกลงวาดวยอุปสรรคทางเทคนิคตอการคา

องคกรระหวางดังกลาว อาทิ ISO: International Organization for

Standardization (องคการระหวางประเทศวาดวยการมาตรฐาน)

IEC: International ElectrotechnicalCommission (คณะกรรมาธกิารระหวางประเทศวาดวยมาตรฐานสาขาอิเล็กทรอนิกส)

ILAC: International LaboratoryAccreditation Cooperation (องคการระหวาง

มะลิ รักเปยม

Page 6:  · ต านการลามไฟ ชุดดับเพลิง ชุดทํางานป องกัน ความร อนและเปลวไฟ) สรุปเนื้อหาจากการเสวนา

6SAFET Y LIFE

ประเทศวาดวยการรับรองหองปฏิบัติการ) IAF: International Accreditation

Forum (องคการระหวางประเทศวาดวยการรับรองiระบบงาน)

WTO: World Trade Organization(องคการการคาโลก)

TBT: Agreement on TechnicalBarriers to Trade (ความตกลงวาดวยอุปสรรคทางเทคนคิทางการคา)

ACCSQ: ASEAN ConsultativeCommittee for Standard and Quality (คณะกรรมการท่ีปรึกษาดานมาตรฐานและคุณภาพของอาเซยีน)

สําหรับมาตรฐานสิ่งทอ สมอ. ประกาศกําหนดเปน มอก. 102 มาตรฐาน แบงเปนมาตรฐานผลิตภัณฑ 59 มาตรฐาน มาตรฐานมูลฐาน 8 มาตรฐาน และมาตรฐานวิธีทดสอบ35 มาตรฐาน ในจํานวนนี้มีมาตรฐานสิ่งทอท่ีเปนผลิตภัณฑบังคับ (Regulation) จํานวน 5มาตรฐานซึ่งมีผลบังคับใชเม่ือ 29 มีนาคม2559 ไดแก

มาตรฐานสยีอมสงัเคราะห: สไีดเร็กต(มอก.739-2555)

มาตรฐานสยีอมสงัเคราะห: สรีีแอกทีฟ(มอก.740-2555)

มาตรฐานสียอมสังเคราะห: สีแวต(มอก.760-2555)

มาตรฐานสยีอมสงัเคราะห: สซีลัเฟอร(มอก.2344-2555)

มาตรฐานสียอมสังเคราะห: สีแอซิด(มอก.2532-2556)

สําหรับมาตรฐาน มอก. ท่ีมีขอกําหนดการตานไฟ มีดังนี้

พรมทอ: การตานไฟ (อางอิงมาตรฐานอเมริกนั 16CFR 1630)

ผามาน: การตานไฟ (อางอิงมาตรฐานอังกฤษ BS 5867 Part 2)

เสือ้ผาเด็ก: ความคงทนตอการเผาไหม(อางอิงมาตรฐานอเมริกนั 16CFR 1610) (เด็กหมายถงึ เด็กท่ีมีอายต้ัุงแตแรกเกดิจนถงึ 14 ป)

ของเลน (มอก.685 เลม 1 ถึงเลม 3- 2540) ครอบคลุมของเลนท่ีทําหรือมีชิน้สวนจากสิง่ทอ บงคับใชต้ังแตป 2542

ท้ังนี้ สมอ.ไดออกมาตรฐานใหมท่ีมีขอกาํหนดคุณลักษณะพเิศษซึง่กร็วมเร่ืองการตานการลามไฟเขาไปดวย นั่นก็คือ มอก.เอส

มอก.เอส การตานการลามไฟ อางอิงมาตรฐาน BS 7175 Section 3 ปจจุบันมี 2มาตรฐาน ไดแก

มอก.เอส 1-2561 สาํหรับผาปท่ีูนอนและปลอกหมอน

มอก.เอส 3-2561 สําหรับผาหมสองมาตรฐานดังกลาวปรับปรุงแกไขจาก

ของเดิมท่ีทังคับใชกับเคร่ืองนอนท่ีใชภายในบานเรือนท่ัวไปโดยขยายขอบขายไปถงึเคร่ืองนอนท่ีใชในโรงแรม ท่ีพกัสาธารณะและสถานบริการท่ีมีลักษณะคลายคลึงกัน อาทิ คอนโดมิเนียมอพารทเมนต หรือรีสอรต รวมถึงยานพาหนะท่ีพักคางคืน เชน รถไฟ เรือ

มาตรฐานในมติติาง ดานคณุภาพ ISO 9000 Family- Quality Manage-

ment (การจัดการคุณภาพ) ISO 22000- Food Safety Manage-

ment (การจัดการความปลอดภัยอาหาร) ดานสิง่แวดลอมและพลงังาน ISO 14000 Family- Environmental

Management (การจดัการสิง่แวดลอม) ISO 50001-Energy Management

(การจดัการพลังงาน) ISO 14065 - Greenhouse Gas

(แกสเรือนกระจก) Sustainable Forest Management

(การจดัการปาไมอยางยัง่ยนื) ดานความปบลอดภยัและความมัน่คง ISO 45001-Occupational Health

and Safety (สุขภาพและความปลอดภัยในการทํางาน)

ISO 22301-Continuity ManagementSystem (ระบบการจัดการตอเนื่อง)

ISO 31000-Risk Management(การจดัการความเสีย่ง)

ดานเทคโนโลยีสารสนเทศ ISO/IEC 27001-Information

Security Management (การจดัการความม่ันคงดานสารสนเทศ)

ISO 20000-Information TechnologyService Management System (ระบบจัดการการบริการเทคโนโลยีสารสนเทศ)

ดานสงัคม ISO 26000-Social Responsibility

(ความรับผดิชอบตอสังคม) ISO 37001-Anti-bribery Manage-

ment System (ระบบจัดการการตอตานการทุจริต) สําหรับวงการราชการใชมาตรฐานนี้นํารอง

ดานการแพทย ISO 13485 Medical Devices Quality

Management System (ระบบจัดการคุณภาพเคร่ืองมือแพทย)

Page 7:  · ต านการลามไฟ ชุดดับเพลิง ชุดทํางานป องกัน ความร อนและเปลวไฟ) สรุปเนื้อหาจากการเสวนา

7SAFET Y LIFE

ดานบรกิาร ISO 20121: 2012 Event Sustain-

ability Management System (ISO 20121ระบบบริหารการจัดงานอยางยั่งยืน)

ISO 21101: 2014-Adventure Tour-ism Safety Management System (ระบบจดัการการทองเท่ียวผจญภัย)

เครอืขายการมาตรฐานในประเทศไทยประเทศไทยมีการใชมาตรฐานในแทบ

ทุกมิติ อาทิ มติสิงัคม สํานักงานพิสูจนหลักฐาน สํานักงาน

ตํารวจแหงชาติ-มาตรฐานการพิสูจนหลักฐานสําหรับตํารวจ ปองกันการดําเนินคดีผูบริสุทธิ์

กระทรวงแรงงาน-มาตรฐานแรงงานไทยเพื่อใหแรงไทยมีคุณภาพชีวิตดีข้ึน

กระทรวงคมนาคม-มาตรฐานความปลอดภัยดานอัคคีภัยของวัสดุตกแตงภายในรถโดยสาร

สถาบันคุณวุฒิ วิชาชีพ (องคการมหาชน) สาํนกันายกรัฐมนตรี-มาตรฐานวิชาชพี

มติสิิง่แวดลอม กระทรงพลังงาน-มาตรฐานระบบ

การจดัการพลังงาน องคการจดัการกาซเรือนกระจก (องค-

การมหาชน) กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่แวดลอม-มาตรฐานการปลอยกาซเรือนกระจก

องคการอุตสาหกรรมปาไม (รัฐวิสาห-กิจ สังกัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดลอม)-มาตรฐานการจัดสวนปาไมเศรษฐกจิยัง่ยนื

มติเิศรษฐกิจ กระทรวงการทองเท่ียวและการกฬีา -

มาตรฐานทองเท่ียวไทย

กระทรวงอุตสาหกรรม-มาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม

มติคิวามมัน่คง กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและ

การสื่อสาร-มาตรฐานวิศวกรรมซอฟตแวร กระทรวงพณิชย-มาตรฐานสิ่ งบงชี้

ทางภูมิศาสตรมาตรฐานความปลอดภยัดานอคัคภียั-

สิ่งทอ (Fire Safety Standards)คุณพีรพร พละพลีวัลย ผูอํานวยการ

ศูนยวิเคราะหทดสอบสิ่ งทอ สถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ ไดกลาวถึงมาตรฐานความปลอดภัยดานอัคคีภัย-สิ่ งทอ (Fire SafetyStandards) ท่ีใชกันท่ัวโลก

มาตรฐานสิง่ทอตานอัคคีภัยคือ มาตรฐานสาํหรับสิง่ทอท่ีมีคุณสมบติัไมลุกลามเม่ือลุกติดไฟมีใชในหลายประเทศ เนนท่ี 3 ผลิตภัณฑ ไดแก

เสื้อผา เชน ชุดนอน ชุดทํางาน ผลิตภัณฑสิง่ทอและพรมท่ีใชในบาน/

อาคาร (Textile and Carpets) เชน ผามาน ผาบุเฟอรนิเจอร ผาปูท่ีนอน ฟกู รวมถึงวัสดุตกแตงฝา เพดาน ผนังท่ีทาจากสิ่งทอ

สิ่ งทอท่ี ใช ในยานพาหนะขนส ง(Transportation) เชน มานบงัแสง พรมปพูืน้รถเบาะรถ ผาตกแตงดานในรถ ฯลฯ

ผลิตภัณฑสิ่งทอและพรมท่ีใชในบาน/อาคารและสิง่ทอท่ีใชในยานพาหนะขนสง หากใชในอาคารหรือยานพาหนะท่ีเปนสาธารณะซึง่จะมีผูไดรับผลกระทบเปนจํานวนมากเม่ือไฟไหม มาตรฐานจะมีความละเอียดซับซอนและมีการบงัคับใชอยางเขมขน โดยเฉพาะผลิตภัณฑสิ่ งทอและพรมท่ีใชในอาคารสาธารณะ ในประเทศพฒันาแลวจะมีมาตรฐานบงัคับใชอยางมากมายและครอบคลุมและเจาของสถานประกอบการตองปฏิบติัตามอยางเครงครัดเนือ่งจากบางมาตรฐานมีสถานะเปนกฎหมาย (Regulations)ดวย ในขณะท่ีประเทศไทยยังไมเนนเร่ืองนี้ แตโรงแรมหาดาว อาคารสาํนกังานขนาดใหญ หางสรรพสนิคาทันสมัยหลายแหงทําตามมาตรฐานสากลเนื่องจากตองทําตามเงื่อนไขของบริษัทประกันภัย

นอกจาก 3 ผลิตภัณฑท่ีกลาวไปแลวสิง่ทอดานอัคคีภัยยงัรวมถงึอุปกรณปองกนัสวนบุคคล (PPE) ประเภทเสื้อผาเคร่ืองแตงกายสาํหรับปฏิบติังานในสถานท่ีมีอันตรายจากความรอนและเปลวไฟ เชน ชุดทํางาน ชุดดับเพลิงถุงมือดับเพลิง ฯลฯ ซึ่งในเร่ืองนี้ ประเทศไทยไดออกกฎหมายเปนประกาศกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน เร่ือง กําหนดมาตรฐานอุปกรณคุมครองความปลอดภัยสวนบคุคล พ.ศ.2554 กําหนดใหนายจางตองจัดหาอุปกรณคุมครองความปลอดภัยสวนบคุคลใหกบัลูกจางอยางเหมาะสมกบัชนดิหรือประเภทงานท่ีลูกจางปฏิบัติอยูเปนประจํา

สาํหรับมาตรฐานการทดสอบการติดไฟของเสื้อผาปองกันไฟไหม (Protective clothing) ท่ีใชกันท่ัวโลกรวมถึงประเทศไทย มีอยูดวยกันหลายมาตรฐาน อาทิ

BS EN 469: 2014 Protective clothingfor firefighters-Performance requirements forprotective clothing for firefighting (มาตรฐานชดุดับเพลิงขอกาํหนดประสทิธภิาพเสือ้ผาสาํหรับใชในการดับเพลิง)

พีรพร พละพลีวัลย

Page 8:  · ต านการลามไฟ ชุดดับเพลิง ชุดทํางานป องกัน ความร อนและเปลวไฟ) สรุปเนื้อหาจากการเสวนา

8SAFET Y LIFE

ISO 11612 : 2015 (E) Protectiveclothing-Clothing to protect against heat andflame-Minimum performance requirements(ชุดปองกัน-เสื้อผาสําหรับปองกันความรอนและเปลวไฟ-กําหนดคาประสิทธิภาพการปองกนัข้ันตํ่า)

BS EN 532: 1995 Protective Clothing-Protection against heat and flame Test methodfor limited flame spread (ชุดปองกัน-เสื้อผาสาํหรับปองกนัความรอนและเปลวไฟ วิธทีดสอบสําหรับการจํากัดการลุกลามของเปลวไฟ)

EN ISO 15025: 2002 ProtectiveClothing - Protection against heat and flameTest method for limited flame spread (ชดุปองกนั-เสื้อผาสําหรับปองกันความรอนและเปลวไฟวิธ ีทดสอบสําหรับการจํากัดการลุกลามของเปลวไฟ)

BS 6249-1: 1982 Specification forFlammability Testing and Performance (ขอกาํหนดประสทิธภิาพและการทดสอบความไวไฟ)

ผลติภณัฑสิง่ทอและพรมทีใ่ชในบาน/อาคาร (Textile and Carpets)

ประเด็นนาสนใจเกีย่วกบัผลิตภัณฑสิง่ทอและพรมท่ีใชในบาน/อาคาร ไดแก

เม่ือเกดิเหตุเพลิงไหม ผลิตภัณฑสิง่ทอมักมีสวนรวมทาใหเพลิงไหมเกิดความรุนแรงมากข้ึนและสรางความสูญเสียอยางใหญหลวง

บางประเทศมีการออกกฎหมายบงัคับใหผลิตภัณฑสิง่ทอและพรมท่ีใชในบาน/อาคารตองมีคุณสมบัติตานการลามไฟเพื่อลดความรุนแรงและความสญูเสยีจากอัคคีภัย เชน ประเทศอังกฤษ สหภาพยโุรป ออสเตรเลีย สหรัฐอเมริกาแคนาดา เปนตน

ประเทศไทยมีกฎหมายท่ีเกีย่วของกบัวัสดุตกแตงในอาคารสถานบริการและโรงมหรสพแตยังไมมีกฎหมายท่ีระบุชัดเจนเกี่ยวกับสิ่งทอในอาคารประเภทอ่ืนๆ เชน ท่ีพกัในตึกสงู โรงแรมโรงพยาบาล เปนตน

ประเทศตางๆ ท่ีออกกฎหมายบังคับใหผลิตภัณฑสิ่งทอและพรมท่ีใชในบาน/อาคารตองมีคุณสมบัติตานทานการลามไฟ จะเขียนมาตรฐานการทดสอบท่ีมีเนื้อหาสาระแตกตางกันไปในแตละประเทศ โดยเฉพาะการใชแหลงความรอน (Ignition Source) ในการทดสอบสําหรับชนิดของสิ่งทอตามลักษณะการใชงาน(Application) (ดูตาราง)

Page 9:  · ต านการลามไฟ ชุดดับเพลิง ชุดทํางานป องกัน ความร อนและเปลวไฟ) สรุปเนื้อหาจากการเสวนา

9SAFET Y LIFE

ตัวอยาง มาตรฐานท่ีใชในประชาคมยโุรป(EU) เชน EN 1101 Test สาํหรับทดสอบสิง่ทอท่ีเปนเคร่ืองตกแตง/แขวน (Decorative fabrics/drapes) ใชแหลงความรอนเปนเปลวไฟแกส(Gas flame)

หรือมาตรฐานของรัฐแคลิฟอรเนยีท่ีถอืวาเปนมาตรฐานทดสอบท่ีมีความเขมแข็งท่ีสดุในสหรัฐฯ เชน California TB 116 สาํหรับทดสอบ

วัสดุใชทําเคร่ืองเบาะตกแตงบาน (Upholstery)ใชแหลงความรอนจากบุหร่ี (Cigarette)

มาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม (มอก.)ของประเทศไทยที่เกี่ยวกับผลิตภัณฑเคหะส่ิงทอและการทดสอบการติดไฟ

สําหรับประเทศไทย มีมาตรฐาน มอก.สาํหรับทดสอบการติดไฟของสิง่ทอท่ีใชในอาคารบานเรือนหรือท่ีเรียกวา “เคหะสิ่งทอ” หลาย

ฉบับ ไดแก มอก.962-2552 ทดสอบผาปท่ีูนอน

และปลอกหมอน วิธีทดสอบ ASTM D 1230(สหรัฐอเมริกา) เกณฑการทดสอบ: class 1

มอก.1118-2552 ทดสอบผามานวิธีทดสอบ: BS 5867-Part 2 (มาตรฐานอังกฤษ) เกณฑการทดสอบ: Type A กําหนดเปนคุณลักษณะพิเศษ (ถามี)

มอก.2502-2553 ทดสอบพรมวิธีทดสอบ 16 CFR 1630 (สหรัฐอเมริกา)เกณฑการทดสอบ: การติดไฟตองมีระยะหางจากขอบของกรอบมากกวา 25.4 มิลลิเมตรอยางนอย 7 ชิ้นจากการทดสอบ 8 ชิ้น

หมายเหตุ : มอก.1248-2552 ผาบุเคร่ืองเรือน

เลม 1 กําหนดขอบขายไมรวมผาบุเคร่ืองเรือนหนวงไฟ

มอก.1209-2536 เคร่ืองเรือนสาหรับท่ีพักอาศัย : เกาอ้ีรับแขก ไมมีการกําหนดคุณสมบติัการติดไฟ

ทุกมาตรฐานเปนมาตรฐานท่ัวไปผลิตภัณฑสิ่งทอตานไฟที่ใชในยาน

พาหนะขนสง (Transportation)ประเดน็สาํคญั ยานพาหนะโดยสารจะใหความสาํคัญ

ตอความปลอดภัยต้ังแตการออกแบบจนถึงวัสดุตางๆ ท่ีใชในยานพาหนะ

สิง่ทอท่ีใชในยานพาหนะมีหลากหลายต้ังแตผาท่ีกรุดานในรถ ผามาน ผาหุมและเบาะท่ีนั่ง จนถึงพรมปูพื้นรถ ซึ่งหากเปนเคร่ืองบินจะรวมถึงผาหม หมอนท่ีใชบนเคร่ืองบินดวย

มีขอกําหนดในเร่ืองความปลอดภัยดานอัคคีภัยกบัวัสดุและสิง่ทอท่ีใชในยานพาหนะบางประเทศเปนกฎหมายหรืออาจเปนกฎระเบยีบสากลในการปฏิบัติ เชน เคร่ืองบิน หรือเปนขอกาํหนดของผลิตภัณฑยีห่อตางๆ เพือ่ใหผูบริโภคเกิดความม่ันใจ

ประเทศไทยมีประกาศกรมการขนสงทางบก เร่ือง กาํหนดคุณสมบติัดานการลุกไหมการลามไฟของวัสดุท่ีใชตกแตงภายในรถโดยสารพ.ศ. 2559 เม่ือ 18 พฤศจิกายน 2559 และมีผลบังคับใชใหวัสดุตองเปนไปตามประกาศในวันท่ี 1 มกราคม 2562 นี้

สําหรับมาตรฐานการทดสอบการติดไฟของวัสดุตกแตงในรถยนตท่ีนิยมใชกันในระดับสากล เชน

Page 10:  · ต านการลามไฟ ชุดดับเพลิง ชุดทํางานป องกัน ความร อนและเปลวไฟ) สรุปเนื้อหาจากการเสวนา

10SAFET Y LIFE

FMVSS 302: Flammability of interiormaterials (ความไวไฟของวัสดุภายใน)

ASTM D5132-04 Standard TestMethod for Horizontal Burning Rate ofPolymeric Materials Used in OccupantCompartments of Motor Vehicles (การทดสอบอัตราการลุกไหมแนวราบของวัสดุโพลีเมอรท่ีใชในหองผูโดยสารของยานพาหนะ)

ISO 3795:1989 Road vehicles, andtractors and machinery for agriculture andforestry-Determination of burning behaviourof interior materials (การทดสอบพฤติกรรมการลุกไหมของวัสดุภายในยานพาหนะบนถนนรถแทรกเตอร และเคร่ืองจักรทางการเกษตร)

เทคโนโลยี คุณสมบัติ และมาตรฐานของผากันไฟ

คณุสมคดิ รตันประภาพร ผูจดัการท่ัวไปฝายขายและการตลาด บริษทั เทยนิ คอรปอเรชัน่(ประเทศไทย) จํากัด ในฐานะตัวแทนสหพันธอุตสาหกรรมสิ่ งทอแหงประเทศไทยเสวนาประเด็นเทคโนโลยี คุณสมบัติ และมาตรฐานของผากันไฟ สรุปไดดังนี้

เทคโนโลยีการทําผากนัไฟ ปจจุบันมีอยู3 ชนิดตามวิธีการทํา ไดแก

1. การตกแตงดวยสารหนวงไฟที่ผา(Flame Retardant Finishing) ใชสารหนวงไฟเคลือบของบนผาฝาย หรือผาใยสงัเคราะหโพลี-เอสเตอร ทําใหผานั้นมีคุณสมบัติกันไฟ แตมีอายุการใชงานสั้น และเวลาไหมจะเกิดควันมาก ไมเหมาะจะใชทําชุดดับเพลิง นิยมใชทําชดุทํางาน อายกุารใชงานประมาณ 1 ป ตัวอยางเชน ผาแบรนด Endura, Jupiter FR

2. การผสมสารหนวงไฟในเสนใยผา(Treated Fiber) ใชวิธฉีีดสารหนวงไฟเขาไปในเน้ือเสนใยสงัเคราะหโพลเีอสเตอรทาํใหมคีณุสมบัติกันไฟไดนานกวาประเภทแรก แตขอเสียคือเวลารอนจัดจะเกิดการหลอมละลายและหยดทําใหไมเหมาะจะใชทําเสื้อผาเคร่ืองแตงกายท้ังชุดทํางานและชุดดับเพลิง สวนใหญใชทําผามาน ผาหุมเบาะ ฯลฯ ตัวอยางเชน ผาแบรนด Trevira CS/X Flame ของบริษัท INDORAMAและ FR Spectrum ของ Alpha Group

3. เสนใยทีม่คีณุสมบัตกัินไฟโดยไมตองมกีารปรงุแตงใดๆ (Inherent Flame resistantFabric) เสนใยท่ีโดยตัวของมันเองมีคุณสมบัติตานทานเปลวไฟมาแตกําเนิดหรือการผลิต

หรือตามธรรมชาติ ซึ่งความตานทานในตัวจะคงอยูเปนระยะเวลานาน แมจะผานการซกัลางสักกี่ คร้ั งก็ตาม เสนใยชนิดนี้ คือ AromaticPolyamide หรือเรียกสั้นๆ วา เสนใย Aramidตัวอยางเชน Nomex ของดูปองท Teijinconex

Twaron Technora ของเทยิน

ท่ีใชงานในระยะเวลาสั้น มักไมเกิด 1 ป Treated Fiber: FR Polyester เหมาะ

กับการใชในเคหะสิ่งทอ (Hometextile) เชนผามานท่ีไมสัมผัสกับผิวหนังมนุษย

สมคิด รัตนประภาพร

เม่ือระบุลักษณะการนําไปใชงานของเสนใยท้ัง 3 ประเภท จะไดดังนี้

Flame Retardant Finishing: FR Cottonเหมาะสําหรับการใชในชุดทํางาน (Workwear)

Page 11:  · ต านการลามไฟ ชุดดับเพลิง ชุดทํางานป องกัน ความร อนและเปลวไฟ) สรุปเนื้อหาจากการเสวนา

11SAFET Y LIFE

Aramid/ Inherent Flame resistantFabric เหมาะกบัการใชใน Protective Workwear,Firesuit

โดยเม่ือเทียบราคาแลว เสนใยประเภทท่ีสามจะแพงสุด ตามดวยประเภทท่ีสอง และประเภทท่ีหนึ่ง

NFPA 1971-2018/ (new) มาตรฐานชุดปองกันสําหรับการดับไฟอาคารและการดับไฟระยะประชิด

หมายเหต ุในการทดสอบชดุดับเพลิงจะมีการทดสอบท่ีสําคัญคือ การทดสอบกับหุน(Manikin) เพือ่หาอัตราการไหมรางกาย (BodyBurn Ratio) เพือ่ทําใหผูสวมใสชดุมีความม่ันใจวามีความปลอดภัยเพียงพอ

ชดุปองกนัความรอนและเปลวไฟสาํหรับผูปฏิบติังานภาคอุตสาหกรรมและนกัดับเพลิงมีคุณสมบติัปองกนัการไหมท่ีจะเกดิกบัรางกายของผูสวมใสได โดยการไหมมีอยู 4 ระดับ คือ

1. การไหมข้ันท่ี 1 (First degree burn)

2. การไหมระดับท่ีสอง (Second degreeburn) การไหมจะทําใหเปนแผลไหมท่ีแบงยอยออกเปน 2 ชนิด

บาดแผลระดับท่ีสองชนดิต้ืน (Super-ficial partial-thickness burn) จะเกิดการไหมข้ึนท่ีชัน้หนงักาํพราตลอดท้ังชัน้ (ท้ังชัน้ผวินอกและชั้นในสดุ) และหนงัแท (dermis) สวนท่ีอยูต้ืน ๆ (ใตหนังกําพรา) แตยังมีเซลลท่ีสามารถเจริญทดแทนสวนท่ีตายได จึงหายไดเร็วและไมเกดิเปนแผลเปนเชนกนั (ยกเวนถามีการติดเชื้อ) ลักษณะอาการและบาดแผลโดยรวมคือมีตุมพองใส ถาลอกเอาตุมพองออก พื้นแผลจะมีสีชมพูชื้นๆ มีน้ําเหลืองซึม และคนไขจะมีอาการปวดแสบมากเพราะเสนประสาทบริเวณผิวหนังยังเหลืออยูไมไดถูกทําลายไปมากนักการหายของแผลใชเวลาประมาณ 2-3 สปัดาหไมเกิดแผลเปน

บาดแผลระดับท่ีสองชนิดลึก (Deeppartial-thickness burns) จะเกิดการไหมข้ึนท่ีชั้นของหนังแทสวนลึก ลักษณะบาดแผลจะตรงกันขามกับบาดแผลระดับท่ีสองชนิดต้ืน(superficial secondary degree burn) คือ

ผาท่ีนาํไปตัดเยบ็เปนชดุปองกนัสวนบคุคล(PPE) ไดแก ชุดปองกันความรอนและเปลวไฟตองผานการทดสอบเพื่อใหไดการรับรองตามมาตรฐานสากล เชน

EN ISO 11612 new edition 2015 (ใชในยุโรป) มาตรฐานชุดปองกันเสื้อผาปองกันความรอนและเปลวไฟ

NFPA 2112-2018 (new) (ใชในอเมริกา) มาตรฐานผาตานทานเปลวไฟสาํหรับใชปองกันบุคลากรภาคอุตสาหกรรมท่ีสัมผัสความรอนระยะสั้น

EN 469 (2005) มาตรฐานชดุปองกนัสําหรับนักดับเพลิง

การไหมจะทําใหเปนแผลท่ีจาํกดัอยูท่ีผวิหนงัชัน้หนังกําพรา (epidermis) เทานัน้ โดยบาดแผลจะแดง (Erythema) แตไมมีตุมพอง (Blister)มีความรูสึกเจ็บปวดหรือแสบรอน โดยแผลประเภทนี้จะใชเวลารักษาประมาณ 7 วัน โดยไมท้ิงรอยแผลเปนเอาไว (ยกเวนถามีการติดเชื้ออักเสบ)

คุณสมบัติ FR Cotton FR Polyester (Treated Fiber) Aramid

คุณสมบัติกันไฟหลังการซัก หายไปได หากซักผิดวิธี

และข้ึนกับความถ่ีในการซัก

คงอยูได คงอยูได

หลอมและหยดเมื่อม ี

ความรอนสูง

ไม

มีโอกาสหลอมและหยด

ไม

เกิดควันเมื่อไหม มาก ปานกลาง นอย

ความแข็งแรงของผา พอใช ดี ดีมาก

อายุการใชงาน สั้น ปานกลาง ยาวนาน

ตารางเปรียบเทียบคุณสมบัติผากันไฟ

จะไมคอยมีตุมพอง แผลสเีหลืองขาว แหง และไมคอยปวด บาดแผลชนิดนี้มีโอกาสเกิดแผลเปนไดแตไมมาก ถาไมมีการติดเชือ้ซ้ําเติม แผลมักจะหายไดภายใน 3-6 สัปดาห การใชยาปฏิชีวนะเฉพาะท่ีจะชวยใหแผลไมติดเชื้อ

3. การไหมระดับท่ีสาม (Third degreeburn) จะเกิดบาดแผลลึกลงไปจนทําลายหนัง

Second degree burn

Page 12:  · ต านการลามไฟ ชุดดับเพลิง ชุดทํางานป องกัน ความร อนและเปลวไฟ) สรุปเนื้อหาจากการเสวนา

12SAFET Y LIFE

กําพราและหนังแทท้ังหมด รวมท้ังตอมเหงื่อขุมขนและเซลลประสาท ผูปวยมักไมมีความรูสกึเจ็บปวดท่ีบาดแผล อาจกินลึกถึงชั้ นกลามเนื้อหรือกระดูก บาดแผลจะมีลักษณะขาว ซีดเหลืองน้าํตาลไหมหรือดํา หนาแข็งเหมือนแผนหนงัแหงและกราน อาจเห็นรอยเสนเลือดอยูใตแผนหนานั้น และเนื่องจากเสนประสาทท่ีอยูบริเวณผวิหนงัแทถกูทําลายไปหมดทําใหแผลนี้จะไมมีความรูสึกเจ็บปวด บาดแผลประเภทนี้จะไมหายเอง จําเปนตองรักษาดวยการผาตัดปลูกผิวหนัง นอกจากนี้จะมีการดึงร้ังของแผลทําใหขอยึดติด เม่ือหายแลวจะเปนแผลเปนบางรายจะพบแผลเปนท่ี มีลักษณะนูนมาก(hypertrophic scar or keloid) ถือเปนบาดแผลท่ีรายแรง และหากเกิดการติดเชื้ออาจทําใหเสียชีวิตได

4. การไหมระดับท่ี 4 (Fourth DegreeBurn) แผลไหมลามไปถึงไขมันใตผิวหนังและโครงสรางดานใน รวมถึงกลามเนื้อและกระดูกแผลไหมเกรียมเปนสดํีา แตไมเจบ็ปวด ผูบาดเจบ็อาจสูญเสียอวัยวะหรือสูญเสียสมรรถภาพทางรางกาย กรณเีกดิการบาดเจ็บรุนแรงอาจถึงข้ันเสยีชีวิต ในการรักษาตองตัดหนัง เนือ้เยือ่ หรืออวัยวะท่ีไหมออกแลวปลูกถายเนื้อเยื่อใหม

การบาดเจ็บจากการไหมคือ การถูกไฟไหมจนเปนแผลซึ่งมีขอมูลจาก AmericanBurn Association ท่ีทําการศึกษาวิจยัระหวางป1991-1993 ดังนี้

อัตราเปอรเซน็ตการรอดชวิีตจากการถูกไหมข้ึนอยูกับอัตราเปอรเซ็นตพื้นท่ีผิวหนังท่ีถูกไหมท้ังหมด (TBSA; Total Burned Sur-face) และอายุ (Age) ของผูถูกไฟไหม แสดงไวตามตาราง

ระดับการปองกันการอารกของสิ่งทอ(เสือ้ผาชุดทาํงานและถงุมอื)

การปองกันการบาดเจ็บจากการอารกของกระแสไฟฟามีเปาหมายคือปองกันไมใหคนงานเกดิการบาดเจบ็จากการไหมระดับท่ีสอง(Second degree burn) วัดท่ีคาปองกันความรอนจากการอารก หรือคา ATPV (Arc ThermalProtective Value) ซึ่งเปน 50% หรือคร่ึงหนึ่งของพลังงานความรอนจากการอารกท่ีจะสงผานไปยังตัวอยางผาทดสอบท่ีมีโอกาสจะทําใหเกิดการไหมระดับท่ีสอง (สาํหรับผูสวมใส) หนวยวัด

จากตารางแสดงใหเห็นวา ผูถูกไหมท่ีมีอายุนอย (20-30 ป) และมีพื้นท่ีผิวหนังถูกไหมนอย (25%) จะมีอัตรารอดชีวิตสูงสุด(99%) สวนผูสงูอาย ุ(50-60 ป) และมีพืน้ท่ีผวิถกูไหมมาก (75%) จะมีอัตรารอดชีวิตนอยท่ีสดุ (15%)

นอกจากความรอนและเปลวไฟท่ีสามารถทําอันตรายตอผูปฏิบัติงานท่ีตองสัมผัสหรือระงับเหตุการลุกไหมไดแลว ยังมีอันตรายอีกประเภทหนึ่งท่ีถือวารายแรงและมีแนวโนมสูงท่ีจะทําใหเกิดการเสียชีวิต นั่นคือ การลัดวงจร

เง่ือนไข: TBSA เง่ือนไข: Age-Years อัตราการรอดชีวิต

25% 20-30 99%

25% 30-40 99%

25% 40-50 96%

25% 50-60 99%

50% 20-30 90%

50% 30-40 85%

50% 40-50 75%

50% 50-60 60%

75% 20-30 60%

75% 30-40 47%

75% 40-50 35%

75% 50-60 15%

อัตราการรอดชีวิตจากการถูกไหมดวยเงื่อนไขตางๆ

รุนแรงจากกระแสไฟฟาหรือการอารกของกระแสไฟฟา (Electric Arc) ซึ่งมีลักษณะสําคัญ ดังนี้

มีการปลอยแรงดันไฟฟาตํ่าหรือแรงดันไฟฟาสูงระหวางตัวนํา 2 แหง

เกิดข้ึนเร็วมากและในชวงเวลาสั้นๆ0.01 วินาที ถึง 1 วินาที

เกิดข้ึนระหวางการติดต้ัง/ซอมบํารุงอุปกรณไฟฟา

ระหวางการอารกมีความรอนสูงถึง10,000 องศาฟาเรนไฮต เกิดการระเบิดท่ีมีแรงดัน เกิดเพลิงไหม และมีเสียงดัง

ทําใหบาดเจ็บรุนแรงจากการไหมElectric Arc

Page 13:  · ต านการลามไฟ ชุดดับเพลิง ชุดทํางานป องกัน ความร อนและเปลวไฟ) สรุปเนื้อหาจากการเสวนา

13SAFET Y LIFE

คือ แคลอรีตอตารางเซนติเมตร (Cal/cm2)การทดสอบเพื่อหาคา ATPV ทําข้ึนเพื่อ

แบงระดับของชุดปองกันสําหรับนําไปใชกับระดับความเสี่ยงจากการทํางานลักษณะตางๆ(ชดุปองกนัท่ีมีคา ATPV ระดับหนึง่จะเหมาะสมกับงานท่ีระบุไวเทานั้น) ท้ังนี้ มาตรฐาน IEC61482-1-1 (NFPA 70E) แบงระดับการปองกนัความเสี่ยงอันตราย (HRC; Hazard Risk Cat-egory) ตามคา ATPV โดยใชวิธีทดสอบกับอารกในพื้นท่ีเปด (Open Arc Test) ดังนี้

HRC 0 - ATPV < 4 Cal/cm2 HRC 1 - ATPV > 4 Cal/cm2

HRC 2 - ATPV > 8 Cal/cm2

HRC 3 - ATPV > 25 Cal/cm2

HRC 4 - ATPV > 40 Cal/cm2

ขณะท่ีมาตรฐานยุโรปใช IEC 64182-1-2 ทดสอบกบัอารกท่ีเกดิในกลอง (Box Test)แบงระดับการปองเปน Class 1 สําหรับการปองกันพลังงานความรอน 4 kA และ Class 2สําหรับการปองกันพลังงานความรอน 7 kA

หมายเหตุ kA คือ กิโลแอมแปรแมวาเราจะสามารถผลิตผากันไฟไดใน

ประเทศไทยโดยมีผู ผลิตหลายราย แตการทดสอบเพื่อใหการรับรองตามมาตรฐานหลักๆตองนําไปทดสอบในหองทดลองตางประเทศตัวอยางเชน การทดสอบตามมาตรฐาน EN ISO116125 ตองสงไปท่ีหองทดสอบในประเทศอังกฤษ มาตรฐาน NFPA 2112 ตองสงไปท่ีหองทดสอบในสหรัฐอเมริกา หรือมาตรฐาน NFPA70E (HRC 2) ตองสงไปท่ีหองในหองทดสอบประเทศสเปน เปนตน

ท้ังนี ้มีคําถามท่ีนาสนใจวา ประเทศไทยสามารถมีมาตรฐานและมีสถาบนัรับรองผากนัไฟไดหรือไม

ประสบการณจากผูใชงานจรงิคุณจํารัส มวลชัยภูม ิ บริษัท ซี.อี.ซี.

อินเตอรเนชัน่แนล ลิมิเต็ด (สาขาประเทศไทย)เปนผูเสวนารายตอมา ซึง่ในฐานะผูใชผลิตภัณฑอุปกรณปองกันไฟโดยอาชีพคือนักดับเพลิงไดบอกวา นักดับเพลิงทุกคนตองการใชของดีมีมาตรฐานกนัท้ังนัน้ แตปญหาอยูท่ี C หรือ Costคาใชจาย ชุดดับเพลิงท่ีมีมาตรฐานมาจากตางประเทศราคาชดุละหลายหม่ืน (โดยท่ัวไปอยูท่ีสามหม่ืนถึงหกหม่ืนบาท)

เงือ่นไขของการเลือกซือ้ชดุดับเพลิงหรืออุปกรณปองกนัสวนบคุคลมีอยูดวยกนัหลายขอเชน Q = Quality (คุณภาพ) D = Due (การสงสนิคา) C = Cost (คาใชจาย) S = Safety (ความปลอดภัย) E = Environment (สิ่งแวดลอม) ตัวC สาํคัญท่ีสดุสาํหรับคนไทย ถาแพงไปกซ็ือ้ไมได ยิง่เปนกลุมผูรับเหมากบับริษทัใหญๆ จะใหเขาซื้อชุด Nomex ก็แทบเปนไปไมได แตก็ยังดีท่ีตอนนี้นักดับเพลิงบานเรามีโอกาสซื้อชุดดีๆมือสองมือสามท่ีราคายอมเยา

ตองยอมรับความจริงวา ชุดปองกันหรือชุดดับเพลิงท่ีไดมาตรฐานสากลรวมถึงอุปกรณปองกันท่ีจําเปนอ่ืนๆ สามารถชวยชีวิตนักดับเพลิงไดมาก ท้ังเสื้อผา หมวก ถงุมือ รองเทาบูทเคร่ืองชวยหายใจ SCBA ถาเปนของนําเขาจะมีคุณภาพสูง สามารถรับประกันความปลอดภัยและทําใหชีวิตรอดได อันตรายจากการอัคคีภัย

จํารสั มวลชัยภมิู

Page 14:  · ต านการลามไฟ ชุดดับเพลิง ชุดทํางานป องกัน ความร อนและเปลวไฟ) สรุปเนื้อหาจากการเสวนา

14SAFET Y LIFE

เปนเร่ืองรายแรงมาก การบาดเจบ็จากการไหมมีหลายระดับ ซึ่งระดับรุนแรงสุดจะรักษายากและมีโอกาสเสียชีวิต แมจะรักษาจนหายแตจะเกดิแผลเปนขนาดใหญ

ปญหาคือเราจะทําอยางไรใหคนไทยไดใชชุดปองกนัท่ีไดมาตรฐานสากล มีคุณภาพสูงในราคาท่ีพอจะจายได คือตองมีท้ัง Q และ Cเปนสําคัญ

คนไทยสวนใหญรูดี ชดุปองกนัยีห่อไหนมีคุณภาพสูง แตงบประมาณไมพอ บางแหงก็ตองใชชดุท่ีทําในไทยซึง่กนัรอนกนัไฟได แตบางรุนไมมีท่ีระบาย ใสไปดับไฟแลวดูดซับความรอนเขาไปในตัวชุด บางทีน้ําก็ซึมเขาไป แตชุดไมระบายท้ังความรอนและน้ําออกมา บางรุนระบายไดแตไมดี ผลก็คือ ภายในชุดเกิดความรอนจัดจนผูสวมใสทนไมไหว น้ําท่ีซึมเขาไปก็เปนตัวนาํความรอนไดดีและเม่ือไดรับความรอนเพิม่ น้าํก็กล่ันเปนไอซึ่งก็รอนมากข้ึนหลายเทาความรอนนี่แหละท่ีทําใหผิวหนังเกิดการไหมเปนแผลและเจ็บปวด

การกนัความรอนของชดุไมไดหมายความวาเม่ือสัมผัสเปลวไฟแลวไมไหมเทานั้น แตจะตองปองกนัผวิหนงัไมใหไหมจากความรอนดวยเงื่อนไขอ่ืนๆ ดวย เชนการแผรังสี การกล่ันเปนไอ และการสะสมภายในชุดดังท่ีกลาวไป

ดังนั้นชุดดับเพลิงท่ีดีไมไดหมายถึงชุดทําดวยผาท่ีตานทานความรอนและเปลวไฟไดเทานัน้ แตตองระบายน้ําและความรอนภายในตัวชุดไดดีดวย

ประเด็นสําคัญท่ีตองเนนย้ํา ไมใชแคนักดับเพลิงท่ีเขาไปดับไฟจริงหรือฝกซอมเทานัน้ท่ีตองสวมชดุดับเพลิงคุณภาพสงู บรรดาผูควบคุมงานหรือครูฝกก็ตองสวมชุดท่ีกันไฟไดดีดวยเพราะอาจตองเขาไปดูแลลูกนองหรือผูเขารับการฝกดานในท่ีมีเปลวไฟและความรอนเพือ่สอนสั่งการ หรือปองกันอันตราย

ตัวอยางชดุดับเพลิงท่ีไดรับการรับรองตามมาตรฐานสากล (NFPA)

เปนชุดท่ีทนตอความรอน 500 ํ Cเปนเวลา 5นาที

ชัน้นอกสดุ (outer shell) เปนผา PBI,Kevlar, Aramid หรือผากันไฟคุณภาพสูงอ่ืนๆ

ชั้นกลาง เปนชั้นกันความรอนจากภายนอกเขาไปขางใน (Heat Barrier)

ในฐานะท่ี เปนผู ใชชุดดับเพลิง (Enduser) บอกไดเลยวา ถาไมมีผากนัไฟ ชวิีตนกัดับเพลิงจะอันตรายมาก แตมีขอแมวาจะตองเปนผลิตภัณฑท่ีมีมาตรฐานสูง ซึ่งแนนอนวาราคาตองแพง เพราะของดีราคาถกูไมมีในโลก ชดุดับ

ชัน้ในสดุ อยูติดกบัผวิหนงัผูสวมใส ใชซบัเหงือ่และกนัน้าํไปใหเขาไปขางใน (MoistureBarrier) ทําดวยเสนใยคารบอนไฟเบอรปองกนัไมใหมีน้ําสะสมซึ่ งจะนําความรอนและกล่ันเปนไอได

Page 15:  · ต านการลามไฟ ชุดดับเพลิง ชุดทํางานป องกัน ความร อนและเปลวไฟ) สรุปเนื้อหาจากการเสวนา

SAFET Y LIFE

เพลิงคุณภาพดีราคาจงึแพง แตกคุ็มคา หากเราไมสวมชุดดับเพลิงท่ีทําดวยผากันไฟเขาไปดับเพลิงไมวาท่ีไหนก็ตาม เราก็เสี่ยงจะถูกไฟไหมแคถูกบุหร่ีจี้ก็รอนและเจ็บแลว หากโดนเผาจนเปนแผลจะขนาดไหน โดยเฉพาะหากถกูไหมจนแผลในระดับท่ี 3-4 ไมเสียชีวิตก็พิการ มีแผลเปนไปตลอดชวิีต (ทรมานท้ังรางกายและจติใจ)ท้ังนี ้ชดุดับเพลิงท่ีมีประสทิธภิาพสงู อยางนอยตองปองกนันกัดับเพลิงไมใหถกูไหมระดับท่ีสอง

ดังนั้น สิ่งทอกันไฟจึงมีบทบาทสําคัญมากในวงการความปลอดภัยของโลกรวมถึงประเทศไทยดวย ในกรณีของประเทศไทย เราจําเปนตองมีการพัฒนาใหทัดเทียมกับตางประเทศโดยเฉพาะในเร่ืองของมาตรฐาน หากเราผลิตชุดดับเพลิงท่ีมีคุณภาพไดมาตรฐานเทียบเทาสากล คนไทยก็จะไดใชของดีท่ีราคาถกูลง คืออาจจะยงัแพงอยูแตกไ็มถงึกบัจบัไมลงเหมือนของนําเขา (ประเด็นนี้ จริงๆ แลวมี ชุดดับเพลิงท่ีทําในเมืองไทยท่ีไดมาตรฐานสากลจาํหนายแลว โดยใชผากนัไฟท่ีผลิตในเมืองไทยแตไดการรับรองตามมาตรฐานระดับโลก)

บทสรปุการสมัมนาคุณธํารง คุโณปการ อุปนายกสมาคม

สงเสริมความปลอดภัยและอนามัยในการทํางาน(ประเทศไทย) ไดกลาวปดทาย โดยพดูถงึความสาํเร็จในการผลักดันทําใหเกดิการสมัมนาวิชาการในประเด็นสิง่ทอกนัไฟซึง่เกดิจากความรวมมือจากหลายฝาย โดยเฉพาะหนวยงานตางๆ ท่ีเคยไดทํา MOU กันไวเม่ือปท่ีแลว และไดกลาวชืน่ชมบคุคลสาํคัญสองทานท่ีทําใหเกดิงานวันนี้คือ ดร.ชัยยุทธ ชวลิตนิธิกุล นายกสมาคมสงเสริมความปลอดภัยและอนามัยในการทํางาน(ประเทศไทย) และ รศ.ดร.เฉลมิชัย ชัยกติติภรณรองศาสตราจารยภาควิชาอาชวีอนามัยและความ

ปลอดภัย คณะสาธารณสขุศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ในฐานะอุปนายกสมาคมสงเสริมความปลอดภัยและอนามัยในการทํางาน(ประเทศไทย)

การปองกนัอัคคีภัยเปนยทุธศาสตรชาติดานความปลอดภัยท่ีสาํคัญมาก แตการดําเนนิงานคอนขางเปนไปอยางเชื่องชาและตางคนตางทํา เราจงึจาํเปนตองมีการรวมมือจากหลายหนวยงาน จึงไดมีการทํา MOU กับหนวยงานตางๆ เร่ิมตนในประเด็น “สิง่ทอกันไฟ” ซึง่กไ็ดการตอบรับท่ีดี งานมีความกาวหนาพอสมควร

สมาคมสงเสริมความปลอดภัยและอนามัยในการทํางาน (ประเทศไทย) ดําเนินงานดานฝกอบรมบคุลากรเกีย่วกบัความปลอดภัยในการ

ทํางานตอเนื่องมากวา 30 ป มีผูผานการฝกอบรมกบัสมาคมมากกวา 1 ลานคน ซึง่บคุลากรเหลานี้ติดตอกับสมาคมตลอดเวลา ดังนั้นเม่ือสมาคมทํา MOU กบัหนวยงานดานสิง่ทอกนัไฟคนกวา 1 ลานคนดังกลาวจะรับรูและใหความรวมมือ การสัมมนาหรือการเผยแพรความรูดานอัคคีภัยสูสาธารณะกจ็ะไดลูกศิษยของสมาคมนี่แหละเปนกําลังสําคัญ

เปาหมายตอไปของเรา คาดวาจะทําMOU กับกรมการขนสงทางบกเพื่อเผยแพรความรูดานสิ่งทอกันไฟท่ีจะใชในยานพาหนะขนสงมวลชนไปยังประชาชนกลุมตางๆ เพื่อทําใหเกิดการตระหนักและสอดสองดูแลใหมีการปฏิบัติตามกฎหมายบังคับอยางเครงครัดคิดวาคน 1 ลานคนท่ีกลาวถึงจะชวยไดมาก

อยางไรกต็าม งานปองกนัอัคคีภัยซึง่เปนยทุธศาสตรดานความปลอดภัยตองอาศัยความรวมมือจากทุกฝาย โดยทุกฝายพยายามทําหนาท่ีความรับผดิชอบของตัวเอง เปาหมายคือคนอีกสิบยี่สิบลานท่ีอยูขายจะไดรับผลกระทบจากอัคคีภัยเกดิความรูความเขาใจในการปองกนั

ธํารง คุโณปการ

ชุดดับเพลิงไทยมาตรฐานสากล

ตัวเองและชุมชนไมใชวาคนหนึ่ งลานคนมีความรูดาน

อัคคีภัยแลวงานเราจะสําเร็จ จริงๆ แลว ตองมีการถายทอดไปยังบุคคลอ่ืนใหมากท่ีสุดเทาท่ีจะทําได เราไมหวังวาคนไทยทุกคนตองรูเร่ืองอัคคีภัย แตเราหวังวาคนไทยในภาคอุตสาหกรรมพาณชิยกรรม การขนสง และอ่ืนๆ ท่ีมีความเสีย่งจากอัคคีภัย ทุกคนสามารถเอาตัวรอดจากภัยท่ีมีแนวโนมจะเกิดข้ึนระหวางการทํางานหรือทํากจิกรรมตางๆ

ความรูหนึง่ท่ีจาํเปนในการเอาตัวรอดจากอัคคีภัย คือการปองกนั โดยปองกนัไมใหไฟไหมถาหากสุดวิสัยมีไฟไหมเกิดข้ึนก็ตองปองกันไมใหเกิดความเสียหาย บาดเจ็บ ลมตาย หรือ

Page 16:  · ต านการลามไฟ ชุดดับเพลิง ชุดทํางานป องกัน ความร อนและเปลวไฟ) สรุปเนื้อหาจากการเสวนา

16SAFET Y LIFE

ใหเกิดข้ึนนอยท่ีสุด และผูมีหนาท่ีระงับเหตุก็ตองปองกนัตัวเองดวยอุปกรณท่ีไดมาตรฐาน

ประเด็นหนึ่งท่ีทุกคนควรรับรู นั่นคือตางชาติมักมองวาคนไทยชอบทําของเลียนแบบชุดดับเพลิง ชุดทํางานก็กอปปเขาตลอด อันนี้เปนเร่ืองท่ีไมสบายใจ เพราะของเลียนแบบหรือของกอปคือของไมไดมาตรฐาน สวมใสแลวอันตรายมาก เพราะเม่ือเราสวมชุดปองกันเรากมี็ความม่ันใจท่ีจะเขาไปทํางานในท่ีมีอันตรายเพราะคิดวาชุดท่ีสวมใสสามารถปองกันได แตจริงๆ แลวปองกันไมไดเพราะเปนของกอป จึงทําใหไดรับอันตรายถึงข้ันบาดเจ็บสาหัส หรือเสียชีวิตได

นีเ่ปนเคร่ืองเตือนใจของผูหนาท่ีปฏิบติังานกบัความรอนและเปลวไฟโดยเฉพาะนกัดับเพลิงวา จะตองสวมชุดปองกันท่ีมีคุณภาพและไดมาตรฐานเปนท่ียอมรับ แมมีราคาแพงแตก็ใหความม่ันใจไดในความปลอดภัย ไมเหมือนชุดราคาถูกๆ ท่ีไมไดมาตรฐานซึ่งทําใหเกิดความเสีย่งสงูมาก และการบาดเจบ็จากการถกูไฟไหมก็อยางท่ีคนมีประสบการณเขาเลามา มันเจ็บและทรมานมาก ในบางกรณีแผลอาจรักษาไดแตก็เปนแผลเปนเกิดปมดอยในชีวิตท่ีเหลือ

การเลือกซือ้ชดุปองกนัความรอนหรือชดุดับเพลิงตองพจิารณาใหดี ตองเลือกท่ีมีคุณภาพสูง และไดรับการรับรองตามมาตรฐานสําคัญคําวามาตรฐานนีแ่หละท่ีสรางความเชือ่ม่ันใหไดวาจะไมไดรับอันตรายจากไฟไหมเม่ือสวมใสเขาไปปฏิบัติงาน

สําหรับเร่ืองการบังคับใชสิ่งทอกันไฟใน

ยานหานะตามประกาศกรมการขนสงทางบกก็เปนเร่ืองท่ีตองสนับสนนุและชวยกันคนละไมคนละมือเพื่อใหสําเร็จดวยดี เพราะไฟไหมรถโดยสาร ไมวาจะเปนรถตู รสบัส หรือรถทัวรเกิดมาคร้ังหนึ่งก็มีคนเสียชีวิตเปนจํานวนมากอุบัติเหตุมักเร่ิมตนท่ีการชน การกระแทก การพลิกควํ่า ฯลฯ ทําใหมีน้ํามันร่ัวไหล และระบบ

ไฟฟาภายในรถลัดวงจร ประกายไฟหรือความรอนจากการกระแทกทําใหน้าํมันท่ีร่ัวไหลจดุติดไฟรุนแรงหรือเกิดการระเบิด จากนั้นไฟก็จะไหมวัสดุอุปกรณตางๆ ในตัวรถ ซึง่หากมีความไวไฟไหมกจ็ะลุกลามอยางรวดเร็วจนผูโดยสารหนไีมทันและถูกไฟไหมเสียชีวิต

การท่ีบงัคับใหวัสดุตกแตงภายในรถโดยสารตองมีคุณสมบติัตานทานการลุกไหมกเ็พือ่ไมใหวัสดุภายในรถลุกไหมอยางรวดเร็วเม่ือสมัผสักบัความรอนและเปลวไฟ เรียกวาบังคับใหใชวัสดุตานไฟหรือตานการลามไฟสงผลใหไฟลุกไหมชาลง ซึง่คนขับและผูโดยสารสามารถจะหนอีอกมาไดทันกอนไฟจะลุกทวมรถทําใหเกดิการบาดเจบ็สาหัสหรือเสียชีวิต

โดยรวมแลวสิ่งท่ีไดพูดคุยมาท้ังหมดถือวาเราเดินมาถกูทางแลว เพราะเราทําครบวงจรท้ังในดานการทํางานของบคุลากร (นกัดับเพลิงผูปฏิบัติงานกับความรอนสูง) และสาธารณะ(รถโดยสาร) ขอย้ําอีกคร่ัง ไมวาจะใชสิ่งทอกันไฟกับอะไร หรือกับใคร ตองเลือกชนิดท่ีไดมาตรฐานรับรองเพื่อลดความเสี่ยงท่ีจะไดรับอันตรายจากการใชของท่ีมีคุณภาพตํ่า

ในทุกกรณี การใชชุดหรืออุปกรณที่ไมไดมาตรฐานนากลวักวาตวัอนัตรายเสยีอกีเพราะทาํใหเราเขาใจผดิวาเรามเีครือ่งปองกันแตในความเปนจรงิ เราอยูในสภาพทีเ่หมอืนไมมอีะไรปองกันเลย ผลลงเอยทีก่ารบาดเจ็บหรอืลมตายอยางนาเสยีใจทีส่ดุ

รศ.ดร.เฉลมิชยั ชยักติตภิรณ

ดร.ชัยยุทธ ชวลตินิธิกุล