ความ เป น ฤดูกาล ของ การ ท องเ ที่ยว ใน...

16
วารสารเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร 16 (2): 32-47 สงวนลิขสิทธิ์ © 2552 คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ISSN 0858-9291 ความเปนฤดูกาลของการทองเที่ยวในจังหวัดเชียงใหม* อัครพงศ อั้นทอง** สถาบันศึกษานโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยเชียงใหม มิ่งสรรพ ขาวสอาด สถาบันศึกษานโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยเชียงใหม บทคัดยอ บทความนี้ศึกษาความเปนฤดูกาลของการทองเที่ยว โดยพิจารณาจากการเขาพักในสถานทีพักแรมในจังหวัดเชียงใหมของนักทองเที่ยวชาวไทยและชาวตางชาติระหวางป พ.ศ. 2535-2550 การวิเคราะห อาศัยการประยุกต X-12-ARIMA และคาสัมประสิทธิ์จีนีเพื่อประเมินอิทธิพลของฤดูกาลและการกระจุกตัว ของการมาเที่ยวตามฤดูกาล ผลการศึกษาชี้วาฤดูกาลทองเที่ยวของจังหวัดเชียงใหมยาวถึง 9 เดือน ยาวกวา ที่เชื่อกันวามีเพียง 4-6 เดือน ชวงนอกฤดูทองเที่ยวเปนเดือนพฤษภาคม มิถุนายน และกันยายน สัดสวนการ เปลี่ยนแปลงของจำนวนนักทองเที่ยวชวงนอกฤดูและในฤดูการทองเที่ยวใกลเคียงกัน แสดงวาความผันผวน ตามฤดูกาลไมมีอิทธิพลตอการเพิ่มขึ้นหรือลดลงของจำนวนนักทองเที่ยวในภาพรวม ลักษณะการทองเที่ยว ของคนไทยมีความเปนฤดูกาลสูงกวานักทองเที่ยวตางชาติ อยางไรก็ตามความหลากหลายของแบบแผน การทองเที่ยวทั้งของชาวไทยและชาวตางชาติทำใหผลของความเปนฤดูกาลลดลง การเพิ่มสวนแบงการตลาด กลุ มนักทองเที่ยวตางชาติจะมีสวนทำใหการทองเที่ยวกระจายตัวตามชวงฤดูกาลดีขึ้น การจัดกิจกรรมสงเสริม การทองเที่ยวที่หลากหลายและการเปดตลาดใหมนอกฤดูในชวงเดือนดังกลาว จะเปนแนวทางหนึ่งในการเพิ่ม ศักยภาพการทองเที่ยว คำสำคัญ: การทองเที่ยว ความเปนฤดูกาล คาสัมประสิทธิ์จีนี สถานที่พักแรม จังหวัดเชียงใหม * บทความนี้เปนสวนหนึ่งของ “โครงการทองเที่ยวไทย: จากนโยบายสูรากหญา” ไดรับการสนับสนุนจากสำนักงานกองทุน สนับสนุนการวิจัย (สกว.) ภายใตทุนสงเสริมกลุมวิจัย (เมธีวิจัยอาวุโส สกว.) ** ติดตอผูเขียน: คุณอัครพงศ อั้นทอง สถาบันศึกษานโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยเชียงใหม อาคารสถาบันวิจัยสังคม 239 ถ.หวยแกว อ.เมือง จ.เชียงใหม 50200 โทรศัพท: 053 942593 แฟกซ: 053 892649 อีเมล: [email protected]

Upload: others

Post on 14-Jul-2020

1 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: ความ เป น ฤดูกาล ของ การ ท องเ ที่ยว ใน จังหวัด เชียงใหม · วารสาร เศรษฐศาสตร

วารสารเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร 16 (2): 32-47

สงวนลิขสิทธิ์ © 2552 คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

ISSN 0858-9291

ความเปนฤดูกาลของการทองเที่ยวในจังหวัดเชียงใหม*อัครพงศอั้นทอง**สถาบันศึกษานโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยเชียงใหม

มิ่งสรรพขาวสอาดสถาบัน ศึกษา นโยบาย สาธารณะ มหาวิทยาลัย เชียงใหม

บทคัดยอ บทความนี้ศึกษาความเปนฤดูกาลของการทองเที่ยว โดยพิจารณาจากการเขาพักในสถานที่

พกัแรมในจงัหวดัเชยีงใหมของนกัทองเทีย่วชาวไทยและ ชาว ตางชาติระหวางป พ.ศ.2535-2550 การวเิคราะหอาศัยการประยุกต X-12-ARIMA และคาสัมประสิทธิ์จีนีเพื่อประเมินอิทธิพลของฤดูกาลและการกระจุกตัวของการมาเที่ยวตามฤดูกาล ผลการศึกษาชี้วาฤดูกาลทองเที่ยวของจังหวัดเชียงใหมยาวถึง 9 เดือน ยาวกวาที่เชื่อกันวามีเพียง 4-6 เดือน ชวงนอกฤดูทองเที่ยวเปนเดือนพฤษภาคม มิถุนายน และกันยายน สัดสวนการเปลี่ยนแปลงของจำนวนนักทองเที่ยวชวงนอกฤดูและในฤดูการทองเที่ยวใกลเคียงกัน แสดงวาความผันผวนตามฤดูกาลไมมีอิทธิพลตอการเพิ่มขึ้นหรือลดลงของจำนวนนักทองเที่ยวในภาพรวม ลักษณะการทองเที่ยวของคนไทย มี ความ เปน ฤดูกาลสูงกวานักทองเที่ยวตางชาติ อยางไรก็ตามความหลากหลายของแบบแผน

การทองเทีย่วทัง้ของชาวไทยและชาวตางชาติทำใหผลของความเปนฤดกูาลลดลง การเพิม่สวนแบงการตลาดกลุมนกัทองเทีย่วตางชาติจะมีสวนทำใหการทองเทีย่วกระจายตวัตามชวงฤดกูาลดขีึน้ การจดักจิกรรมสงเสรมิการทองเทีย่วที่หลากหลายและการเปดตลาดใหมนอกฤดูในชวงเดอืนดงักลาว จะเปนแนวทางหนึง่ในการเพิม่ศักยภาพการทองเที่ยว

คำสำคัญ:การทองเที่ยว ความเปนฤดูกาล คาสัมประสิทธิ์จีนี สถานที่พักแรม จังหวัดเชียงใหม

* บทความนี้เปนสวนหนึ่งของ “โครงการทองเที่ยวไทย: จากนโยบายสูรากหญา” ไดรับการสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ภายใตทุนสงเสริมกลุมวิจัย (เมธีวิจัยอาวุโส สกว.)

** ติดตอผูเขียน: คุณอัครพงศ อั้นทอง สถาบันศึกษานโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยเชียงใหม อาคารสถาบันวิจัยสังคม 239

ถ.หวยแกว อ.เมือง จ.เชียงใหม 50200 โทรศัพท: 053 942593 แฟกซ: 053 892649 อีเมล: [email protected]

Page 2: ความ เป น ฤดูกาล ของ การ ท องเ ที่ยว ใน จังหวัด เชียงใหม · วารสาร เศรษฐศาสตร

Kasetsart University Journal of Economics 16 (2): 32-47

Copyright © 2009 Faculty of Economics, Kasetsart University

ISSN 0858-9291

SeasonalityofTourisminChiangMaiProvince*

AkarapongUntong**Public Policy Studies Institute, Chiang Mai University

MingsarnKaosa-ard Public Policy Studies Institute, Chiang Mai University

Abstract This paper investigates the seasonality and seasonal concentration of domestic and

international tourists arrivals at accommodation establishments during 1992-2007 in Chiang Mai.

The study applies X-12-ARIMA and Gini coefficient to evaluate the influence of seasonality and

seasonal concentration. The results show that the tourist season in Chiang Mai was 9 months,

longer than is commonly believed, i.e. 4-6 months. The low season was in May, June and September.

The proportional changes in the number of tourists in low and high seasons were close. This

indicates that the seasonal variation had no effect on the changes in the number of tourists. Thai

tourists caused a higher seasonal concentration than foreign tourists. However, the diversification

of tourism patterns of both Thai and foreign tourists reduced the seasonal effects. Increasing the

market share of foreign tourists would reduce the seasonal concentration. Promoting various

activities and developing new tourism markets in the low season would increase the

potential of the sector.

Keywords:tourism, seasonality, Gini coefficient, accommodation, Chiang Mai Province

* This paper is part of the project “Thailand Tourism: Form Policy to Grassroots” supported by the Thailand Research

Fund (TRF) under TRF Research-Team Promotion Grant (TRF Senior Research Scholar).

** Corresponding author: Akarapong Untong, Public Policy Studies Institute, Chiang Mai University, 239 Huaykaew

Road, Muang Chiang Mai, Thailand, 50200. Tel: (+66)53942593, Fax: (+66)53892649, E-mail: akarapong_un@

hotmail.com

Page 3: ความ เป น ฤดูกาล ของ การ ท องเ ที่ยว ใน จังหวัด เชียงใหม · วารสาร เศรษฐศาสตร

34 ความเปนฤดูกาลของการทองเที่ยว

บทนำ

แมปจจุบันยังไมมีการใหความหมายท่ีชัดเจนของความเปนฤดูกาลในการทองเท่ียว (Koenig-Lewis

and Bischoff, 2005) แตงานศึกษาที่ผานมาไดแสดงใหเห็นวา ความเปนฤดูกาลเปนหนึ่งในปญหาที่สำคัญที่มักถูกหยิบยกมาพิจารณาในการจัดการทางดานการทองเที่ยวของแหลงทองเที่ยวตางๆ และยังเปนปญหาที่แหลงทองเที่ยวตางๆ ตองเผชิญอยูเปนประจำ (Butler, 2001) ความเปนฤดูกาลที่เกิดขึ้นกับการทองเที่ยวยังมีผลกระทบทั้งทางตรงและทางออมตอการจางงาน การลงทุน และตอการผลิตของอุตสาหกรรมตอเนื่อง

(Fernandez-Morales and Mayorga-Toledano, 2008) และการทองเที่ยวของคนในประเทศและชาวตางประเทศมีฤดูการทองเที่ยวที่แตกตางกัน (Jeffrey and Barden, 1999; Koenig-Lewis and Bischoff,

2004; Fernandez-Morales and Mayorga-Toledano, 2008)

จังหวัดเชียงใหม เปนหนึ่งในแหลงทองเที่ยวสำคัญของไทยที่พบกับปญหาความเปนฤดูกาลในการทองเที่ยวเปนประจำทุกป โดยในชวงเทศกาลทองเที่ยวมักประสบปญหาการแยงชิงทรัพยากรการทองเที่ยว

ไดแก อาหาร ที่พัก ความคับคั่งของการจราจร ความเปนฤดูกาลจึงสงผลกระทบตอธุรกิจทองเที่ยวหลายดานโดยเฉพาะกับสถานที่พักแรม (accommodation establishments) ซึ่งเปนธุรกิจที่กอใหเกิดการจางงาน

มลูคาเพิม่ และดงึดดูเงนิลงทนุจากทัง้ภายในและตางประเทศ รวมทัง้กอใหเกดิกจิกรรมการผลติอืน่ๆ ตามมามากมาย (มิ่งสรรพ ขาวสอาด, นุกุล เครือฟู, และ อัครพงศ อั้นทอง, 2548) ทั้งนี้เปนที่เชื่อกันวาเชียงใหมมีฤดูการทองเทีย่วสัน้แค 4 เดอืน กลาวคอื ในฤดหูนาวตัง้แตเดอืนพฤศจกิายนถงึกมุภาพนัธและชวงสงกรานตเดือนเมษายน บทความฉบับนี้จึงมีวัตถุประสงคที่จะศึกษาความเปนฤดูกาลของการทองเที่ยวในจังหวัดเชียงใหม โดยประยุกตวิธีการ X-12-ARIMA พัฒนาขึ้นโดย U.S. Census Bureau (2007) เพื่อประเมินผลกระทบของความผนัผวนตามฤดกูาลที่มีตอจำนวนนกัทองเทีย่วที่เขาพกัในสถานทีพ่กัแรมในจงัหวดัเชยีงใหม

และใชคาสัมประสิทธิ์จีนี (Gini coefficient) ที่เสนอโดย Lundtorp (2001) ในการวิเคราะหการกระจุกของความเปนฤดกูาล ซึง่แสดงถงึความเขมขนของการทองเทีย่วในชวงใดชวงหนึง่หรอืในเดอืนใดเดอืนหนึง่ ในทีน่ี้ยังไดประยุกตวิธีการแยกองคประกอบคาสัมประสิทธิ์จีนีที่เสนอโดย Lerman and Yitzaki (1985) เพื่อดูถึงองคประกอบตางๆ ที่สงผลตอการกระจุกตัวของความเปนฤดูกาล รวมทั้งวัดผลการเปลี่ยนแปลง (marginal

effect) ของสวนแบงการตลาดท่ีมีตอการกระจุกตัวของความเปนฤดูกาล (Fernandez-Morales and Mayorga-

Toledano, 2008) ผลการศึกษาที่ไดจะทำใหเกิดความเขาใจถึงความผันผวนตามฤดูกาลของนักทองเที่ยวที่เขาพกัในสถานทีพ่กัแรมในจงัหวดัเชยีงใหม และเปนประโยชนตอผูประกอบการและหนวยงานที่เกีย่วของในการวางนโยบายและการวางแผนสงเสรมิการตลาดในการแกไขปญหาความเปนฤดกูาล (counter-seasonal

policies)

หัวขอตอไปนำเสนอความเปนฤดูกาลในการทองเที่ยว เพื่อชี้ใหเห็นถึงการศึกษาเกี่ยวกับความเปนฤดกูาลในการทองเทีย่วทีผ่านมา จากนัน้กลาวถงึวธิกีารศกึษาที่ใชในการประเมนิความผนัผวนและการกระจกุตัวของความเปนฤดูกาล ตอจากนั้นนำเสนอผลการศึกษา ตอนทายเปนสรุปและขอเสนอแนะจากการศึกษา

Page 4: ความ เป น ฤดูกาล ของ การ ท องเ ที่ยว ใน จังหวัด เชียงใหม · วารสาร เศรษฐศาสตร

35อัครพงศอั้นทองและมิ่งสรรพขาวสอาด

ความเปนฤดูกาลในการทองเที่ยว ความเปนฤดูกาลเปนหนึ่งในปจจัยสำคัญที่มีอิทธิพลตออุปสงคของนักทองเที่ยว (Butler, 2001)

การเกิดฤดูกาลในการทองเที่ยวมีสาเหตุจากหลายปจจัยทั้งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติหรือมนุษยกำหนดขึ้น

ท้ังน้ี Butler (1994) สรุปไววามี 5 ปจจัย คือ ปจจัยทางดานธรรมชาติ (natural) ปจจัยทางสถาบัน (institutional)

แฟชัน่ (fashion) กฎเกณฑทางสงัคม (social pressure) เชน การเดนิทางไปแสวงบญุ เปนตน และงานเทศกาลกฬีา (sporting calendar) ตอมา Frechtling (1996) เสนอวาผลกระทบของเวลาในปฏทินิ (calendars effect)

เชน วันหยุดตามเวลาปฏิทิน เปนตน วาเปนสาเหตุหนึ่งที่ทำใหเกิดฤดูกาล นอกจากนี้ Lundtorp, Rassing,

and Wanhill (1999) ไดสรปุและแบงกลุมของปจจยัที่ทำใหเกดิฤดกูาลในการทองเทีย่วออกเปน 2 ปจจยัหลกั

คอื ปจจยัทางดานแรงผลกั (push factor) เชน ความชอบในภมูอิากาศของนกัทองเทีย่ว การเขาชมงานเทศกาลกีฬา เปนตน และปจจัยทางดานแรงดึง (pull factor) เชน ขนบธรรมเนียม แฟชั่น วันหยุดตามระยะเวลาในปฏิทิน เปนตน

ธรุกจิที่เกีย่วของกบัการทองเทีย่วมกัใหความสำคญักบัความเปนฤดกูาลในการทองเทีย่ว โดยเฉพาะอยางยิง่เมือ่ตองวเิคราะหถงึความเสีย่งในการลงทนุ (Baum, 1999) ทัง้นี้นยิมศกึษาถงึรปูแบบของวฏัจกัรของฤดูกาลในแหลงทองเที่ยวที่เขาไปดำเนินธุรกิจ โดยรูปแบบวัฏจักรแบงเปน 2 ชวง คือ ชวงฤดูการทองเที่ยว

(peak/high season) และนอกฤดูการทองเที่ยว (green/low season) แหลงทองเที่ยวบางแหงอาจมีรูปแบบฤดูกาลในการทองเที่ยวที่แตกตางกันออกไป และอาจมีชวงฤดูการทองเที่ยวมากกวา 1 ชวงก็ได ขึ้นอยูกับปจจยัที่เปนสาเหตุของการเกดิฤดกูาลในการทองเทีย่ว อยางเชนในจงัหวดัเชยีงใหมมีฤดูการทองเทีย่วมากกวา

1 ชวง คือ ในชวงฤดูหนาว (ปจจัยทางดานภูมิอากาศ) และชวงงานเทศกาลสงกรานตหรือลอยกระทง (ปจจัยทางดานงานเทศกาล) เปนตน

เทาที่ผานมา การศึกษาความเปนฤดูกาลในการทองเที่ยวมีทั้งการนำเสนอแบบจำลอง (model)

(Gonzalez and Moral, 1996; Kulendran, 1996; Kim, 1999; Sorensen, 1999; Greenidge, 2001) วิธีการประเมนิ (measure) (Ashworth and Thomas, 1999; Lim and McAleer, 2001) และการเสนอแนวทางแกไขปญหาความเปนฤดูกาล (Baum, 1999; Koenig-Lewis and Bischoff, 2004) การศึกษามีทั้งการใชดัชนีฤดกูาลและวธิีทางเศรษฐมติ ิ(Lim and McAleer, 2000) ทัง้นี้ขึน้กบัวตัถุประสงคของการศกึษานัน้ๆ โดยมากเปนการศกึษารปูแบบความเปนฤดกูาลของนกัทองเทีย่วที่เดนิทางมาทองเทีย่วยงัแหลงทองเทีย่วและการเขาพักในสถานที่พักแรม (Jeffrey and Barden, 1999; Lundtorp, Rassing and Wanhill, 1999; Lim and

McAleer, 2000; Koenig-Lewis, and Bischoff, 2004; Fernandez-Morales and Mayorga-Toledano,

2008) นอกจากนี้การทองเทีย่วของนกัทองเทีย่วภายในประเทศและตางประเทศยงัมีรปูแบบความเปนฤดกูาลที่แตกตางกัน (Fernandez-Morales and Mayorga-Toledano, 2008) ทั้งรูปแบบที่เกื้อหนุนและแขงขันกัน

ขึ้นอยูกับแหลงทองเที่ยวและตัวแปรดานอุปทานของแหลงทองเที่ยว รวมทั้งปจจัยอื่นๆ ที่เกี่ยวของ

Page 5: ความ เป น ฤดูกาล ของ การ ท องเ ที่ยว ใน จังหวัด เชียงใหม · วารสาร เศรษฐศาสตร

36 ความเปนฤดูกาลของการทองเที่ยว

แมวาวิธีการศึกษาความเปนฤดูกาลมีอยูหลายวิธี แตวิธีการที่นิยมนำมาใชศึกษาผลกระทบของความผันผวนตามฤดูกาลที่มีตอจำนวนนักทองเที่ยว คือ การพิจารณาจากดัชนีฤดูกาลหรือการแยกองคประกอบของความเปนฤดูกาลออกจากขอมูลอนุกรมเวลา เชน วิธีคาเฉลี่ยเคลื่อนที่ (moving average) เปนตน สวนการวิเคราะหการกระจุกตัวและองคประกอบของการกระจุกตัวของความเปนฤดูกาลนิยมใชคาสัมประสิทธ์ิจีนีในการวิเคราะห (Rossello, Riera and Sanso, 2004; Fernandez-Morales and Mayorga-Toledano, 2008) แมวามีการศึกษาความเปนฤดูกาลของการทองเท่ียวอยางกวางในประเทศไทย แตสวนใหญพิจารณาจากดัชนีฤดูกาล อาทิเชน มิ่งสรรพ ขาวสอาด และคณะ (2547) ใชดัชนีฤดูกาลวิเคราะหความเปนฤดูกาลของอุตสาหกรรมทองเที่ยวประเภทตางๆ ในจังหวัดเชียงใหม และงานของ Untong, Piboonrungroj, and Kaosa-ard (2006) ใชวิธีการแยกองคประกอบความเปนฤดูกาล เพื่อประเมินผลกระทบจากเหตุการณความเสียหายระดับโลกที่มีตอจำนวนนักทองเที่ยวตางชาติที่เดินทางมาเที่ยวในประเทศไทย แตเปนที่สังเกตวาการศึกษาในประเด็นการกระจุกตัวของความเปนฤดูกาล และผลกระทบจากความผันผวนตามฤดูกาลที่มีตอการเปลี่ยนแปลงจำนวนนักทองเที่ยวยังมีอยูจำนวนนอย

วิธีการศึกษา การศึกษาครั้งนี้ประเมินอิทธิพลของความผันผวนตามฤดูกาล การกระจุกตัว และองคประกอบของการกระจุกตัวของความเปนฤดูกาลของการเขาพักในสถานท่ีพักแรมของจังหวัดเชียงใหม โดยใชขอมูลอนุกรมเวลาต้ังแตเดือนมกราคม พ.ศ.2535 ถึง เดือนธันวาคม พ.ศ.2550 รวม 192 ตัวอยาง จากการทองเท่ียวแหงประเทศไทย และใชวิธีการ X-12-ARIMA แยกองคประกอบความเปนฤดูกาลออกจากขอมูลอนุกรมเวลา (time series) กอนนำไปประเมินการเพิ่มขึ้นหรือลดลงของจำนวนนักทองเที่ยวที่เปนผลมาจากความผันผวนตามฤดูกาล สวนการวิเคราะหการกระจุกตัวและองคประกอบของการจุกตัวของความเปนฤดูกาลดูจากการวิเคราะหคาสัมประสิทธิ์จีนี การแยกองคประกอบดวยวิธีการX-12-ARIMA ขอมูลอนุกรมเวลามีสวนประกอบยอย 4 สวน ไดแก แนวโนม (trend, T) ฤดูกาล (seasonal, S) วัฏจักร (cycle, C) และเหตุการณผิดปกติ/ไมแนนอน (irregular, I) วิธีการที่นิยมในการแยกองคประกอบของอนุกรมเวลามี 3 วิธี ไดแก วิธีคาเฉลี่ยอยางงาย วิธีคาเฉลี่ยเคลื่อนที่ และวิธี Census II ในที่นี้ใชวิธีการ

Census II ที่เรียกวา X-12-autoregressive integrated moving average หรือ X-12-ARIMA วิธีนี้เหมาะสมในกรณีท่ีไมสามารถกำหนดชวงเวลาของการหาคาเฉล่ียไดแนนอนและขอมูลมีความผันผวนสูง ซ่ึงสอดคลอง

กับลักษณะขอมูลจำนวนนักทองเที่ยวที่เขาพักในสถานที่พักแรมในจังหวัดเชียงใหมที่มีความออนไหวตอเหตุการณความไมแนนอนท่ีเกิดข้ึน โดยวิธีน้ีจะมีการปรับความผันผวนของขอมูลกอนท่ีจะแยกองคประกอบอ่ืนๆ ออกมา สวนรูปแบบอนุกรมเวลาโดยทั่วไปแบงเปน 2 รูปแบบ คือ รูปแบบผลบวก (สมการที่ 1) และรูปแบบผลคูณ (สมการที่ 2)

Page 6: ความ เป น ฤดูกาล ของ การ ท องเ ที่ยว ใน จังหวัด เชียงใหม · วารสาร เศรษฐศาสตร

37อัครพงศอั้นทองและมิ่งสรรพขาวสอาด

(1)

(2)

ทั้งนี้ Y คือ อนุกรมเวลา สวนองคประกอบของอนุกรมเวลา T S C และ I เกิดจากอิทธิพลของแนวโนม ฤดูกาล วัฏจักร และความไมแนนอน ตามลำดับ

วิธีการ X-12-ARIMA เปนที่นิยมนำมาใชปรับอนุกรมเวลาที่มีฤดูกาลทั้งแบบรายเดือนและรายไตรมาส วิธีการนี้พัฒนาและปรับปรุงมาจากวิธี Census II X11 โดยวิธี X-12-ARIMA รวมวิธีการหลัก 2 วิธีเขาดวยกัน คือ การใชแบบจำลอง regARIMA (regression model with ARIMA errors) และวิธีการปรับฤดูกาลแบบ X11 โดยใชแบบจำลอง regARIMA ในการปรับสวนที่อยูภายนอก (outliers) ของขอมูล เพื่อเปนแนวทางการปรับอิทธิพลฤดูกาลในขอมูลอนุกรมเวลา โดยรูปแบบของสวนที่อยูภายนอกมี 3 รูปแบบ คือ

สวนท่ีเพ่ิมเขามาจากภายนอก (additive outliers) การยกระดับ (level shifts) และการเปล่ียนแปลงแบบช่ัวคราว

(temporary change) ทั้งนี้จะกำหนดสวนที่อยูภายนอกดังกลาวไวในแบบจำลองในฐานะตัวแปรถดถอย

ขอมูลที่ใชมีความเปนฤดูกาล ดังนั้นแบบจำลอง ARIMA ที่ใชจึงเปนแบบจำลอง SARIMA (p,d,q)

(P,D,Q)S (seasonal integrated autoregressive and moving average) โดยรูปแบบของแบบจำลอง

SARIMA (p,d,q)(P,D,Q)S ไดมาจากการพิจารณากราฟของคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธในตัวเอง (autocor-

relation function, ACF) และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธในตัวเองบางสวน (partial autocorrelation function,

PACF) แลวนำรูปแบบดังกลาวไปตรวจสอบความเหมาะสม ดวยการพิจารณากราฟของคาสัมประสิทธิ์

สหสัมพันธในตัวเองของคาความคลาดเคลื่อน (residual) และทดสอบความเหมาะสมของรูปแบบโดยการทดสอบของ Box and Pierce (Ljung-Box statistic, LB) ดวยคาสถิติ Q (Q-statistic) สุดทายจะไดรูปแบบของแบบจำลอง SARIMA (p,d,q)(P,D,Q)S ที่เหมาะสมสำหรับการนำมาใช ซึ่งโปรแกรม X-12-ARIMA

version 0.30 ของ U.S. Census Bureau จะเลือกแบบจำลอง SARIMA ที่เหมาะสมให โดยพิจารณาจากคา

Akaike information criterion (AIC) และผลการทดสอบ Box and Pierce ของคาคลาดเคลือ่น (U.S. Census

Bureau, 2007; Quantitative Micro Software, 2007)

หลังจากปรับสวนที่อยูภายนอกดวยวิธีการ ARIMA แลว ในลำดับตอมาตองปรับอิทธิพลฤดูกาลในขอมลูดวยวธิกีาร X11 ภายใตขอสมมติทีว่า ความผนัผวนจากฤดกูาลสามารถวดัไดจากอนกุรมของชดุขอมลูที่สังเกตได (observed series) และถูกแยกออกจากความผันผวนที่เกิดจากวัฏจักร แนวโนม และความไมแนนอน องคประกอบฤดูกาลของขอมูลอนุกรมเวลา หรือ S กำหนดใหเปนความแปรปรวนภายในปที่เกิดขึ้นซ้ำๆ กันทุกป สวนองคประกอบวัฏจักร หรือ C เปนความแปรปรวนที่เกิดขึ้นในระยะยาว เชน วัฏจักรธุรกิจ

เปนตน และองคประกอบความไมแนนอน หรือ I เปนสวนที่เหลือจากความแปรปรวนที่เกิดจากปจจัยที่ไมเกีย่วของกบัเวลา เชน เหตกุารณกอการราย ภยัพบิตั ิเปนตน สามารถเขยีนความสมัพนัธขององคประกอบตางๆ ในรูปแบบคูณไดดังนี้

Page 7: ความ เป น ฤดูกาล ของ การ ท องเ ที่ยว ใน จังหวัด เชียงใหม · วารสาร เศรษฐศาสตร

38 ความเปนฤดูกาลของการทองเที่ยว

(3)

ทั้งนี้ Yt คือ ชุดขอมูลที่สังเกตได สวน St Ct และ It คือ องคประกอบฤดูกาล องคประกอบวัฏจักร

และองคประกอบความไมแนนอน ตามลำดับ

หลงัจากแยกองคประกอบฤดกูาลออกจากขอมลูอนกุรมเวลาแลว ขัน้ตอนตอมาเปนการประเมนิผลกระทบที่เกิดขึ้นจากความผันผวนตามฤดูกาลวา ในชวงฤดูทองเที่ยวหรือนอกฤดูทองเที่ยวมีการเพิ่มขึ้นหรือลดลงของจำนวนนักทองเที่ยวมากนอยแตกตางกันอยางไรเมื่อเทียบกับกรณีปกติ โดยประยุกตการวัด

ผลกระทบที่เสนอโดย Untong, Piboonrungroj, and Kaosa-ard (2006) การวัดผลกระทบในเดือนที่ t (PSt)

เมื่อกำหนดให St คือ คาดัชนีฤดูกาลในเดือนที่ t สามารถประเมินไดดังนี้

(4)

คา PSt ที่คำนวณได จะบอกขนาดจำนวนนักทองเที่ยวที่เพิ่มขึ้นหรือลดลงเมื่อเทียบกับกรณีปกติที่ปราศจากความผันผวนอันเนื่องมาจากเวลา วัฏจักร และความไมแนนอน คงเหลือแตความผันผวนอันเนื่องมาจากฤดกูาล โดยพจิารณาวา หากคา PSt ที่คำนวณไดมีคามากกวาศนูยหรอืมีคาเปนบวก (PSt >0) แสดงวา

ในชวงเดือนนั้นๆ เปนชวงฤดูทองเที่ยวมีนักทองเที่ยวเขาพักในสถานที่พักแรมมากกวากรณีปกติ ในทางตรงกันขามหากคา PSt ที่คำนวณไดมีคานอยกวาศูนย (PSt <0) แสดงวา ชวงเดือนนั้นๆ มีนักทองเที่ยว

เขาพักในสถานที่พักแรมนอยกวากรณีปกติ หรือเปนชวงนอกฤดูทองเที่ยว

การวิเคราะหการกระจุกตัวของความเปนฤดูกาลดวยคาสัมประสิทธิ์จีนี คาสมัประสทิธิ์จนีีพฒันาโดยนกัสถติิชาวอติาลีชือ่ Corrado Gini เมือ่ป ค.ศ.1912 โดยอาศยัพืน้ฐานแนวคิดเรื่องเสนโคงลอเร็นซ (lorenz curve) ตอมามีนักเศรษฐศาสตรหลายทานไดพัฒนาและนำเสนอสูตรการคำนวณคาสมัประสทิธิ์จนีีหลายๆ วธิ ีเพือ่ลดความคลาดเคลือ่นที่ไดจากการคำนวณและความสะดวกในการคำนวณ ในที่นี้ใชวิธีการที่เสนอโดย Lundtorp (2001) ซึ่งเปนวิธีการที่งายและสะดวกในการคำนวณ

สูตรการคำนวณมีดังนี้ (Rossello, Riera, and Sanso, 2004)

(5)

โดยที่ คือ คาสัมประสิทธิ์จีนีของนักทองเที่ยวกลุมที่ k

คือ ความถี่สะสมของสัดสวนของเดือนที่ i

คือ สัดสวนของเดือนที่ i ของนักทองเที่ยวกลุมที่ k

คือ จำนวนของสัดสวนที่ใชในการพิจารณา ในที่นี้คือ 12 เดือน

คือ ประเภทของนักทองเที่ยว ในที่นี้แบงออกเปน 2 กลุม คือ ชาวไทยและชาวตางชาติ

Page 8: ความ เป น ฤดูกาล ของ การ ท องเ ที่ยว ใน จังหวัด เชียงใหม · วารสาร เศรษฐศาสตร

39อัครพงศอั้นทองและมิ่งสรรพขาวสอาด

คาสมัประสทิธิ์จนีีที่คำนวณไดจากสมการที ่5 มีคาระหวาง 0 ถงึ 11/12 (ประมาณ 0.92) (Rossello,

Riera, and Sanso, 2004) หากคาสัมประสิทธิ์จีนีมีคาเทากับ 0 หมายความวา แตละเดือนมีนักทองเที่ยวเขาพักสถานที่พักแรมในสัดสวนที่เทากัน หรืออาจกลาวไดวาไมมีความเปนฤดูกาลเกิดขึ้นกับการเขาพัก

ในสถานที่พักแรมของนักทองเที่ยว ในทางกลับกัน หากคาสัมประสิทธิ์จีนีมีคาเทากับ 0.92 หมายความวา

มีนักทองเที่ยวเขาพักในสถานที่พักแรมเฉพาะเดือนใดเดือนหนึ่งเทานั้น นั่นคือมีความเปนฤดูกาลสูง

คา Gk ท่ีไดจากสมการท่ี 5 นำมาใชคำนวณคาสัมประสิทธ์ิจีนีของนักทองเท่ียวชาวไทยและ ชาวตางชาติที่เขาพักในสถานที่พักแรมในจังหวัดเชียงใหม โดยประยุกตวิธีการของ Lerman and Yitzaki (1985) ในการคำนวณองคประกอบของคาสัมประสิทธิ์จีนีของนักทองเที่ยวทั้งหมด สูตรการคำนวณมีดังนี้

(6)

โดยที่ G คือ คาสัมประสิทธิ์จีนีของนักทองเที่ยวทั้งหมด

Sk คือ สวนแบงการตลาดของนักทองเที่ยวกลุม k ในที่นี้แบงเปนกลุมนักทองเที่ยวชาวไทย

และตางชาติ

Rk คือ Gini correlation ระหวางนักทองเที่ยวกลุม k กับนักทองเที่ยวทั้งหมด

Gk คือ คาสัมประสิทธิ์จีนีของนักทองเที่ยวกลุม k

(7)

จากสมการที่ 7 คาสัมประสิทธิ์จีนีของนักทองเที่ยวกลุม k ขึ้นอยูกับองคประกอบสำคัญ 3 ประการ

คือ สวนแบงการตลาด (Sk) Gini correlation ระหวางนักทองเที่ยวกลุม k กับนักทองเที่ยวทั้งหมด (Rk) และคาสัมประสิทธิ์จีนีของนักทองเที่ยวกลุม k (Gk) จากองคประกอบทั้ง 3 จะเห็นไดวา สวนแบงการตลาดเปนองคประกอบที่สามารถควบคุมและเปลี่ยนแปลงได และมีความสำคัญตอการวางแผนสงเสริมการตลาด

ในชวงนอกฤดูการทองเที่ยว (Fernandez-Morales and Mayorga-Toledano, 2008) การเปลี่ยนแปลงสวนแบงการตลาดของนักทองเที่ยวแตละกลุมมีผลตอการกระจุกตัวของความเปนฤดูกาลในการเขาพัก

ของนักทองเท่ียวท้ังหมด ท้ังน้ี Fernandez-Morales and Mayorga-Toledano (2008) ไดเสนอ relative

marginal effects (RME) สำหรับวัดผลการเปล่ียนแปลงสวนแบงการตลาดของนักทองเท่ียวแตละกลุมท่ีมีตอการกระจุกตัวของความเปนฤดูกาล โดยมีสูตรการคำนวณดังนี้

(8)

คา RME ที่คำนวณไดจะเปนขอมูลชี้วา ควรเพิ่มสวนแบงการตลาดในนักทองเที่ยวกลุมใดจึงจะ

ทำใหการกระจุกตัวของความเปนฤดูกาลในการเขาพักของนักทองเที่ยวทั้งหมดลดลง ในทางปฏิบัตการเปลีย่นแปลงสวนแบงการตลาดสามารถทำไดงายกวาการเปลีย่นแปลง Gini correlation และคาสมัประสทิธิจ์นีี

Page 9: ความ เป น ฤดูกาล ของ การ ท องเ ที่ยว ใน จังหวัด เชียงใหม · วารสาร เศรษฐศาสตร

40 ความเปนฤดูกาลของการทองเที่ยว

Gk ที่ตองเปนการเปลี่ยนแปลงในระดับโครงสราง ขณะที่การเปลี่ยนแปลงสวนแบงการตลาดขึ้นอยูกับความสำเรจ็ของนโยบายหรอืแผนการตลาดที่แหลงทองเทีย่วแตละแหงใชในการสงเสรมิการทองเทีย่ว (Fernandez-

Morales and Mayorga-Toledano, 2008)

ผลการศึกษา ในตอนนี้แบงผลการศึกษาเปนสองสวน สวนแรกเปนการนำเสนอความผันผวนตามฤดูกาลของนักทองเที่ยวที่เขาพักในสถานที่พักแรมของจังหวัดเชียงใหม รวมทั้งการประเมินการเพิ่มขึ้นหรือลดลงจากความผนัผวนตามฤดกูาล และสวนหลงัเปนผลการวเิคราะหการกระจกุตัวและองคประกอบของการกระจกุตัวของความเปนฤดกูาลตามประเทศที่อยูอาศยั (country of residence) ของนกัทองเทีย่วที่เขาพกั รายละเอยีดในแตละสวนมีดังนี้

ความเปนฤดูกาลของการทองเที่ยว จำนวนนกัทองเทีย่วที่เขาพกัในสถานทีพ่กัแรมของจงัหวดัเชยีงใหม มีความผนัผวนตามฤดกูาลอยางเห็นไดชัด (ภาพที่ 1) และมีขนาดความผันผวนตามฤดูกาลเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะหลังป พ.ศ. 2546 สำหรับการเกิดฤดูกาลในการทองเที่ยวมาจากปจจัยหลัก 2 ประการ คือ (1) ปจจัยทางดานภูมิอากาศ เนื่องจากจังหวัดเชียงใหมมีความสวยงามและเหมาะสำหรับการทองเที่ยวในชวงฤดูหนาวของทุกป จึงมีนักทองเที่ยวเขาพักมากกวาปกติ และ (2) ปจจัยดานกิจกรรมงานเทศกาลหรืองานประเพณี เชน งานลอยกระทง งานสงกรานต

งานไมดอกไมประดับ เปนตน

ภาพที่ 1 จำนวนนักทองเที่ยวที่เขาพักในสถานที่พักแรมในจังหวัดเชียงใหมระหวางเดือนมกราคม 2535-ธันวาคม 2550

Page 10: ความ เป น ฤดูกาล ของ การ ท องเ ที่ยว ใน จังหวัด เชียงใหม · วารสาร เศรษฐศาสตร

41อัครพงศอั้นทองและมิ่งสรรพขาวสอาด

จากดัชนีฤดูกาลที่คำนวณดวยวิธี X-12-ARIMA พบวา ชวงฤดูการทองเที่ยวของจังหวัดเชียงใหม

คือ ชวงเดือนพฤศจิกายน-มีนาคม (ระยะเวลา 5 เดือน) ขณะที่ชวงเดือนเมษายน-ตุลาคม (7 เดือน) เปนชวงนอกฤดูการทองเที่ยว การทองเที่ยวของชาวไทยและตางชาติมีรูปแบบความเปนฤดูกาลแตกตางกัน โดย

นักทองเที่ยวชาวไทยมีชวงฤดูการทองเที่ยว 2 ชวง คือ (1) ระหวางเดือนพฤศจิกายน-มกราคม เปนชวงงานลอยกระทงและมาสัมผัสอากาศหนาวเย็น รวมทั้งมาเที่ยวงานไมดอกไมประดับชวงเดือนมกราคมของทุกป

และ (2) ระหวางเดือนมีนาคม-เมษายน โดยเฉพาะเดือนเมษายนที่เปนชวงสงกรานต สำหรับนักทองเที่ยวตางชาติพบวา มี 2 ชวงเชนกัน คือ ระหวางเดือนตุลาคม-กุมภาพันธ เปนลักษณะเชนเดียวกับนักทองเที่ยวชาวไทย แตชวงทีส่องเปนชวงเดอืนกรกฎาคม-สงิหาคม ซึง่เปนชวงหยดุยาว (holiday) ของนกัทองเทีย่วยโุรป

โดยตลาดยุโรปที่สำคัญของจังหวัดเชียงใหม ไดแก ฝรั่งเศส เยอรมนี เนเธอรแลนด และอังกฤษ

จากขางตนจะเห็นไดวา นักทองเที่ยวชาวไทยและชาวตางชาติมีฤดูทองเที่ยวตรงกันในชวงเดือนพฤศจิกายน-มกราคม ทำใหเกิดปญหาการแยงชิงทรัพยากรการทองเที่ยว เชน สถานที่พักแรม รานอาหาร

สาธารณูปโภค เปนตน ขณะที่ชวงเดือนมีนาคม-เมษายน เปนฤดูทองเที่ยวเฉพาะของคนไทย และชวงเดือนกรกฎาคม-สิงหาคม เปนฤดูทองเที่ยวของชาวตางชาติ ความแตกตางดังกลาวนับวาเปนประโยชนตอสถานที่พักแรมในจังหวัดเชียงใหม และหากพิจารณาฤดูทองเที่ยวโดยแยกตามประเทศที่อยูอาศัยของ

นักทองเที่ยวพบวา ชวงนอกฤดูการทองเที่ยวที่แทจริงของจังหวัดเชียงใหม คือ เดือนพฤษภาคม มิถุนายน

และกันยายน ซึ่งเปนชวงนอกฤดูทองเที่ยวของนักทองเที่ยวทั้งชาวไทยและตางชาติ (ภาพที่ 2)

ภาพที่ 2 ดัชนีฤดูกาลของนักทองเที่ยวที่เขาพักในสถานที่พักแรมในจังหวัดเชียงใหม คำนวณดวยวิธี X-12-ARIMA

Page 11: ความ เป น ฤดูกาล ของ การ ท องเ ที่ยว ใน จังหวัด เชียงใหม · วารสาร เศรษฐศาสตร

42 ความเปนฤดูกาลของการทองเที่ยว

จากการประเมนิอทิธพิลของความผนัผวนตามฤดูกาลพบวา ชวงฤดูทองเทีย่วมีจำนวนนกัทองเทีย่วเพิม่ขึน้ประมาณรอยละ 10-12 เมือ่เทยีบกบักรณีปกต ิขณะที่ชวงนอกฤดูทองเทีย่วมีจำนวนนกัทองเทีย่วลดลงประมาณรอยละ 10-12 เชนกัน สะทอนใหเห็นวาความผันผวนตามฤดูกาลไมมีผลตอการเพิ่มขึ้นหรือลดลงของนักทองเที่ยวเมื่อพิจารณาในภาพรวมทั้งป แตพบวาจำนวนเดือนที่เปนชวงฤดูทองเที่ยวมีแนวโนมลดลงนับตั้งแตป พ.ศ. 2543 เปนตนมา (ตารางที่ 1)

ตารางที่1 รอยละการเพิม่ขึน้หรอืลดลงของจำนวนนกัทองเทีย่วที่เขาพกัในสถานทีพ่กัแรมในจงัหวดัเชยีงใหมจากความผนัผวนตามฤดูกาล

หมายเหตุ: ขอมูลที่แรเงา คือ ชวงฤดูทองเที่ยว สวนขอมูลที่ไมไดแรเงา คือ ชวงนอกฤดูทองเที่ยว

ที่มา: จากการคำนวณ

นอกจากนี้ยงัพบวา การเพิม่ขึน้หรอืลดลงของจำนวนนกัทองเทีย่วตางชาติมีสดัสวนการเปลีย่นแปลงสูงกวาจำนวนนักทองเที่ยวชาวไทย กลาวคือ นักทองเที่ยวตางชาติเคลื่อนไหวประมาณรอยละ 15-17

เมื่อเทียบกับกรณีปกติ ขณะที่นักทองเที่ยวชาวไทยเคลื่อนไหวประมาณรอยละ 5-6 (ยกเวนในชวงป พ.ศ. 2543-2546 มีอัตราการเพิ่มขึ้นสูงกวาชวงอื่นๆ) และเปนที่นาสังเกตวา เดือนกุมภาพันธเคยเปน

ชวงฤดูทองเที่ยวของคนไทย แตระยะหลังกลายเปนเดือนนอกฤดูการทองเที่ยว สาเหตุหนึ่งอาจเปนผลมาจากปญหามลภาวะทางอากาศที่มีความรุนแรงเพิ่มขึ้นตลอดชวง 4-5 ปที่ผานมา สำหรับชวงเดือนกรกฎาคม-สิงหาคมเคยเปนชวงฤดูทองเที่ยวของนักทองเที่ยวตางชาติ ตอมากลายเปนชวงนอกฤดูโดยเฉพาะกลุมนักทองเที่ยวจากมาเลเซียและยุโรป สาเหตุสำคัญนาจะเกิดจากสภาพปญหาน้ำทวมที่มักเกิดขึ้นในชวงเวลาดังกลาว

Page 12: ความ เป น ฤดูกาล ของ การ ท องเ ที่ยว ใน จังหวัด เชียงใหม · วารสาร เศรษฐศาสตร

43อัครพงศอั้นทองและมิ่งสรรพขาวสอาด

การกระจุกตัวของความเปนฤดูกาลของการทองเที่ยว คาสมัประสทิธิ์จนีีที่คำนวณไดมีคาประมาณ 0.40-0.50 (ภาพที ่3) จดัวามีคาคอนขางสงูเมือ่เทยีบกบังานศึกษาในตางประเทศท่ีมักพบวามีคาไมเกิน 0.40 เชนท่ี Wales, England, Scotland (UK) (Koenig-Lewis and Bischoff, 2002), Balearic Island (Spain) (Rossello, Riera, and Sanso, 2004), Costa del Sol (Spain) (Fernandez-Morales and Mayorga-Toledano, 2008) เปนตน สำหรับในประเทศไทยยังไมพบ

การศกึษาดานนี ้จากคาที่คำนวณไดอาจกลาวไดวาจำนวนนักทองเทีย่วมีการกระจกุตวัของความเปนฤดูกาลคอนขางสูง อยางไรก็ตามการกระจุกตัวดังกลาวมีแนวโนมลดลงตั้งแตป พ.ศ. 2544 เปนตนมา โดยเฉพาะในกลุมนักทองเที่ยวชาวไทยพบการกระจุกตัวลดลงอยางเห็นไดชัดเจนในชวง 3 ปที่ผานมา (พ.ศ. 2548-2550) ขณะที่กลุมนกัทองเทีย่วตางชาติกลบัมีแนวโนมการเปลีย่นแปลงคอนขางนอย หรอือาจกลาวไดวา การกระจกุตัวของความเปนฤดูกาลในตลาดนักทองเที่ยวตางชาติที่เขาพักในสถานที่พักแรมในจังหวัดเชียงใหมมีความผันผวนนอยหรือมีเสถียรภาพมากกวาตลาดนักทองเที่ยวชาวไทย

ภาพที่3 คาสัมประสิทธิ์จีนีของนักทองเที่ยวที่เขาพักในสถานที่พักแรมในจังหวัดเชียงใหมระหวางป พ.ศ. 2535-2550 ผลการคำนวณคาองคประกอบของความเปนฤดูกาล พบวา การเปลี่ยนแปลงสวนแบงการตลาดของนักทองเที่ยวตางชาติมีอิทธิพลตอการกระจุกของความเปนฤดูกาลของนักทองเที่ยวทั้งหมดสูงกวาการเปล่ียนแปลงสวนแบงการตลาดนักทองเท่ียวชาวไทย (คา RME ของนักทองเท่ียวตางชาติมีคานอยกวา 0) แตเปนที่นาสังเกตวา ในปที่มีงานเทศกาล เชน กีฬาซีเกมสในป พ.ศ.2539 งานมหกรรมพืชสวนโลกใน

ปพ.ศ. 2550 เปนตน หรือมีเหตุการณความไมแนนอน เชน โรคซารสในป พ.ศ.2546 เปนตน สวนแบงการตลาดของนักทองเท่ียวชาวไทยเพ่ิมข้ึนสูงกวานักทองเท่ียวตางชาติ ทำใหสวนแบงการตลาดของนักทองเท่ียวชาวไทย

Page 13: ความ เป น ฤดูกาล ของ การ ท องเ ที่ยว ใน จังหวัด เชียงใหม · วารสาร เศรษฐศาสตร

44 ความเปนฤดูกาลของการทองเที่ยว

มีอิทธิพลตอการกระจุกตัวของความเปนฤดูกาลของนักทองเที่ยวทั้งหมด อยางไรก็ตามตลอด 16 ปที่ผานมา

(พ.ศ. 2535-2550) นกัทองเทีย่วตางชาติยงัคงเปนตลาดที่มีอทิธพิลหลกัตอการกระจกุตัวของความเปนฤดกูาล

ดงันัน้การดำเนนินโยบายสงเสรมิการทองเทีย่วที่ทำใหเกดิการเปลีย่นแปลงสวนแบงการตลาดของนกัทองเทีย่วตางชาติ จะมีผลทำใหการกระจุกตัวของความเปนฤดูกาลลดลง โดยใหผลสูงกวาการเนนเพิ่มสวนแบงการตลาดของนักทองเที่ยวชาวไทย (ตารางที่ 2) การดำเนินการควรเนนตลาดสำคัญ 10 ประเทศ ไดแก มาเลเซีย

สิงคโปร ญี่ปุน ไตหวัน ฝรั่งเศส เยอรมนี เนเธอรแลนด อังกฤษ สหรัฐอเมริกา และออสเตรเลีย เนื่องดวย

นักทองเที่ยวกลุมเหลานี้มีระดับการกระจุกตัวและความผันผวนของการกระจุกตัวของความเปนฤดูกาลนอยกวานักทองเที่ยวชาวไทย และมีเสถียรภาพของความเปนฤดูกาลแนนอนและชัดเจนมากกวาตลาด

นักทองเที่ยวชาวไทย (ตารางที่ 3)

ตารางที่ 2 องคประกอบของการกระจุกตัวของความเปนฤดูกาลของนักทองเที่ยวที่เขาพักในสถานที่พักแรมในจังหวัดเชียงใหม

หมายเหตุ: ขอมูลที่แรเงา หมายถึง ชวงเวลาที่มีการจัดงานเทศกาลพิเศษและเกิดเหตุการณความไมแนนอน

ที่มา: จากการคำนวณ

Page 14: ความ เป น ฤดูกาล ของ การ ท องเ ที่ยว ใน จังหวัด เชียงใหม · วารสาร เศรษฐศาสตร

45อัครพงศอั้นทองและมิ่งสรรพขาวสอาด

ที่มา: จากการคำนวณ

การสงเสริมการทองเที่ยวดวยการจัดงานเทศกาล รวมทั้งการเกิดเหตุการณความไมแนนอน มีสวนทำใหความเปนฤดกูาลมีการกระจกุตวัมากกวาปกต ิโดยเฉพาะการจดักจิกรรมหรอืงานเทศกาลพเิศษในชวงฤดูทองเท่ียวจะย่ิงเปนการกระตุนใหเกิดความเปนฤดูกาลมากข้ึน อาจนำไปสูการแยงชิงทรัพยากรการทองเท่ียวระหวางนักทองเที่ยวชาวไทยและตางชาติ ปญหาความแออัด และทำใหแหลงทองเที่ยวเสื่อมโทรมเร็วขึ้น

สรุปและขอเสนอแนะ บทความนี้ศึกษาความเปนฤดูกาลของนักทองเที่ยวที่เขาพักในสถานที่พักแรมในจังหวัดเชียงใหม

ระหวางป พ.ศ. 2535-2550 โดยประยุกตวิธีการ X-12-ARIMA เพื่อประเมินอิทธิพลของความผันผวนตาม

ฤดกูาลท่ีมีตอจำนวนนักทองเท่ียวท่ีเขาพักในสถานท่ีพักแรมในจังหวัดเชียงใหม และใชคาสัมประสิทธ์ิจีนีวเิคราะหการกระจุกตัวและองคประกอบของการกระจุกตัวของความเปนฤดูกาลตามประเทศท่ีอยูอาศัยของนักทองเท่ียว

ผลการศกึษาที่ไดมีประโยชนตอการวางนโยบายแกไขปญหาความเปนฤดกูาล และสงเสรมิการเปดตลาดใหมในชวงนอกฤดูทองเที่ยว

ผลการศึกษาแสดงใหเห็นวา ฤดูทองเท่ียวของจังหวัดเชียงใหมยาวถึง 9 เดือน มากกวาท่ีเคยเขาใจกันวา

4-6 เดือน และแบบแผนการทองเที่ยวของนักทองเที่ยวชาวไทยและชาวตางชาติแตกตางกัน ทำใหความเปนฤดูกาลในการทองเท่ียวลดลง ชวงนอกฤดูการทองเท่ียวท่ีแทจริง ไดแก เดือนพฤษภาคม มิถุนายน และ กันยายน

และสัดสวนการเปล่ียนแปลงจำนวนนักทองเท่ียวในชวงฤดูทองเท่ียวและนอกฤดูทองเท่ียวมีสัดสวนใกลเคียงกัน

นัน่คอืหากพจิารณาในภาพรวมทัง้ป ความผนัผวนตามฤดกูาลไมมผีลกระทบตอการเปลีย่นแปลงของจำนวนนักทองเที่ยวที่เขาพักในสถานที่พักแรมในจังหวัดเชียงใหม แมวาสถานที่พักแรมในจังหวัดเชียงใหมเผชิญกับ

ตารางที่3 องคประกอบของการกระจุกตัวของความเปนฤดูกาลของนักทองเที่ยวชาวตางชาติที่สำคัญ 10 อันดับแรก

Page 15: ความ เป น ฤดูกาล ของ การ ท องเ ที่ยว ใน จังหวัด เชียงใหม · วารสาร เศรษฐศาสตร

46 ความเปนฤดูกาลของการทองเที่ยว

การกระจุกของความเปนฤดูกาลคอนขางสูง (Gini index > 0.40) โดยเฉพาะตลาดกลุมนักทองเที่ยวชาวไทย

แตสามารถลดการกระจกุตวัของความเปนฤดกูาลไดดวยการเพิม่สวนแบงการตลาดของนกัทองเทีย่วตางชาต ิ

โดยเฉพาะจากตลาดหลัก 10 ประเทศ ไดแก มาเลเซีย สิงคโปร ญี่ปุน ไตหวัน ฝรั่งเศส เยอรมนี เนเธอรแลนด

อังกฤษ สหรัฐอเมริกา และออสเตรเลีย

การจัดกิจกรรมสงเสริมการทองเที่ยวของหนวยงานที่เกี่ยวของ ควรดำเนินการในชวงนอกฤดูทองเที่ยว และเนนตลาดนักทองเที่ยวตางชาติสุดสัปดาห อาทิ ในกลุมสิงคโปร ฮองกง ญี่ปุน เปนตน

โดยสงเสริมรวมกับสายการบินตนทุนต่ำหรือเปดตลาดนักทองเที่ยวกลุมใหม เชน การทองเที่ยวในฤดูฝน

(green season promotion) สำหรับนักทองเที่ยวกลุมตะวันออกกลาง พรอมทั้งนำเสนอขอมูลกิจกรรม

การทองเทีย่วภายในอาคาร เชน พพิธิภณัฑ สวนสตัว ศนูยแสดงพนัธุสตัวนำ้ (aquarium) เปนตน หรอืสงเสรมิกจิกรรมทองเทีย่วที่ไมองิกบัดนิฟาอากาศ เชน เทศกาลอาหารไทย บนัเทงิ เปนตน สำหรบัแนวทางศกึษาตอไปในอนาคต ควรมีการศึกษาเปรียบเทียบกับเมืองทองเที่ยวอื่นๆ เชน ภูเก็ต พัทยา เปนตน หรือมีการศึกษาเปรียบเทียบกลุมนักทองเที่ยวที่แตกตางกัน เชน นักทองเที่ยวตางชาติสุดสัปดาห หรือนักทองเที่ยวที่มาเชยีงใหมรวมกบัจดุหมายปลายทางอืน่ๆ รวมทัง้การศกึษาในระดบัประเทศ เพือ่ใหเขาใจถงึความเปนฤดกูาลของการทองเที่ยวในจังหวัดทองเที่ยวหลักมากยิ่งขึ้น

เอกสารอางอิงมิ่งสรรพ ขาวสอาด และคณะ. 2547. โครงการมูลคาเพิ่มในประเทศของอุตสาหกรรมทองเที่ยวของ

ประเทศไทย. สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม.

มิ่งสรรพ ขาวสอาด, นุกุล เครือฟู, และ อัครพงศ อั้นทอง. 2548. อุตสาหกรรมโรงแรมของประเทศไทย.สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม.

Ashworth, J. and B. Thomas. 1999. “Patterns of Seasonality in Employment in Tourism in the UK.”

AppliedEconomicsLetters6 (11): 735-739.

Baum, T. 1999. “Seasonality in Tourism: Understanding the Challenges.” TourismEconomics 5 (1): 5-8.

Butler, R. W. 1994. “Seasonality in Tourism: Issues and Problems." In A. V. Seaton (ed.). Tourism

theStateoftheArt. Chichester: John Wiley & Sons, 332-340.

Butler, R. W. 2001. “Seasonality in Tourism: Issues and Implications.” In T. Baum, and S. Lundtorp

(eds.). SeasonalityinTourism. Oxford: Pergamon, 5-22.

Fernandez-Morales, A. and M. C. Mayorga-Toledano. 2008. “Seasonal Concentration of the Hotel Demand

in Costa del Sol: A Decomposition by Nationalities.” TourismManagement 29 (5): 940-949.

Frechtling, D. C. 1996. PracticalTourismForecasting. Oxford: Butterworth-Heinemann.

Gonzalez, P. and P. Moral. 1996. “Analysis of Tourism Trends in Spain.” AnnalsofTourismResearch

23 (4): 739-754.

Page 16: ความ เป น ฤดูกาล ของ การ ท องเ ที่ยว ใน จังหวัด เชียงใหม · วารสาร เศรษฐศาสตร

47อัครพงศอั้นทองและมิ่งสรรพขาวสอาด

Greenidge, K. 2001. “Forecasting Tourism Demand: AN STM Approach.” Annals of Tourism

Research 28 (1): 98-112.

Jeffrey, D. J. and R. R. D. Barden. 1999. “An Analysis of the Nature, Causes and Marketing Implications of

Seasonality in the Occupancy Performance of English Hotels.” TourismEconomics 5 (1): 69-91.

Kim, J. 1999. “Forecasting, Monthly Tourist Departures from Australia.” TourismEconomics 5 (4): 227-291.

Koenig-Lewis, N. and E. E. Bischoff. 2002. “Seasonality of Tourism in Wales - A Comparative

Analysis.” EBMSWorkingPaperEBMS/2002/4. European Business Management School,

University of Wales Swansea.

Koenig-Lewis, N. and E. E. Bischoff. 2004. “Analyzing Seasonality in Welsh Room Occupancy

Data.” AnnalsofTourismResearch 31 (2): 374-392.

Koenig-Lewis, N. and E. E. Bischoff. 2005. “Seasonality Research: The State of the Art.” International

JournalofTourismResearch 7 (4-5): 210-219.

Kulendran, N. 1996. “Modeling Quarterly Tourist Flows to Australia Using Cointegration Analysis.”

TourismEconomics 2 (2): 203-222.

Lerman, R. I. and S. Yitzaki. 1985. “Income Inequality Effects by Income.” TheReviewofEconomics

andStatistics 67 (1): 151-156.

Lim, C. and M. McAleer. 2000. “A Seasonal Analysis of Asian Tourist Arrivals to Australia.” Applied

Economics 32 (4): 499-509.

Lim, C. and M. McAleer. 2001. “Monthly Seasonal Variations - Asian Tourism to Australia.” Annals

ofTourismResearch 28 (1): 68-82.

Lundtorp, S. 2001. “Measuring Tourism Seasonality.” In T. Baum and S. Lundtorp (eds.). Seasonality

inTourism. Oxford: Pergamon, 23-50.

Lundtorp, S., C. R. Rassing, and S. Wanhill. 1999. “The Off-Season is ‘No season’: The Case of

Danish Island of Bornholm.” TourismEconomics 5 (1): 49-68.

Quantitative Micro Software, LLC. 2007. EViews6.0User’sGuideI. California.

Rossello, J., A. Riera, and A. Sanso. 2004. “The Economic Determinants of Seasonal Patterns.”

AnnalsofTourismResearch 31 (3): 697-711.

Sorensen, N. K. 1999. “Modelling the Seasonality of Hotel Nights in Denmark.” TourismEconomics5 (1): 9-24.

U.S. Census Bureau. 2007. X-12-ARIMAReferenceManualVersion0.3. Washington, D.C.

Untong, A., P. Piboonrungroj, and M. Kaosa-ard. 2006. “The Impact of World Disasters on the

Number of International Tourist Arrivals to Thailand.” Proceeding12thAsiaPacificTourism

Associationand4thAPacCHRIEJointConference, June 26-29, 2006, Hualien, Taiwan.