บทที่ 3 การสํารวจและว ิเคราะห ข...

37
บทที3 การสํารวจและวิเคราะหขอมูลผลิตภัณฑ การศึกษาวิจัยครั้งนีผูวิจัยไดดําเนินการสํารวจภาพรวมผลิตภัณฑ รวมทั้งทําการศึกษา ทดลองวัตถุดิบ เพื่อเปนแนวทางในการกําหนดกรอบการออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑรวมสมัย จากพืชตระกูลเตย ประกอบดวย การสํารวจผลิตภัณฑในทองตลาด การศึกษาดานกรรมวิธีการผลิต ขอมูลจากการตอบแบบสอบ และการศึกษาทดลอง 3.1. การสํารวจตลาด 3.1.1 รูปแบบผลิตภัณฑหัตถกรรมไทย (2538 : 142-196) ประเภทเสนใยพืชในตลาด ปจจุบัน ที่ไดมีการพัฒนาของรูปแบบผลิตภัณฑ เปนที่ตองการของตลาดในสังคมยุคปจจุบัน และ มีบทบาทตอการพัฒนา เศรษฐกิจ และสังคมในการกระจายรายไดไปสูราษฎรชนบท มีจํานวน 11 ประเภท ผลิตภัณฑ 3.1.1.1 ผลิตภัณฑใบลาน ใบตาลและใบจาก 3.1.1.2 ผลิตภัณฑกานมะพราว และใยมะพราว 3.1.1.3 ผลิตภัณฑใบกะพอผลิตภัณฑกก 3.1.1.4 ผลิตภัณฑกระจูด 3.1.1.5 ผลิตภัณฑผักตบชวาและเชือกกลวย 3.1.1.6 ผลิตภัณฑใบเตยและปาหนัน 3.1.1.7 ผลิตภัณฑปอสา 3.1.1.8 ผลิตภัณฑยานลิเภา 3.1.1.9 ผลิตภัณฑเปลือกขาวโพด 3.1.1.10 ผลิตภัณฑปานศรนารายณ 3.1.1.11 ผลิตภัณฑใยพืชชนิดอื่นๆ ซึ่งมีสินคาหลายรูปแบบตามวัตถุประสงคการใชงานอาทิเชน โคมไฟ ถาดใส ผลไม ตะกรา กระเปา กลองบรรจุของ แผนรองภาชนะ เสื่อ กระสอบ หมวก งอบ ปลาตะเพียน แผนนามบัตร ที่คั่นสมุด แผนอวยพร บัตรเชิญ เชือก รองเทา ภาชนะ งานประดิษฐ ซองแวน

Upload: others

Post on 16-Oct-2019

3 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: บทที่ 3 การสํารวจและว ิเคราะห ข อมูลผลิตภัณฑsci.bsru.ac.th/dept/product/research/1363344826/1363344826_chapter3.pdf ·

บทที่ 3

การสํารวจและวิเคราะหขอมูลผลิตภณัฑ การศึกษาวิจัยคร้ังนี้ ผูวิจัยไดดําเนินการสํารวจภาพรวมผลิตภัณฑ รวมทั้งทําการศึกษาทดลองวัตถุดิบ เพื่อเปนแนวทางในการกําหนดกรอบการออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑรวมสมัยจากพืชตระกูลเตย ประกอบดวย การสํารวจผลิตภัณฑในทองตลาด การศึกษาดานกรรมวิธีการผลิต ขอมูลจากการตอบแบบสอบ และการศึกษาทดลอง 3.1. การสํารวจตลาด

3.1.1 รูปแบบผลิตภัณฑหัตถกรรมไทย (2538 : 142-196) ประเภทเสนใยพืชในตลาดปจจุบัน ที่ไดมีการพัฒนาของรูปแบบผลิตภัณฑ เปนที่ตองการของตลาดในสังคมยุคปจจุบัน และ มีบทบาทตอการพัฒนา เศรษฐกิจ และสังคมในการกระจายรายไดไปสูราษฎรชนบท มีจํานวน 11 ประเภท ผลิตภัณฑ

3.1.1.1 ผลิตภัณฑใบลาน ใบตาลและใบจาก 3.1.1.2 ผลิตภัณฑกานมะพราว และใยมะพราว 3.1.1.3 ผลิตภัณฑใบกะพอผลิตภัณฑกก 3.1.1.4 ผลิตภัณฑกระจูด 3.1.1.5 ผลิตภัณฑผักตบชวาและเชือกกลวย 3.1.1.6 ผลิตภัณฑใบเตยและปาหนนั 3.1.1.7 ผลิตภัณฑปอสา 3.1.1.8 ผลิตภัณฑยานลิเภา 3.1.1.9 ผลิตภัณฑเปลือกขาวโพด 3.1.1.10 ผลิตภัณฑปานศรนารายณ 3.1.1.11 ผลิตภัณฑใยพืชชนิดอื่นๆ ซ่ึงมีสินคาหลายรูปแบบตามวัตถุประสงคการใชงานอาทิเชน โคมไฟ ถาดใส

ผลไม ตะกรา กระเปา กลองบรรจุของ แผนรองภาชนะ เสื่อ กระสอบ หมวก งอบ ปลาตะเพียน แผนนามบัตร ที่คั่นสมุด แผนอวยพร บัตรเชิญ เชือก รองเทา ภาชนะ งานประดิษฐ ซองแวน

vongthong
Draft
Page 2: บทที่ 3 การสํารวจและว ิเคราะห ข อมูลผลิตภัณฑsci.bsru.ac.th/dept/product/research/1363344826/1363344826_chapter3.pdf ·

32

ที่รองบาตรพระ ดอกไมประดิษฐ ของที่ระลึก พรมเช็ดเทา แปรง เครื่องใชสํานักงาน กรอบรูป กลองบรรจุของที่ระลึก เข็มขัด เครื่องตกแตงบาน เปนตน

3.1.2 การศึกษาเปรยีบเทียบผลิตภณัฑขางเคียง จากการศึกษาผลิตภัณฑในขางตน วิเคราะหเปรียบเทียบรวบรวมขอมูลผลิตภัณฑ

ขางเคียงจากภาคสนามและขอมูลจากศูนยขอมูลผลิตภัณฑชุมชน สรุปไดดังตารางที่ 3.1

ตารางที่ 3.1 วเิคราะหและเปรียบเทียบผลิตภัณฑขางเคียงกับผลิตภัณฑเตย

ประเภทวัสดุ ประเภทหัตกรรม

ผลิตภัณฑ กก ผือ กระจูด เตย ผักตบชวา

ทอ เสื่อ √ √ √

กระเปา √ √ √ √ √

กลองเครื่องประดับ √ √

กลองอเนกประสงค √ √ √

กลองดินสอ √ √ √

กลองทิชชู √ √ √ √

ซองนามบัตร √ √

จานรองแกว √ √ √ √

สมุดโนต √

สมุดเสนอเซนต √

แฟมเอกสาร √ √

มูล่ี √ √

ที่เสียบจดหมาย √

เบาะรถยนต √

ซองเอกสาร √ √

หมวก √ √ √ √ √

เบาะรองนั่ง √

ที่นอนสุขภาพ √

ที่ใสนิตยสาร √ √

รองเทา √

หมอน √ √

vongthong
Draft
Page 3: บทที่ 3 การสํารวจและว ิเคราะห ข อมูลผลิตภัณฑsci.bsru.ac.th/dept/product/research/1363344826/1363344826_chapter3.pdf ·

33

ตารางที่ 3.1 วิเคราะหและเปรียบเทียบผลติภัณฑขางเคียงกับผลิตภัณฑเตย (ตอ)

ประเภทวัสดุ ประเภทหัตกรรม

ผลิตภัณฑ กก ผือ กระจูด เตย ผักตบชวา

สาน/พัน แจกัน √ √ √

เสื่อ √ √ √ √

โคมไฟ √

ที่ใสขวดไวท √ √ √

กระเปา √ √ √ √ √

กระจาด √ √ √ √

กระเชา √ √ √ √

กระถาง √

พาน √

กลองเครื่องประดับ √ √

กลองอเนกประสงค √ √ √

กลองทิชชู √ √ √ √

ซองใสแวนตา √

ซองบุหรี่ √

ซองนามบัตร √ √

โทรศัพทมือถือ √ √

จานรองแกว √ √ √ √

ถาด √

ตระกราขยะ √ √ √

ตระกรา √ √ √ √

เปล √

บานแมว √ √

หมวก √ √ √ √ √

กระติบขาว √ √ √

เบาะรองนั่ง √

อัลบั้มรูป √

ที่ใสนิตยสาร √ √

รองเทา √ √

หมอน √ √

vongthong
Draft
Page 4: บทที่ 3 การสํารวจและว ิเคราะห ข อมูลผลิตภัณฑsci.bsru.ac.th/dept/product/research/1363344826/1363344826_chapter3.pdf ·

34

จากตารางวิเคราะหและเปรียบเทียบผลิตภัณฑขางเคียงกับผลิตภัณฑเตย สรุปไดวา ดานรูปแบบผลิตภัณฑมีรูปแบบผลิตภัณฑภาพรวมที่เหมือนกัน ดานกระบวนการผลิต ผลิตภัณฑมีกระบวนการผลิตที่คลายคลึงกัน ดังนั้นผลิตภัณฑจากเตยหนามจึงจําเปนตองหาแนวทางในการพัฒนาใหเกิดเปนผลิตภัณฑใหมและแตกตางจากผลิตภัณฑเดิม

3.1.3 ผลิตภัณฑเตยในประเทศไทย เพื่อใหทราบถงึพัฒนาการของผลิตภัณฑเตย ผูวิจยัไดรวบรวมผลิตภัณฑจากเตยที่มีอยูในประเทศ จากศูนยขอมูลผลิตภัณฑชุมชน แสดงในตารางที่ 3.2 ตารางที่ 3.2 ผลิตภัณฑจากเตยที่พบในประเทศไทย

จังหวัด ภาพผลิตภัณฑ จังหวัดกระบี่

- กระเปาสตรี - หมอน - กระเปาเอกสาร - กลองอเนกประสงค - ซองแวน - ที่รองแกว - ที่รองจาน - ที่ใสกระดาษทิชชู - เสื่อ - พวงกุญแจ

vongthong
Draft
Page 5: บทที่ 3 การสํารวจและว ิเคราะห ข อมูลผลิตภัณฑsci.bsru.ac.th/dept/product/research/1363344826/1363344826_chapter3.pdf ·

35

ตารางที่ 3.2 ผลิตภัณฑจากเตยที่พบในประเทศไทย (ตอ)

จังหวัด ภาพผลิตภัณฑ ปตตานี

- ซองใสของ

ตรัง - เสื่อละหมาด - เสื่อ - หมวก - กระเปา - ขมุกยา - กลองดินสอ - สอบตั้ง - ซองบุหรี่ - ซองใสนามบัตร

vongthong
Draft
Page 6: บทที่ 3 การสํารวจและว ิเคราะห ข อมูลผลิตภัณฑsci.bsru.ac.th/dept/product/research/1363344826/1363344826_chapter3.pdf ·

36

ตารางที่ 3.2 ผลิตภัณฑจากเตยที่พบในประเทศไทย (ตอ)

จังหวัด ภาพผลิตภัณฑ สงขลา

- กลองอเนกประสงค - หมวก - กระเปา

สตูล - เสื่อ

ยะลา - กลองใสกระดาษทิชชู - กระเปา - กลอง - ดินสอซองนามบัตร - กลองอเนกประสงค

กรุงเทพมหานคร - กระเปา - หมวก

vongthong
Draft
Page 7: บทที่ 3 การสํารวจและว ิเคราะห ข อมูลผลิตภัณฑsci.bsru.ac.th/dept/product/research/1363344826/1363344826_chapter3.pdf ·

37

ตารางที่ 3.2 ผลิตภัณฑจากเตยที่พบในประเทศไทย (ตอ)

จังหวัด ภาพผลิตภัณฑ สกลนคร

- กระเปา - หมวก - ที่รองแกว - ที่รองจานพัด

ศรีสะเกษ - เสื่อ - มูล่ี - หมอน - กระเปา - ที่เบาะรองนั่ง

อุบลราชธานี - ตะกรา - ที่รองแกว - กลองกระดาษ - เสื่อ

ตารางแสดงผลิตภัณฑจากเตยที่พบในประเทศไทย สรุปไดวา รูปแบบของผลิตภัณฑในภาพรวมยังคงรักษารูปแบบผลิตภัณฑที่คงเดิมและคลายคลึงกับผลิตภัณฑในทองตลาด ดังตารางเปรียบเทียบผลิตภัณฑที่ไดนําเสนอผานมาในขางตน นอกจากนี้จากตารางยังสรุปไดวาแหลงผลิตสินคาจากเตยมีดวยกัน 2 แหลง คือภาคใตและภาคอีสาน แบงวิธีการผลิตออกเปน 2 ประเภท ไดแก การจักสาน คือ ผลิตภัณฑที่เกิดจากการขัดของเสนตอกเตย ซ่ึงมีลักษณะคลายกับการจักสานทั่วๆ ไป เชนการจักสานไมไผ เปนตน และ การทอ คือ การขัดกันของเสนยืนกับเสนนอนบนกี่ทอและกระทบใหแนนดวยฟมที่ทําจากไม สรุปไดตามภาพที่ 3.1

vongthong
Draft
Page 8: บทที่ 3 การสํารวจและว ิเคราะห ข อมูลผลิตภัณฑsci.bsru.ac.th/dept/product/research/1363344826/1363344826_chapter3.pdf ·

38

ภาพที่ 3.1 ไดอะแกรมแสดงการแบงกลุมกรรมวิธีการผลิตของผลิตภัณฑจากเตยในประเทศ 3.2 การศึกษาดานกรรมวิธีการผลิต

3.2.1 รูปแบบของการแปรรูปเตย เตยหนามสามารถแปรรูปออกเปน 2 รูปแบบคือ รูปแบบเกลียวเชือก และเสนตอก ซ่ึงไดมาจากสวนตาง ๆ ของพืช 3 สวนดวยกัน คือ ลําตน ราก และใบ

ลําตน ซ่ึงเปนสวนลําเลียงอาหาร สามารถใชประโยชนได ซ่ึงคนในทองถ่ินมักนํามาฟนเกลียวทําเปนเชือก เนื่องจากมีความเหนียวทนทาน โดยผานกรรมวิธีการเตรียมดวยการใชทอนไมหรือคอนทุบตนใหสวนเปลือกนอกและลําตนแตกออก จากนั้นทําการฉีกหรือสางเสนใยใหออกจากกันจนไดเสนใยตามตองการ นําไปตากแดด 3-4 แดดจนแหงสนิท แลวนําเสนใยมาฟนเปนเกลียวเชือก ใชประโยชนไดตามตามตองการ

ลักษณะของเสนใย เปนใยแข็ง หยาบ สีเทาอมขาว หรือน้ําตาลออน คุณสมบัติของเสนใย มีความแข็งเหนียวมากคลายเสนปานศรนารายณ เสนใย

กลมขนาดเล็กยาวตลอดลําตน ประโยชน ใชสําหรับการ มัด ใชประกอบอาหาร

กลุมผลิตภัณฑจาก กลุมผลิตภัณฑจาก

การทอ

การแปรรูปผลิตภัณฑ

ประเภทแผนเรียบ ประเภทขึ้นรูปทรง ประเภทแผนเรียบ ประเภทขึ้นรูปทรง

การสาน

การแปรรูปผลิตภัณฑ

vongthong
Draft
Page 9: บทที่ 3 การสํารวจและว ิเคราะห ข อมูลผลิตภัณฑsci.bsru.ac.th/dept/product/research/1363344826/1363344826_chapter3.pdf ·

39

ภาพที่ 3.2 ลักษณะลําตนของเตยหนาม

ราก มีหนาที่ค้ําจุนลําตนและหาอาหาร คนในทองถ่ินนํามาทําเปนเชือกโดยตัดจากรากที่มีความยาว ตั้งแต 50 เซนติเมตร ขึ้นไป แปรรูปใชประโยชนโดยนํารากมาทําการทุบแตก จากนั้นทําการฉีกเสนใยใหออกจากกันจนไดเสนใยตามตองการ นําไปตากแดด 3-4 แดดจนแหงสนิท แลวนําเสนใยมาฟนเปนเกลียวเชือก

ภาพที่ 3.3 แสดงลักษณะรากค้ําจุนของเตยหนาม ลักษณะของเสนใย เปนใยแข็ง หยาบ สีเทา คุณสมบัติของเสนใย เหนยีว แข็งคลายเสนใยจากปานศรนารายณ เสนใย

ขนาดเล็กยาวตรง ประโยชน ใชสําหรับการ มัดรัดสิ่งของ

vongthong
Draft
Page 10: บทที่ 3 การสํารวจและว ิเคราะห ข อมูลผลิตภัณฑsci.bsru.ac.th/dept/product/research/1363344826/1363344826_chapter3.pdf ·

40

ใบ เปนสวนสังเคราะหแสง คนในทองถ่ินมักนิยมใชประโยชนมากที่สุด ทั้งหัตถกรรมการทอ สาน เนื่องจากมีความมันเงา เรียบล่ืน ผิวนิ่ม เนื้อเนียน สวยงาม ซ่ึงตัดใบจากตนไดเมื่ออายุ 1-2 ปขึ้นไป ขนาดความยาวที่ใชในกระบวนการคือ 50 , 80 , 200 เซนติเมตร ขนาดความกวางของตอกที่ใชในกระบวนการแบงตามขนาดฟนของกบกรีดเตย คือ 3 , 5 , 10 มิลลิเมตร สําหรับกระบวนการทอมักเลือกใชที่มีขนาดความกวาง 3 และ 5 มิลลิเมตร สวนความยาวพิจารณาตามขนาดของผลิตภัณฑที่ตองการผลิต และสําหรับกระบวนการสานมักเลือกขนาด 5 และ 10 มิลลิเมตร สวนความยาวพิจารณาตามขนาดผลิตภัณฑที่ตองการผลิตเชนกัน

ภาพที่ 3.4 ลักษณะใบเตยหนาม ลักษณะของเสนใย มันเงา เรียบล่ืน เสนใยยาว คุณสมบัติของเสนใย เหนยีวนุม บิดเปนเกลียวได ไมเปนเชื้อรา ยอมสีไดสดใส ประโยชน เปนเสื่อปูสําหรับนั่งหรือนอน หรือแปรรูปเปนผลิตภัณฑเครื่องใช

ตางๆ ดวยกรรมวิธีที่เหมาะสม 3.2.2 กรรมวธีิการผลิตและการแปรรูปเปนผลิตภัณฑ

จากขอมูลการวิเคราะหกรรมผลิตผลิตภัณฑจากเตยประกอบดวย 2 วิธี คือ การสาน และการทอ โดยใชสวนใบเปนวัสดุหลักในการผลิต มีรายละเอียดดังนี้

3.2.2.1 กรรมวิธีการสาน คือ การขัดกันของเสนตอกเตยโดยมีลายสาน 3 ชนิดดวยกัน คือ ลายแมบท ลายพัฒนา และลายประดิษฐ ซ่ึงมีรายละเอียดดังนี้คือ

1) ลายแมบท คือลายที่มีลักษณะประจําตัวเดนชัด มีกฎเกณฑการสานแนนอน เชน ลายขัดยก หนึ่งขมหนึ่ง หรือลายสองยกสองขมสอง ลายสามยกสามขมสามเหลานี้ เปนตน ลายแมบทตาง ๆ เหลานี้เปนตนกําเนิดที่ทําใหคนรูจักนําวัสดุในทองถ่ินจําพวก ไมไผ ใบลาน กระจูด ฯลฯ นํามาสานเปนสิ่งของเครื่องใชในชีวิตประจําวันมานานจนถึงปจจุบัน

vongthong
Draft
Page 11: บทที่ 3 การสํารวจและว ิเคราะห ข อมูลผลิตภัณฑsci.bsru.ac.th/dept/product/research/1363344826/1363344826_chapter3.pdf ·

41

การสานลายหนึ่ง การสานลายสอง

ภาพที่ 3.5 การสานลายหนึ่ง และ การสานลายสอง

2) ลายพัฒนา คือลายพัฒนามาจากลายแมบท มีกฎเกณฑการสานแนนอน แตมีรายละเอียดเพิ่มขึ้น ลักษณะเดนของลายแมบทยังปรากฏชัด สวนลายจะเปลี่ยนแปลงเปนรูปรางงายขึ้นลายดังกลาวแสดงใหเห็นถึงความฉลาดของชางสานไทยตั้งแตโบราณกาลที่รูจักดัดแปลงและพัฒนาลายสานตางๆ เหลานี้ใหมีรูปแบบที่จะนําไปใชประโยชนไดอยางเหมาะสมและสวยงาม

ลายกางปลา ลายดอกพิกุล

ภาพที่ 3.6 การสานลายกางปลาและลายดอกพิกุล

3) ลายประดิษฐคือลายสานที่ชางสานประดิษฐขึ้นใหเปนลวดลายตาง ๆ โดยอาศัยลายแมบท และลายพัฒนาเปนหลักในการสาน ซ่ึงยังคงยึดการสานลายแมบท และลายพัฒนาแตไมแนนอนคงที่เสมอไป ใชตอกสีขนาดตางๆ สานและประดิษฐใหเปนดอกดวง และลวดลายเปนหลักในการสาน แสดงออกถึงศิลปะและวัฒนธรรมของทองถ่ิน ตลอดจนอารมณและรูสึกนึกคิดไวในลายสานไดอยางงดงาม เชน ลายขิดตาแมว ขิดดอกจัน ขิดขอ ลายพัด เปนตน

vongthong
Draft
Page 12: บทที่ 3 การสํารวจและว ิเคราะห ข อมูลผลิตภัณฑsci.bsru.ac.th/dept/product/research/1363344826/1363344826_chapter3.pdf ·

42

ลายโคมสลับสี ลายเสนสลับลาย

ภาพที่ 3.7 การสานลายโคมสลับสีและลายเสนสลับลาย

4) การสานพัน-สาน คือการนําเสนตอกเตยรอบแกนซึ่งมาจากรากหรือลําตน โดยทําการพันรอบแกนโดยเริ่มตนดวยการทําเปนขดวงในเมื่อเร่ิมขดวงนอกทําการพันยดึระหวางวงแลวขยายวงออกไปตามขนาดที่ตองการ ดังภาพที่ 3.8

ภาพที่ 3.8 การพัน-สาน

3.2.2.2 กรรมวิธีการทอ คือการขัดการของเสนใยบนอุปกรณที่ เรียกวา“กี่” ระหวางเสนยืนและเสนพุง แลวอัดใหแนนหนาดวยวิธีการกระทบดวยอุปกรณที่เรียกวา“ฟม” ขนาดกี่มีอยูดวยกันหลายขนาด ขึ้นกับความกวางฟม โดยฟมที่พบ คือ 50,130 , 150, 180, 200 เซนติเมตร ซ่ึงการจัดหาฟมและโครงกี่ในชุมชนสวนใหญพบวาผลิตขึ้นใชเองในชุมชน ซ่ึงการทอประกอบดวยดังนี้

1) การเตรียมกี่คือ โครงสําหรับขึงเสนยืนจะมีลักษณะเปนสี่เหล่ียมผืนผาประกอบดวยคือโครงสี่เหล่ียมผืนผา ไมหนุน ไมตรึงดาย หลักรอยดาย และ กระดาษรองนั่ง โดยผูปฏิบัติงานตองทําการขึงเชือกเสนยืนระหวางขอบหนาและขอบหลัง แตละครั้งที่ทําการสอดเสนเชือกตองสอดผานรูของฟนตามระยะที่กําหนดเมื่อไดตามตองแลวก็ทําการยึดเชือกใหเนน

vongthong
Draft
Page 13: บทที่ 3 การสํารวจและว ิเคราะห ข อมูลผลิตภัณฑsci.bsru.ac.th/dept/product/research/1363344826/1363344826_chapter3.pdf ·

43

ภาพที่ 3.9 การเตรียมกี่กอนการทอ

2) ทอคือ การอัดเสนเตยใหอัดแนนบน “กี่” การทอเสื่อประกอบดวยผูทอ และผูสอดเสนเตย โดยผูทอจะทําหนาที่พลิกหนาของฟมเพื่อสลับเสนยืนและทําหนาที่กระทบฟมใหเสนเตยอัดแนน ผูสงมีหนาที่สงเสนเตยเขาในชองวางของเสนยืนดวยไมพุง และทําหนาที่กําหนดลวดลาย ซ่ึงลวดลายเสื่อทอดังนี้คือเชนลายขาว ลายจับสอง ลายจับสี่ ลายจับแปด ลายประดิษฐ เปนตน

ภาพที่ 3.10 การทอ

vongthong
Draft
Page 14: บทที่ 3 การสํารวจและว ิเคราะห ข อมูลผลิตภัณฑsci.bsru.ac.th/dept/product/research/1363344826/1363344826_chapter3.pdf ·

44

ลายขาวหมายถึง ลักษณะลายขาวลวนมี สีขาวทั้ ง ผืนทําจากเตย สีธรรมชาติที่ไมไดยอมสี ทอสี เดียวไปเรื่อย ๆ จนกวาจะไดความยาวตามตองการลายนี้ เรียกวา ลายขาวลวน

ภาพที่ 3.11 ลายสีพื้นหรือลายขาว

ลายจับหนึ่ง หมายถึง ลายท่ี มีวิธีการทอ ดังนี้ จะใชสีใดขึ้นกอนก็ไดเพื่อความสวยงาม เชน เร่ิมตนทอดวยสีขาว 2 เสน สีแดง 1 เสน สีเขียว 1 เสน ทออยางนี้ไปเรื่อย ๆจนกวาจะไดความยาวตามตองการ ลายนี้ เรียกวา ลายจับหนึ่ง

ภาพที่ 3.12 ลายจับหนึ่ง

vongthong
Draft
Page 15: บทที่ 3 การสํารวจและว ิเคราะห ข อมูลผลิตภัณฑsci.bsru.ac.th/dept/product/research/1363344826/1363344826_chapter3.pdf ·

45

ลายจับสอง หมายถึงลายที่มีวิธีการทอดังนี้จะใชสีใดขึ้นกอนก็ไดเพื่อความสวยงามเชนเริ่มตนทอดวยสีแดง 2 เสน แลวตามดวย สีเขียว 2 เสน สีขาว 1 เสน และสีแดง 2 เสน ทอเชนนี้ไปเรื่อย ๆ จนไดความยาวตามตองการ ลายนี้เรียกวา ลายจับสอง

ภาพที่ 3.13 ลายจับสอง

ลายจับสี่ มีวิธีการทอ โดยใชสีใดขึ้นกอนกไ็ดเพื่อความสวยงามเชน เร่ิมตนทอดวยสีแดง 4 เสน สีดํา 3 เสน เรียงสลับกันจนจบลายทอเชนนี้ ไปเรื่อย ๆ ลายนี้เรียกวา ลายจับสี่

ภาพที่ 3.14 ลายจับสี่

vongthong
Draft
Page 16: บทที่ 3 การสํารวจและว ิเคราะห ข อมูลผลิตภัณฑsci.bsru.ac.th/dept/product/research/1363344826/1363344826_chapter3.pdf ·

46

ลายจับแปด มีวิธีการทอโดยจะใชสีใดขึ้นกอนก็ไดเพื่อความตองความสวยงาม เชน เร่ิมตนทอดวยสีน้ําเงิน 2 เสน สีขาว 1 เสน สีน้ําเงิน 1 เสนสลับใสจนไดสีขาวครบ 8 เสนแลวจึงใส สีน้ําเงิน 2 เสนทําอยางนี้ไปเรื่อย ๆ จนกวา จะไดความยาวตามตองการ ลายนี้เรียกวา ลายจับแปด

ภาพที่ 3.15 แสดงการทอลายจับแปด

ลายประดิษฐ คือลายที่เกิดขึ้นตามจิตรนาการ แตโดยปกติแลวชาวบานสวนใหญจะนิยมทอเสื่อใน 4 ลาย ที่ไดกลาวมาขางตน สําหรับประดิษฐมีอยูดวยกันหลายลายเชนลายดอก ตัวอักษร หรือรูปสัตว เปนตน ซ่ึงลักษณะการทอลายประดิษฐไดรับอิทธิพลจากการทอผาเทคนิคในการทอลายประดิษฐ ผูสอดจะตองใชไมพุงเสนเตยควบคุมการ “ยก” และ การ “ขม” จนไดลายไดตามตองการ โดยทั่วไปอาจเรียกวา“การทอเก็บขิต”

ภาพที่ 3.16 ลายประดษิฐ

vongthong
Draft
Page 17: บทที่ 3 การสํารวจและว ิเคราะห ข อมูลผลิตภัณฑsci.bsru.ac.th/dept/product/research/1363344826/1363344826_chapter3.pdf ·

47

3.2.2.3 กรรมวิธีการฟอกขาว สภาพปญหาโดยสวนใหญการยอมสีใบเตยหนาม จากการสํารวจพบวาหลายทองถ่ิน ยอมสีแบบงาย ๆ คือนําเสนตอกเตยที่ตากแหงสนิทไปแชในถังน้ําสีที่เดือดเปนอันวาเสร็จสิ้นการยอมสีใบเตย ปญหาที่พบสวนใหญของการยอมคือสีไมสด

ดังนั้นสงเสริมอุตสาหกรรมซึ่งไดทําการทดลองโดยนําใบเตยไปฟอกขาวกอนยอมสีจึงจําเปนตองใชสารเคมีที่ไมเปนอันตรายกับผูใชเรียกวาโซเดียมคลอไรด ใบเตยจะไมเปอยและขาวสะอาด จากนั้นจึงนําไปฟอกยอมสีที่สดใสตามความตองการของผลิตเสื่อ สีที่นิยมยอมคือ สีดํา สีน้ําตาล สีกรมทา สีเขียว มวงและสีแดง ซ่ึการฟอกใบเตยในปจจุบันทําได 3 วิธีดังนี ้1) การตากแดด 2) การหมักในสารละลายโซเดียมคลอไรด 3) การตมในสารละลายโซเดียมคลอไรดที่อุณหภูมิ 85- 90 องศา เซลเซียส แสดงตามตารางสรุปที่ 3.3 ตารางที่ 3.3 จําแนกกรรมวธีิการการฟอกขาวใบเตยกอนการยอมส ี

กรรมวิธีการฟอกขาวใบเตยกอนการยอมสี

ตากแดด หมักในสารละลายโซเดียมคลอไรด การตมใบเตยในสารละลาย โซเดียมคลอไรด

1) กรีดใบเตยออกเปนเสนเล็ก ๆ มัดเปนกลุมประมาณกลุมละ300-600 กรัมมัดปลายหรือโคนดานใดดานหนึ่งใหแนน 2) ลางน้ําเย็น 1 - 2 ครั้ง 3) ผ่ึงแดดจัด ๆ บนพื้นราบทิ้งไว 2-3 วันกลับวันละ 1 ครั้ง เพื่อให

1) รีดใบเตยใหแบนราบชวยใหสะดวกแกการขดงอลงไปในภาชนะรูปแบบตาง ๆ 2) รวบใบเตยเปนมัดและชั่งน้ําหนักประมาณ 300 - 600 กรัมมัดปลายใหแนนดวยยางและมัดซ้ําอีกหนึ่งดวยเชือกฟางใหแนนเพื่อความสะดวกในการขนถาย 3) ซักลางน้ําเย็น 1- 2 ครั้ง

1) เ ต รี ย มน้ํ า ย า แ ช ใ บ เ ต ย 1 กิโลกรัม ใชน้ํายาในอัตราสวนดังนี้ - น้ํา: วัสดุ = 15 : 1) 15 ลิตร - โซเดียมคลอไรด 300 ซีซี/ลิตร กรดน้ําสม(เขมขน) 20 ซีซี / ลิตร 30 ซีซี / ลิตร ตมน้ํายาที่

การฟอกสี เปนไปดวยความสม่ําเสมอ

4) ตมในน้ําเดือด เปนเวลาประมาณ 15- 20 นาที จากนั้นนําไปแขวนทิ้งไวใหสะเด็ดน้ํา 5) ซักลางน้ําเย็น 1-2 ครั้ง เพื่อลางกําจัดคราบสิ่งสกปรกที่หลงเหลือลําดับสุดทาย จากนั้นนําไปแขวนทิ้งไวใหสะเด็ดน้ํา 6) เตรี ยมน้ํ ายาตามสูตรสํ าหรับใบเตย 1 กิโลกรัมดังนี้

- น้ํา : วัสดุ ( 15: 1 )15 ลิตร - โซเดียมคลอไรด(45-50 ซี ซี/ ลิตร)

7) กวนน้ํายาใหเปนเนื้อเดียวกันจากนั้นกดใบเตย เรียงซอนบรรจุใหเปนระเบียบลงใน

ผสมแลวใหมีอุณหภูมิ 85 -90 องศาเวลา 1 ช่ัวโมง 2) นําใบเตยที่เตรียมไวแชในน้ํายาประมาณ 1 - 1 1/2 ช่ัวโมง

vongthong
Draft
Page 18: บทที่ 3 การสํารวจและว ิเคราะห ข อมูลผลิตภัณฑsci.bsru.ac.th/dept/product/research/1363344826/1363344826_chapter3.pdf ·

48

ตารางที่ 3.3 จําแนกกรรมวธีิการการฟอกขาวใบเตยกอนการยอมสี (ตอ)

กรรมวิธีการฟอกขาวใบเตยกอนการยอมสี

ตากแดด หมักในสารละลายโซเดียมคลอไรด การตมใบเตยในสารละลาย โ ซ เ ดี ย ม ค ล อไรด

ภาชนะ แลวใชไมทําเปนรูปกากบาทขนาดพอเหมาะกับคอภาชนะที่บรรจุวางทับใบเตยไวแลวขัดไมกับคอตุม หรืออาจใชวัตถุหนักๆ กดทับไปบนไมอีกช้ันหนึ่งเพื่อใหใบเตยจมน้ําอยูตลอดเวลา แลวใชแผนพลาสติกชนิดหนาไมมีรูรั่วหอทับปากภาชนะไวใหมิดชิด โดยผูกรัดดวยเชือกฟางเพื่อปองกันมิใหแกสหลบหนีสูภายในชวงที่เกิดปฏิกิริยาฟอกขาวมิเชนนั้นน้ํายาจะเสื่อมคุณภาพรวดเร็วกวาที่ควรจะเปนจากนั้นปดฝาภาชนหมักในสารละลายโซเดียมคลอไรดหมักใบเตยทิ้งไวที่อุณหภูมิปกติหอง8-12วัน เปดสํารวจพลิกใบเตยควรเปดสํารวจและปรับใบเตยเรื่อยไป อยางนอย 2 วันตอหนึ่งครั้งจากชั้นลางกลับขึ้นมาอีกดานหนึ่ง หากเห็นใบเตยขาวสม่ําเสมอควรแยกออกเพราะถาหมักตอไปใบเตยอาจเปอยเสียหายได นํามัดใบเตยชุดที่ฟอกขาวสม่ําเสมอ แลวไปแขวนทิ้งไวใหสะเด็ดน้ํายาบนราว 8) นําไปซักลางน้ําเย็น 2 ครั้ง แลวนําไปแขวนทิ้งไวใหสะเด็ดน้ํา นํามัดใบเตยไปตมน้ําเดือดจัดเปนเวลา 15 - 20 นาทีเพื่อกําจัดกากและกลิ่นเคมีภัณฑ 9) จากนั้นไปแขวนทิ้งไวใหสะเด็ดน้ํานําใบเตยไปตมในน้ําที่ผสมไฮโดรเจนเปอรออกไซดอัตรา 2 : 3 ตอลิตรที่อุณหภูมิ 85 องศา เปนเวลา15 - 20 นาที เพื่อการจัดกากและกลิ่นเคมีภัณฑจะชวยใหความขาวสะอาดจัดคงอยูไดนานวันยิ่งขึ้นนําไปใชซักน้ําเย็น 1 - 2 ครั้ง แลวนําไปแขวนตากแดดไวใหแหง

3.2.2.4 กรรมวิธีการยอมสีใบเตย กรรมวิธีการยอมสีใบเตยจากขอมูลการศึกษา

ขางตนสามารถแบงกรรมวิธีออกเปน 2 วิธี คือ 1) การยอมใบเตยที่ผานการตากแดด 2) การยอมใบเตยที่ผานฟอกขาวดวยเคมี แสดงในตารางที่ 3.4

vongthong
Draft
Page 19: บทที่ 3 การสํารวจและว ิเคราะห ข อมูลผลิตภัณฑsci.bsru.ac.th/dept/product/research/1363344826/1363344826_chapter3.pdf ·

49

ตารางที่ 3.4 จําแนกกรรมวธีิการยอมสีใบเตย

กรรมวิธีการยอมสี ใบเตยที่ผานการตากแดด ใบเตยที่ผานการฟอกขาวดวยเคมี

1) เตรียมการ (สูตรน้ํายอม) − ใบเตยแหงสนิท 1 กิโลกรัม − น้ํา (อัตราสวน:วัสดุ= 30 :1)30 ลิตร − เกลือแกง 2 กรัม/ลิตร 60 กรัม − กรดน้ําสมเขมขน 2 ซีซี/ลิตร 60 ซีซ ี− สีเบสิค 3-4 % 30-40 กรัม

1) เตรียมการ − ใบเตยแหงสนิท 1 กิโลกรัม − น้ํา(อัตราสวนน้ํา :วัสดุ = 30:1) 30 ลิตร − เกลือแกง 1- 2 กรัม/ ลิตร =30-60 กรัม − กรดน้ําสม(เขมขน) 1- 2 ซีซี/ลิตร = 30 - 60 ซีซ ี− สีเบสิก0.1-2%=1-20 กรัม

2) ขั้นตอนการดําเนิน ละลายสีเบสิค ทําการบดสีเบสิกซึ่งมักจะจับตัวกันเปนกอนใหแตกเติมกรดน้ําสมอยางเขมขนลงไปเล็กนอยกวนใหเปนเนื้อเดียวกันจากนั้นเติมน้ํารอน(80องศา)ลงไปในปริมาณที่พอดี ทําการกวนใหละลายแลวกรองตะกอนสีออก เพื่อนําไปปรับปรุงการใชสีไดอีก ยอมสี ตวงน้ําใสภาชนะตามปริมาตรที่กําหนดตมใหรอน 80 องศา จึงเติมเกลือและกรดน้ําสมอยางเขมขนลงไปตามอัตราสวน กวนใหละลายจากนั้นจึงเติมน้ําสี (จากขอ 1) ลงไปกวนใหเปนเนื้อเดียวกัน นําใบเตยที่ผานมาตมน้ําเดือดประมาณ 10 นาที และใน 5นาที พลิกกลับใบเตยบอย ๆ จากนั้นเรงอุณหภูมิใหถึงจุดเดือดโดยเร็ว แลวยอมตอไป 60 นาที หรือจนกวาใบเตยจะเกิดการออนตัวติดสีสม่ําเสมอและเขมตามที่ตองการจึงยกใบเตยขึ้นนําไปซักลางน้ําเย็น 2 - 3 ครั้ง หรือจนกวาน้ําจะใสสะอาดจากนั้นนําไปผึ่งแดดใหแหงโดยเร็ว

2) ขั้นตอนการดําเนินการ ละลายสีเบสิก บดสีเบสิกซึ่งมักจะจับตัวเปนกอนใหแตกออกเติมกรดน้ําสมอยางเขมขนลงไปเล็กนอย กวนใหเปนเนื้อเดียวกันจากนั้นเติมน้ํารอน (80 องศา) ลงไปในปริมาณที่มากเกินพอดี กวนใหละลายแลวกรองตะกอนสีออก ตวงน้ําใสภาชนะตามที่กําหนด ตมใหรอน 50-60 องศา เติมกรดน้ําสมอยางเขมขนลงไปตาม อัตราสวนกวนใหละลาย แลวเติมน้ําสี (จากขอ1) ลงไปกวนใหเปนเนื้อเดียวกัน วิธีการยอมใบเตย นําเตยที่เตรียมไวซึ่งผานการแชน้ําเย็น 30 นาที หรือน้ําเดือด 5 นาทีเพื่อทําใหใบเตยปาหนันเกิดการเปยกตัวอยางทั่วถึงและสม่ําเสมอไดแขวนทิ้งไวสะเด็ดน้ําดีแลว ขดแชลงไปพรอมๆ กันในถังน้ํารอนถึง 50-60 องศา ทิ้งไวประมาณ 5 นาที จึงพลิกฟอนเตยครั้งแรก จากนั้นเรงอุณหภูมิน้ํายอมใหสูงถึงจุดเดือดโดยเร็ว ยอมตอไปอิก 25-30 นาที หรือจนกวาจะไดระดับความเขมขนของสีที่ตองการจึงยกใบเตยขึ้น นําไปซักลางน้ําเย็น 2-3 ครั้ง หรือซักจนกวาน้ําใสสะอาดแลวนําไปผึ่งแดดใหแหงโดยเร็ว

vongthong
Draft
Page 20: บทที่ 3 การสํารวจและว ิเคราะห ข อมูลผลิตภัณฑsci.bsru.ac.th/dept/product/research/1363344826/1363344826_chapter3.pdf ·

50

จากตารางแสดงกรรมวิธีการยอมสีใบเตย ทั้งหมดที่ไดทําการเรียบเรียงมานี้นอกจากการปฏิบัติตามขั้นตอนขางตนแลวการยอมสีใหไดคุณภาพผูผลิตควรตองคํานึงถึงสิ่งดังตอไปนี้

1) การนําใบเตยไปตมในหมอน้ํารอนแทน การแชน้ํารอนแทน การแชน้ําเย็น จะชวยเรงอัตราการเปยกตัวของวัสดุใหรวดเร็วและสม่ําเสมอยิ่งขึ้น สีจะสามารถแทรกตัวเขาสูเนื้อเตยไดงายสม่ําเสมอ และรวดเร็ว ตามเสนทางที่น้ํานําไวเดิม

2) ในการยอมสีใบเตยสีออนมาก ๆ การเติมน้ําสีลงไปในน้ํายอมควรแยกเติม เปน2ชวง หรือมากกวา โดยเริ่มยอมที่อุณหภูมิต่ํากวาที่กําหนดไวเดิมเล็กนอย สําหรับกรดน้ําสม (เขมขน)ควรเติมลงไปน้ํายอมเมื่อน้ํายอมเดือดแลวจะเปนผลดีสียอมจะดูดติดใบเตยสม่ําเสมอยิ่งขึ้น

3) การยอมสีออน ๆ หรือใชเปอรเซ็นตสีไมเกิน 0.5 % การใชเกลือ 1 กรัม/ลิตร และกรดน้ําสม(เขมขน)1ซีซี/ลิตรเปนการใชสูตรอยางเหมาะสม

4) ในการซักลางเพื่อกําจัดคราบสีผิวภายหลังการยอมสี หากซักลางหลายครั้งแลวน้ําซักยังไมใสสะอาด แกไขโดยการนําใบเตยปาหนันไปซักลางน้ํารอน 40 – 50 องศา เปนเวลาประมาณ 5 นาทีจะชวยใหกําจัดคราบไดดีขึ้น

5) การยอมสีใบเตยสีเขมมาก (มากกวา 4 เปอรเซ็นต) หรือมากเกินขีดความสามารถที่ใบเตยจะรับได นอกจากจะเปนการสูญเปลาแลว จะทําใหสีตกงาย จึงควรหลีกเลี่ยง เพราะการซักลางดวยน้ํารอน (40-50 องศา) มิอาจแกไขขอบกพรองดังกลาวไดเสมอไป สียอมมักจะหลุดลอกออกมาเรื่อยๆเมื่อถูกน้ําและความชื้น

6) ใชผาชุบน้ําแลวบิดใหหมาดขัดถู ใบเตยทีละเสนเปนวิธีการหนึ่งที่ปองกันมิใหหลุดไดงาย

7) การเคลือบดวยแลคเกอร ก็เปนอีกวิธีการหนึ่งที่ชวยแกไขสีหลุดลอกไดดีหรืออาจเคลือบผิวใบเตยดวยข้ีผ้ึงเหลวซ่ึงนอกจากจะทําใหใบเตยออนนุมแลวยังเปนการประหยัดกวา

3.2.2.5 กรรมวิธีการแปรรูปเปนผลิตภัณฑ กระบวนการแปรรูปผลิตภัณฑจากเสื่อเตย สรุปการแปรรูปผลิตภัณฑ โดยมีขั้นตอนการผลิตดังนี้

1) ออกแบบผลิตภัณฑ กรณีงานประดิษฐนํากระดาษกราฟมารางแบบ ทําตนแบบของผลิตภัณฑ รูปทรงตางๆ เมื่อไดแบบแลวจึงลอกทําเปนแมพิมพ เพื่อจัดทําเปนผลิตภัณฑตามขั้นตอนตอไป

vongthong
Draft
Page 21: บทที่ 3 การสํารวจและว ิเคราะห ข อมูลผลิตภัณฑsci.bsru.ac.th/dept/product/research/1363344826/1363344826_chapter3.pdf ·

51

2) ตัด เย็บ ประกอบ นําเสื่อเตย กระดาษ ผา ที่จะใชมาวางบนพื้นราบใชแมพิมพวางเปนแบบ แลวกดรอยใหครบทุกชิ้น จึงตัดตามแบบโดยเผื่อเย็บไวประมาณ 1 เซนติเมตร นําชิ้นงานมาเย็บกุน โดยผาตัดเปนเสน กวางประมาณ 3 เซนติเมตร ความยาวเทากับความยาวของผายางไมพอตองนําผาเสนอื่นมาเย็บตอใหติดเปนเสนเดียวกันเสียกอน การเย็บกุนใชวิธีเย็บดวยจักรเย็บผา ใชเข็มจักรขนาดกลาง จักรที่ใชเปนจักรอุตสาหกรรมใชมอเตอรไฟฟา เมื่อเย็บกุนเสร็จแลวจึงเย็บประกอบเปนผลิตภัณฑไดรูปทรงตามตองการ แสดงในภาพที่ 3.17

ภาพที่ 3.17 การเก็บริวผา

3) ตกแตง นําผลิตภัณฑที่ผลิตไดมาตรวจสอบรายละเอียดการเย็บ เชน ฝเข็มสม่ําเสมอ เย็บตรง ผาไมหลุดออกเสื่อ ตัดเศษผา เศษดายออก ตกแตงใหสวยงามเหมาะสม

ภาพที่ 3.18 การเย็บกุน

vongthong
Draft
Page 22: บทที่ 3 การสํารวจและว ิเคราะห ข อมูลผลิตภัณฑsci.bsru.ac.th/dept/product/research/1363344826/1363344826_chapter3.pdf ·

52

3.2.2.6 การศึกษาผลิตภณัฑจากเตย ผลิตภัณฑที่พบเห็นกันโดยทัว่ไปจําแนกไดดังนี ้

1) เสื่อพับ มีหลายขนาด เชน ขนาดเล็ก 3 พับ กวาง 100 เซนติเมตร ยาว 200 เซนติเมตร ขนาดกลาง 3 พับ กวาง 140 เซนติเมตร ยาว 200 เซนติเมตร ขั้นตอนการผลิต เร่ิมจากนําผืนเสื่อมาตัดเปนสี่เหล่ียมผืนผา เสื่อ 3 พับตัดจํานวน 3 ช้ิน เย็บกุนริมเสื่อโดยรอบทุกชิ้น นําเสื่อที่เย็บกุนแลวมาเย็บติดกันดานยาวแลวเย็บหูหิ้ว สายรัดติดกับเสื่อตรงกึ่งกลางเสื่อพับเก็บมัดดวยสายรัดใหแนน สามารถหิ้วไปใชงาน หรือเก็บในพื้นที่จํากัดไดสะดวก

ภาพที่ 3.19 เสื่อพับ

2) ชุดรองแกวรองจาน สามารถผลิตไดหลายรูปแบบเชน ส่ีเหล่ียม วงรี วงกลม ส่ีเหล่ียมตัดมุม ขั้นตอนการผลิตคลายคลึงการทําเสื่อพบ เร่ิมจากนําเสื่อมาตัด ตามแบบที่ออกแบบไวแลว ตัดตามความยาวผืนเสื่อ ปลายเสื่อรนไฟใหละลายนํามาบีบติดกันเปนการปองกันไมใหเสนเตยหลุดหลุย ทาดวยกาวหนัง เพื่อใหเสนเตยติดกันแนน สะดวกตอการเย็บ นําผากุนมาเย็บจนรอบ ชุดรองจานประกอบดวย ผืนใหญสําหรับเปนที่วางรองจานขาว ขนาดกวาง 23 เซนติเมตร ยาว 30 เซนติเมตร ที่รองจาน และที่รองแกวน้ํา ขนาดกวาง 11 เซนติเมตร ยาว 11 เซนติเมตร

vongthong
Draft
Page 23: บทที่ 3 การสํารวจและว ิเคราะห ข อมูลผลิตภัณฑsci.bsru.ac.th/dept/product/research/1363344826/1363344826_chapter3.pdf ·

53

ภาพที่ 3.20 ชุดรองแกวรองจาน

3) กระเปา มีหลายรูปแบบ ขั้นตอนการผลิต เร่ิมจากออกแบบ ตัดเสื่อ และผารอง ดานใน ตามแบบกระเปาประกอบดานดานหนา กันกระเปา ดานหลัง ฝาปด และดานขางทั้ง 2 ดาน ตัดกระดาษแข็งเปนกนกระเปาประกอบดานในเย็บกุนริมจนรอบทุกชิ้น นําทุกสวนมาเย็บประกอบเปนตัวกระเปา ใสหูหิ้ว หรือสายสะพาย

ภาพที่ 3.21 แสดงผลิตภัณฑกระเปา

4) กลองใสของ มีหลายรูปแบบ เชน หกเหลี่ยม ส่ีเหล่ียม ขั้นตอนการทําเร่ิมจากออกแบบ แลวตัดเสื่อ ผาเคมีแข็ง และผา ตามแบบเปนรูปสี่เหล่ียม ถาจะเปนทรงหกเหลี่ยม ตัดจํานวน 6 ช้ิน และตัดเปนรูปหกเหลี่ยม 1 ช้ิน เพื่อเปนกนกลอง ถาทําเปนรูปทรงสีเหล่ียม ตัดจํานวน 4 ช้ิน และตัดเปนรูปสี่เหล่ียม 1 ช้ิน เพื่อเปนกนกลอง แลวเย็บกุนโดยรอบทุกชิ้น โดยเรียงใหเสื่ออยูดานนอก ผาเคมีแข็งอยูตรงกลาง และผารองอยูดานในสุด เมื่อเย็บครบทุกชิ้นแลว นํามาเย็บประกอบกันใหเปนกลองใสของ อาจเพิ่มความสวยงามดวยการเย็บระบายลูกไมติดรอบ

vongthong
Draft
Page 24: บทที่ 3 การสํารวจและว ิเคราะห ข อมูลผลิตภัณฑsci.bsru.ac.th/dept/product/research/1363344826/1363344826_chapter3.pdf ·

54

ภาพที่ 3.22 กลองใสของหกเหลี่ยม

5) กลองใสกระดาษชําระ มีทั้งรูปทรงสี่เหล่ียมผืนผา ส่ีเหล่ียมจัตุรัสและ ทรงกลม ซ่ึงมีวิธีการทํา ดังตอไปนี้คือ

กลองใสกระดาษชําระรูปสี่เหล่ียมใชเสื่อ ที่มีลวดลายสวยงาม ขั้นตอนผลิตเริ่มจาก ช้ิน ก. ตัดเสื่อ ผาเคมีแข็ง ผารองในเปนรูปสี่เหล่ียมผืนผา กวางประมาณ 12 เซนติเมตร ยาว 24 เซนติเมตร จํานวน 2 ช้ิน ตรงกลางเจาะเปนรูป รูปวงรี หรือส่ีเหล่ียมผืนผา กวาง 2 เซนติเมตร ยาว 12 เซนติเมตร เปนชองใหกระดาษออก จํานวน 1 ช้ิน ช้ิน ข. ดานขาง ตัดเสื่อ ผาเคมี รองในเปนรูปสี่เหล่ียม กวาง 10 เซนติเมตร ยาว 24 เซนติเมตร จํานวน 2 ช้ิน ช้ิน ค. ดาน ขาง ตัดเสื่อ ผาเคมี รองในเปนรูปสี่เหล่ียม กวาง 8 เซนติเมตร ยาว 12 เซนติเมตร จํานวน 2 ช้ินเย็บกุนโดยรอบทุกชิ้น รวมท้ังชองที่เจาะไว นําชิ้น ก. ข.และค. มาเย็บประกอบเปนกลองโดยชิ้น ค. ซ่ึงอยูดานขางกลอง เย็บติดดานขางเทานั้น สามารถเปด และปดได เพื่อใสกลองกระดาษชําระ

ภาพที่ 3.23 แสดงสวนประกอบกลองทชิชู

กลองใสกระดาษชําระรูปทรงกลม มีลักษณะเปนกลองมีฝาปดอยูดานบน ขั้นตอนการทําโดยเริ่มจาก ตัดเสื่อ ผาเคมีแข็ง ผารองในเปนรูปสี่เหล่ียมขนาด 12 เซนติเมตร ยาว 48 เซนติเมตร 1 ช้ิน จากนั้นตัดเสื่อ ผาเคมีแข็ง ผารองในรูปวงกลมเสนผาศูนยกลาง 12 เซนติเมตร จํานวน 1 ช้ิน ตัดเสื่อ ผาเคมีแข็ง ผารองในเปนรูปสีเหล่ียม ขนาดกวาง 4 เซนติเมตร

ช้ิน ก.

ช้ิน ข.

ช้ิน ค.

vongthong
Draft
Page 25: บทที่ 3 การสํารวจและว ิเคราะห ข อมูลผลิตภัณฑsci.bsru.ac.th/dept/product/research/1363344826/1363344826_chapter3.pdf ·

55

ยาว 48 เซนติเมตร 1 ช้ิน ตัดเสื่อ ผาเคมีแข็ง ผารองในรูปวงกลมเสนผาศูนยกลาง 12 เซนติเมตร เจาะรูตรงกลาง เปนวงกลมเสนผาศูนยกลาง 5 เซนติเมตร จํานวน 1 ช้ินและเย็บกุนจนรอบทุกชิ้น รวมทั้งชองที่เจาะไว นําชิ้น 1 และ 2. มาเย็บประกอบเปนตัวกลองดานลาง สวนชิ้น 3. และ 4 มาเย็บประกอบเปน ฝากลองดานบน สามารถเปด ปด เพื่อใสกลองกระดาษชําระได สวนฝากลองสามารถใชผามาเย็บแทนก็ได

6) รองเทา มีขั้นตอนการทํา โดยเริ่มจากนําแผนยางเปนโครงรางของรองเทา ตัดเสื่อขนาดเทารองเทาเปนพื้น และดานขาง ใหใชกาวยางหนังติดรองเทาทาที่เสื่อ และแผนยางทาใหทั่วทุกดาน นําเสื่อมาติด ใชเสนปอมาถักเปย ทากาวปดทับรอยตอรอบรองเทา ติดหูรองเทาดวยเชือกปอที่ถักเปนเปย

ภาพที่ 3.24 ผลิตภัณฑรองเทา 3.3 ขอมูลการวิเคราะหตองการของผูบริโภคตอผลิตหตัถกรรม

เพื่อทราบถึงขอมูลภาพรวมผลิตภัณฑหัตถกรรมในทองตลาดและระดับความตองการผลิตภัณฑหัตถกรรมในทองตลาดรวมทั้งผลิตภัณฑเตยของผูบริโภค ผูวิจัยไดทําการออกสํารวจความตองการดานผลิตภัณฑโดยทําการสํารวจจากกลุมผูขายสินคาผลิตภัณฑจากชุมชนและของที่ระลึกในพื้นที่ 4 จังหวัดประกอบ จังหวัดอุบลราชธานี จังหวัดศรีสะเกษ จังหวัดสุรินทร และ จังหวัดบุรีรัมย ทําการวิเคราะหรายดาน และภาพรวมทุกดานนําเสนอในรูปแบบตารางประกอบความเรียงโดยแบงเกณฑ (ธีรยุทธ พึ่งเทียร, 2543 : 35) 4.50 -5.00 หมายถึงมีความเหมาะสมมากที่สุด 3.50-4.49 หมายถึง มีความเหมาะสมมาก 2.50-3.49 หมายถึง มีความเหมาะสมปานกลาง 1.50-2.49 หมายถึง มีความเหมาะสมนอย 1.00-1.49 หมายถึง มีความเหมาะสมนอยที่สุด ซ่ึงปรากฏผลดังนี้

3.3.1 การสํารวจขอมูลผลิตภัณฑที่ลูกคานิยม จากรานจําหนายผลิตภัณฑจากชุมชน ปรากฏผลตามตารางที่ 3.5

vongthong
Draft
Page 26: บทที่ 3 การสํารวจและว ิเคราะห ข อมูลผลิตภัณฑsci.bsru.ac.th/dept/product/research/1363344826/1363344826_chapter3.pdf ·

56

ตารางที่ 3.5 ขอมูลผลิตภัณฑที่ลูกคานิยม

ผลิตภัณฑท่ีลูกคานิยม

1.ไมแกะสลัก 1.89 0.83 นอย

2. ของตกแตงบานจากไม 2.67 0.98 ปานกลาง

3. เฟอรนิเจอรไม 1.56 0.96 นอย

4. เครื่องจักสาน 3.00 0.77 ปานกลาง

5. เครื่องปนดินเผา 1.70 0.85 นอย

6. ผาทอพื้นเมือง 2.15 1.48 นอย

7. งานประดิษฐ 3.31 0.98 ปานกลาง

คาเฉลี่ย 2.33 0.24 นอย

รายการกลุมเปาหมาย(n=30)

SD ระดับ

จากตารางแสดงขอมูลดานผลิตภัณฑที่ ลูกคานิยม ความนิยมของลูกคาตอผลิตภัณฑหัตถกรรมในสองอันดับแรก คือ งานประดิษฐโดยเฉลี่ย ( = 3.31 ) ระดับความตองการในระดับปานกลาง และลําดับที่สอง เครื่องจักสาน โดยเฉลี่ย ( = 3.00 ) ระดับ นอย ระดับความตองการในระดับปานกลาง ระดับความตองการภาพรวมของ 7 ประเด็น ระดับ นอย 3.3.2 การสํารวจขอมูลปจจัยผลิตภัณฑที่ลูกคาการ จากรานจําหนายผลิตภัณฑชุมชน ปรากฏผลตามตารางที่ 3.6

vongthong
Draft
Page 27: บทที่ 3 การสํารวจและว ิเคราะห ข อมูลผลิตภัณฑsci.bsru.ac.th/dept/product/research/1363344826/1363344826_chapter3.pdf ·

57

ตารางที่ 3.6 แสดงขอมูลปจจัยดานผลิตภณัฑที่ลูกคาตองการ

ปจจัยดานผลิตภัณฑ

1. ความหลากหลาย 3.78 0.87 มาก

2.จุดเดนของสินคา 4.48 0.63 มาก

3.การบรรจุภัณฑ 3.33 0.82 ปานกลาง4.ความสะดวกในการนํากลับบาน 3.67 0.61 มาก

5.ประโยชนใชสอย 3.78 0.68 มาก

6.รูปรางลักษณะ 3.85 0.93 มาก

7.คุณภาพสินคา 3.89 0.68 มาก

8.สีสัน ความสวยงาม 3.44 0.83 ปานกลาง

คาเฉล่ีย 3.78 0.12 มาก

รายการกลุมเปาหมาย(n=30)

SD ระดับ

จากตารางแสดงขอมูลปจจัยดานผลิตภัณฑที่ลูกคาตองการ ในสองอันดับแรก คือ จุดเดนของสินคาโดยเฉลี่ย ( = 4.48 ) ระดับความตองการในระดับมาก และลําดับที่สอง คุณภาพสินคา โดยเฉลี่ย ( = 3.89 ) ระดับความตองการในระดับมาก ระดับความตองการภาพรวมของ 8 ประเด็น ระดับ มาก 3.3.3 การสํารวจขอมูลปจจยัดานราคา จากรานจําหนายผลิตภัณฑชุมชน ตารางที่ 3.7 ตารางที่ 3.7 ขอมูลปจจัยดานราคา

ปจจัยดานราคา

1.ราคาเหมาะสม 3.85 0.76 มาก

2.สวนลด 3.70 1.12 มาก

คาเฉลี่ย 4 0.26 มาก

รายการกลุมเปาหมาย(n=30)

SD ระดับ

vongthong
Draft
Page 28: บทที่ 3 การสํารวจและว ิเคราะห ข อมูลผลิตภัณฑsci.bsru.ac.th/dept/product/research/1363344826/1363344826_chapter3.pdf ·

58

จากตารางแสดงแสดงขอมูลปจจัยดานราคาที่ ลูกคาตองการอันดับแรก คือ ราคาเหมาะสม โดยเฉลี่ย ( = 3.85 ) ระดับความตองการในระดับมากและลําดับที่สอง สวนลดโดยเฉลี่ย( = 3.70 ) ระดับความตองการในระดับมาก ระดับความตองการภาพรวมของ 2 ประเด็น ระดับ มาก

3.3.4 การสํารวจขอมูลผลิตภัณฑจักสานที่ลูกคาตองการ จากรานจําหนายผลิตภณัฑชุมชน ปรากฏผลตามตารางที่ 3.8

ตารางที่ 3.8 ขอมูลผลิตจักสานที่ลูกคาตองการ

X

ผลิตภัณฑจักสานที่ลูกคาตองการ1.ไมไผ 3.11 0.83 ปานกลาง2.หวาย 2.85 0.85 ปานกลาง3.กก 2.19 0.86 นอย4.ผักตบชวา 1.96 0.58 นอย5.กระจูด 1.44 0.83 นอยที่สุด6.เตย 1.41 0.73 นอยที่สุด7.ปาน 2.67 0.82 ปานกลาง8.ผาทอ 1.37 1.09 นอยที่สุด9.พลาสติกจักสาน 1.04 0.19 นอยที่สุด10.เถาวัลย 1.07 0.38 นอยที่สุด11.ทางมะพราว 1.19 0.67 นอยที่สุด12.ใบตาล 1.07 0.38 นอยที่สุด13.ใบลาน 1.07 0.38 นอยที่สุดรวม 1.73 0.26 นอย

รายการกลุมเปาหมาย(n=30)

SD ระดับ

จากตารางแสดงขอมูลผลิตจักสานที่ลูกคาตองการ ในสองอันดับแรก คือ ผลิตภัณฑจากไมไผ โดยเฉลี่ย ( = 3.11 ) ระดับความตองการในระดับ ปานกลาง และลําดับที่สอง ผลิตภัณฑจากหวาย โดยเฉลี่ย ( = 2.85 ) ระดับความตองการในระดับปานกลาง ระดับความตองการภาพรวมของ 13 ประเด็น ระดับ นอย

vongthong
Draft
Page 29: บทที่ 3 การสํารวจและว ิเคราะห ข อมูลผลิตภัณฑsci.bsru.ac.th/dept/product/research/1363344826/1363344826_chapter3.pdf ·

59

3.3.5 การสํารวจขอมูลความตองการผลิตภัณฑจากเตย จากรานจําหนายผลิตภัณฑชุมชน ปรากฏผลตามตารางที่ 3.9

ตารางที่ 3.9 ขอมูลความตองผลิตภัณฑจากเตย

Xความตองการผลิตภัณฑจากเตย

1.โคมไฟ 3.19 1.06 ปานกลาง2.ประดับผนัง 3.22 0.96 ปานกลาง3.แจกัน 3.41 0.73 ปานกลาง4.กระเปา 3.89 0.57 มาก5.เส่ือ 3.93 0.66 มาก6.กลองทิชชู 3.59 0.68 มาก7.มูล่ี 3.56 0.63 มาก8.เส่ือนั่งคนเดียว 1.11 0.57 นอยท่ีสุด9.ชุดโตะอาหาร 1.11 0.57 นอยท่ีสุด

รวม 3.00 0.71 ปานกลาง

รายการกลุมเปาหมาย(n=30)

SD ระดับ

จากตารางแสดงขอมูลความตองผลิตภัณฑจากเตยที่ลูกคาตองการ ในสองอันดับแรก คือ ผลิตภัณฑเสื่อทอ โดยเฉลี่ย ( = 3.93 ) ระดับความตองการในระดับ มาก และลําดับที่สอง ผลิตภัณฑกระเปา โดยเฉลี่ย ( = 3.89 ) ระดับความตองการในระดับมาก ระดับความตองการภาพรวมของ 9 ประเด็น ระดับ ปานกลาง

3.4 การศึกษาทดลองวัสด ุ

การศึกษาในขั้นตอนนี้ผูวิจัยไดแยกการวิเคราะหรูปแบบวัสดุ กรรมวิธีการผลิตและการแปรรูปเปนผลิตภัณฑ ออกเปน 2 รูปแบบ คือ 1) การศึกษาวัสดุรูปแบบเดิม 2 ) การศึกษาประยุกตวัสดุรูปแบบใหม ดังมีรายละเอียดดังตอไปนี้

3.4.1 การศึกษารูปแบบวัสดุและผลิตภัณฑจากเตยปจจุบัน ซ่ึงสรุปไดวาผลิตภัณฑหัตถกรรมเตยมีกรรวิธีการผลิต 2 วิธีคือ การทอ และการสาน รูปแบบวัสดุที่ไดมีลักษณะที่แตกตางกัน ดังตารางที่ 3.10

vongthong
Draft
Page 30: บทที่ 3 การสํารวจและว ิเคราะห ข อมูลผลิตภัณฑsci.bsru.ac.th/dept/product/research/1363344826/1363344826_chapter3.pdf ·

60

ตารางที่ 3.10 การศึกษารูปแบบวัสดวุัสดแุละผลิตภัณฑจากเตยปจจุบนั

รูปแบบวัสด ุ กรรมวิธี ผลิตภัณฑ

การสาน ดวยการขัดระหวางเลนยืน1 เสน และลงทับเสนนอน 1 เสน (ลายขัดหนึ่ง)

ลักษณะพิ เศษที่ ไดคือ แบนเรียบ ทึบแสง ลักษณะงานที่เหมาะสม ไดแกกระเปา ที่รองจาน ที่รองแกว รองเทา หมอน เบาะรองนั่ง

การสาน ดวยสานลายขัดประยุกต ซ่ึงผสมระหวางลายขัดหนึ่งและขัดสอง (ลายสลับ)

ลักษณะพิ เศษที่ ไดคือ แบนเรียบ ทึบแสง ลักษณะงานที่เหมาะสม ไดแกกระเปา ที่รองจาน ที่รองแกว รองเทา หมอน เบาะรองนั่ง

การสาน แบบประยุกต ลั ก ษณะพิ เ ศ ษที่ ไ ด คื อ ผิ วขรุขระแข็ง ทึบแสง ลักษณะงานที่เหมาะสม ไดแกกระเปา ที่รองจาน ที่รองแกว กลองกระดาษทิชชู

vongthong
Draft
Page 31: บทที่ 3 การสํารวจและว ิเคราะห ข อมูลผลิตภัณฑsci.bsru.ac.th/dept/product/research/1363344826/1363344826_chapter3.pdf ·

61

ตารางที่ 3.10 การศึกษารูปแบบวัสดวุัสดแุละผลิตภัณฑจากเตยปจจุบนั (ตอ)

การทอดวย เครื่ องทอมือ เทคนิคการทอยกดอก ลายพื้นบาน

ลักษณะพิเศษที่ไดคือ เสนใยอดัแนน นูนเรียบล่ืนและ ทึบแสง ลักษณะงานที่เหมาะสม ไดแกกระเปา ที่รองจาน ที่รองแกว กลองกระดาษทิชชู เสื่อนอน เบาะรองนั่ง

การทอดวย เครื่องทอเสื่อพื้นบาน ใชเทคนิคการทอยก ดอก ลายตัวอักษร

ลักษณะพิเศษที่ไดคือ เสนใยอดัแนน นูนเรียบล่ืนและ ทึบแสง ลักษณะงานที่เหมาะสม ไดแกกระเปา ที่รองจาน ที่รองแกว กลองกระดาษทิชชู เสื่อนอน เบาะรองนั่ง ปายชื่อ

ก า ร ท อ ด ว ย เ ค รื่ อ ง ท อ กี่กระตุก เทคนิคใชเสนเชือกเปนเสนยืน ใชเสนเตยเปนเสนพุง

ลักษณะพิ เศษที่ไดคือ โปรงแสง ลักษณะงานที่เหมาะสม ไดแกกระเปา ที่รองจาน ที่รองแกว กลองกระดาษทิชชู หมอน มูล่ี

จากตารางสามารถวิเคราะหเปรียบเทียบลักษณะเดนและดอยระหวางผลิตภัณฑจากการทอกับผลิตภัณฑจากการสาน ตามตารางที่ 3.11

vongthong
Draft
Page 32: บทที่ 3 การสํารวจและว ิเคราะห ข อมูลผลิตภัณฑsci.bsru.ac.th/dept/product/research/1363344826/1363344826_chapter3.pdf ·

62

ตารางที่ 3.11 วิเคราะหผลิตภัณฑจากทอและผลิตภัณฑการสาน

ผลิตภัณฑจากการทอ ผลิตภัณฑจากการสาน

ลักษณะเดน 1 ผลิตเชิงปริมาณ 2 กรรมวิธีไมซับซอน 3 คุณภาพการผลิตสม่ําเสมอ 4 การผลิตไมตองใชทักษะสูงและฝกหัดงาย 5 สามารถเพิ่มกําลังการผลิตไดไมจํากัด 6 พื้นผิวที่ราบเรียบอัดแนน

ลักษณะเดน 1. อิสระในการสรางรูปแบบของพื้นผิว เชน พื้นทึบแสง , พื้นโปรงแสง 2. สรางคุณคาทางดานความงามและคุณคาของผลิตภัณฑดวยวัสดุโดยธรรมชาติ 3. อิสระทางดานรูปทรง

ลักษณะดอย 1. การพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑอยูในวงจํากัด 2. มีขอจํากัดทางดานรูปทรง

ลักษณะดอย 1. ใชเวลาในการผลิตเปนผลิตภัณฑตอช้ินมาก 2. ใชทักษะความชํานาญการฝกหัดใชเวลานาน 3. ไมสามารถผลิตเชิงปริมาณได

3.4.2 การศึกษาและพัฒนาวัสดุ จากตาราง สรุปไดวา ควรทําการพัฒนาเพิ่มมูลคาในกับผลิตภัณฑ การดําเนินครั้งนี้ผูวิจัยไดเลือกใชเฉพาะใบจากตนเตยหนาม เนื่องจากหาไดงายในทองถ่ินอีสานมาทําการพัฒนาประยุกตกรรมวิธีการผลิต โดยการแปรรูปวัสดุเปนเกลียวเชือกเขาสูกระบวนการทอแบบปกติ ซ่ึงแปรรูปเปนเสนเชือกขนาด Ø 2-2.5 มิลลิเมตร ขณะเดียวกันก็ทําการดัดแปรงพืมโดยเจาะรูที่ซ่ีบังคับเสนยืนของฟมทอเสื่อใหไดขนาด Ø 3 มิลลิเมตร จากนําเสนเชือกที่ไดมารอยผานรูฟมทําเปนเสนยืนโดยมีระยะบังคับระหวางชอง 2 ระยะ คือ 5 มิลลิเมตรและ 10 มิลลิเมตร ทําการทอดวยการเทคนิคการทอตามปกติ นอกจากนี้ระหวางการทอไดทําการผสมวัสดุชนิดอื่นเขาระหวางการทอ เพื่อทดสอบประสิทธิภาพของเสนใย เชน ตอกไมไผความหนา 1- 1.5 มิลลิเมตร ทั้งเปนผิวนอก(ติวไมไผ) เนื้อเยื่อช้ันใน เสนเชือกเตย และเกลียวเชือก ผลตามตารางที่ 3.12

vongthong
Draft
Page 33: บทที่ 3 การสํารวจและว ิเคราะห ข อมูลผลิตภัณฑsci.bsru.ac.th/dept/product/research/1363344826/1363344826_chapter3.pdf ·

63

ตารางที่ 3.12 ผลการทดลองและการวิเคราะห

รูปแบบวัสดุ กรรมวิธี ผลการปรับปรุง

การทอรวมกับตอกไมไผ วัสดุที่ใชประกอบดวยตอกไมไผ จักอยางบางทําหนาที่ เปนพุงและเส น เ ชื อ ก เ ต ยขนาด Ø 2 -2 . 5 มิลลิเมตรเปนเสนยืน

ลักษณะพิ เศษที่ไดคือ ช้ินงานมีความแข็งแรง การระบายอากาศไดดี มันเงา วางภาชนะรอนไดดีลักษณะงานที่เหมาะสม ไดแกแผนวางชุดทานอาหาร รองหมอ กลองทิชชู โคมไฟ ตะกราอเนกประสงค และเปนสวนประกอบเฟอรนิเจอรเชนเกาอี้ โตะ ตู เปนตน

การทอรวมกับตอกเตยยอมสีน้ําตาล วัสดุที่ใชประกอบดวยตอกเตยยอมสี ขนาด 3 มิลลิเมตรทําหนาที่ เปนพุ งและเสนเชือกเตยขนาด Ø 2-2.5 มิลลิเมตร เปนเสนยืน

ลักษณะพิเศษที่ไดคือ การระบายอากาศ แข็งแรงลักษณะงานที่เหมาะสม ไดแก กระเปา กลองทิชชู ที่รองแกวหรือภาชนะบนโตะอาหาร

การทอรวมกับตอกเตยสีขาว วัสดุที่ใชประกอบดวยตอกเตยสีธรรมชาติ ขนาด 3 มิลลิเมตรทําหนาที่เปนพุงและเสนเชือกเตยขนาด Ø 2-2.5 มิลลิเมตรเปนเสนยืน

ลักษณะพิเศษที่ไดคือ การระบายอากาศ แข็งแรงลักษณะงานที่เหมาะสม ไดแก กระเปา กลองทิชชู ที่รองแกวหรือภาชนะบนโตะอาหาร

การทอรวมกับตอกเตยสีแดง วัสดุที่ใชประกอบดวยตอกเตยยอมสี ขนาด 3 มิลลิเมตร ทําหนาที่เปนพุงและเสนเชือกเตยขนาด Ø 2-2.5 มิลลิเมตรเปนเสนยืน

ลักษณะพิเศษที่ไดคือ การระบายอากาศ แข็งแรง ลักษณะงานที่ เหมาะสม ไดแก กระเปา กลองทิชชู ที่รองแกวหรือภาชนะบนโตะอาหาร

vongthong
Draft
Page 34: บทที่ 3 การสํารวจและว ิเคราะห ข อมูลผลิตภัณฑsci.bsru.ac.th/dept/product/research/1363344826/1363344826_chapter3.pdf ·

64

ตารางที่ 3.12 ผลการทดลองและการวิเคราะห (ตอ)

รูปแบบวัสดุ กรรมวิธี ผลการปรับปรุง

การทอรวมกับตอกเตยสีน้ํ า เงิน วัสดุที่ใชประกอบดวยตอกเตยยอมสี ขนาด 3 มิลลิเมตรทําหนาที่เปนพุงและเสนเชือกเตยขนาด Ø 2-2.5 มิลลิเมตร เปนเสนยืน

ลักษณะพิเศษที่ไดคือ การระบายอากาศ แข็งแรง ลักษณะงานที่เหมาะสม ไดแก กระเปา กลองทิชชู ที่รองแกวหรือภาชนะบนโตะอาหาร

การทอจับหนึ่งลายขาวดวยเชือกเตย วัสดุที่ใชประกอบดวยเชือกเตย Ø 2-2.5 มิลลิเมตร ทําหนาที่ เปนพุงและเสนเชือกเตยขนาด Ø 2-2.5 มิลลิเมตรระยะเสนยืน 10 มิลลิเมตร ทําหนาที่เปนเสนยืน

ลักษณะพิเศษที่ไดคือ เสนทอที่ถ่ีทําใหเกิดความแข็งแรงของชิ้นงานและระบายอากาศ ลักษณะงานที่ เหมาะสม ไดแก กลองทิชชู ที่รองแกวหรือภาชนะบนโตะอาหาร หมอน หุมเบาะรองนั่งหรือนอน หุมเฟอรนิเจอร

การทอดวยเทคนิคบังคับชองไฟลายขาว วัสดุที่ใชประกอบดวยเชือกเตย Ø 2-2.5 มิลลิเมตร ทําหนาที่ เปนพุงและเสนเชือกเตยขนาด Ø 2-2.5 มิลลิเมตร ควบคุมระยะเสนยืน 5 มิลลิเมตร ทําหนาที่เปนเสนยืน

ลักษณะพิเศษที่ไดคือ เสนทอที่ไดเกิดเปนชองตาขาย และมีความแข็งแรงของชิ้นงาน แสงสวางและอากาศผ านได ดี ลั กษณะงานที่เหมาะสม ไดแก กระเปา กลองทิชชู มูล่ี หุมเฟอรนิเจอร และโคมไฟประดับ

vongthong
Draft
Page 35: บทที่ 3 การสํารวจและว ิเคราะห ข อมูลผลิตภัณฑsci.bsru.ac.th/dept/product/research/1363344826/1363344826_chapter3.pdf ·

65

ตารางที่ 3.12 ผลการทดลองและการวิเคราะห (ตอ)

รูปแบบวัสดุ กรรมวิธี ผลการปรับปรุง

การทอดวยเทคนิคบังคับชองลายขาวมวง วัสดุที่ใชประกอบดวยเชือกเตย Ø 2-2.5 มิลลิเมตร ทําหนาที่ เปนพุงและเสนเชือกเตยขนาด Ø 2-2.5 มิลลิเมตร ควบคุมระยะเสนยืน 5 มิลลิเมตร ทําหนาที่เปนเสนยืน

ลักษณะพิเศษที่ไดคือ เสนทอที่ไดเกิดเปนชองตาขาย และมีความแข็งแรงของชิ้นงาน แสงสวางและอากาศผ านได ดี ลั กษณะงานที่เหมาะสม ไดแก กระเปา กลองทิชชู มูล่ี หุมเฟอรนิเจอร และโคมไฟประดับ

การทอดวยเทคนิครายจับหาและบังคับชองไฟ วัสดุที่ใชประกอบดวยเชือกเตย Ø 2-2.5 มิลลิเมตร ทําหนาที่ เปนพุงดวยลายจับหาและเสนเชือกเตยขนาด Ø 2-2.5 มิลลิเมตร ควบคุมระยะเสนยืน 5 มิลลิเมตร ทําหนาที่เปนเสนยืน

ลักษณะพิเศษที่ไดคือ เสนทอเปนริวสลับดวยชองตาขาย และมีความแข็งแรงของชิ้นงาน แสงสวางและอากาศผ านได ดี ลั กษณะงานที่เหมาะสม ไดแก กระเปา กลองทิชชู มูล่ี หุมเฟอรนิเจอร และโคมไฟประดับ

การทอลายจับหาแบบไมบังคับชองไฟหาง วัสดุที่ใชประกอบดวยเชือกเตย Ø 2-2.5 มิลลิ เมตรทําหนาที่ เปนพุงดวยลายจับหาและเ ส น เ ชื อ ก เ ต ย ข น า ด Ø 2 -2 . 5มิลลิเมตรควบคุมระยะเสนยืน 10 มิลลิเมตรทําหนาที่เปนเสนยืน

ลักษณะพิเศษที่ไดคือ เสนทอเปนริวสลับขึ้นสวยงาม และมีความแข็งแรงของชิ้นงาน และระบายอากาศลักษณะงานที่ เหมาะสม ไดแก กลองทิชชู หุมเฟอรนิเจอร ห ม อ น เ บ า ะ ร อ ง นั่ ง ก ล อ งอเนกประสงค ตระกรา

ตารางแสดงผลการทดลองและการวิเคราะห สรุปไดวา คุณสมบัติของเตยหนาม กระบวนการทีใ่ชมีความเหมาะสม ในการสรางมูลคาผลิตภัณฑจากงานทอ เนื่องจากผลผลิตที่ไดมีลักษณะ ดังนี้ 1) รูปแบบผลิตภัณฑทึบแสง และกลุมโปรงแสง 2) รูปแบบผลิตภณัฑที่ใหความรูสึกคลายงานสานจากไม 3) เสนใยยึดกันและมคีวามแข็งแรง

vongthong
Draft
Page 36: บทที่ 3 การสํารวจและว ิเคราะห ข อมูลผลิตภัณฑsci.bsru.ac.th/dept/product/research/1363344826/1363344826_chapter3.pdf ·

66

3.5 วิเคราะหแนวทางการพัฒนาผลิตภัณฑ

จากการศึกษาผลิตภัณฑผูวิจัยสามารถวิเคราะหแบงกลุมผลิตภัณฑจากเสนใยพืชในทองตลาดออกเปน 3 กลุม คือ 1) กลุมเอกลักษณดั้งเดิม 2) กลุมประยุกต 3) กลุมตกแตงพิเศษ ดังแสดงตามภาพที่ 3.25

ภาพที่ 3.25 Mapping Chart โครงสรางกลุมผลิตภัณฑในทองตลาด

จากภาพ แสดงตําแหนงผลิตภัณฑในทองตลาดปจจุบัน สามารถวิเคราะหไดดังนี้ Group A กลุมเอกลักษณดั้งเดิม ผลิตภัณฑพื้นบาน เนนความเรียบงาย TEXTURE สวน

ใหญเปนเรียวสลับ และเรียบ สวนใหญไมเนนสีธรรมชาติ Group B กลุมประยุกต เนนผลิตภัณฑตามสมัยนิยม รูปแบบรูปทรง และการตกแตง

ตามยุคสมัย(แฟชั่น) มุงเนนประโยชนดานการประดับตกแตง Group C กลุมตกแตงพิเศษ ผลิตภัณฑ รูปแบบ รูปทรง มุงเนนความหลากหลายของ

หนาที่ใชสอย เพื่อความสะดวกสบายแกผูบริโภค

จากการวิเคราะหขอมูลผลิตภัณฑ ผลิตภัณฑแทรกเขาไดใน GROUP B โดยนําลักษณะเดนทางวัสดุใหมสรางเปนผลิตภัณฑ และGROUP C โดยการประยุกตรูปแบบผลิตภัณฑใหมใหสอดคลองกับองคประกอบตางๆ ดังนี้คือ

vongthong
Draft
Page 37: บทที่ 3 การสํารวจและว ิเคราะห ข อมูลผลิตภัณฑsci.bsru.ac.th/dept/product/research/1363344826/1363344826_chapter3.pdf ·

67

(1) ดานวัสดุโดยการใชลักษณะเดนของเสนใยเตยซึ่ง ไดแกความทนทาน ความเหนียว (2) ดานเทคนิคการ ผลิตพื้นบานมาใชสรางลักษณะลักษณะพิเศษของผลิตภัณฑเพื่อ

ตอบสนองทางดานรางกายและจิตใจ (3) ดานเครื่องมืออุปกรณ โดยการผลิตอยูบนพื้นฐานของเทคโนโลยีของทองถ่ิน และ

ภูมิปญญาทองถ่ินเปนหลัก (4) ดานรูปแบบ มีความเรียบงายไมมีความซับซอน สะดวกสบายในการเคลื่อนยาย (5) กลุมเปาหมาย มุงเนนวัยทํางานฐานะระดับกลางขึ้นไป

vongthong
Draft