โดโดย ย - ผศ.ดร.พุทธรักษ์ ปราบนอก · 2009. 11....

53
โดย โดย ผศ ผศ . . ดร ดร . . พุทธรักษ พุทธรักษ ปราบนอก ปราบนอก

Upload: others

Post on 15-Dec-2020

0 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: โดโดย ย - ผศ.ดร.พุทธรักษ์ ปราบนอก · 2009. 11. 16. · ŠŠ ภภาคาคตะวันอตะวันออกอกเเฉียงเฉียงเหนืหนือ

โดย โดย ผศ ผศ. .ดร ดร. . พุทธรักษ พุทธรักษ ปราบนอก ปราบนอก

Page 2: โดโดย ย - ผศ.ดร.พุทธรักษ์ ปราบนอก · 2009. 11. 16. · ŠŠ ภภาคาคตะวันอตะวันออกอกเเฉียงเฉียงเหนืหนือ

�อีสาน มาจาก อีศาน (สันสกฤต) แปลวา ทิศ ตะวันออกเฉียงเหนือ พระศิวะ หรือพระรุทระ (ราชบัณฑิตยสถาน : 2493 : 1033) �นอกจากนี้ยังหมายถึง มั่งคั่งใหญโต (ททท.)

Page 3: โดโดย ย - ผศ.ดร.พุทธรักษ์ ปราบนอก · 2009. 11. 16. · ŠŠ ภภาคาคตะวันอตะวันออกอกเเฉียงเฉียงเหนืหนือ

� �  ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื  หรือภาคอีสาน หรือภาคอีสาน � �  มีเนื้อที่ท้ังหมด มีเนื้อที่ท้ังหมด  168,854.35 168,854.35  ตารางกิโลเมตร ตารางกิโลเมตร � �  หรือประมาณรอยละ หรือประมาณรอยละ  32.91 32.91  ของเนื้อที่ท้ังประเทศ ของเนื้อที่ท้ังประเทศ � �  ประกอบดวย ประกอบดวย 19 19  จังหวัด จังหวัด  ไดแก ไดแก  เลย เลย  หนองคาย หนองคาย � �  สกลนคร สกลนคร  นครพนม นครพนม  ยโสธร ยโสธร  รอยเอ็ด รอยเอ็ด � �  มหาสารคาม มหาสารคาม กาฬสินธุ กาฬสินธุ  อุดรธานี อุดรธานี  ขอนแกน ขอนแกน  ชัยภูมิ ชัยภูมิ � �  นครราชสีมา นครราชสีมา ศรีสะ ศรีสะเกษ เกษบุรีรมัย บุรีรมัย  สุรินทร สุรินทร  อุบลราชธานี อุบลราชธานี � �  มุกดาหาร มุกดาหาร  อํานาจเจริญ อํานาจเจริญ  หนองบวัลําภู หนองบวัลําภู � �  มีเนื้อ มีเนื้อที่มากสุดในประเทศไทย ที่มากสุดในประเทศไทย

Page 4: โดโดย ย - ผศ.ดร.พุทธรักษ์ ปราบนอก · 2009. 11. 16. · ŠŠ ภภาคาคตะวันอตะวันออกอกเเฉียงเฉียงเหนืหนือ

� �  โดยแบงจังหวัดออกตามกลุมอนุภาคเปน โดยแบงจังหวัดออกตามกลุมอนุภาคเปน 2 2 กลุมใหญ กลุมใหญ ไดแก ไดแก � �  กลุมจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน กลุมจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 

กลุมยอยที่ กลุมยอยที่ 1 1 อุดรธานี อุดรธานี หนองบัวลําภู หนองบัวลําภู หนองคาย หนองคาย เลย เลย กลุมยอยที่ กลุมยอยที่ 2 2 มุกดาหาร มุกดาหาร สกลนคร สกลนคร นครพนม นครพนม กาฬสินธุ กาฬสินธุ กลุมยอยที่ กลุมยอยที่ 3 3 ขอนแกน ขอนแกน มหาสารคาม มหาสารคาม รอยเอ็ด รอยเอ็ด � �  กลุมจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนลาง กลุมจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนลาง 

กลุมยอยที่ กลุมยอยที่ 1 1 นครราชสีมา นครราชสีมา ชัยภูมิ ชัยภูมิ บุรีรัมย บุรีรัมย สุรินทร สุรินทร กลุมยอยที่ กลุมยอยที่ 2 2 อุบลราชธานี อุบลราชธานี อํานาจเจริญ อํานาจเจริญ ศรีสะ ศรีสะเกษ เกษ ยโสธร ยโสธร

Page 5: โดโดย ย - ผศ.ดร.พุทธรักษ์ ปราบนอก · 2009. 11. 16. · ŠŠ ภภาคาคตะวันอตะวันออกอกเเฉียงเฉียงเหนืหนือ

�ประกอบดวยเทือกเขาสูงทางทิศตะวันตกและทิศใต เทือกเขาทิศ ตะวันตกมีความสูงเฉล่ีย 500-1,000 เมตร เหนือระดับน้ําทะเล มี ยอดเขาที่สูงที่สุดในภาคอีสานคือ ยอดภูหลวง มีความสูง 1,571 เมตร และภูกระดึงสูง 1,325 เมตร เปนแหลงตนน้ําของแมน้ํา หลายสาย

Page 6: โดโดย ย - ผศ.ดร.พุทธรักษ์ ปราบนอก · 2009. 11. 16. · ŠŠ ภภาคาคตะวันอตะวันออกอกเเฉียงเฉียงเหนืหนือ

� �  ไดแก ไดแก แมน้ําพอง แมน้ําพอง แมน้ําเลย แมน้ําเลย แมน้ําพรม แมน้ําพรม แมน้ําชี แมน้ําชี และลําตะคอง และลําตะคอง ทางดาน ทางดาน ทิศใตมีเทือกเขาสันกําแพง ทิศใตมีเทือกเขาสันกําแพง และเทือกเขาพนมดงรัก และเทือกเขาพนมดงรัก กั้นระหวางภาค กั้นระหวางภาค อีสานของไทย อีสานของไทย กับกัมพูชา กับกัมพูชา และลาว และลาว มีความสูงเฉลี่ย มีความสูงเฉลี่ย 400 400- -700 700 เมตร เมตร ยอด ยอด เขาเขียวเปนยอดเขาท่ีสูงท่ีสุดอยูทางตอนใต เขาเขียวเปนยอดเขาท่ีสูงท่ีสุดอยูทางตอนใต สูงประมาณ สูงประมาณ 1,292 1,292 เมตร เมตร ทําใหภาคอีสานถูกแบงออกเปน ทําใหภาคอีสานถูกแบงออกเปน 2 2 สวน สวน คือ คือ � � แองโคราช แองโคราช  ไดแกบริเวณแถบลุมแมน้ําชีและแมน้ํามูล ไดแกบริเวณแถบลุมแมน้ําชีและแมน้ํามูล กินบริเวณ กินบริเวณ 3 3 ใน ใน 4 4 ของภาคอีสานท้ังหมด ของภาคอีสานท้ังหมด มีลักษณะเปนแองกระทะคือมีบริเวณท่ี มีลักษณะเปนแองกระทะคือมีบริเวณท่ี ราบสูงเปนขอบแลวคอยๆ ราบสูงเปนขอบแลวคอยๆ ลาดลงสูลุมต่ําน้ําทวมถึง ลาดลงสูลุมต่ําน้ําทวมถึง � � แองสกลนคร แองสกลนคร  ไดแกบริเวณตอนเหนือของเทือกเขาภูพาน ไดแกบริเวณตอนเหนือของเทือกเขาภูพาน  และ และ บริเวณท่ีราบลุมน้ําโขง บริเวณท่ีราบลุมน้ําโขง

Page 7: โดโดย ย - ผศ.ดร.พุทธรักษ์ ปราบนอก · 2009. 11. 16. · ŠŠ ภภาคาคตะวันอตะวันออกอกเเฉียงเฉียงเหนืหนือ
Page 8: โดโดย ย - ผศ.ดร.พุทธรักษ์ ปราบนอก · 2009. 11. 16. · ŠŠ ภภาคาคตะวันอตะวันออกอกเเฉียงเฉียงเหนืหนือ
Page 9: โดโดย ย - ผศ.ดร.พุทธรักษ์ ปราบนอก · 2009. 11. 16. · ŠŠ ภภาคาคตะวันอตะวันออกอกเเฉียงเฉียงเหนืหนือ

� บริเวณแองที่ราบ - แองที่ราบโคราช เกิดขึ้นบริเวณที่ราบลุมแมนํ้ามูลและชี ลักษณะเปนที่ 

ราบสูงสลับกับเนินเขา - แองสกลนคร อยูทางตอนเหนือตั้งแตแนวเขาภูพาน  จนถึงแมนํ้าโขง มี 

แมนํ้าสงครามและหวยนํ้าก่ําไหลผาน � บริเวณเขตภูเขา 

- ภูเขาทางดานตะวันตกของภาค วางตัวแนวเหนือ-ใต ไดแก ภูเขา เพชรบูรณ และภูเขาดงพญาเย็น 

- ภูเขาทางตอนใตของภาค ไดแก ภูเขาสันกําแพง ภูเขาพนมดงรัก - ภูเขาที่แบงระหวางแองโคราชและแองสกลนคร ไดแกทิวเขาภูพาน

Page 10: โดโดย ย - ผศ.ดร.พุทธรักษ์ ปราบนอก · 2009. 11. 16. · ŠŠ ภภาคาคตะวันอตะวันออกอกเเฉียงเฉียงเหนืหนือ
Page 11: โดโดย ย - ผศ.ดร.พุทธรักษ์ ปราบนอก · 2009. 11. 16. · ŠŠ ภภาคาคตะวันอตะวันออกอกเเฉียงเฉียงเหนืหนือ

� � ลักษณะภูมิอากาศ ลักษณะภูมิอากาศ ลักษณะภูมิอากาศในภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีลักษณะแบบทุงหญา ลักษณะภูมิอากาศในภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีลักษณะแบบทุงหญา 

สะวันนา สะวันนา ( (Aw) Aw) คือ คือ  อากาศรอนชื้นสลับกับฤดูแลง อากาศรอนชื้นสลับกับฤดูแลง ฝนตกปานกลาง ฝนตกปานกลาง - - ฤดูหนาว ฤดูหนาว ชวงเดือนตุลาคม ชวงเดือนตุลาคม - - กุมภาพันธ กุมภาพันธ อากาศหนาวเย็นเนื่องจาก อากาศหนาวเย็นเนื่องจาก อิทธิพลจากลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ อิทธิพลจากลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดท่ีมีอุณหภูมิต่ําสุด จังหวัดท่ีมีอุณหภูมิต่ําสุด ไดแกจังหวัดเลย ไดแกจังหวัดเลย

Page 12: โดโดย ย - ผศ.ดร.พุทธรักษ์ ปราบนอก · 2009. 11. 16. · ŠŠ ภภาคาคตะวันอตะวันออกอกเเฉียงเฉียงเหนืหนือ

� ฤดูฝน ชวงเดือนพฤษภาคม - ตุลาคม เนื่องจากไดรับอิทธิพลจาก จากพายุดีเปรสชัน  ฝนตกมากที่สุดคือ นครพนม และฝนตกนอย ที่สุดคือ นครราชสีมา � ฤดูรอน ชวงเดือนกุมภาพันธ - พฤษภาคม อากาศจะรอนและ แหงแลงมาก เนื่องจากอยูไกลจากทะเล  อุณหภูมิสูงสุด คือ อุดรธานี

Page 13: โดโดย ย - ผศ.ดร.พุทธรักษ์ ปราบนอก · 2009. 11. 16. · ŠŠ ภภาคาคตะวันอตะวันออกอกเเฉียงเฉียงเหนืหนือ

� ไดรับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งมีผลทําใหมีอากาศ หนาวเย็นกวาภาคอื่น ๆ �  ลมพายุหมุน สวนใหญเปนพายุดีเปรสชันจากทะเลจีนใต ทําใหผลตกชุก � ระยะใกลไกลทะเล ทําใหอากาศมีความแตกตางกัน  ระหวางฤดูรอนและ ฤดูหนาวมาก � การวางตัวของภูเขาดงพญาเย็นและสันกําแพง ซึ่งวางตัวในแนวเหนือ-ใต กั้นลมฝนจากมรสุมตะวันตกเฉียงใต

Page 14: โดโดย ย - ผศ.ดร.พุทธรักษ์ ปราบนอก · 2009. 11. 16. · ŠŠ ภภาคาคตะวันอตะวันออกอกเเฉียงเฉียงเหนืหนือ

� � ทรัพยากรธรรมชาติ ทรัพยากรธรรมชาติ � � ทรัพยากรดิน ทรัพยากรดิน ดินอีสานเปนดินทราย ดินอีสานเปนดินทราย  น้ําซึมผานไดงาย น้ําซึมผานไดงาย  ไมเก็บน้ํา ไมเก็บน้ํา  ทํา ทํา ใหขาดแคลนน้ําในการอุปโภคและบริโภค ใหขาดแคลนน้ําในการอุปโภคและบริโภค ขาดธาตุอาหาร ขาดธาตุอาหาร ใตดินมี ใตดินมี เกลือหินทําใหดินเค็มและแหง เกลือหินทําใหดินเค็มและแหง ไมเหมาะในการเพาะปลูกพืช ไมเหมาะในการเพาะปลูกพืช และทํา และทํา นาและอีกหลายแหงดินเปนดินเค็มไมสามารถใชประโยชนไดเต็มที่ นาและอีกหลายแหงดินเปนดินเค็มไมสามารถใชประโยชนไดเต็มที่ � � ทรัพยากรน้ํา ทรัพยากรน้ํา  เนื่องจากภาคตะวันออกเฉียงเหนือเปนดินปนทรายไม เนื่องจากภาคตะวันออกเฉียงเหนือเปนดินปนทรายไม สามารถอุมน้ําได สามารถอุมน้ําได จึงทําใหขาดแคลนน้ําเปนสําคัญ จึงทําใหขาดแคลนน้ําเปนสําคัญ จึงตองอาศัยการ จึงตองอาศัยการ ชลประทานเขามาชวยมีการสรางเขื่อนหรืออางเก็บน้ําขนาดใหญเพื่อ ชลประทานเขามาชวยมีการสรางเขื่อนหรืออางเก็บน้ําขนาดใหญเพื่อ เก็บกักน้ํา เก็บกักน้ํา

Page 15: โดโดย ย - ผศ.ดร.พุทธรักษ์ ปราบนอก · 2009. 11. 16. · ŠŠ ภภาคาคตะวันอตะวันออกอกเเฉียงเฉียงเหนืหนือ

� ทรัพยากรปาไม ภาคตะวันออกเฉียงเหนือเปนภาคที่มีปาไมเหลือนอย ที่สุด สวนใหญจะเปนปาไมประเภทปาแดง ปาโคก ปาแพะ หรือปา เต็งรัง ถัดมาเปนปาเบญจพรรณและปาทุง  เมื่อเทียบกับพื้นที่ภาค จังหวัดที่มีปาไมมากที่สุดคือ อุบลราชธานี และจังหวัดที่มีปาไมนอย ที่สุดคือ มหาสารคาม ขอนแกน

Page 16: โดโดย ย - ผศ.ดร.พุทธรักษ์ ปราบนอก · 2009. 11. 16. · ŠŠ ภภาคาคตะวันอตะวันออกอกเเฉียงเฉียงเหนืหนือ

� ปาแดง (Dry  Dipterocrap  Forest)  เปนปาที่พบ มากที่สุดในเขตภาคอีสาน  เรียกวา ปาโคก ปาแคระหรือปาเต็ง รัง ซึ่งสามารถ  เจริญเติบโตไดดีในเขตน้ี  เน่ืองจากดินสามารถ ระบายน้ํา  ดี และมีการผุพังของศิลาแลงสูง � ปาเบญจพรรณ(Mixed  Deciduoust  Forest)  พบ ไดบริเวณเทือกเขาของภาคความสัมพันธใกลชิดกับปาดิบแลง พันธุ ไมที่พบจะมีลํ าต นสู ง ใหญ กว าป าแดง  เช น  สี เสี ยด ตะเคียน  ราช พฤกษ รกฟา ประ ดู

Page 17: โดโดย ย - ผศ.ดร.พุทธรักษ์ ปราบนอก · 2009. 11. 16. · ŠŠ ภภาคาคตะวันอตะวันออกอกเเฉียงเฉียงเหนืหนือ

� ปาทุง(Savanna  Forest)  เปนปาเสื่อมโทรมที่เกิดจากการเผา ทํา ลายปา ปาชนิดน้ีจะมีทุ งหญาสลับกับไมเต้ีย ๆ กระจายไปทั่ว  ดินเปน ลูกรังปนทรายไมอุดมสมบูรณ ทุงกุลารองไห � ปาดิบชื้น(Tropical  Evergreen  Forest)  มีอยู ในเขต 

เทือกเขาทางตะวันตก ตอนกลาง และตอนใตของเทือกเขาภูพาน  พันธุ ไมที่สําคัญไดแก ยาง ตะเคียน-ทอง � ปาดิบแลง(Dry   Evergreen   Forest)  เปนปาแบบมรสุมชื้น 

พบไดในเขตนครพนม  เทือกเขาภูพาน มีปริมาณไมมากนักอาจพบตาม หุบเขาเต้ีย ๆ พันธุไมที่ขึ้นอยางหนาแนน เชน ยาง ยางหลวง ตะเคียน หิน

Page 18: โดโดย ย - ผศ.ดร.พุทธรักษ์ ปราบนอก · 2009. 11. 16. · ŠŠ ภภาคาคตะวันอตะวันออกอกเเฉียงเฉียงเหนืหนือ

�ปาดิบเขา (Hill Forest, Lower montane Forest เขา พบบนภูเขาสูง 1,000 เมตรขึ้นไป พันธุไมเปนตระ กูลกอ เชน เดือย กอขาว �ปาสนเขา (Coniferous Forest) ในประเทศไทยจะ พบอยูสองชนิด คือ สนสองใบและ สนสามใบ เปน สนนํ้ามัน

Page 19: โดโดย ย - ผศ.ดร.พุทธรักษ์ ปราบนอก · 2009. 11. 16. · ŠŠ ภภาคาคตะวันอตะวันออกอกเเฉียงเฉียงเหนืหนือ

� � ทรัพยากรแรธาตุ ทรัพยากรแรธาตุ  มีแรธาตุนอยที่สุดเมื่อเทียบกับภาคอื่น มีแรธาตุนอยที่สุดเมื่อเทียบกับภาคอื่น ๆ ๆ มีเกลือหิน มีเกลือหิน มากกวาภาคอื่นๆ มากกวาภาคอื่นๆ แรที่พบในภาคตะวันออกเฉียงเหนือไดแก แรที่พบในภาคตะวันออกเฉียงเหนือไดแก � � เหล็ก เหล็ก พบที่จังหวัดเลย พบที่จังหวัดเลย � �  แมงกานีส แมงกานีส พบที่จังหวัดเลย พบที่จังหวัดเลย � �ทองแดง ทองแดง พบที่จังหวัดเลย พบที่จังหวัดเลย และหนองคาย และหนองคาย

Page 20: โดโดย ย - ผศ.ดร.พุทธรักษ์ ปราบนอก · 2009. 11. 16. · ŠŠ ภภาคาคตะวันอตะวันออกอกเเฉียงเฉียงเหนืหนือ

� เกลือหิน พบมากที่สุดที่จังหวัดชัยภูมิ มหาสารคาม รอยเอ็ด อุบลราชธานี และยโสธร � โปแตช พบที่จังหวัดชัยภูมิ นครราชสีมา อุดรธานี �  ยิปซัม พบที่จังหวัดเลย � กาซธรรมชาติพบที่น้ําพอง จังหวัดขอนแกน

Page 21: โดโดย ย - ผศ.ดร.พุทธรักษ์ ปราบนอก · 2009. 11. 16. · ŠŠ ภภาคาคตะวันอตะวันออกอกเเฉียงเฉียงเหนืหนือ

� เศรษฐกิจท่ีสําคัญของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ไดแก � การเพาะปลูก ทําการเพาะปลูกมากที่สุด ผลผลิตตอไรตํ่าสุด  เพราะ ดินไมอุดมสมบูรณ เชน การปลูกขาว  พืชไรที่สําคัญ ไดแก มัน สําปะหลัง ออย ขาวโพด � การเลี้ยงสัตว มีเลี้ยงสัตวมากที่สุดในประเทศ  เชน  โค กระบือ เพราะ มีอากาศและทุงหญาที่อุดมสมบูรณ

Page 22: โดโดย ย - ผศ.ดร.พุทธรักษ์ ปราบนอก · 2009. 11. 16. · ŠŠ ภภาคาคตะวันอตะวันออกอกเเฉียงเฉียงเหนืหนือ

� อุตสาหกรรม  เปนอุตสาหกรรมที่เกิดจากการแปรรูปผลผลิตทาง การเกษตร  เชน  โรงสี  โรงงานน้ํ าตาล  โรงทอ  ฯลฯ  และยังมี อุตสาหกรรมการทองเที่ยวที่เปนมรดกทางวัฒนธรรม �  เกลือสินเธาว  แหลงผลิตท่ีสําคัญ  คือ  มหาสารคาม  ขอนแกน นครราชสีมา

Page 23: โดโดย ย - ผศ.ดร.พุทธรักษ์ ปราบนอก · 2009. 11. 16. · ŠŠ ภภาคาคตะวันอตะวันออกอกเเฉียงเฉียงเหนืหนือ

�สมัยกอนประวัติศาสตร  (Prehistoric Period) �พบหลักฐานการดํารงชีวิตและการตั้งถิ่นฐานของมนุษย โบราณในภูมิภาคนี้ อยูในชวง ระยะไมเกิน 10,000 ป �พบเพียงเครื่องมือ กะเทาะ ที่มนุษยในยุคนี้  ใชเปนเครื่องมือ ในการลาสัตวและหาของปา กระจายอยูตามที่ ตางๆ ใกล กับ แหลงน้ํา น้ํา และเพิงผา

Page 24: โดโดย ย - ผศ.ดร.พุทธรักษ์ ปราบนอก · 2009. 11. 16. · ŠŠ ภภาคาคตะวันอตะวันออกอกเเฉียงเฉียงเหนืหนือ

�หลักฐานกลุมลาสัตวและเก็บเก่ียวพืชผล � ศิลปะถ้ํา  ปรากฎสวนมากเปนภาพเลียนแบบธรรมชาติ ไดแก ภาพคน สัตว ภาพมือและเทา วัตถุสิ่งของ เชน มีด ลูกศร รวมท้ังภาพ เกี่ยวกับ สังคมเกษตรกรรม � เทคนิคในการทํา 2 วิธี คือ ใชดินเทศ คือ ดินท่ีเกิดจากการสลายตัวของ แร เหล็กมีสีแดงมาบดเปนผงผสมกับของเหลวบางชนิด  และ  การทํา รูปรอยลงใน หิน ดวยการฝน จาร ขูดขีดและแกะตอกลงบนเนื้อหิน � เครื่องมือหิน  หลักฐานทางโบราณคดีท่ีสําคัญของกลุมสังคม ลาสัตว และเก็บเกี่ยว พืชผล ไดแก เครื่องมือหินกะเทาะท่ีทําจากหินกรวดแม น้ํา

Page 25: โดโดย ย - ผศ.ดร.พุทธรักษ์ ปราบนอก · 2009. 11. 16. · ŠŠ ภภาคาคตะวันอตะวันออกอกเเฉียงเฉียงเหนืหนือ

� ชุมชนหมูบานเกษตรกรรม (Village Farming Communities) �  สั ง คม เกษตรกรรมสมั ย ก อนประวัติศาสตร  ดํ า ร ง ชี พด วยการ 

เพาะปลูกขาว และติดตอ แลกเปลี่ยนผลิตผลกับสังคมภายนอก � มีการผลิตงานหัตถกรรมตาง  ๆ  เชน  การทํา  เคร่ืองปนดินเผา การ 

ทอผา และการทําเคร่ืองมือ  เคร่ืองใชจากโลหะ มีการต้ังถิ่นฐานบาน เรือนอยู เปนกลุมอยางถาวร �  ต้ังถ่ินฐานกระจายอยูทั่วไปทั้งในบริเวณแองสกลนครและแอง โคราช

Page 26: โดโดย ย - ผศ.ดร.พุทธรักษ์ ปราบนอก · 2009. 11. 16. · ŠŠ ภภาคาคตะวันอตะวันออกอกเเฉียงเฉียงเหนืหนือ

�  ลักษณะการตั้งถิ่นฐาน �  ตั้งถิ่นฐานของชุมชนเกษตรกรรมสมัยกอนประวัติศาสตรของอีสานเบน 4 กลุม 

โดยพิจารณาจากสภาพภูมิศาสตรการตั้งถิ่นฐาน  รูปแบบทางวัฒนธรรม �  กลุมวัฒนธรรมบานเชียง � ที่ตั้งถิ่นฐานบริเวณแมน้ําสงครามและลําหวย  สาขา ซึ่งมีลําน้ําหลัก 3 สาย ไหลลงสูแมน้ําโขง คือ แมน้ําสงคราม  หวยหลวง และลําน้ําสวย � เปนชุมชนเกษตรกรรมเพาะปลกูขาว  พบโลหะสําริด  รูจักการถลงุเหล็กมาทํา เปนเครื่องมือ ใช  พบภาชนะเขียนสี � กลุมชุมชนที่อยูในบริเวณนี้หลายแหลงไดมีพัฒนาการอยางตอเนื่องเปน 

บานเมืองและเขาสูสมัยวัฒนธรรม คือ  วัฒนธรรมทวาราว ดี  วัฒนธรรม เขมรโบราณและวัฒนธรรม ลานชาง ในเวลาตอมา

Page 27: โดโดย ย - ผศ.ดร.พุทธรักษ์ ปราบนอก · 2009. 11. 16. · ŠŠ ภภาคาคตะวันอตะวันออกอกเเฉียงเฉียงเหนืหนือ

� กลุมแมนํ้าชีตอนบน � กระจายตัวอยูตามที่ราบลุมบันไดขั้นต่ํา  ทางตอนบนของแม นํ้าชี และแองโคราช � พบรองรอยการผลิตโลหะสําริด � เปนชุมชนเกษตรกรรม มีการเพาะปลูกขาว ลาสัตว รวมทั้งมี การเลี้ยงสัตว เชน หมู วัว และสุนัขมีการใชภาชนะดินเผา ลายเชือกทาบ

Page 28: โดโดย ย - ผศ.ดร.พุทธรักษ์ ปราบนอก · 2009. 11. 16. · ŠŠ ภภาคาคตะวันอตะวันออกอกเเฉียงเฉียงเหนืหนือ

� กลุมแมน้ําชีตอนลางและแมน้ํามูลตอนลาง � ตั้งถิ่นฐานอยูตามท่ีราบลุมน้ําทวมถึง  และขยายตัวตามพื้นท่ีราบลุ มในเขตจังหวัดมหาสารคาม  บุรีรัมย  รอยเอ็ด  สุรินทร � ลักษณะเฉพาะคือการทําภาชนะดินเผาเน้ือดินสีขาว � ภาชนะดิน เผาแบบรอยเอ็ดและบางทานเรียกวาแบบทุงกุลารองไห พบรองรอยการฝงศพคร้ังท่ีสองโดยท่ัวไป  ในเขตลุมแมน้ํามูลตอน ลางและชุมชน

Page 29: โดโดย ย - ผศ.ดร.พุทธรักษ์ ปราบนอก · 2009. 11. 16. · ŠŠ ภภาคาคตะวันอตะวันออกอกเเฉียงเฉียงเหนืหนือ

� กลุมชุมชนลุมแมน้ํามูลตอนบน � กระจายอยูบริเวณตนแมน้ํามูลในเขตอําเภอพิมาย อําเภอสูงเนิน  อําเภอ โนนสูง  ไปจนถึงอําเภอชุมพวง  และบางสวนของจังหวัดบุรีรัมย � ลักษณะเฉพาะทางวัฒนธรรมคือการทําภาชนะดินเผาปากแตร  รวมทั้ง รูปแบบพิมายดํา � เปนชุมชนเกษตรกรรม  ปลูกขาวและอาศัยแหลงอาหาร � ตอมามีการถลุงเหล็กและผลิตเกลือ  ทําใหมีการติดตอเสนทางแมน้ําและ ลําหวยหลายสาย � และเปนศูนยกลางการแลกเปลี่ยน

Page 30: โดโดย ย - ผศ.ดร.พุทธรักษ์ ปราบนอก · 2009. 11. 16. · ŠŠ ภภาคาคตะวันอตะวันออกอกเเฉียงเฉียงเหนืหนือ

�สมัยประวัติศาสตร (Historic Period) �  ในชวงตั้งแตประมาณ  2,500-2,000 ปมาแลว  ในชวงระยะนี้ปรากฏ ชุมชนท่ีมีการถลุงเหล็กในระดับอุตสาหกรรม  โดยเฉพาะอยางยิ่งใน บริเวณลุมแมน้ําชี-มูลในแองโคราช � ชุมชนท่ีมีคูน้ํา  คันดินลอมรอบและเปนเนิน � การเขาไปตั้งถิ่นฐานเกิดการติดตอ  แลกเปลี่ยนทําใหเกิดระบบชมุชน ท่ีมีศูนยกลางและมีพัฒนาการเปนบานเมืองในระยะตอมา

Page 31: โดโดย ย - ผศ.ดร.พุทธรักษ์ ปราบนอก · 2009. 11. 16. · ŠŠ ภภาคาคตะวันอตะวันออกอกเเฉียงเฉียงเหนืหนือ

� ราวพุทธศตวรรษ ท่ี 12-13 อิทธิพลวัฒนธรรมจากกลุมภายนอก ไดหล่ังไหลเขามาสูดินแดน � กลุมวัฒนธรรมทวาราวดี  อีกกลุมหนึ่งเปนวัฒนธรรมเขมร โบราณซึ่งใน ขณะนั้นเรียกวาอาณาจกัรเจนละ  และเร่ือยมา จนถึงวัฒนธรรมเขมรโบราณสมัยพระนคร � วัฒนธรรมไท-ลาวหรือวัฒนธรรมลานชางในสมยัตอมา

Page 32: โดโดย ย - ผศ.ดร.พุทธรักษ์ ปราบนอก · 2009. 11. 16. · ŠŠ ภภาคาคตะวันอตะวันออกอกเเฉียงเฉียงเหนืหนือ

�  หลักฐานทางวัฒนธรรม �  วัฒนธรรมเจนละ (Chenla Culture) �  วัฒนธรรมอาณาจักรเจนละหรอืวัฒนธรรมเขมรโบราณสมัยกอนเมืองพระนคร �  ประมาณพุทธศตวรรษที่  11-14  ศูนยกลางอยูท่ีเมืองเศรษฐปุระหรือบริเวณวัด 

ภูนครจัมปาศักดิ์ �  ตอมาภายหลังในชวงประมาณพทุธศตวรรษที่  13-14 �  อาณาจักรเจนละแบงออกเปน  2 สวน คือ �  เจนละบกและเจนละน้ํา เจนละบกอยูทางตอนเหนอืในเขตประเทศลาว และภาค 

อีสานของ ไทยในปจจุบัน  สวนเจนละน้ําอยูทางตอนใตมีอาณาเขตจรดทะเล �  หลักฐานทางโบราณคดีที่สําคัญ คือ จารึกดอนเมืองเตย จารึกอักษรปลลวะ  ทับ 

หลัง ที่ อ.พิบูลมังสาหาร

Page 33: โดโดย ย - ผศ.ดร.พุทธรักษ์ ปราบนอก · 2009. 11. 16. · ŠŠ ภภาคาคตะวันอตะวันออกอกเเฉียงเฉียงเหนืหนือ

� วัฒนธรรมทวาราวดี (Dvaravati Culture) � เชื่อกันวามีศนูยกลางอยูที่ภาคกลางของประเทศไทย มีอายุอยูในราวพทุธศตวรรษที่  11-16 �ศิลปกรรมสมัยทวารวดีเปนศิลปะกรรม เนื่องดวยพุทธ ศาสนาผสมกับวัฒนธรรมดั้งเดิมของ  ชาวอีสานทําให เกิดการสรางเสมาหินตามเนินดิน  เพ่ือเปนพุทธบูชา และกําหนดเขตพิธีกรรมทางพุทธศาสนา

Page 34: โดโดย ย - ผศ.ดร.พุทธรักษ์ ปราบนอก · 2009. 11. 16. · ŠŠ ภภาคาคตะวันอตะวันออกอกเเฉียงเฉียงเหนืหนือ

� วัฒนธรรมเขมรพระนคร(Khmer Culture) � รุงเรืองมากในภาคอีสานระหวางพุทธศตวรรษที่  15-18  ทําให เกิดศาสนสถานในลัทธิพราหมณหลายแหง เชน ปราสาทหินพิมาย ปราสาทหินพนมรุง ปราสาทเมืองต่ํา � จนกระทั่งถึงพระเจาชัยวรมันที่ 7 (พ.ศ.1724-1762) ซ่ึงนับถือพุทธ ศาสนานิกาย มหายานไดขยายอิทธิพลทางวัฒนธรรมพุทธศาสนา มหายานและพราหมณ � เขามายังรัฐตาง ๆ ที่อยูภายใตการปกครอง

Page 35: โดโดย ย - ผศ.ดร.พุทธรักษ์ ปราบนอก · 2009. 11. 16. · ŠŠ ภภาคาคตะวันอตะวันออกอกเเฉียงเฉียงเหนืหนือ

� วัฒนธรรมกลุมไท-ลาวหรือวัฒนธรรมลานชาง � วัฒนธรรมกลุ มไท-ลาวหรือวัฒนธรรมล านชาง ได แพรเขาสูภาค อีสานหลังจากอิทธิพลทางการเมืองและวัฒนธรรมของเขมรไดเสื่อม ลงในราวพุทธศตวรรษท่ี  19  และการแพรหลายของพุทธศาสนาลัทธิ ลังกาวงศ � ในสมัย เ ร่ิมต นของอาณาจักรลานชางเปนปจจัยสําคัญใหวัฒนธรรม ไท-ลาว  เขามาแทนวัฒนธรรมเขมรโบราณสมัยพระนคร �  ชนพื้นเมืองเร่ิมรับวัฒนธรรมไท-ลาว  และกอตัวเปนสังคมเมืองสืบ ทอดวัฒนธรรมหลังจากนั้นจึงไดมีการกระจายอิทธิพลเขาสูดินแดน แองโคราชแมน้ําโขงและแมน้ํามูล ในเขตจังหวัดยโสธรและจังหวัด อุบลราชธานี

Page 36: โดโดย ย - ผศ.ดร.พุทธรักษ์ ปราบนอก · 2009. 11. 16. · ŠŠ ภภาคาคตะวันอตะวันออกอกเเฉียงเฉียงเหนืหนือ

� การขยายตัวของชุมชนหลังพุทธศตวรรษท่ี 19  เกิดกลุมตางๆ กระจายอยู ท่ัวไปในภูมิภาค � กลุมลุมแมน้ําโขง  มีความสัมพันธโดยตรงกับกลุมวัฒนธรรม ลานชาง  มีพัฒนาการและการกอตัวเปนบานเมืองโบราณเชน เวียง จันทน จําปาสัก โคตรบูร � กลุมลุมแมน้ําชี ศูนยกลางอยูในเขตสุวรรณภูมิ  มีการขยายตัวในเขต ตอนกลางของภูมิภาค � กลุมลุมแมน้ํามูล  จากลุมแมน้ํามูล  จนถึงลุมแมน้ํามูลทางตอนลาง ของภูมิภาค

Page 37: โดโดย ย - ผศ.ดร.พุทธรักษ์ ปราบนอก · 2009. 11. 16. · ŠŠ ภภาคาคตะวันอตะวันออกอกเเฉียงเฉียงเหนืหนือ

�  กลุมชาติพนัธุจําแนกตามตระกูลภาษาไ ด 2 ตระกูล คือ �  กลุมไต-กะได ที่ประกอบดวยกลุมวฒันธรรม �  ไท-ลาว ไทโคราช กลุมชนไต-กะไดเปนกลุมชนหลักในภูมภิาค �  และกลุมออสโตรเอเชยีตคิ สาขามอญ-เขมร ทีป่ระกอบดวยกลุมเขมรถิน่ 

ไทย กูย �  สาขามอญเขมรกระจายอยูทัว่ไปในภมูภิาค � มีการผสมผสานทางวฒันธรรม  และพฒันาการทางสังคตอเน่ือง ทําใหกลุ 

มชนตาง ๆ สรางสรรคอารยธรรมจนกลายเปนวัฒนธรรมของภมูภิาค

Page 38: โดโดย ย - ผศ.ดร.พุทธรักษ์ ปราบนอก · 2009. 11. 16. · ŠŠ ภภาคาคตะวันอตะวันออกอกเเฉียงเฉียงเหนืหนือ

�  กลุมตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติค(สาขามอญ-เขมร) �  เขมรถิ่นไทย � �  เป เปนกลุ นกลุมชา มชาติพันธุ ติพันธุตระกูลภาษา ตระกูลภาษาออสโตร ออสโตรเอเชีย เอเชียติค ติคสาขามอญ สาขามอญ- -เขมร เขมร ที่ ที่ 

เรียก เรียก  ตน ตนเองว เองวา า  " "คแมร คแมร- -ลือ ลือ" " � �  ภูมิลําเนา ภูมิลําเนากระจายทั่วไปในเขตจังหวัดสุรินท กระจายทั่วไปในเขตจังหวัดสุรินท ร ร  ศรีสะ ศรีสะเกษ เกษและบาง และบาง 

อําเภอ อําเภอในจังหวัดบุรี ในจังหวัดบุรีรัมย รัมย  เช เชน น  อําเภอ อําเภอประโคนชยั ประโคนชยั  อําเภอสตึก อําเภอสตึก  อําเภอ อําเภอ กะสัง กะสัง  และ และอําเภอ อําเภอสวุรรณภมูิ สวุรรณภมูิ  ใน ในจังหวัดร จังหวัดรอย อยเอ็ด เอ็ด � �  ผู ผู ชายมทีั้งนุ ชายมทีั้งนุงโสร งโสรง ง  โจงกระเบน โจงกระเบน และกางเกงขาจกกบ และกางเกงขาจกกบ สวม สวม  เสื้อคอกลม เสื้อคอกลม ผ ผาอก าอก มีผ มีผา าขาวม ขาวมา า � �  ผู ผู หญิงจะนุ หญิงจะนุงซิ่นไหมและฝ งซิ่นไหมและฝาย าย  เรียกว เรียกวา า  " "ซัมป ซัมปอด อด" "  ใส ใสเสื้อแขนกระบอก เสื้อแขนกระบอก 

คอ คอกลมผ กลมผาอก าอกติดกระดุม ติดกระดุม  พาดผ พาดผาสไบ าสไบ

Page 39: โดโดย ย - ผศ.ดร.พุทธรักษ์ ปราบนอก · 2009. 11. 16. · ŠŠ ภภาคาคตะวันอตะวันออกอกเเฉียงเฉียงเหนืหนือ

� กูย � ชาวกูยหรือกวยวา "สวย" ซึ่งเปนชาติพันธุในกลุมตระกูลภาษา ออสโตร-เอเชียติค  สาขามอญ-เขมร  ชาวกูยมีความสามารถใน การคลองชาง � เลี้ยงชางและฝกชางเพื่อใชงาน จึงมีพิธีกรรมและความเชื่อหลา ยอยางท่ีเกี่ยวกับชาง � ปจจุบันชาวกูยตั้งถิ่นฐานอยูในเขต สุรินทร ศรีสะเกษ บางอําเภอ ในจังหวัดบุรีรัมย เชน อําเภอสตึก อําเภอกะสัง อําเภอหนองก ใน เขตบานสะเดาหวาน อําเภอพยัคฆภูมิพิสัย จังหวัดมหาสารคาม และบางสวนในเขตอําเภอเดชอุดม จังหวัดอุบลราชธานี

Page 40: โดโดย ย - ผศ.ดร.พุทธรักษ์ ปราบนอก · 2009. 11. 16. · ŠŠ ภภาคาคตะวันอตะวันออกอกเเฉียงเฉียงเหนืหนือ

�ชาวกูยนิยมนุงโสรงหางกระรอกหรือนุงโจงกระเบน คลองผาสไบพาด "ถุงไถ" ซึ่งทําดวยผาขดิสําหรับใส เครื่องรางเวลาเขาปา �สวนผูหญิงชาวกูย  นิยมนุมผาซิ่นมทีั้งทอเปนลายขิ ดคลายไทลาวหรือตีนซิ่นลายผามดัหมี่ คลายชาวเขมร ถิ่นไทยสวมเส้ือคอกระเชา

Page 41: โดโดย ย - ผศ.ดร.พุทธรักษ์ ปราบนอก · 2009. 11. 16. · ŠŠ ภภาคาคตะวันอตะวันออกอกเเฉียงเฉียงเหนืหนือ

� กลุมชาติพันธุโซ, กะโส � สันนิษฐานวาชาวโซไดตั้งถิ่นฐานบริเวณเมืองแถน แลวยายมาเมือง มหาชังกองแกว เมืองบก เมืองวัว กอนท่ีจะเขามาตั้งถิ่นฐานถาวรใน ภาคอีสาน ปจจุบันชาวโซนับถือศาสนาพุทธพรอมทั้งนับถือผี � ชาวโซมีการแตงกายเชนเดียวกับชาวไทอีสานโดยท่ัวไป � แต ในอดีตผู ชายนิยมนุมผ า เตี่ ยว  ส วนชาวโซท่ีไดรํ่าเรียนวิชาอาคม ไสยศาสตรมักมีลูกประคําคลองคอ � นิยมสักขาลายจากเหนือหัวเขาขึ้นไปถึงขาออน �  สวนผูหญิงนิยมใสเสื้อแขนกระบอกสีดําขลิบแดง

Page 42: โดโดย ย - ผศ.ดร.พุทธรักษ์ ปราบนอก · 2009. 11. 16. · ŠŠ ภภาคาคตะวันอตะวันออกอกเเฉียงเฉียงเหนืหนือ

�บรู � ชาวบลู หรือ บ รู อาศัยอยูตามปาเขาแนวริมฝงแมน้ําโขงทั้งในลาว และไทย � ต้ังแต พ.ศ.2436 อพยพขาแมน้ําโขงมาอยูแนวริมฝงโขงทางฝงไทย เชน  ที่บานเวินบึก  บานทาลงและบานหินคก � อําเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี ชาวบรูเชื่อในการนับถือวิญญาณ มากเห็นไดจากประเพณีเลี้ยงผีบาน

Page 43: โดโดย ย - ผศ.ดร.พุทธรักษ์ ปราบนอก · 2009. 11. 16. · ŠŠ ภภาคาคตะวันอตะวันออกอกเเฉียงเฉียงเหนืหนือ

� ญัฮกูรหรือชาวบน � ตั้งถิ่นฐานตามไหลเขาหรือเนินเขาเตี้ย  ๆ  ในเขตจังหวัดชัยภูมิ นครราชสีมา  และเพชรบูรณ แตเดิม � ชาวบนอยูแตเฉพาะในกลุมของตนไมชอบคบคากับชนกลุมอื่น � นับถือพุทธศาสนาควบคูกับการนับถือผี � ผูชายชาวบนมักนุงกางเกง  แบบไทย  หรือไมก็โจงกระเบนแบบ เขมร ไมสวมเสื้อ �  ผูหญิงนิยมนุงผา  ผืนสีสด  เชน  สีแดง  แดงเขม  หรือน้ําเงินเขม เปนผาสี่เหลี่ยมผืนผา พันออมรางแลวทําเปนหัวพกโต ๆ เหน็บชายไว ดานขาง

Page 44: โดโดย ย - ผศ.ดร.พุทธรักษ์ ปราบนอก · 2009. 11. 16. · ŠŠ ภภาคาคตะวันอตะวันออกอกเเฉียงเฉียงเหนืหนือ

� กลุมตระกูลภาษาไต-กะได(สาขาไต) � ไทโคราช � ตั้งถิ่นฐานในเขตจังหวัดนครราชสีมาตั้งแตสมัยกอนประวัติศาสตร � สมัยทวารวดีจนถึงสมัยอยุธยาและรัตนโกสินทรไดรับอิทธิพล วัฒนธรรมไทยภาคกลางเปนสําคัญ � และยังไดรับวัฒนธรรมเขมรและวัฒนธรรมไทยลาวเขามาผสมผสาน อีกดวยทําใหกลุมชาติพันธุ

Page 45: โดโดย ย - ผศ.ดร.พุทธรักษ์ ปราบนอก · 2009. 11. 16. · ŠŠ ภภาคาคตะวันอตะวันออกอกเเฉียงเฉียงเหนืหนือ

�  ไทโคราชมีเอกลักษณเฉพาะ  ท้ัง ภาษาพูด  อาหาร  รวมท้ังการละเลน โดยเฉพาะเพลงโคราช � ชาวไทโคราชนิยมแตงกายแบบไทยภาคกลาง คือ ชายนุงโจงกระเบน สวม � เสื้อคอกลม  ไมผาอก  หญิงนิยมนุมผาโจงกระเบนเชนเดียวกัน � ไมนิยมนุงผาซิ่น  สวมเสื้อแขน กระบอก  หมสไบทับเสื้อถาอยู บานมักใชผาคาดอก

Page 46: โดโดย ย - ผศ.ดร.พุทธรักษ์ ปราบนอก · 2009. 11. 16. · ŠŠ ภภาคาคตะวันอตะวันออกอกเเฉียงเฉียงเหนืหนือ

� ไทลาว � ชาวไทยลาว  หรือ  ชาวอีสานจัดอยูในกลุมตระกูลภาษาไต- กะไดเปนชนกลุม � ใหญ และมีวัฒนธรรมสูงกวากลุมอื่น  ๆ  พูดภาษาไทยลาว (ภาษาอีสาน)  มีตัวอักษรไทยนอยและอักษรตัวธรรม � เปนกลุมผูนําทางวัฒนธรรมอีสาน ภูมิปญญาสังคม � เชน ฮีตคอง ตํานานอักษรศาสตร

Page 47: โดโดย ย - ผศ.ดร.พุทธรักษ์ ปราบนอก · 2009. 11. 16. · ŠŠ ภภาคาคตะวันอตะวันออกอกเเฉียงเฉียงเหนืหนือ

� เมื่ออยูกับบาน ผูชายจะนุงโสรงพาดผาขาวมาคลองคอและไม สวมเสื้อ � เมื่อออกไปนอกบานจะนุงกางเกงขากวย สวมเสื้อแขนสั้น คาดผาขาวมาตาตาราง �สวนผูหญิงจะนุงซิ่นมัดหมี่ไหมหรือฝาย ใสเสื้อกระบอก แขน ยาวและนิยมหมสไบ

Page 48: โดโดย ย - ผศ.ดร.พุทธรักษ์ ปราบนอก · 2009. 11. 16. · ŠŠ ภภาคาคตะวันอตะวันออกอกเเฉียงเฉียงเหนืหนือ

�ไทโยย � สวนใหญอพยพมาจากเมืองฮอมทาว แขวงจําปาศักดิ์ประเทศลาว  ราว พ.ศ.2373 ไดเขามาตั้งหลักแหลงในเขตอําเภออากาศอํานวย และวานรนิวาส จังหวัดสกลนคร  และพื้นที่ใกลเคียง � มีคติความเชื่อเกี่ยวกับประเพณี  ชาวบานที่เรียกวา ฮีตสิบสอง � ซึ่งเปนหลักของประเพณีทั่วไปในถิ่นอีสาน (ไท-ลาว) � นอกจากนี้ยังมีความเชื่อเกี่ยวกับเร่ืองผีบาน  (ผีเฮือน) � วัฒนธรรมการแตงกายโดยทั่วไปของชาวไทโยยกลมกลืนกับชาวไท ลาวเนื่องจากมีความสัมพันธกันและใชผาฝายยอมสีคราม

Page 49: โดโดย ย - ผศ.ดร.พุทธรักษ์ ปราบนอก · 2009. 11. 16. · ŠŠ ภภาคาคตะวันอตะวันออกอกเเฉียงเฉียงเหนืหนือ

� ไทยอ � อาศัยอยูในตัวเมืองจังหวัดสกลนครและนครพนม พูดคลายกับชาว พื้นเมือง (ชาวไท-อีสานท่ัวไป) แตบางคําออกเสียงแปรง  มีผิวสี เหลืองขาวมากกวาผิวดํา � ชายมีฐานะ ดี นิยมเครื่องตกแตงท่ีสงมาจากญวนใชผาฝายและไหม ตัดเสื้อ คลายเสื้อญวน เปนเสื้อผาอก แขนยาวและกวาง นุงผาโจงกระเบน � สวนชายฐานธรรมดานิยมใส เสื้อทอดวยผาสีดําเรียกวา "เสื้อปก" คลายเสื้อใสทํานา นุงโจงกระเบน � ผูหญิงนิยมนุมซิ่นหมี่ มีเชิงแบบ "ตันเตาะ"  ของชาวผูไทแตแถบ เล็กกวา  ไมนิยมสีครามเขม

Page 50: โดโดย ย - ผศ.ดร.พุทธรักษ์ ปราบนอก · 2009. 11. 16. · ŠŠ ภภาคาคตะวันอตะวันออกอกเเฉียงเฉียงเหนืหนือ

� ไทพวน � เปนชาวเชียงของอพยพเขามาตัง้หลักแหลงท้ังภาคกลางและ ภาคอีสานของไทย � เปนกลุมท่ีมีรูปรางหนาตาหมดจด  กิริยาละเมียดละไม  ขยัน ทํางาน �มีภาษาพูด  วัฒนธรรม และประเพณีเปนของตนเอง � ชาวไทพวนนับถือศาสนาพุทธ

Page 51: โดโดย ย - ผศ.ดร.พุทธรักษ์ ปราบนอก · 2009. 11. 16. · ŠŠ ภภาคาคตะวันอตะวันออกอกเเฉียงเฉียงเหนืหนือ

� กลุมชาติพันธุ  ผูไท � ในปจจุบันตั้งบานเรือนอยูเปนกลุมปะปนอยูกับกลุมชาติพันธุลาว ในเขตจังหวัดนครพนม กาฬสินธุ มุกดาหาร สกลนคร และบาง สวนของจังหวัดอุบลราชธานี อุดรธานี บานปาหนาดจังหวัดเลย � ผูชายนิยมนุงกางเกงขาสั้นครึ่งนอง (ขากวย) สีดําหรือโสรงตา หมากรุกเสื้อ ใชตาสีดําเดียวกับกางเกงคอกลมแคบชิดคอ � ผูหญิงนิยมนุงผาถุงที่ทําจากผาฝาย  ยอมใบครามหรือมะเกลือสี ดําลวน  เย็บตอดวยเชิงเปนร้ิวตามยาว สวมเสื้อแขนยาว ทรงกระบอก คอตั้ง

Page 52: โดโดย ย - ผศ.ดร.พุทธรักษ์ ปราบนอก · 2009. 11. 16. · ŠŠ ภภาคาคตะวันอตะวันออกอกเเฉียงเฉียงเหนืหนือ

�ไทแสก � ถิ่นฐานเดิมอยูท่ีเมืองแสก เขตเมืองประคํา  ประเทศลาว  ติดกับ ชายแดนเวียดนามอพยพ  ขามแมน้ําโขงเขามาตั้งถิ่นฐานในประเทศ ไทยโดยเฉพาะท่ีบานอาจสามารถ  จังหวัดนครพนมและจังหวัดใกล เคียง � นับถือศาสนาพุทธและมีความเชื่อในเร่ืองภูตผีวิญญาณ มีประเพณี � การเลน "แสกตนสาก" เพื่อบวงสรวงวิญญาณพระเจาองคหมู � นอกจากนี้ยังมีประเพณีท่ียึดหลักฮีตสิบสอง

Page 53: โดโดย ย - ผศ.ดร.พุทธรักษ์ ปราบนอก · 2009. 11. 16. · ŠŠ ภภาคาคตะวันอตะวันออกอกเเฉียงเฉียงเหนืหนือ

� ชายชาวเสกนิยมนุงกางเกง สวมเสื้อแขนสั้น เปนผาฝายยอม ครามสีดํา มีผาโพกหัวกันแดด �สวนผูหญิงสวนใหญนุงผาซ่ิน  ใสเสื้อ  ผาฝาย  ยอมคราม  สี คราม  สีขาว  สีดํา  แขนยาว ทรงกระบอก � ในปจจุบันการแตงกายของชาวไทแสกคลายชาวไทอีสาน ทั่วไป