การมีส วนร วมในการป...

97
การมีสวนรวมในการปองกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการชุมชน ในพื้นที่สถานีตํารวจนครบาลบางเขน โดย พันตํารวจโท อรรถพงษ จันทนะสร สารนิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยเกริก พ.ศ. 2557

Upload: others

Post on 17-Jul-2020

5 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: การมีส วนร วมในการป องกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Artapong_Chantanasorn

การมีสวนรวมในการปองกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการชุมชนในพื้นที่สถานีตํารวจนครบาลบางเขน

โดย

พันตํารวจโท อรรถพงษ จันทนะสร

สารนิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตคณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยเกริก

พ.ศ. 2557

Page 2: การมีส วนร วมในการป องกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Artapong_Chantanasorn

Participation in Preventing and Combating Drug TraffickingCommunity Board's Area Bang Khen Police Station

By

Police Lieutenant Colonel Artapong Chantanasorn

A Study Report Submitted in Partial Fulfillment of theRequirements for the Master of Public Administration

Faculty of Liberal ArtsKrirk University

2014

Page 3: การมีส วนร วมในการป องกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Artapong_Chantanasorn

(1)

หัวขอสารนิพนธ การมีสวนรวมในการปองกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการชุมชนในพื้นที่สถานีตํารวจนครบาลบางเขน

ชื่อผูศึกษา พันตํารวจโท อรรถพงษ จันทนะสรหลักสูตร/ คณะ/ มหาวิทยาลัย รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต/ ศิลปศาสตร/ มหาวิทยาลัยเกริกอาจารยที่ปรึกษาสารนิพนธ ผูชวยศาสตราจารย ดร. อนันต บุญสนองปการศึกษา 2556

บทคัดยอ

การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาระดับการมีสวนรวมในการปองกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการชุมชน ศึกษาปจจัยเกื้อหนุนในการปองกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการชุมชนชุมชน และเพื่อศึกษาสหสัมพันธระหวางปจจัยเกื้อหนุนกับการมีสวนรวมในการปองกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการชุมชนชุมชนในพื้นที่สถานีตํารวจนครบาลบางเขน ประชากรในการศึกษาครั้งนี้ ไดแก คณะกรรมการชุมชนในเขตพื้นที่รับผิดชอบของสถานีตํารวจนครบาลบางเขน จํานวน 92 ชุมชน กําหนดเปนกลุมตัวอยางจํานวน 250 คน โดยมีแบบสอบถามเปนเครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูล การวิเคราะหขอมูลสถิติเชิงพรรณนา คาแจกแจงความถี่ คาเฉลี่ย และคาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และใชสถิติเชิงอนุมาน เพื่อทดสอบสมมติฐานโดยการวิเคราะหสัมประสิทธิ์สหสัมพันธของเพียรสัน

ผลการศึกษา การมีสวนรวมในการปองกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการชุมชนในพื้นที่สถานีตํารวจนครบาลบางเขน ในภาพรวมอยูในระดับคอนขางสูง เรียงตามลําดับดังนี้ ดานการมีสวนรวมในการเฝาระวังและปองกันยาเสพติดในชุมชน ดานการมีสวนรวมในการปราบปรามยาเสพติดในชุมชน และดานการมีสวนรวมในการเผยแพรความรูใหกับชุมชน สวนปจจัยเกื้อหนุนในการปองกันและปราบปรามยาเสพติด พบวา ภาพรวมอยูในระดับคอนขางสูง เรียงตามลําดับดังนี้ ดานการสนับสนุนจากภาครัฐ ดานความรูความเขาใจเกี่ยวกับยาเสพติด และดานประสบการณในการเปนผูนํา

ผลการทดสอบสมมติฐาน พบวา ปจจัยเกื้อหนุนดานประสบการณการเปนผูนํา ดานความรูความเขาใจเกี่ยวกับยาเสพติด และดานการสนับสนุนจากภาครัฐมีสหสัมพันธเชิงบวกกับการมีสวนรวมในการปองกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการชุมชนในระดับสูงมาก อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01

Page 4: การมีส วนร วมในการป องกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Artapong_Chantanasorn

(2)

กิตติกรรมประกาศ

สารนิพนธ เรื่ อง การมีส วนรวมในการปองกันและปราบปรามยา เสพติดของคณะกรรมการชุมชนในพื้นที่สถานีตํารวจนครบาลบางเขนสําเร็จลุลวงไปไดดวยความกรุณาชวยเหลือ และความรวมมือจากบุคคลหลายทาน ทานแรกที่ผูศึกษาขอกราบขอบพระคุณเปนอยางสูงในความกรุณา คือ ผูชวยศาสตราจารย ดร. อนันต บุญสนอง อาจารยที่ปรึกษาสารนิพนธ ที่กรุณาถายทอดความรู ประสิทธิ์ประสาทวิชาและใหคําปรึกษา แนะนํา ตลอดจนใหความเมตตาชวยเหลือ ปรับปรุงแกไขขอบกพรองตางๆ ในการทําสารนิพนธจนเสร็จสมบูรณ ผูศึกษารูสึกซาบซึ้งในความกรุณาเปนอยางยิ่งและขอจดจําคําแนะนํา คําสั่งสอนอันมีคาเพื่อนําไปใชในชีวิตในอนาคตตอไป

ขอขอบพระคุณ คณะกรรมการชุมชนในพื้นที่สถานีตํารวจนครบาลบางเขนทุกทานที่ไดใหความรวมมือในการกรอกแบบสอบถาม และอํานวยความสะดวกในการไปเก็บรวบรวมแบบสอบถามเปนอยางดี

ขอกราบขอบพระคุณบิดาและมารดาของผูศึกษาซึ่งไดใหกําเนิด ใหการอุปการะเลี้ยงดู ผูศึกษา โดยใหคําสั่งสอนแนวคิดและการปฏิบัติตัวทําใหผูศึกษามีวันนี้ รวมถึงหลายๆ กําลังใจจากครอบครัว พี่นองพองเพื่อน ๆ รวมรุน 28 ทุกทานที่เปนกําลังใจอยางยิ่ง ทําใหสารนิพนธฉบับนี้สําเร็จลุลวงลงไดดวยดี

ขอขอบพระคุณ มหาวิทยาลัยเกริก ซึ่งเปนสถาบันการศึกษาที่เปดโอกาสการสอนหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (ภาคพิเศษ) ทําใหผูศึกษาไดเขามาศึกษาจนสําเร็จในวันนี้

คุณคาและประโยชนจากการศึกษาฉบับนี้ ผูศึกษาขอมอบเปนเครื่องบูชาพระคุณบิดาและมารดาที่เคารพบูชายิ่ง ตลอดจนคณาจารยที่ประสิทธิ์ประสาทวิชาและผูมีพระคุณทุกทาน

อรรถพงษ จันทนะสร มหาวิทยาลัยเกริก

พ.ศ. 2557

Page 5: การมีส วนร วมในการป องกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Artapong_Chantanasorn

(3)

สารบัญ

หนา

บทคัดยอ (1)กิตติกรรมประกาศ (2)สารบัญตาราง (5)สารบัญแผนภาพ (6) บทที่ 1 บทนํา 1

1.1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา 11.2 วัตถุประสงคของการศึกษา 31.3 ขอบเขตของการศึกษา 41.4 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 51.5 นิยามศัพทที่เกี่ยวของ 5

บทที่ 2 วรรณกรรมที่เกี่ยวของ กรอบแนวคิด และสมมติฐานในการศึกษา 72.1 แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการมีสวนรวม 72.2 แนวคิดเกี่ยวกับยาเสพติดใหโทษ 242.3 แนวคิดเกี่ยวกับชุมชนและระเบียบกรุงเทพมหานครวาดวยชุมชนและกรรมการ 27

ชุมชน พ.ศ. 25552.4 ผลงานวิจัยที่เกี่ยวของ 322.5 กรอบแนวคิดในการศึกษา 352.6 สมมติฐานในการศึกษา 362.7 นิยามศัพทเชิงปฏิบัติการ 36

บทที่ 3 วิธีการศึกษา 383.1 รูปแบบการศึกษา 383.2 ประชากรและกลุมตัวอยางในการศึกษา 38

Page 6: การมีส วนร วมในการป องกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Artapong_Chantanasorn

(4)

สารบัญ (ตอ)หนา

3.3 วิธีการสุมตัวอยาง 393.4 เครื่องมือที่ใชในการศึกษา 433.5 การเก็บรวบรวมขอมูล 483.6 การวิเคราะหขอมูล 483.7 สถิติที่ใชวิเคราะหขอมูล 49

บทที่ 4 ผลการวิเคราะหขอมูล 504.1 การวิเคราะหขอมูลพื้นฐานทั่วไป 50

4.2 การวิเคราะหขอมูลปจจัยเกื้อหนุนในการปองกันและปราบปรามยาเสพติด 53 ของคณะกรรมการชุมชน

4.3 การวิเคราะหขอมูลการมีสวนรวมในการปองกันและปราบปรามยาเสพติด 57 ของคณะกรรมการชุมชน4.4 การทดสอบสมมติฐาน 62

บทที่ 5 สรุป อภิปรายผล และขอเสนอแนะ 675.1 สรุปผล 675.2 อภิปรายผล 695.3 ขอเสนอแนะจากผลการศึกษา 755.4 ขอเสนอแนะในการศึกษาครั้งตอไป 77

บรรณานุกรม 78

ภาคผนวก 84แบบสอบถาม 85

ประวัติผูศึกษา 89

(4)

Page 7: การมีส วนร วมในการป องกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Artapong_Chantanasorn

(5)

สารบัญตาราง

ตารางที่ หนา

1 แสดงจํานวนกลุมตัวอยางที่แจกแบบสอบถาม 392 แสดงจํานวนและรอยละของขอมูลพื้นฐานทั่วไปของคณะกรรมการชุมชน 513 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของปจจัยเกื้อหนุน 534 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของปจจัยเกื้อหนุน 54

ดานประสบการณในการเปนผูนํา5 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของปจจัยเกื้อหนุน 55

ดานความรูความเขาใจเกี่ยวกับยาเสพติด6 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของปจจัยเกื้อหนุน 56

ดานการสนับสนุนจากภาครัฐ7 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานการมีสวนรวมในการปองกันและ 57

ปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการชุมชนในพื้นที่สถานีตํารวจนครบาลบางเขน

8 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานการมีสวนรวมในการปองกันและ 58 ปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการชุมชนในพื้นที่สถานีตํารวจนครบาล

บางเขน ดานการมีสวนรวมในการเผยแพรความรูใหกับชุมชน9 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานการมีสวนรวมในการปองกันและ 59

ปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการชุมชนในพื้นที่สถานีตํารวจนครบาลบางเขน ดานการมีสวนรวมในการเฝาระวังและปองกันยาเสพติดในชุมชน

10 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานการมีสวนรวมในการปองกันและ 61 ปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการชุมชนในพื้นที่สถานีตํารวจนครบาล

บางเขน ดานการมีสวนรวมในการปราบปรามยาเสพติดในชุมชน11 แสดงสหสัมพันธระหวางปจจัยเกื้อหนุนกับการมีสวนรวมในการปองกันและ 62

ปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการชุมชนชุมชนในพื้นที่สถานีตํารวจนครบาลบางเขน

12 สรุปผลการทดสอบสมมติฐาน 66

Page 8: การมีส วนร วมในการป องกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Artapong_Chantanasorn

(6)

สารบัญแผนภาพ

แผนภาพที่ หนา

1 องคประกอบในการพิจารณาศักยภาพขององคกรชาวบาน 302 แสดงความสัมพันธระหวางตัวแปรปจจัยเกื้อหนุนกับตัวแปรการมีสวนรวมของ 35

คณะกรรมการชุมชนที่มีผลตอการปองกันและปราบปรามยาเสพติด

Page 9: การมีส วนร วมในการป องกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Artapong_Chantanasorn

1

บทที่ 1บทนํา

1.1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหาพระราชดํารัสพระบาทสมเด็จพระนางเจาฯ พระบรมราชินีนาถ พระราชทาน แกคณะ

บุคคลที่เขาเฝาฯ ถวายพระพรชัยมงคล เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา 12 สิงหาคม 2554 ณ ศาลาดุสิดาลัย พระตําหนักจิตรลดารโหฐาน เมื่อวันที่ 11 สิงหาคม 2554 เกี่ยวกับยาเสพติดโดยทรงหวงใยปญหายาเสพติดของชาติ ซึ่งนําไปสูการกําหนดนโยบายการบริหารราชการแผนดิน ในรัฐบาลของนางสาวยิ่งลักษณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี โดยไดแถลงนโยบายของรัฐบาลตอรัฐสภา เมื่อวันที่ 23-25 สิงหาคม 2554 ในดานของยาเสพติด ซึ่งมีการบรรจุไวในนโยบายของรัฐบาล ใหแกไขและการปองกันปญหายาเสพติดเปนวาระแหงชาติที่จะตองดําเนินการแกไขปญหาอยางจริงจัง และนอมนํากระแสพระราชดํารัสของสมเด็จพระนางเจาฯพระบรมราชินีนาถในเรื่อง ยาเสพติดมาปฏิบัติใหสําเร็จลุลวง โดยใชยุทธศาสตรพลังแผนดินเอาชนะยาเสพติด เปนยุทธศาสตรหลัก กําหนดกลยุทธสําคัญที่จะดําเนินการ คือ 7 แผน 4 ปรับ 3 หลัก 6 เรง เพื่อใหเปนสิ่งที่ทุกหนวยงานที่เกี่ยวของยึดเปนหลักในการขับเคลื่อนงานยาเสพติด ซึ่งตามยุทธศาสตรหลักของรัฐบาลในการแกไขและปองกันปญหายาเสพติดนั้น ชุมชนถือเปนโครงสรางพื้นฐานที่สําคัญของประเทศ การที่จะทําใหชุมชนเข็มแข็ง แกปญหาการแพรระบาดยาเสพติดในชุมชนอยางยั่งยืนไดนั้นจะตองอาศัยคณะกรรมการชุมชนเขาไปมีสวนรวมในการปองกันและปราบปรามยาเสพติด ในการประสานงานกับเจาหนาที่ของรัฐ และหนวยงานตางๆ ที่เกี่ยวของและหนาที่ปองกันและปราบปรามยาเสพติดในการดําเนินโครงการตางๆ รวมทั้งประชาชนภายในชุมชนมีความเคารพนับถือและ เชื่อฟงคณะกรรมการชุมชน ซึ่งถือวาเปนผูนํา และเปนตัวแทนของประชาชนภายในชุมชนเพราะเปนผูที่มาจากการเลือกของประชาชนที่พักอาศัยภายในชุมชน หากมีคณะกรรมการชุมชนที่รับรูถึงสภาพปญหาของยาเสพติด ตระหนักถึงพิษภัยรูสึกรับผิดชอบตอการปองกันและแกไขปญหา ยาเสพติด ทําใหการมีสวนรวมของคณะกรรมการชุมชนในการปองกันและปราบปรามปญหา ยาเสพติดเปนสิ่งที่สําคัญอยางยิ่ง โดยเฉพาะในพื้นที่กรุงเทพมหานครซึ่งเปนเมืองหลวงของประเทศไทย เปนเมืองที่มีประชากรอาศัยอยูจํ านวนมากมีแหลงชุมชนมากมาย ลักษณะพื้นที่ของกรุงเทพมหานครซึ่งเปนเมืองใหญซึ่งมีชุมชนมากมายลักษณะทางภูมิศาสตรที่เชื่อมตอหลายจังหวัดเหมาะแกการนํายาเสพติดมาพักเพื่อสงออกตอไป

Page 10: การมีส วนร วมในการป องกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Artapong_Chantanasorn

2

การคาขายยาเสพติดในพื้นที่กรุงเทพมหานคร พบวา มีผูคารายใหญรายยอยและผูติด ยาเสพติดเปนจํานวนมาก ทําใหเปนเมืองที่มียาเสพติดแพรระบาดมากที่สุดในประเทศไทย สํานักงานตํารวจแหงชาติเปนหนวยงานหลักหนวยงานหนึ่งในการปองกันและปราบปราม ยาเสพติด ซึ่งสถานีตํารวจนครบาลบางเขนเปนสถานีตํารวจในสังกัดสํานักงานตํารวจแหงชาติที่ตั้งอยูในกรุงเทพมหานครและดําเนินการเกี่ยวกับปญหายาเสพติดอยางจริงจัง โดยขอมูลทองถิ่นในเขตพื้นที่รับผิดชอบของสถานีตํารวจนครบาลบางเขนมีรายละเอียดโดยสังเขป ดังนี้

สถานีตํารวจนครบาลบางเขน มีพื้นที่ในความรับผิดชอบ ประมาณ 40 ตารางกิโลเมตร มีประชากรตามทะเบียนราษฎรและประชากรแฝง ประมาณ 530,000 คน สภาพพื้นที่โดยรวมประกอบดวยชุมชนที่จดทะเบียน จํานวน 92 ชุมชน จากการสํารวจสถานภาพและระดับการแพรระบาดยาเสพติดในชุมชน ประจําป งบประมาณ 2555 ของสถานีตํารวจนครบาลบางเขน มีชุมชนแพรระบาด รุนแรง 7 ชุมชน ปานกลาง 17 ชุมชน เฝาระวัง 53 ชุมชน เขมแข็ง 15 ชุมชน สถานีตํารวจนครบาลบางเขนเปนสถานีตํารวจที่จับกุมคดียาเสพติดเปนอันดับหนึ่งของสถานีตํารวจในกรุงเทพมหานคร และมีการจับกุมเปนจํานวนมากอยางตอเนื่อง โดยในปพ.ศ. 2555 จับกุมคดี ยาเสพติดไดจํานวน 2,326 ราย 2,326 คน ในป พ.ศ. 2556 เดือนมกราคมถึงพฤษภาคม จับกุมคดี ยาเสพติดได จํานวน 797 ราย 802 คน ซึ่งนับไดวาปญหาการแพรระบาดของยาเสพติดมีความสําคัญและเปนปญหาที่สรางความเสียหายใหกับเศรษฐกิจและสังคมของประเทศชาติอยางยิ่ง ทําใหเกิดคดีที่ตนเหตุมาจากปญหายาเสพติดเกิดขึ้นมากตามไปดวย เชนคดีเกี่ยวกับการประทุษรายตอทรัพย ผูกอเหตุสวนมากจะเปนพวกที่ติดยาเสพติดตองการหาเงินไปซื้อยาเสพติด

ใน เ ขต พื้ น ที่ ส ถ า นี ตํ า รว จ น ค ร บ าล บ า ง เ ข น มี ก าร จั ดตั้ ง ชุ มช น ตา ม ร ะ เ บี ย บกรุงเทพมหานครวาดวยกรรมการชุมชน พ.ศ. 2534 โดยใหมีกรรมการชุมชนซึ่งมาจากการเลือกตั้งอยางนอยชุมชนละ 7 คน ซึ่งมีหนาที่ ดังนี้ (ระเบียบกรุงเทพมหานครวาดวยชุมชนและกรรมการชุมชน พ.ศ. 2555 ขอ 6)

1. พัฒนาชุมชนโดยการมีสวนรวมของสมาชิกชุมชนทั้งในดายกายภาพ เศรษฐกิจและสังคมและระดมทรัพยากรในชุมชนมาใชใหเกิดประโยชนสูงสุด

2. จัดประชุมในชุมชนหรือเวทีสาธารณะเพื่อพัฒนาชุมชนตาม (1)3. ดูแลรักษาทรัพยสินของชุมชนและสาธารณสมบัติในชุมชน4. ประสานงานและดําเนินงานรวมกับเครือขายองคกร หนวยงานราชการ องคการและ

หนวยงานเอกชนตาง ๆ ที่เกี่ยวของในอันที่จะกอใหเกิดประโยชนแกประชาชนในชุมชน5. เสริมสรางความสามัคคีและการมีวินัยของผูอยูอาศัยในชุมชน6. สงเสริมวัฒนธรรม ศีลธรรม และประเพณีอันดีงาม

Page 11: การมีส วนร วมในการป องกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Artapong_Chantanasorn

3

7. สงเสริมการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข8. เผยแพรผลงาน ติดตามประเมินผลและรายงานตอสมาชิกชุมชน เชน การจัดทําปาย

ประชาสัมพันธ การเผยแพรขาวสารตาง ๆ ทางเครื่องขยายเสียง9. ประสานงานแจงการปฏิบัติงานของหนวยงานและองคกรตาง ๆ ที่เขาไปปฏิบัติงานใน

ชุมชนตอผูอํานวยการเขต10. มีอํานาจแตงตั้งผูมีความรูความเหมาะสมเปนที่ปรึกษาหรือคณะทํางานในฝายตาง ๆการดําเนินการปองกันและปราบปรามยาเสพติดในชุมชนเขตพื้นที่สถานีตํารวจนครบาล

บางเขนใหบรรเทาลง จึงจําเปนตองอาศัยความรวมมือจากคณะกรรมการชุมชน ซึ่งเปนผูที่สามารถมีบทบาทในการแกไขและปองกันปญหายาเสพติดใหหมดสิ้นไป การที่เจาหนาที่ของหนวยงานภาครัฐไดระดมสรรพกําลังเขามาแกไขปญหาการแพรระบาดของยาเสพติดมากเพียงไร ก็ไมสามารถที่จะทําใหปญหายาเสพติดหมดสิ้นไปได หากไมไดรับความรวมมือจากภาคประชาชน โดยเฉพาะการตอบสนองของคณะกรรมการชุมชนตอการปฏิบัติตามแนวนโยบายของภาครัฐในการแกไขปญหาการแพรระบาดของยาเสพติด เนื่องจากเปนผูที่มีความใกลชิดกับชาวบานหรือประชาชนในชุมชนนั้น ๆ และเปนตัวแทนของประชาชนในทองถิ่น ซึ่งเปนผูเชื่อมประสานและแสวงหาความรวมมือระหวางหนวยงานภาครัฐกับประชาชนในการดําเนินการแกไขปญหาการแพรระบาดของยาเสพติดใหโทษในพื้นที่อยางมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลอยางเต็มที่

ดังนั้นผูศึกษาจึงมีความสนใจศึกษา การมีสวนรวมในการปองกันและปราบปราม ยาเสพติดของคณะกรรมการชุมชน และการมีสวนรวมของผูนําชุนชนในการปองกันและปราบปรามยาเสพติดในชุมชนวาคณะกรรมการชุมชนมีสวนรวมอยูในระดับใด เพื่อจะนําขอมูลที่ไดไปใชเปนแนวทางในการสงเสริมการมีสวนรวม การวางแผน และนําไปประยุกตใชตอการดําเนินงานในการปองกันและปราบปรามยาเสพติดใหโทษในชุมชนตอไป

1.2 วัตถุประสงคของการศึกษา1.2.1 เพื่อศึกษาระดับการมีสวนรวมในการปองกันและปราบปรามยาเสพติดของ

คณะกรรมการชุมชนในพื้นที่สถานีตํารวจนครบาลบางเขน1.2.2 เพื่อศึกษาปจจัยเกื้อหนุนในการปองกันและปราบปรามยาเสพติดของ

คณะกรรมการชุมชนชุมชนในพื้นที่สถานีตํารวจนครบาลบางเขน1.2.3 เพื่อศึกษาสหสัมพันธระหวางปจจัยเกื้อหนุนกับการมีสวนรวมในการปองกันและ

ปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการชุมชนชุมชนในพื้นที่สถานีตํารวจนครบาลบางเขน

Page 12: การมีส วนร วมในการป องกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Artapong_Chantanasorn

4

1.3 ขอบเขตของการศึกษาการศึกษาครั้งนี้เปนการศึกษาเชิงสํารวจ (Survey Research) มุงศึกษาถึง ระดับการมีสวน

รวมในการปองกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการชุมชนในพื้นที่สถานีตํารวจ นครบาลบางเขน โดยมีขอบเขตการศึกษาดังนี้

1.3.1 ขอบเขตดานเนื้อหาศึกษาเนื้อหาเกี่ยวกับปจจัยเกื้อหนุนที่มีความสัมพันธกับการมีสวนรวมในการปองกัน

และปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการชุมชน ตัวแปรตน คือ ปจจัยเกื้อหนุนในการปองกันและปราบปรามยาเสพติดตามแนวทาง

การศึกษาของกฤษฎิ์ มงคลบุตร (2553) มาใชเปนแนวทางในการศึกษา ทั้งนี้ เนื่องจากผูศึกษาปฏิบัติงานเปนเจาหนาที่ตํารวจ ตําแหนงสารวัตรปองกันและปราบปราม สถานีตํารวจนครบาลบางเขน หนาที่รับผิดชอบเปนหัวหนาชุดปราบปรามยาเสพติดของสถานีตํารวจนครบาลบางเขน ประสานการทํางานรวมกับผูนําชุมชนและคณะกรรมการชุมชนในพื้นที่ จึงตระหนักถึงความสําคัญและมีความสนใจที่จะศึกษาการมีสวนรวมในการปองกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการชุมชนในพื้นที่สถานีตํารวจนครบาลบางเขน มุงเนนการศึกษาเนื้อหาในการปองกันและปราบปรามยาเสพติด ซึ่งเปนมาตรการทางสังคมและการบังคับใชกฎหมายใหเด็ดขาด เพื่อมิใหเกิดการกระทําผิด โดยตอยอดจากการศึกษาของกฤษฎิ์ มงคลบุตร ที่ศึกษาเพียง 20 ชุมชน แตการศึกษาครั้งนี้ครอบคลุมทุกชุมชนในพื้นที่สถานีตํารวจนครบาลบางเขน ซึ่งปจจุบันมีทั้งหมด 92 ชุมชน นอกจากนี้ในการศึกษาของกฤษฎิ์ มงคลบุตร ศึกษาเพียงการมีสวนรวมของคณะกรรมการชุมชนในการปองกันการแพรระบาดของยาเสพติดในชุมชน แตการศึกษาครั้งนี้ขยายผลโดยศึกษาทั้งการปองกันและปราบปรามยาเสพติดในชุมชน กําหนดตัวแปรปจจัยเกื้อหนุนในการปองกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการชุมชน ประกอบดวย 3 ดานดังนี้

1. ประสบการณการเปนผูนํา2. ความรูเกี่ยวกับยาเสพติดใหโทษ3. การสนับสนุนจากภาครัฐตัวแปรตาม คือ การมีสวนร วมในการปองกันและปราบปรามยาเสพติดของ

คณะกรรมการชุมชน ตามแนวทางของยุทธศาสตรการสงเสริมใหประชาชน ชุมชน ทองถิ่น และองคกร มีสวนรวมในกิจการตํารวจ ตามคําสั่งสํานักงานตํารวจแหงชาติ ที่ 248/2554 โดยยุทธศาสตรมุงใหประชาชนใหความรวมมือกับเจาหนาที่รัฐ ในการปองกันอาชญากรรมที่เกิดขึ้นและใหประชาชน ชุมชน ทองถิ่น และองคกร สามารถดําเนินการปองกันและแกไขปญหา

Page 13: การมีส วนร วมในการป องกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Artapong_Chantanasorn

5

อาชญากรรม ปญหายาเสพติด และปญหาอื่น ๆ ที่เกิดขึ้นในชุมชน มาเปนแนวทางในการศึกษา ซึ่งมีตัวชี้วัดไดแก

1. การมีสวนรวมในการเผยแพรความรูใหกับชุมชน2. การมีสวนรวมในการเฝาระวังและปองกันยาเสพติดในชุมชน3. การมีสวนรวมในการปราบปรามยาเสพติดในชุมชน

1.3.2 ขอบเขตดานประชากร ไดแกคณะกรรมการชุมชนในพื้นที่สถานีตํารวจนครบาลบางเขน จํานวน 92 ชุมชน โดยแตละชุมชนมีคณะกรรมการชุมชนละ 7 คน รวมทั้งสิ้น 644 คน

1.3.3 ขอบเขตดานเวลาผูศึกษาจะเก็บขอมูลจากการตอบแบบสอบถาม ระหวางเดือน เมษายน ถึงเดือน มิถุนายน

พ.ศ. 2557

1.4 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ1.4.1 เพื่อนําผลการศึกษาใหหนวยงานที่เกี่ยวของนําเอาไปประยุกตใชในการพัฒนาเพื่อ

แกปญหายาเสพติดในชุมชนที่ตั้งอยูในกรุงเทพมหานคร1.4.2 เพื่อเปนแนวทางใหสํานักงานตํารวจแหงชาติไดนําไปใชในการกําหนดนโยบาย

การมีสวนรวมในการปองกันและปราบปรามยาเสพติดระหวางคณะกรรมการชุมชนกับสถานีตํารวจนครบาลในเขตกรุงเทพมหานคร

1.5 นิยามศัพทที่เกี่ยวของสมาชิกชุมชน หมายถึง ผูมีชื่ออยูในทะเบียนบานชุมชนนั้นคณะกรรมการชุมชน หมายถึง ตัวแทนของสมาชิกชุมชนซึ่งไดรับการเลือกตั้งจาก

สมาชิกชุมชนการมีสวนรวมของคณะกรรมการชุมชน หมายถึง การที่ตัวแทนของสมาชิกชุมชน ซึ่งมา

จากการเลือกตั้งในแตละชุมชนรวมทํางานดวยกัน ในการระดมความคิด รวมกันพิจารณา รวมกันตัดสินใจ รวมกันปฏิบัติ และรวมกันรับผิดชอบกิจกรรมตาง ๆ ของชุมชนโดยมีจุดมุงหมายรวมกัน

ปจจัยเกื้อหนุนในการปองกันและปราบปรามยาเสพติด หมายถึง สิ่งที่สนับสนุนตอการมีสวนรวม ไดแก ปจจัยดานสวนบุคคล ปจจัยดานสภาพแวดลอม และปจจัยดานนโยบาย

Page 14: การมีส วนร วมในการป องกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Artapong_Chantanasorn

6

ยาเสพติด หมายถึง สารเคมีหรือวัตถุชนิดใด ๆ ซึ่งเมื่อเสพเขาสูรางกายไมวาจะโดยรับประทาน ดม สูบ ฉีด หรือดวยประการใด ๆ แลวทําใหเกิดผลตอรางกายและจิตใจในลักษณะสําคัญ เชน ตองเพิ่มปริมาณการเสพขึ้นเรื่อย ๆ มีอาการขาดยาเมื่อไมไดเสพ มีความตองการเสพทั้งทางรางกายและจิตใจอยางรุนแรงอยูตลอดเวลา และทําใหสุขภาพทรุดโทรมลง กับใหรวมตลอดถึงพืช หรือสวนของพืชที่ เปนหรือใหผลผลิตเปนยาเสพติดใหโทษหรืออาจใชผลิตเปนยาเสพติดใหโทษ และสารเคมีที่ใชในการผลิตยาเสพติดใหโทษดวย ทั้งนี้ ตามที่รัฐมนตรีประกาศใน ราชกิจจานุเบกษา แตไมหมายความถึงยาสามัญประจําบานบางตํารับ ตามกฎหมายวาดวยยาที่มี ยาเสพติดใหโทษผสมอยู (พระราชบัญญัติยาเสพติดใหโทษ, 2522)

Page 15: การมีส วนร วมในการป องกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Artapong_Chantanasorn

7

บทที่ 2วรรณกรรมที่เกี่ยวของ กรอบแนวคิด และสมมติฐานในการศึกษา

การศึกษาเรื่อง การมีสวนรวมในการปองกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการชุมชนในเขตพื้นที่ของสถานีตํารวจนครบาลบางเขน ผูศึกษาไดคนควาขอมูลตาง ๆ จากเอกสารทางวิชาการ ตําราและสื่อสิ่งพิมพตาง ๆ โดยไดนําแนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวของกับการมีสวนรวมของคณะกรรมการ และผูนําชุมชน ในการปองกันและปราบปรามยาเสพติด และประเด็นตาง ๆ ที่เกี่ยวของการเรื่องที่ทําการศึกษา โดยมีสาระสําคัญดังนี้

2.1 แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการมีสวนรวม2.2 แนวคิดเกี่ยวกับยาเสพติดใหโทษ2.3 แนวคิดเกี่ยวกับชุมชนและระเบียบกรุงเทพมหานครวาดวยชุมชนและกรรมการ

ชุมชน พ.ศ. 25552.4 ผลงานวิจัยที่เกี่ยวของ2.5 กรอบแนวคิดในการศึกษา2.6 สมมติฐานในการศึกษา2.7 นิยามศัพทเชิงปฏิบัติการ

2.1 แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการมีสวนรวม2.1.1 ความสําคัญของแนวคิดการมีสวนรวม จากการดําเนินงานพัฒนาดานสุขภาพที่ผานมาองคการอนามัยโลก ไดวิเคราะหระบบ

การใหบริการสุขภาพวา เนนที่การรักษาโรคมากกวาการสงเสริมปองกันโรค และมีเพียงคนกลุมนอยเทานั้นที่เขาถึงบริการทางสุขภาพ เปนการแกไขปญหาที่ปลายเหตุ ดังนั้นการดําเนินกิจกรรมในลักษณะนี้จึงไมสามารถแกไขปญหาสุขภาพของประชาชนไดอยางจริงจัง ไมวาจะมีการลงทุนไปมากเพียงใดก็ตาม ตราบเทาที่ยังไมสามารถทําใหประชาชนตระหนักถึงความสําคัญในการปองกันและสงเสริมสุขภาพแกตนเอง โดยเฉพาะกลุมคนที่ยากจน หรือ กลุมคนที่ดอยโอกาสในสังคม

แนวคิดพื้นฐานเหลานี้ WHO ไดพัฒนาหาแนวทางแกไขตอมาจนกลายเปนแนวคิดของการสาธารณสุข (Primary Health Care, PHC) ในคําประกาศ “อัลมาอตา” (Aluma Ata Declaration)ในป ค.ศ. 1978 ซึ่ งมีแนวคิดหลักที่สํ าคัญ ไดแก การมีสวนรวมของชุมชน ( Community

Page 16: การมีส วนร วมในการป องกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Artapong_Chantanasorn

8

Participation) ความครอบคลุมในการจัดบริการแกผูรับบริการ (Universal Coverage) การใชเทคโนโลยีที่เหมาะสม (Appropriate Technology) และการประสานงานระหวางหนวยงาน (Intersectional Collaboration) ในแนวคิดของ PHC ที่กลาวมาทั้งหมดนี้พบวา แนวคิดการมีสวนรวมของชุมชนเปนแนวคิดที่สําคัญที่สุด เนื่องจากถาสามารถทําใหชุมชนเขามามีสวนรวมในการดูแลสุขภาพของตนเองไดอยางแทจริงนั้น หมายถึงการไดเขามาแกไขปญหาของชุมชนเพราะปญหาของชุมชนมีลักษณะเปนองครวม เมื่อชุมชนเกิดความมุงมั่นขึ้นแลว โอกาสที่ชุมชนจะประสานงานกับหนวยงานอื่นยอมมีความเปนไปไดสูง และเมื่อชุมชนมีสวนรวมในการเลือกและดําเนินการแกไขปญหาของตนเอง ชุมชนยอมเลือกเทคโนโลยีที่เหมาะสมสําหรับชุมชนในการแกไขปญหา รวมถึงปญหาที่ชุมชนเลือกนั้นนาจะสอดคลองกับความตองการของคนสวนใหญและเอื้อใหทุกคนในชุมชนไดเขาถึงบริการอยางเทาเทียมกัน ดังนั้นแนวคิดการมีสวนรวมจึงเปนแนวคิดที่มีความสําคัญที่สุดจาก แนวคิดทั้งหมดนี้ และเปนหัวใจในความสําเร็จของงาน Primary Health Care

นอกจากนี้ นักวิชาการ นักปฏิบัติที่มีประสบการณในการทํางานโครงการพัฒนาตางๆ ไดใหเหตุผลถึงความสําคัญของการมีสวนรวมของชุมชนในการดูแลสุขภาพ ดังนี้

Rifkin (1990) ไดใหเหตุผลถึงความจําเปนที่จะตองใหประชาชนมีสวนรวมอยางจริงจังในการดูแลสุขภาพ ดังนี้

(1) การเพิ่มเทคโนโลยีทางการแพทยไมสามารถยกระดับสุขภาพของประชาชนไดดีกวาการที่ประชาชนไดมีความสามารถดูแลสุขภาพดวยตนเอง ในประเทศที่พัฒนาแลวพบวา ประชาชนสวนใหญมีสุขภาพดีขึ้นจากการปองกันโรคมากกวาการรักษาและใชเทคโนโลยีทางการแพทยที่ราคาแพง

(2) ถาประชาชนที่มีความตองการใชบริการดานสุขภาพ ไดเขามามีสวนรวมในการวางแผนจัดการใหบริการ จะทําใหการจัดบริการนั้นเหมาะสมและตอบสนองตอความตองการของประชาชน เพราะเขาไดมีสวนรวมในการพัฒนา

(3) การที่ชุมชนไดเปนเจาของในการใช และควบคุมทรัพยากรดวยตนเองจะทําใหชุมชนสามารถเขาถึงบริการสุขภาพ ยอมรับบริการสุขภาพ โดยเฉพาะคนดอยโอกาสซึ่งเปนการตัดสินใจในการระดมทรัพยากรที่ดีที่สุดของตนเองเพื่อการดูแลสุขภาพที่ดียิ่งขึ้น

(4) การที่ประชาชนไดมีสวนรวมในการตัดสินใจและดําเนินการเกี่ยวกับกิจกรรมที่มีผลตอชีวิตเขาเปนพื้นฐานที่กอใหเกิดความม่ันใจ และพึ่งตนเองได

Stone (1992) ไดกลาววา การมีสวนรวมทําใหเกิดการตัดสินใจรวมกันระหวางบุคลากรสุขภาพและประชาชน เพื่อใหประชาชนตัดสินใจกําหนดชีวิตและมีพลังอํานาจของตนเอง ที่จะทําใหการเกิดการเคลื่อนไหวของชุมชนและการระดมทรัพยากรของชุมชนในการแกไขปญหาสุขภาพ

Page 17: การมีส วนร วมในการป องกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Artapong_Chantanasorn

9

ของตนเองได อีกทั้งยังทําใหผูมีหนาที่กําหนดนโยบาย นักวางแผน นักปฏิบัติ และประชาชน ไดมีความตระหนักในโครงการทั้งการตัดสินใจ การวางแผน และประเมินผลรวมกัน กอใหเกิดการแกไขปญหาสุขภาพอยางมีประสิทธิภาพ การมีสวนรวมยังเปนแนวคิดที่แสดงถึงความมีศีลธรรมในจิตใจ ความเสมอภาคของบุคคลและการพึ่งตนเอง

Sawyer (1995) ไดกลาววา การมีสวนรวมของชุมชน เปนวิธีการหนึ่งที่ชวยลดคาใชจายในการจัดบริการสุขภาพของหนวยงาน และลดภาระงานของบุคลากรวิชาชีพ เพราะการมีสวนรวมเปนวิถีทางที่ชวยใหประชาชนสามารถควบคุมการใชทรัพยากรของตนเองใหเปนไปอยางคุมคาเกิดประโยชนสูงสุดจริง ๆ

2.1.2 การตีความแนวคิดการมีสวนรวมการมีสวนรวมของชุมชน เปนแนวคิดที่ไดรับการยอมรับจากหลาย ๆ หนวยงานของ

องคการระหวางประเทศวาเปนหัวใจสําคัญตอความสําเร็จของงานในดานตาง ๆ เนื่องจากสามารถสรางโอกาส คนหาลูทางใหมในการพัฒนา และเปนที่ยอมรับกันวาควรมีการสงเสริมและสนับสนุนใหมีการเผยแพรแนวคิดนี้ ดังนั้นในหนวยงานพัฒนาตาง ๆ จึงมีการนําแนวคิดนี้มาใชอยางแพรหลาย จนทําใหมีการใหความหมายที่หลากหลายตามไปดวย ในการศึกษาของสถาบันวิจัยเพื่อพัฒนาสังคมแหงสหประชาชาติ (UNRISD) (Oakley & Marsden, 1985) ไดชี้ใหเห็นวาการใหความหมายการมีสวนรวมเปนเรื่องที่ทําไดยาก แมไดกําหนดไวเพื่อใชในการปฏิบัติงานก็ไมสามารถบอกไดวา การมีสวนรวมที่กําหนดไวนั้น เปนความหมายของการมีสวนรวมตามสภาพความเปนจริงทางสังคม ความหมายการมีสวนรวมมีความยุงยากและซับซอน ดังนั้นการจะหาความหมาย การมีสวนรวมที่ เปนสากลจึงเปนไปไมได แตเมื่อไหรก็ตามที่มีการนําคํานี้ไปปฏิบัติงานก็เปนสิ่งจําเปนที่ตองกําหนดความหมายขึ้น และทําความเขาใจกับกระบวนการมีสวนรวม หรือวิธีการอยางไรที่สอดคลองกัน ดังนั้นเพื่อทําความเขาใจกับแนวคิดการมีสวนรวมใหชัดเจนยิ่งขึ้น จึงไดนําเสนอความหมายการมีสวนรวม ไวดังน้ี

Cohen, J.M. and Uphoff, N.T (1980) กลาววา การมีสวนรวมของชุมชน หมายถึง นโยบายขั้นพื้นฐาน ซึ่งเปนกลยุทธในการพัฒนาประเทศ และเปนการสงเสริมใหเกิดการมีสวนรวมอยางแทจริง ทั้งในระดับบุคคลและในระดับองคกร

Oakley, P. (1989) กลาววา การมีสวนรวมของชุมชน หมายถึง กระบวนการทางสังคมซึ่งประชาชนเขามามีสวนเกี่ยวของในการตัดสินใจของกลุมที่มีความตองการรวมกันภายใตสภาพพื้นที่เดียวกัน โดยจะมีการตัดสินใจในการปฏิบัติรวมกัน รวมถึงการกําหนดความตองการ การมีภาวะ

Page 18: การมีส วนร วมในการป องกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Artapong_Chantanasorn

10

ผูนํา การจัดองคกร การระดมทรัพยากร และการจัดการรวมกัน การแบงปนผลประโยชนและการไดรับผลประโยชน

อคิน รพีพัฒน (2527) กลาววา การมีสวนรวมของชุมชน หมายถึง การที่ประชาชนหรือชุมชนมีขีดความสามารถของตนเองในการจัดการ การควบคุม การใช การกระจายทรัพยากรและปจจัยการผลิตที่มีอยูในสังคม และความจําเปนขั้นพื้นฐานอยางสมศักดิ์ศรี รวมทั้งพัฒนาการ การรับรู และภูมิปญญาของประชาชน โดยประชาชนเปนผูกําหนดในการเขามามีสวนรวม และเปนผูทํา ทุกอยาง มิใชผูอื่นเปนผูกําหนดใหในการเขามามีสวนรวมในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง หรือมีสวนรวมในทุกอยาง

ทวีทอง หงษวิวัฒน (2532) กลาววา การมีสวนรวม คือ การมีสวนรวมในการวางแผน(Planning) การดําเนินการ (Implementation) และการประเมินผล (Evaluation) ทั้งนี้ตองเปนการตัดสินใจของบุคคล ครอบครัวและชุมชนที่เขารวมดวยตนเอง

โอชา จันทรสวาง (2532) กลาววา การมีสวนรวม คือ การเปดโอกาสใหแตละคนเรียนรูจากกิจกรรมที่ปฏิบัติการที่ประชาชนมีสวนรวมในกิจกรรมที่มีผลตอชีวิตของตนเองตอกลุมของตนเองและตอสังคมของตนเอง และการไดโอกาสเรียนรูจากกิจกรรมที่ปฏิบัติ เปนการเพิ่มความสามารถและความชํานาญใหมากยิ่งขึ้น

กระทรวงสาธารณสุข (2535) กลาววา การมีสวนรวม คือ การที่ประชาชนในชุมชน เปนผูตระหนักถึงปญหาของชุมชนเปนอยางดี จึงเปนผูกําหนดปญหาสาธารณสุขของชุมชนนั้น ๆ เองเปนผูวิเคราะหปญหาตลอดจนคนหาแนวทางการแกไขปญหาของชุมชน

วิเชียร บุญระชัยสวรรค (2555) กลาววา การมีสวนรวมของประชาชน หมายถึง การมีสวนรวมของกลุมองคกร เครือขาย และภาคีการพัฒนาในการดําเนินงานตามขอเสนอโครงการเพื่อสรางการมีสวนรวมของประชาชน

World Health Organization (1978) กลาววา การมีสวนรวม คือ กระบวนการที่บุคคลครอบครัว มีความรับผิดชอบรวมกันในการดูแลสุขภาพของตนเองและสวัสดิการในชุมชนของตนเองเปนการพัฒนาความสามารถของชุมชน ในการพัฒนาชุมชน เพื่อการจัดการใหสถานการณชีวิตดีขึ้นและสงเสริมการแกปญหาชุมชนดวยตนเอง แทนที่จะเปนการรอรับผลจากการพัฒนา ประชาชนสามารถกําหนดความตองการ ความจําเปนดวยตนเองและสามารถปรับเปลี่ยนการแกไขปญหาไดอยางเหมาะสมตามสถานการณ ไดแก การที่ประชาชนสามารถประเมินสถานการณตนเองจัดลําดับความสําคัญของปญหาและมีทางเลือกในการปฏิบัติ เพื่อแกไขปญหาที่หลากหลายในความหมายการมีสวนรวมที่กลาวมาขางตนนั้นเปนความหมายเชิงหลักการ เพื่อใหผูอานไดมีความเขาใจในแนวคิดนี้ แตเมื่อมีการนําแนวคิดนี้ไปปฏิบัติ พบวา การตีความหมายการมีสวนรวมใน

Page 19: การมีส วนร วมในการป องกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Artapong_Chantanasorn

11

หลายโครงการมีความแตกตางไปจากความหมายเชิงหลักการซึ่ง Oakley และ Marsden (1985) ไดรวบรวมความหมายของคํานี้ จากโครงการพัฒนาชนบทกวาหนึ่งรอยโครงการที่อางวาไดใชแนวคิดการมีสวนรวมของชุมชน ดังนี้

(1) การมีสวนรวม คือ การชวยเหลือโดยสมัครใจของประชาชนตอโครงการใดโครงการหนึ่งที่คาดวาจะสงผลตอการพัฒนาชาติ แตไมไดหวังใหประชาชนเปลี่ยนแปลงโครงการหรือวิจารณเนื้อหาโครงการ

(2) การมีสวนรวม คือ การที่ประชาชนในชนบทรูสึกตื่นตัวเพื่อจะทราบถึงความชวยเหลือและตอบสนองตอโครงการพัฒนา ขณะเดียวกันก็สนับสนุนความคิดริเริ่มของคนในทองถิ่น

(3) การมีสวนรวม คือ การใหประชาชนเขามาเกี่ยวของในกระบวนการตัดสินใจในกระบวนการทํางาน และรวมรับผลประโยชนจากโครงการ นอกจากนั้นยังเกี่ยวของกับความพยายามประเมินผลโครงการดวย

(4) การมีสวนรวม คือ การที่ประชาชนเขารวมอยางแข็งขันในกระบวนการตัดสินใจ ตาง ๆ ในเรื่องที่มีผลกระทบตอเขา

(5) การมีสวนรวม คือ การที่ประชาชนมีทั้งสิทธิ และหนาที่ที่จะเขารวมในการแกไขปญหาทางสุขภาพของเขา มีความรับผิดชอบมากขึ้นที่จะตรวจสอบความจําเปนเรื่องสุขภาพอนามัย การระดมทรัพยากรทองถิ่นและเสนอแนะแนวทางแกไขใหม ๆ

(6) การมีสวนรวม คือ กระบวนการดําเนินการอยางแข็งขัน หมายถึงบุคคล หรือกลุมที่มีสวนรวมนั้นเปนผูริเริ่มและมุงใชความพยายามความเปนตัวของตัวเองที่จะดําเนินการตามความคิดริเริ่มนั้น

(7) การมีสวนรวม คือ การที่ไดมีการจัดการที่จะใชความพยายาม ความสามารถควบคุมทรัพยากรและระเบียบในสถาบันตาง ๆ ในสภาพสังคมนั้น ๆ ทั้งนี้ กลุมที่ดําเนินการตองไมถูกควบคุมโดยทรัพยากรและระเบียบตาง ๆ

จากความหมายของการมีสวนรวมเบื้องตน สรุปไดวา การมีสวนรวมมีความหมายกวางไปจนถึงการมีสวนรวมในความหมายที่เฉพาะเจาะจงมากที่สุด สําหรับความหมายการมีสวนรวมอยางกวาง คือ การมีสวนชวยเหลือโดยสมัครใจใหประชาชนมีสวนเกี่ยวของกับกระบวนการตัดสินใจ และกระบวนการดําเนินงานของโครงการ ตลอดจนรวมรับผลประโยชนจากโครงการ สําหรับความหมายการมีสวนรวมในลักษณะเฉพาะเจาะจง คือ การใหประชาชนมีทั้งสิทธิและหนาที่ที่จะเขารวมแกไขปญหาของเขา ใหเขาเปนผูมีความริเริ่มและมุงที่จะใชความพยายามและความเปนตัวของตัวเองเขาดําเนินการ ควบคุมทรัพยากรและระเบียบในสถาบันตาง ๆ เพื่อแกไข

Page 20: การมีส วนร วมในการป องกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Artapong_Chantanasorn

12

ปญหา ซึ่งถือวาเปนการมีสวนรวมอยางแข็งขัน (Active Participation) โดยในกระบวนการแกไขปญหาของตนเอง ตั้งแตขั้นตอนการวิเคราะหสถานการณ ระบุปญหาตัดสินใจแกไขปญหา การวางแผน การลงมือปฏิบัติและการประเมินผล โดยการลงมือปฏิบัติดวยตนเอง กระบวนการนี้ทําให บุคคล กลุมคน ชุมชน เกิดพลังอํานาจ มีความมั่นใจและกลาที่จะตัดสินใจในการที่จะพัฒนางานดานอื่นๆ ตอไปหรืออาจกลาวอีกนัยหนึ่งคือ การมีสวนรวมของชุมชนหมายถึง “กระบวนการตัดสินใจของชุมชน” ในการกําหนดความตองการ การวางแผน การดําเนินงาน การจัดองคกร การบริหารจัดการ การระดมทรัพยากร การรับผลประโยชน และการประเมินผล ซึ่งจะนําไปสูการดูแลครอบครัว ชุมชน และพึ่งตนเองได

สรุปความหมายของการมีสวนรวมของประชาชน คือ การที่หนวยงานภาครัฐหรือองคการเปดโอกาสใหประชาชนไดเขามามีสวนรวมในกิจกรรมที่เกี่ยวของกับชุมชน ในการวางแผนในกิจกรรม รวมดําเนินการตามแผน รวมคิดและตัดสินใจ โดยทั้งประชาชนและหนวยงานภาครัฐ หรือองคการตางไดรับประโยชนจากการมีสวนรวมอยางเปนธรรม สําหรับการศึกษาครั้งนี้คือ การมีสวนรวมในการปองกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการชุมชนชุมชนในพื้นที่สถานีตํารวจนครบาลบางเขน หมายถึง การที่คณะกรรมการชุมชนซึ่งเปนตัวแทนของสมาชิกชุมชนในพื้นที่สถานีตํารวจนครบาลบางเขน เขามามีสวนรวมในการเผยแพรความรูใหกับชุมชน มีสวนรวมในการเฝาระวังและปองกันยาเสพติดในชุมชน และมีสวนรวมในการปราบปราม ยาเสพติดในชุมชน

2.1.3 ความสําคัญของการมีสวนรวมRamos and Fletcher ( 1982 อางถึงใน ชินรัตน สมสืบ, 2539: 27) กลาวถึงความสําคัญ

ของการมีสวนรวมของประชาชนคือ1. เปนเครื่องชี้วา การตัดสินใจของรัฐบาลมาจากความตองการของประชาชน2. เพิ่มความรับผิดชอบ และเพิ่มความสามารถในการตรวจสอบไดของรัฐที่มีตอ

ประชาชน3. ชวยในการสรางแผนตางๆ ที่ดีกวาเดิม4. เพิ่มความสําเร็จในการปฏิบัติงาน5. สรางการสนับสนุนใหแกหนวยวางแผน

Page 21: การมีส วนร วมในการป องกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Artapong_Chantanasorn

13

ธีระพงษ แกวหาวงษ (2543: 55-56) ไดกลาววาการมีสวนรวมของประชาชนมีความสําคัญดังนี้

1. การมีสวนรวมของประชาชนในการพัฒนาเปนสิทธิขั้นพื้นฐาน และเปนสิทธิมนุษยชน ดังนั้น การดําเนินการพัฒนาจึงควรใหประชาชนเขามามีสวนรวม

2. การมีสวนรวมของประชาชนชวยใหเกิดการพัฒนาทางเศรษฐกิจและสังคม ทําใหประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นดวยเหตุผล 4 ประการ คือ

2.1 การมีสวนรวมในการกําหนดความจําเปนพื้นฐาน ชวยใหกลุมที่ถูกกีดกันทางเศรษฐกิจ สังคม ไดมีโอกาสเสนอสิ่งที่ตองการตอผูจัดทํานโยบายการพัฒนาและมีโอกาสไดรับการพัฒนายกระดับฐานะใหสูงขึ้น หลุดพนจากการถูกเอารัดเอาเปรียบ

2.2 การมีสวนรวมของประชาชน ชวยใหรัฐบาลสามารถระดมทรัพยากรในทองถิ่น เชน ความรู ทักษะ บุคคล และแมแตที่ดินและทุนที่ตองใชในการโครงการพัฒนา

2.3 การมีสวนรวมของประชาชนชวยปรับปรุงการกระจายสินคาและบริการตลอดจนการกระจายรายไดใหดีขึ้น และการมีชีวิตสาธารณะที่มีสุขภาพดี

2.4 การมีสวนรวมของประชาชน ชวยสนองความตองการทางจิตวิทยาของประชาชน จากการที่ไดมีอิทธิพลในการตัดสินใจดําเนินงานที่มีผลกระทบตอชีวิตและการงาน 3. การมีสวนรวมของประชาชนในการพัฒนาอยางจริงจังทุกขั้นตอน จะชวยใหประชาชนมีพลังในการตอรองกับกลุมผลประโยชนอื่นๆ ในสังคม

4. การมีสวนรวมของประชาชนในการพัฒนา แสดงถึงนัยการชวยเหลือตนเอง ซึ่งจะนําไปสูความสามารถในการพึ่งพาตนเอง 5. การมีสวนรวมของประชาชนในกระบวนการพัฒนา เปนเครื่องมือสงเสริมใหเกิดการยอมรับ การใชความคิดใหม วิธีการใหม หรือนวัตกรรมบางอยาง ซึ่งการยอมรับและการใชหรือสรางนวัตกรรมนี้ เปนสิ่งจําเปนอยางยิ่งในกระบวนการพัฒนา 6. การมีสวนรวมของประชาชนในกระบวนการพัฒนา จะทําใหประชาชนสามารถแสดงศักยภาพที่มีอยู และชวยใหไดหนทางแกไขปญหาเชิงนวัตกรรมที่เหมาะสมกับปญหาของชุมชนไดมากกวาการใหบุคคลภายนอกเขามาชวยแกปญหา

Page 22: การมีส วนร วมในการป องกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Artapong_Chantanasorn

14

2.1.4 รูปแบบและขั้นตอนการมีสวนรวมรูปแบบการมีสวนรวมรูปแบบของการมีสวนรวมนั้น อาจจําแนกได 3 ประการ ตามลักษณะของการมีสวนรวม

ดังนี้ (นิรันดร จงวุฒิเวศน, 2527: 188)1. การที่ประชาชนมีสวนรวมโดยตรง (Direct Participation ) โดยผานองคกรจัดตั้งของ

ประชาชน เชน การรวมกลุมของเยาวชนกลุมตางๆ2. การที่ประชาชนมีสวนรวมทางออม (Indirect Participation) โดยผานองคกรผูแทน

ของประชาชน เชน กรรมการของกลุม หรือชุมชน ประธานชุมชน กรรมการหมูบาน3. การที่ประชาชนมีสวนรวมโดยการเปดโอกาสให (Open Participation) โดยผาน

องคกรที่ไมใชผูแทนของประชาชน เชน สถาบันหรือหนวยงานที่เชิญชวนหรือเปดโอกาสใหประชาชนเขามามีสวนรวมเมื่อไรก็ไดทุกเวลา

Cohen and uphoff (1980 : 219-222 อางถึงในประสบสุข ดีอินทร,2531: 21) ไดแบงการมีสวนรวมออกเปน 4 แบบ คือ

1. การมีสวนรวมในการตัดสินใจ (Decision making) ประกอบดวย 3 ขั้นตอน คือ ริเริ่มตัดสินใจ ดําเนินการตัดสินใจ และตัดสินใจปฏิบัติการ

2. การมีสวนรวมในการปฏิบัติการ (Implementation) ประกอบดวยการสนับสนุน ดานทรัพยากร การบริหาร และการประสานขอความรวมมือ

3. การมีสวนรวมในผลประโยชน (Benefits) 4. การมีสวนรวมในการประเมินผล (Evaluation)

ขั้นตอนการมีสวนรวมของประชาชนเจิมศักดิ์ ปนทอง (2547) ไดอธิบายขั้นตอนการมีสวนรวมของประชาชน 4 ขั้นตอน คือ 1. การมีสวนรวมในการคนหาและสาเหตุของปญหาของชาวชนบท ขั้นตอนนี้เปน

ขั้นตอนเริ่มแรกที่สําคัญที่สุด เพราะถาประชาชนยังไมสามารถเขาใจปญหาและสาเหตุของปญหาดวยตนเองของเขาเอง กิจกรรมตางๆ ที่ตามมาก็ไรประโยชนเพราะชาวชนบทจะขาดความเขาใจและมองไมเห็นความสําคัญของกิจกรรมนั้น สิ่งหนึ่งที่แนนอนที่สุดคือ ชาวชนบทเปนผูอยูกับปญหาและรูจักปญหาของตนเองดีที่สุด แตมนุษยยอมจะตองมองปญหาของตนไมชัดเจนจนกวาจะมีเพื่อนมาชวยใหตนวิเคราะหถึงปญหา และสาเหตุของปญหาของตนไดเดนชัดยิ่งขึ้น

2. การมีสวนรวมในการวางแผนการดําเนินกิจกรรม การวางแผนดําเนินกิจกรรม เปนขั้นตอนตอไปที่ขาดไมได เพราะถาหากเจาหนาที่หรือนักพัฒนาตองการเพียงแตผลงานการพัฒนา

Page 23: การมีส วนร วมในการป องกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Artapong_Chantanasorn

15

วัตถุใหเสร็จสิ้นโดยฉับไว ก็จะดําเนินกิจกรรมการวางแผนงานเสียดวยตนเอง ผลที่ตามมาก็คือตอไปเมื่อขาดเจาหนาที่ชาวชนบทก็ไมสามารถจะดําเนินการวางแผนไดดวยตนเอง อาจจะมีความยากลําบากที่ผลักดันใหเจาหนาที่หรือนักพัฒนาทําหนาที่เปนเพียงเพื่อนของชาวชนบทในการชวยกันวางแผนงาน เพราะชาวชนบททั่วๆไป มีการศึกษานอยแตถาเราไมใหชาวชนบทไดมีสวนรวมในขั้นตอนนี้ โอกาสที่ชาวชนบทจะไดรับการศึกษาและพัฒนาตนเองในการวางแผนงานดําเนินงานก็หมดไป เจาหนาที่หรือนักพัฒนาจะตองทําใจใหไดวาการศึกษาใดก็ตามตองเริ่มจากความยากงาย เร็ว ชา จากระดับที่ผูจะรับการศึกษามิใชจากระดับความรู ความสามารถของตนเอง

3. การมีสวนรวมในการลงทุนและปฏิบัติงาน ชาวชนบทมีทรัพยากรที่สามารถเขามามีสวนรวมในการลงทุนและการปฏิบัติงานได เพราะจากประสบการณทํางานชนบทอยางนอยชาวชนบทมีแรงงานของตนเปนขั้นต่ําที่สุดที่สามารถจะเขารวมไดในหลายๆแหง และรวมลงทุนใหกับตนเองในการดําเนินงาน และจะระมัดระวังรักษากิจกรรมที่ทําขึ้นเพราะเขาจะมีความรูสึกรวมเปนเจาของ นอกจากนั้นการรวมปฏิบัติงานดวยตนเองไดเรียนรูการดําเนินกิจกรรมอยางใกลชิดและเมื่อเห็นประโยชนก็จะสามารถดําเนินกิจกรรมชนิดนั้นดวยตนเองตอไปได

4. การมีสวนรวมในการติดตามและประเมินผล เปนขั้นตอนสุดทายที่สําคัญอยางยิ่งเพราะถาหากการติดตามงานและการประเมินผลงานจากการมีสวนรวมของชาวชนบทจะทําใหชาวชนบทประเมินตนเองวางานที่ทําไปนั้นไดรับผลดี ไดรับประโยชนหรือไมอยางใด ซึ่งจะเปนประโยชนตอการดําเนินกิจกรรมอยางเดียวกันในโอกาสตอๆไป

ซึ่งสอดคลองกับ อคิน รพีพัฒน (2527: 101 ) ไดแบงขั้นตอนการมีสวนรวมของคนในชุมชนออกเปน 4 ขั้นตอนคือ

1. การคนหาปญหา สาเหตุของปญหาตลอดจนแนวทางแกไข2. การตัดสินใจเลือกแนวทางและวางแผนพัฒนาแกไขปญหา3. การปฏิบัติงานในกิจกรรมการพัฒนาตามแผน4. การประเมินผลงานกิจกรรมการพัฒนา

องคการอนามัยโลก (WHO,1978: 41-49 อางถึงใน บุญมี รัตนะพันธุ, 2543) ไดเสนอรูปแบบที่สมบูรณของกระบวนการมีสวนรวมไว 4 ขั้นตอนคือ

1. การวางแผน (Planning) ประชาชนตองมีสวนรวมในการวิเคราะหปญหาจัดลําดับความสําคัญ ตั้งเปาหมาย กําหนดการใชทรัพยากร กําหนดวิธีติดตามประเมินผลและประการสําคัญ คือการตัดสินใจดวย

Page 24: การมีส วนร วมในการป องกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Artapong_Chantanasorn

16

2. การดําเนินกิจกรรม (Implementation) ประชาชนตองมีสวนรวมในการจัดการและบริหารการใชทรัพยากร มีความรับผิดชอบในการจัดสรรควบคุมทางการเงินและการบริหาร

3. การใชประโยชน (Utilization) ประชาชนตองมีความสามารถในการนําเอากิจกรรมมาใชใหเกิดประโยชนได ซึ่งเปนการเพิ่มระดับของการพึ่งตนเองและควบคุมทางการเงินและการบริหาร

4. การไดรับประโยชน (Obtaining) ประชาชนตองไดรับการแจกจายผลประโยชนจากชุมชนในพื้นฐานที่เทาเทียมกัน ซึ่งจะเปนผลประโยชนในสวนสังคม หรือในรูปวัตถุก็ได

แรม พี. ยาดาฟ (Yadav,1979: 3 อางถึงใน บุญมี รัตนะพันธุ, 2543) ไดจําแนกการมีสวนรวมของประชาชนออกเปน 4 ขั้นตอน คือ

1. การเขาไปมีสวนรวมในการตัดสินใจ (Decision Making) 2. การเขาไปมีสวนรวมในการดําเนินโครงการและแผนงาน (Implementation)3. การเขาไปมีสวนรวมในการควบคุมและประเมินโครงการและการพัฒนา(Evaluation)4. การเขาไปมีสวนรวมในการรับผลประโยชนของการพัฒนา (Benefit)

สุนีย มัลลิกะมาลย และคณะ (2543: 17-18) กลาววาการมีสวนรวมของประชาชนในการจัดการขยะนั้น มีกระบวนการดังนี้

1. รวมรับรู หมายถึง รับรูสภาพปญหาที่เกิดขึ้นในชุมชนของตน รับรูถึงวิธีการจัดการเพื่อแกไขปญหา ลดผลกระทบของปญหาและปองกันปญหา ซึ่งในกระบวนการนี้ สื่อขอมูลขาวสาร วิธีการเผยแพร หรือเขาถึงขอมูลขาวสาร และแหลงขอมูลขาวสารยอมเปนสวนสําคัญที่ผูเกี่ยวของสมควรจะไดคํานึงถึง เพราะการใหประชาชนไดเขารวมรับรูยอมนํามาซึ่งความตระหนักในปญหา เพื่อจะไดพิจารณาวาตนเองจะเขาไปมีสวนรวมดวยวิธีใดไดบางตามที่เหมาะสม

2. รวมคิดและแสดงความคิดเห็น เปนผลสืบเนื่องมาจากการรับรูขอมูล เมื่อประชาชนเกิดความตระหนักแลวยอมเปนชองทางที่จะใหประชาชนเขามามีสวนรวมคิดและแสดงความคิดเห็นถึงวิธีการที่จะนําไปสูการแกไขปรับปรุง ปองกันปญหา การใหประชาชนไดเขามามีสวนรวมในขั้นตอนยอมนํามาซึ่งการมีสวนรวมในขั้นตอนตอไป

3. รวมดําเนินการ เมื่อวิธีการที่จะนําไปสูการแกไขปรับปรุงและปองกันปญหาเกิดจากการมีสวนรวมของประชาชนในชุมชน ก็เทากับเปนการยอมรับพวกเขา ดังนั้น หากจะตองใหพวกเขาเขารวมดําเนินการตามกิจกรรมที่ไดมาแลว ความเปนไปไดยอมมีมาก

Page 25: การมีส วนร วมในการป องกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Artapong_Chantanasorn

17

4. รวมติดตามตรวจสอบ ความเขมแข็งและความตอเนื่องในการดําเนินการยอมตองอาศัยปจจัยความรวมมือของประชาชนในชุมชน ทําการติดตามและตรวจสอบวา ในการดําเนินการนั้น มีปจจัยใดบางที่จะเปนปญหาและอุปสรรคในการดําเนินการ เพื่อจะไดแกไขไดทันทวงที

5. รวมรับผิดชอบ ความสําเร็จและความลมเหลวของกิจกรรมหรือโครงการยอมขึ้นอยูกับความรวมรับผิดชอบของประชาชนในชุมชน มิใชเปนของผูริเริ่มโครงการหรือผูนําชุมชน การยอมที่จะมีสวนรวมรับผิดชอบยอมสะทอนถึงการมีสวนรวมของประชาชนในชุมชนในทุกระดับที่กลาวมา

6. รวมขยายผล การจัดการขยะเปนตัวอยางที่เห็นไดชัดวา หากชุมชนใดมีการจัดการขยะอยางมีประสิทธิภาพแลว และไดมีการชักชวนดวยวิธีการใดๆ ก็ตาม รวมถึงการชวยเหลือในการจัดการขยะของชุมชนอื่นๆ ยอมนํามาซึ่งการขยายผลของการจัดการขยะใหขยายวงกวางไกลออกไปซึ่งชุมชนมีการจัดการขยะอยางถูกวิธีมากชุมชนใด ยอมสงผลดีตอการแกไขปญหาสิ่งแวดลอมไดมากเทานั้น

แนวคิดในเรื่องการมีสวนรวมของประชาชนของ เจิมศักดิ์ ปนทอง (2527) และแนวคิดของอคิน รพีพัฒน (2527) เปนแนวคิดที่มีความสอดคลองกันจึงจําแนกการมีสวนรวมออกเปน 4 ลักษณะ คือ

1. รวมคนหาและสาเหตุของปญหา2. รวมวางแผนและแกไขปญหา3. รวมปฏิบัติงานตามแผน4. รวมติดตามและประเมินผลกลาวโดยสรุป การมีสวนรวม หมายถึง กระบวนการที่สงเสริม ชักนํา สนับสนุน และ

เปดโอกาสใหประชาชนมีสวนรวมในการดําเนินงาน รวมคิด รวมตัดสินใจ รวมรับผิดชอบ สละเวลา แรงงาน วัสดุ และอื่นๆ ในกิจกรรมการพัฒนาที่จะมีผลกระทบมาถึงตัว เพื่อแกไขนํามาซึ่งสภาพความเปนอยูของประชาชนที่เกิดขึ้น และนําไปสูความรวมมือแหงการดํารงชีวิตในสังคมเดียวกัน

การพัฒนาแบบมีสวนรวม เปนกระบวนการใหประชาชนไดเขามามีสวนในการคิดและการตัดสินใจ เพื่อแกไขปญหาของตนเองและสวนรวมอยางแข็งขัน โดยอาศัยความคิดและความชํานาญของประชาชนและจากการมีสวนรวมของประชาชนในทุกชุมชนนั้นก็จะทําใหเกิดปรากฎการณของผูนําตามธรรมชาติและเกิดการเรียนรู ทําใหสามารถวิเคราะหปญหาของการรวมลงมือปฏิบัติและติดตามประเมินผลใหบรรลุตามวัตถุประสงคที่วางไว

Page 26: การมีส วนร วมในการป องกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Artapong_Chantanasorn

18

2.1.5 ปจจัยที่ทําใหเกิดการมีสวนรวมของประชาชนนักวิชาการไดกลาวถึงปจจัยที่สงผลตอการมีสวนรวมไวหลากหลาย ดังตอไปนี้Cohen and Uphoff (1980) ไดแบงลักษณะของผูเขามามีสวนรวมออกเปน 8 ลักษณะ คือ1. อายุและเพศ ปจจัยนี้เปนตัวแปรที่บงบอกถึงลักษณะสวนบุคคล จะมีปญหาบางก็

ตรงที่การกําหนดอายุของคนกลุมตาง ๆ คือจะกําหนดอายุตามแบบปฏิทิน หรือตามบทบาทหนาที่ของแตละหนวยงาน ความสําคัญของประชากรในการมีสวนรวม ก็คือ การมีสวนรวมเชิงเศรษฐกิจหรือการมีประชากรกลุมวัยทํางานมาก ๆ ในชุมชน

2. ฐานะของครอบครัว มีสวนสําคัญมากหากพิจารณาในดานโครงสรางของสังคมโดยเฉพาะอยางยิ่ง การมีสวนรวมในการตัดสินใจ โดยทั่วไปแลวหัวหนาครอบครัวมักจะมีอํานาจในการตัดสินใจมากกวาสมาชิกคนอื่น ๆ ในครอบครัว ฉะนั้นเราตองศึกษาหัวหนาครอบครัวของอาชีพตาง ๆ ที่เขามารวมประชุม หรือมีสวนรวมในการอภิปรายแตกตางกันอยางไร

3. การศึกษาลักษณะดานการศึกษา จะเกี่ยวกับวัตถุประสงคดานเทคนิค หรือความเสมอภาคของโครงการในเขตชนบทที่กําหนดไวชัดเจนก็คือ คนในชุมชนจะตองอานออกเขียนไดเปนอยางนอย ซึ่งวัดไดจากโดยดูจากจํานวนปที่เขาเรียน อยูในโรงเรียน แตในทางที่ดีแลวควรพิจารณาปจจัยดานอายุและเพศประกอบดวย

4. การแบงแยกทางสังคม เชื้อชาติ ศาสนา ชนชั้นและถิ่นกําเนิด ลักษณะดานนี้จะมีความซับซอนมากในการวิเคราะหการมีสวนรวมโครงการดานนี้ จึงใหพิจารณาเฉพาะบริเวณที่มีประชากรที่มีความแบงแยกในเรื่องดังกลาวนี้ที่เดน ๆ เทานั้น

5. ลักษณะทางอาชีพนี้กําหนดไวเพื่อใหการกําหนดประชากรกลุมเปาหมายที่จะไดรับผลประโยชนทําไดงายขึ้น โดยทั่วไปแลวอาชีพมักจะแยกออกเปนอาชีพการเกษตรและไมใชการเกษตร แตทั้งนี้ขึ้นอยูกับโครงสรางของอาชีพในพื้นที่ที่โครงการดําเนินอยู

6. ระดับและแหลงของรายได หากพิจารณาถึงกลุมผูยากจนในชนบทแลว การวิเคราะหการมีสวนรวมสามารถจะไดในรูประดับรายไดของผูเขามามีสวนรวมแมคอนขางจะยากในการวัดก็ตาม เพราะวาขอมูลเกี่ยวกับรายไดนี้มักจะมีไมติดตอกัน และเชื่อถือไมคอยได

7. ระยะเวลาที่ตั้งถิ่นฐานในทองถิ่น และระยะทางจากบานไปยังสถานที่ดําเนินโครงการ คนที่มีระยะเวลาในการตั้งถิ่นฐานในทองถิ่นนานก็จะเขามามีสวนรวมมากกวาคนที่มีระยะเวลาในการตั้งถิ่นฐานในทองถิ่นไมนาน

8. การถือครองที่ดินและสถานภาพการไดรับวาจาง หากพิจารณาในกลุมผูที่ยากจนที่สุดแลว การวิเคราะหการเขามามีสวนรวมจากผูที่ไมมีที่ดิน หรือผูวางงานในดานการตัดสินใจการดําเนินโครงการ และการไดรับผลประโยชนจากโครงการนั้น จะตองทําไปในลักษณะเฉพาะอยาง

Page 27: การมีส วนร วมในการป องกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Artapong_Chantanasorn

19

2.1.6 การนําแนวคิดการมีสวนรวมไปปฏิบัติจากความหมายการมีสวนรวมที่มีความหลากหลาย ซึ่งสงผลตอความหลากหลายในการ

ปฏิบัติตามความเขาใจ มุมมอง และแนวคิดของผูปฏิบัติ ในการศึกษาของ Oakley และ Marsden(1985) ไดวิเคราะหการนําแนวคิดการมีสวนรวมไปปฏิบัติตามกิจกรรมที่ทํา สรุปไดเปน 4 ลักษณะไดแก

(1) การรวมมือกัน การบริจาค การชวยเหลือเกื้อกูล (Collaboration – Input -Sponsorship)

(2) การพัฒนาชุมชน (Community Development)(3) การจัดตั้งองคกร (Organization)(4) การใหไดรับอํานาจ (Empowering)นอกจากนี้ ในการประชุมเรื่องการมีสวนรวมของชุมชนในการพัฒนางานสุขภาพ จัดขึ้น

ที่กรุงเจนีวา ในป ค.ศ. 1989 โดยองคการอนามัยโลก ซึ่งมีตัวแทนจากหนวยงานยอยขององคการอนามัยโลก และตัวแทนจากองคกรพัฒนาอื่น ๆ เขารวมประชุม เพื่อทบทวนการนําแนวคิดการมีสวนรวมไปการปฏิบัติทั้งในการพัฒนาดานสุขภาพ และการพัฒนาดานอื่น ๆ พบวา โดยพื้นฐานการมีสวนรวมถูกตีความในการนําไปปฏิบัติ เปน 3 แนวทางดังนี้ (WHO, 1991)

(1) การมีสวนรวม คือ การชวยเหลือ (Participation as Contribution) การมีสวนรวมในความหมายนี้ พบวา มีอยูในโครงการพัฒนาสวนใหญ ซึ่งกิจกรรมมักประกอบดวย กิจกรรมอาสาสมัครหรือการสนับสนุนเรื่องอื่นๆ ที่ถูกกําหนดมากอนการตัดสินใจของประชาชนในกิจกรรมและโครงการ ลักษณะการมีสวนรวมแบบนี้ ปรากฏอยูโดยทั่วไปในโครงการพัฒนาดานตาง ๆ ไดแก ดานสุขภาพ ดานปาไม ดานการจัดหาแหลงน้ํา ดานการพัฒนา โครงการพื้นฐานดานการพัฒนา และดานการอนุรักษแหลงทรัพยากรธรรมชาติ ซึ่งเนนความสําคัญของการมีสวนรวมอยูที่การสนับสนุนเกื้อกูล การดําเนินงาน จึงมักมีรูปแบบอยูที่การสนับสนุนดานวัตถุหรือดวยกิจกรรมอาสาสมัคร ไมอยางใดก็อยางหนึ่ง

(2) การมีสวนรวม คือ องคกร (Participation as Organization) เปนที่ถกเถียงกันมานานวาในกิจกรรมการพัฒนาทุกรูปแบบวา การจัดตั้งองคกรที่เหมาะสมเปนพื้นฐานที่นําไปสูการมีสวนรวม โดยมีแนวคิดวา ถาสามารถจัดใหประชาชนมีองคกรเกิดขึ้นไดก็สามารถทําใหประชาชนเขามามีสวนรวมในการพัฒนาอยางแนนอน แตในการดําเนินการนั้นก็ยังไมชัดเจนวารูปแบบของโครงสรางองคกรแบบใดที่สามารถทําใหเกิดการมีสวนรวมของชุมชนได ซึ่งตองขึ้นอยูกับสถานการณของประเทศหรือทองถิ่นนั้น

Page 28: การมีส วนร วมในการป องกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Artapong_Chantanasorn

20

(3) การมีสวนรวม คือ การเสริมพลังอํานาจ (Participation as Empowerment) เมื่อ 5 ปที่ผานมาหรือมากกวานั้น ไดมีการกลาววา การมีสวนรวมเปนกระบวนการของการเสริมสรางพลังอํานาจซึ่งเปนแนวคิดที่กําลังเพิ่มความสําคัญและไดรับการสนับสนุนมากขึ้นทุกขณะ การเสริมสรางพลังอํานาจจึงกลายมาเปนศัพทของการพัฒนาหรือการพัฒนา คือ การเสริมสรางพลังอํานาจนั่นเอง อยางไรก็ตามการมีสวนรวมในความหมายนี้เปนความยากในการกําหนดความหมายที่ชัดเจนบางครั้ง คือ การพัฒนาของทักษะและความสามารถของบุคคลใหสามารถจัดการกับสิ่งตางๆ ไดอยางมีประสิทธิภาพ บางครั้งเปนเรื่องของอํานาจในการเจรจาตอรองกับหนวยงานหรือกลุมบุคคล น่ันคือ เปนการสนับสนุนศักยภาพเพื่อใหเกิดการพัฒนา นอกจากนี้ยังมีความเห็นวาการเสริมสรางพลังอํานาจคือ การนํามาซึ่งพื้นฐานและความจําเปนอยางยิ่ง ในการทําใหประชาชนสามารถตัดสินใจ และกระทํา ในสิ่งที่พวกเขาเชื่อวาจําเปนสําหรับการพัฒนาตนเอง การนําแนวคิดไปปฏิบัติในแนวทางที่แตกตางกันนี้ มีพื้นฐานมาจากทัศนคติมุมมองที่มีตอประชาชน หรือชุมชนที่แตกตางกัน ตลอดจนความเขาใจในแนวคิดที่แตกตางกัน โดยการนําไปใชในความหมายของการชวยเหลือเกื้อกูลนั้น เปนการสะทอนแนวคิดของผูดําเนินโครงการที่มองวาตนเองมีความรูอยางเพียงพอ เปนผูเชี่ยวชาญโดยเขาใจวาตนเองสามารถแปลความหมายความตองการของชุมชนลงไปในโครงการได มีการออกแบบและวางแผนไวลวงหนาวาจะทําอะไร ที่มองวาเหมาะสมและเกิดประโยชนที่สูงสุดสําหรับชุมชน (Kelly & Van Vlaenderen,1996) หรือเปนการมองวาชุมชนขาดทักษะ ขาดแคลนทรัพยากร และลาหลังตองไดรับการพัฒนาแนวทางแกไขจึงเปนการใหในสวนที่ขาด ไดแก บางโครงการมองวาประชาชนขาดบริการดานสุขภาพ จึงแกไขปญหาโดยการจัดหาบริการทางการแพทยและเทคโนโลยี บางโครงการพยายามใหชุมชนมีสวนรวมมากขึ้น โดยอบรมประชาชนในชุมชนใหเปนอาสาสมัครดานสุขภาพ เพื่อเปนผูขยายบริการดานสุขภาพ เปนแนวคิดที่มองชุมชนเปนทรัพยากรที่สําคัญตองนํามาใชใหเกิดประโยชนสูงสุด (Rifkin, 1988) ดังนั้นการมีสวนรวมในลักษณะนี้ถือวาเปนการมีสวนรวมในระดับต่ํา ชุมชนถูกครอบงํา ถูกกระทําใหยอมรับ ไมมีอํานาจในการตัดสินใจในปญหาของตนเอง (Stone, 1992)

สําหรับการมีสวนรวมในความหมายของการเสริมสรางพลังอํานาจนั้น เปนการสะทอนแนวคิดของเจาหนาที่ที่มองวาประชาชนตองเปนอิสระ ไมพึ่งพิงเจาหนาที่และสามารถดูแลสุขภาพของตนเองได การดําเนินงานจึงเปนวิธีการใหการศึกษาแบบผูใหญ การมีสวนรวมแบบนี้เปนการมีสวนรวมในระดับสูง คือ ประชาชนมีอํานาจและมีสิทธิของตนเองในการตัดสินใจอยางเต็มที่ในปญหา หรือสิ่งที่ดํารงอยูในชีวิตของเขาเอง (Rifkin et al., 1988) กลาวคือ

Page 29: การมีส วนร วมในการป องกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Artapong_Chantanasorn

21

(1) ประชาชนตระหนักในปญหาของตนเอง และตระหนักถึงความสําคัญของการมีสวนรวมในการแกปญหา

(2) ประชาชนมีโอกาสที่จะไดใชและพัฒนาความสามารถของตนเอง(3) เปนการระดมทรัพยากรบุคคลมาใชใหเกิดประโยชนสูงสุด(4) ประชาชนมีความรูสึกเปนเจาของ ทําใหการพัฒนามีความมั่นคงถาวรและตอเนื่อง(5) เปนการสงเสริมระบอบประชาธิปไตย ทําใหประชาชนมีความคิดอิสระในการ

ตัดสินใจ(6) ประชาชนมีสวนรวมรับผิดชอบและมีอํานาจในการพัฒนาชุมชนของตนเอง

2.1.7 การวางแผนแบบมีสวนรวม โดยใชกระบวนการ A-I-C (Appreciation InfluenceControl)

จากความสําคัญของการมีสวนรวม ซึ่งชี้ใหเห็นวา เปนหลักการสําคัญที่จะใหประชาชนมีสวนรวมในกิจกรรมโครงการในทองถิ่น โดยเฉพาะการมีสวนรวมในการตัดสินใจและดําเนินการ ซึ่งจะสงผลใหเกิดการเรียนรูและการพัฒนาของประชาชน เทคนิคการพัฒนาคนมีหลายวิธี เพื่อใหคนสามารถคิด วิเคราะห เลือกและตัดสินใจเอง รูจักทํางานอยางมีสวนรวมในการวิจัยครั้งนี้นํา เทคนิค A-I-C (Appreciation- Influence Control) มาประยุกตใชในกระบวนการวางแผนเมื่อเริ่มตนของโครงการในปแรก (วีระ นิยมวัน, 2542)

ความหมายของ A-I-C คือการประชุมที่มีวิธีการและขั้นตอนที่เปดโอกาสใหผูเขาประชุมไดมีโอกาสสื่อสาร ซึ่งจะทําใหเกิดความเขาใจถึงสภาพปญหา ขอจํากัด ความตองการและศักยภาพของผูเกี่ยวของตาง ๆ เปนกระบวนการประชุมที่ระดมพลังสมองเพื่อแกไขปญหาและหาแนวทางในการพัฒนาในเชิงสรางสรรค เมื่อดําเนินถูกตองตามขั้นตอน ผลงานที่ไดจากการประชุมนี้จะมาจากความคิดของผูเขาประชุมทุกคน

A-I-C ยอมาจากคําวาA = Appreciation ทําความเขาใจและแลกเปลี่ยนประสบการณI = Influence ปฏิสัมพันธรับและแลกเปล่ียนความคิดเห็นC = Control ยอมรับและรวมกันทํางานวัตถุประสงคของ A-I-C เพื่อระดมความคิดสรางสรรค เสริมสรางพลังงานของคน และ

สนับสนุนใหเปนไปไดเมื่อแตละคนตั้งใจจะทํา (Empower, Enabling)

Page 30: การมีส วนร วมในการป องกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Artapong_Chantanasorn

22

หลักการ วิธีการ ขั้นตอนและกระบวนการ A-I-Cหลักการและกระบวนการ A-I-C ของวีระ นิยมวัน (2542) นั้น สิ่งสําคัญสวนหนึ่งที่ตอง

คํานึงถึง คือ(1) ผูมีสวนไดสวนเสีย (Stakeholder) ตองกําหนดความประสงครวมกัน ทําความเขาใจ

สถานการณ มีความปรารถนาดีและเปนมิตร เคารพความคิดเห็นของกันและกัน ใหเกิดความพอใจเสียกอน

(2) ตองรวมกันกําหนดหากลวิธีใหบรรลุความประสงค ดวยการริเริ่มคิด วิเคราะหแยกแยะปญหา และการแลกเปลี่ยนขอคิดเห็นกัน โดยไมยึดติดกับกรอบแนวทางที่ตนคุนเคย จึงจะไดวิธีการที่มีพลังมีประสิทธิภาพ

(3) ตองทําแผนปฏิบัติการ ระบุ ใคร ทํา อะไร ใครรวมมือ เพื่อใหไดผลอะไร ดวยเหตุผลอะไร ทรัพยากรใชจากที่ไหน มีอะไรเปนปจจัยแหงความสําเร็จ และติดตามประเมินผลอยางไร

(4) การปฏิบัติงานตามแผน มีความยืดหยุนตามสถานการณที่เปลี่ยนแปลงได(5) ติดตามผล เรียนรู ปรับปรุงภารกิจจากประสบการณที่ทํางานหลักการ AIC ของศาสตราจารยนายแพทยประเวศ วะสี ใหความเขาใจในเรื่อง AIC ไว

ไดอยางกระชับวา หมายถึง การที่บุคคล กลุมคน มีความคิดเขาใจคนละทิศทาง มุงหมายและปฏิบัติกันไปคนละอยาง แตผลที่เกิดขึ้น กระทบและมีอิทธิพลตอกัน (Influence) หากไมมีการควบคุม(Control) จะไมเกิดความพอใจและไมเห็นคุณคา (Appreciation)

ขณะเดียวกัน หากบุคคล กลุมคน มีความคิด ความเขาใจคนละทิศทาง มุงหมายและปฏิบัติไปคนละอยาง แตผลที่เกิดขึ้นกระทบและมีอิทธิพลตอกัน (Influence) หากไมมีการควบคุม(Control) จะไมเกิดความพอใจและไมเห็นคุณคา (Appreciation)

จึงสรุปไดวา A-I-C เปนกระบวนการที่เปดโอกาสใหผูมีสวนไดสวนเสียในเรื่องเดียวกันไดประชุมแลกเปลี่ยนความรู ประสบการณ ขอมูลขาวสาร รวมระดมพลังความคิดสรางสรรค รวมกําหนดวัตถุประสงคหรือวิสัยทัศน วางแผนพัฒนา รวมระดมทรัพยากร และจัดการรวมกัน โดยพยายามพึ่งตนเองใหมากที่สุด เปนการเสริมสรางพลังงานของตน (Empower) และสนับสนุนใหเปนไปไดจริง (Enabling) โดยการแบงบทบาทหนาที่ อันประกอบดวยแผนหรือกิจกรรมที่ทําไดเอง แผนหรือกิจกรรมที่ตองขอผูอื่นชวยทํา และแผนหรือกิจกรรมที่ตองใหผูอื่นทําให เพื่อการบรรลุวัตถุประสงคที่กําหนดไว ทั้งนี้กระบวนการ A-I-C ตองมีความเชื่อมโยงกันระหวาง

A – Appreciation = การเขาใจ เห็นคุณคา ความพึงพอใจที่จะทําI – Influence = ผลกระทบจากผลผลิต สิ่งนําเขาทั้งหมด มีอิทธิพลตองานC – Control = การรวมกันทํางาน การควบคุมได การประเมินผล

Page 31: การมีส วนร วมในการป องกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Artapong_Chantanasorn

23

วิธีการของ A-I-C มีวิธีการ ดังนี้(1) กําหนดวิสัยทัศนรวมกัน(2) วางแผนรวมกันและรวมระดมทรัพยากร(3) แบงบทบาทหนาที่อันประกอบดวย- แผนหรือกิจกรรมที่องคกรทําไดเอง- แผนหรือกิจกรรมที่ตองขอใหผูอื่นชวยทําดวย- แผนหรือกิจกรรมที่ตองขอใหผูอื่นทําให

ขั้นตอนของ A-I-C ประกอบดวยขั้นตอนที่ 1 เขาใจสถานการณสภาพที่แทจริง เปนการเริ่มใหทบทวน ระบายอารมณ

ความคิด มีสัมพันธภาพกับคนอื่นขั้นตอนที่ 2 สรางวิสัยทัศน สภาพที่คาดหวังในอนาคต เปนมิติที่ทุกคนเขาใจความ

เปนมาและกําหนดความคาดหวัง ความประสงครวมกันขั้นตอนที่ 3 คิดคน หากลวิธี ใหทุกคนมีสวนรวมแสดงพลังและประสบการณ หากความ

คิดเห็นของตนไดรับการยอมรับก็จะเกิดความภูมิใจ ถาของคนอื่นดี มีเหตุผลกวาก็ยอมรับเชนกันขั้นตอนที่ 4 กําหนดแผนปฏิบัติการ จัดความสําคัญ จําแนกกิจกรรม จัดทําแผน ทุกคนได

แสดงประสบการณใหผูอื่นไดเลือกใชประโยชน โดยใชกิจกรรมเปนสิ่งควบคุมความสําเร็จขั้นตอนที่ 5 ดําเนินการตามแผน วางแผนหาผูรับผิดชอบ ทุกคนวิเคราะหตนเอง แสดง

พลังความสามารถและรับภารกิจที่จะรวมทํางานในเรื่องที่ตนเองเลือกขั้นตอนที่ 6 กํากับและประเมินผล เปดโอกาสใหทุกคนแลกเปลี่ยนความคิดเห็น กําหนด

วิธีการปฏิบัติ ลําดับขั้นตอนการปฏิบัติ เพื่อนําไปสูความสําเร็จตามที่คาดหวังขั้นตอนที่ 7 ทบทวนงานปรับปรุง เพื่อขจัดอุปสรรคที่ทําไมสําเร็จ เรื่องใดที่ตนเองทํา

ไมได จะมีวิธีการรวมมือกับคนอื่นอยางไร หรือเรื่องใดที่ตองใหคนอ่ืนทําขั้นตอนที่ 8 ดําเนินการตอ กิจกรรมใดที่สําเร็จแลวก็ตองพัฒนา คิดกิจกรรมใหมๆ เพราะ

ความสําเร็จเรื่องใดเรื่องหนึ่ง จะมีปญหาใหมตามมาใหแกไขภายหลังการประชุมมีความสําคัญยิ่งกวาการประชุม เพราะภายหลังจากการประชุม

ผูเขารวมประชุมตองรูหนาที่และบทบาทของตนที่จะตองรับแผนปฏิบัติการแบบมีสวนรวมนี้ไปดําเนินการกํากับและประเมินผลตามขอชี้วัดและเปาหมาย ทบทวนและปรับปรุงกลวิธี เพื่อขจัดอุปสรรคที่ทําไมสําเร็จ กิจกรรมใดที่สําเร็จแลวก็ตองพัฒนา คิดกิจกรรมใหมๆ เพราะความสําเร็จเรื่องใดเรื่องหนึ่ง จะมีปญหาใหมตามมาใหแกไข

Page 32: การมีส วนร วมในการป องกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Artapong_Chantanasorn

24

2.2 แนวคิดเกี่ยวกับยาเสพติดใหโทษ“ยาเสพติดใหโทษ” หมายความวา สารเคมีหรือวัตถุชนิดใดๆ ซึ่งเมื่อเสพเขาสูรางกายไม

วาจะโดยรับประทาน ดม สูบ ฉีด หรือดวยประการใด ๆ แลว ทําใหเกิดผลตอรางกายและจิตใจในลักษณะสําคัญ เชนตองเพิ่มขนาดการเสพขึ้นเปนลําดับ มีอาการถอนยาเมื่อขาดยามีความตองการเสพทั้งทางรางกายและจิตใจอยางรุนแรงอยูตลอดเวลา และสุขภาพโดยทั่วไปจะทรุดโทรมลง กับใหรวมตลอดถึงพืชที่เปนหรือใหผลผลิตเปนยาเสพติดใหโทษ หรืออาจใชผลิตเปนยาเสพติดใหโทษและสารเคมีที่ใชในการผลิตยาเสพติดใหโทษดวย ทั้งนี้ตามที่รัฐมนตรีประกาศในราชกิจจานุเบกษาแตไมหมายความถึงยาสามัญประจําบานบางตํารับตามกฎหมายวาดวยยาที่ยาเสพติดใหโทษผสมอยู (พระราชบัญญัติยาเสพติดใหโทษ พ.ศ. 2522)

2.2.1 ประเภทของยาเสพติดยาเสพติดใหโทษแบงออกเปน 5 ประเภท คือประเภทที่ 1 ยาเสพติดใหโทษชนิดรายแรง เปนยาที่ไมมีการนํามาใชในทางการแพทย

และทําใหเกิดการเสี่ยงตอการติดยาของประชากรในระดับรุนแรง เชน เฮโรอีน ยาบา ยาอี เปนตนประเภทที่ 2 ยาเสพติดใหโทษทั่วไป เปนยาที่มีประโยชนในการรักษาโรคในระดับนอย

จนถึงมาก และทําใหเกิดการเสี่ยงตอการติดยาของประชากรในระดับที่ตองพึงระวัง เชน มอรฟนโคเคน โคเดอีน เปนตน

ประเภทที่ 3 ยาเสพติดใหโทษที่มียาเสพติดใหโทษในประเภท 2 เปนสวนผสมอยูดวยตามที่ไดขึ้นทะเบียนตํารับไว เปนยาที่ทําใหเกิดการเสี่ยงตอการติดยาของประชากรนอย แตยังคงมีอันตราย และมีประโยชนมากในการรักษาโรคเชน ยาแกไอผสมโคเดอีน เปนตน

ประเภทที่ 4 สารเคมีที่ใชในการผลิตยาเสพติดใหโทษในประเภท 1 หรือประเภท 2 เชนอาเซติคแอนไฮไดรด (Acetic Anhydride) อาเซติลคลอไรด (Acetyl Chloride)

ประเภทที่ 5 ยาเสพติดใหโทษที่มิไดอยูในประเภทที่ 1 ถึงประเภทที่ 4 เชน กัญชา พืชกระทอม เห็ดขี้ควาย เปนตน

2.2.2 ลักษณะอาการของผูติดยาเสพติดผูติดยาเสพติดใหโทษจะมีสภาพทางกายและทางจิตใจเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม ซึ่ง

สามารถสังเกตไดอยางงายๆ1. การเปลี่ยนแปลงทางรางกาย สุขภาพทรุดโทรม ซูบผอม ออนเพลียงาย ริมฝปากเขียว

คลา ตาแดงกลา รูมานตาขยาย น้ํามูกไหล ผิวหนังหยาบกรานเปนแผลพุพอง ชอบใสเสื้อแขนยาว

Page 33: การมีส วนร วมในการป องกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Artapong_Chantanasorn

25

และสวมแวนตาดํา หากขาดยาหรืออดยา จะหาวนอนบอย จามคลายคนเปนหวัด น้ํามูกน้ําตาไหลกระวนกระวาย ปวดทอง คลื่นไสอาเจียน ปวดเมื่อยตามรางกาย ตาพราไมสูแดด มีอาการสั่น เกร็งเพอ คุมคลั่ง

2. การเปลี่ยนแปลงทางจิตใจ นิสัยและบุคลิกภาพ เปนคนเจาอารมณ หงุดหงิดงาย ขาดเหตุผล ไมมีความรับผิดชอบตอการเรียนหรือการงาน ไมมีความเชื่อมั่นในตนเอง พูดไมอยูกับรองกับรอย มักเก็บตัว ชอบทําตัวลึกลับ ไมสนใจความเปนอยูของตนเอง เกียจคราน นอนตื่นสายผิดปกติ มีอาการวิตกกังวล ซึมเศรา

2.2.3 โทษของยาเสพติดใหโทษยาเสพติดใหโทษ กอใหเกิดผลเสียตอผูเสพโดยตรงและสงผลกระทบตอครอบครัวผู

ใกลชิด และประเทศชาติอยางมากมาย ดังนี้1. ผลตอผูเสพยาเสพติด ทําใหสุขภาพของผู เสพติดเสื่อมโทรมอยางรวดเร็ว ความ

ตานทานโรคนอยกวาปกติ ทําใหติดเชื้อไดงาย สวนมากมักจะเปนโรคผิวหนัง โรคทางเดินอาหารวัณโรค อารมณแปรปรวนงาย ซึมเศรา วิตกกังวล บุคลิกภาพสูญเสีย

2. ผลตอครอบครัว ผูติดยาเสพติดจะขาดความรับผิดชอบตอครอบครัว ไมหวงใยดูแลครอบครัว เปนภาระของครอบครัว ทําใหครอบครัวแตกแยก ขาดความอบอุน และอาจจะเปนตัวอยางหรือเปนสาเหตุทําใหสมาชิกในครอบครัวหันไปเสพยาเสพติดได

3. ผลตอเศรษฐกิจและสังคม การที่มียาเสพติดแพรระบาดในประเทศ ทําใหรัฐตองสูญเสียงบประมาณและเจาหนาที่จํานวนมากในการปองกันและปราบปรามยาเสพติด และตัวผูเสพก็มีพฤติกรรมที่กอใหเกิดปญหาสังคมดวยการกออาชญากรรม ลักเล็กขโมยนอย หรือทําใหเกิดอุบัติเหตุตางๆ ซึ่งผลกระทบของปญหาเหลานี้อาจมีความรุนแรงจนนําไปสูปญหาเกี่ยวกับความมั่นคงของชาติได

2.2.4 สาเหตุของการติดยาเสพติดปจจัยที่ทําใหเกิดการติดยาเสพติด มี 3 ประการ คือ1. ตัวสารและฤทธิ์ของสาร สารที่กอใหเกิดการเสพติด เปนสารที่ออกฤทธิ์ตอระบบ

ประสาท เชน เมทแอมเฟตามีน (ยาบา) เฮโรอีน เปนตน เมื่อผูเสพเริ่มทดลองใชและไดรับฤทธิ์ของยาเสพติดแลวพึงพอใจก็จะเสพซ้ําจนเกิดการติดยาได

2. ตัวผูเสพ การที่ผูเสพหันไปเสพยาเสพติดนั้น อาจมีสาเหตุมาจาก

Page 34: การมีส วนร วมในการป องกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Artapong_Chantanasorn

26

- สภาพรางกาย เชน ผูที่มีอาการปวยซึ่งตองใชยาเสพติดในการบําบัดรักษา จนนําไปสูการติดยาเสพติดนั้น เปนตน

- สภาพจิตใจ ผูที่มีอารมณวูวาม เปลี่ยนแปลงเร็ว ขาดความมั่นใจ มักจะหันเขาหาสิ่งใดสิ่งหนึ่งเปนสิ่งยึดเหนี่ยว สวนผูที่มีสุขภาพจิตเรรวน มีความวิตกกังวลตลอดเวลา ก็จะถูกชักจูงใหเสพยาเสพติดไดงาย และผูที่ขาดความอบอุน หรือมีปญหาตางๆ เชน ปญหาเศรษฐกิจ การงาน ก็จะใชสิ่งเสพติดเปนเครื่องปลอบใจดับความวาวุนทางจิตใจใหนอยลง

3. สิ่งแวดลอม สิ่งแวดลอมมีสวนสําคัญที่จะกระตุนหรือชักนําใหหันไปเสพยาเสพติดเชน อาจเกิดจากการอยากทดลองเนื่องจากเพื่อนหรือผูใกลชิดเสพและชักชวนใหเสพ หรือเกิดจากการคึกคะนองในชวงวัยรุน และสวนใหญเกิดจากสภาพครอบครัวที่มีปญหา

ปญหายาเสพติดเปนปญหาใหญที่เกิดจากหลายสาเหตุดวยกัน การแกไขปญหาจึงควรตองดําเนินการพรอมๆกันหลายวิธี ดังนี้

1. ปองกัน การปองกันอาจทําไดหลายวิธี ไดแก- การสรางภูมิคุมกันทางปญญา คือการใหความรูเกี่ยวกับยาเสพติดใหโทษ เชน โทษ

และอันตรายของยาเสพติด รูปลักษณะของยาเสพติด การปองกันตนเองใหพนจากยาเสพติดเปนตน- การสงเสริมสถาบันครอบครัว คือการสงเสริมและสนับสนุนใหทุกคนเห็นความสําคัญ

ของสถาบันครอบครัว ความรัก ความอบอุนและความเอาใจใสของคนในครอบครัวจะมีสวนชวยปองกันไมใหเกิดการเสพยาเสพติดไดเปนอยางมาก และควรสนับสนุนใหสมาชิกในครอบครัวหันไปสนใจในเรื่องกีฬาและออกกาลังกายในยามวาง จะไดมีสุขภาพดี อารมณแจมใสและไมไปสนใจกับยาเสพติด

2. การปองกันมิใหมีการลักลอบผลิตและจําหนายยาเสพติด คือการควบคุมสารตั้งตนและสารประกอบที่ใชในการผลิตยาเสพติดใหโทษอยางเขมงวด มีการกําหนดบทลงโทษแกผูกระทําผิดอยางรุนแรง

3. ปราบปราม การปราบปรามผูที่ลักลอบผลิต นําเขาและจําหนายยาเสพติดอยางจริงจังและตอเนื่อง การตั้งสินบนรางวัลนําจับแกผูใหเบาะแส และผูจับกุมผูกระทําผิด และมีการลงโทษแกผูกระทําผิดอยางรุนแรง

4. บําบัดรักษา ผูที่เสพยาเสพติดที่ตองการจะเลิกเสพยา ทางการแพทยและทางราชการใหถือวาบุคคลเหลานั้นเปนผูปวย สามารถเขารับการบําบัดรักษาในสถานพยาบาลรักษาผูติดยาเสพติดทั้งภาครัฐและเอกชนที่มีอยูทั่วประเทศ ซึ่งเมื่อบําบัดรักษาและฟนฟูสมรรถภาพจนหายแลว ก็จะสามารถกลับไปดําเนินชีวิตไดตามปกติ และเปนคนดีของสังคมตอไป

Page 35: การมีส วนร วมในการป องกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Artapong_Chantanasorn

27

2.3 แนวคิดเกี่ยวกับชุมชนและระเบียบกรุงเทพมหานครวาดวยชุมชนและกรรมการ ชุมชน พ.ศ. 2555

2.3.1 แนวคิดเกี่ยวกับชุมชน2.3.1.1 ความหมายของชุมชนประเวศ วะสี (2541) ใหความหมายไววา ชุมชน หมายถึง การที่คนจํานวนหนึ่งมี

วัตถุประสงครวมกัน มีความเอื้ออาทรตอกัน มีความพยายามทําอะไรรวมกัน มีการเรียนรูรวมกันในการกระทํา ซึ่งรวมถึงการติดตอสื่อสารดวย

กาญจนา แกวเทพ (2538) กลาวถึง ชุมชน วาหมายถึง กลุมคนอาศัยในอาณาบริเวณเดียวกัน มีความสัมพันธใกลชิด มีฐานะและอาชีพที่คลายคลึงกัน มีลักษณะของการใชชีวิตรวมกันมีความเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน ตั้งแตระดับครอบครัวไปสูระดับเครือญาติ จนถึงระดับหมูบานและสูงกวาหมูบาน และผูที่อาศัยอยูในชุมชนมีความรูสึกวาเปนคนชุมชนเดียวกัน นอกจากนี้ยังมีการดํารงรักษาคุณคา และมรดกทางวัฒนธรรมและศาสนา ถายทอดไปยังลูกหลานอีกดวย

2.3.1.2 ความหมายขององคกรชุมชนองคกรชุมชน (Community Base Organization: CBO) เปนองคกรระดับรากหญาที่ทํา

กิจกรรมเพื่อพัฒนาชุมชนทองถิ่น สวนใหญองคกรประเภทนี้ดําเนินการโดยชาวบาน มุงเนนเรื่องความเขมแข็งของชุมชน กระบวนการเรียนรูการพัฒนาแบบมีสวนรวม ดําเนินกิจกรรมการพัฒนาหลากหลาย ตามสภาพปญหาและความตองการของชุมชนเปนสําคัญ ไดแก การจัดการสิ่งแวดลอม การพัฒนาอาชีพ เงินทุน การพัฒนาเด็กและเยาวชน การพัฒนาสตรี การเกษตร การศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม เปนตน (ศุภวัลย พลายนอย, 2545) ไดมีผูใหความหมายและอธิบายถึงลักษณะขององคกรชุมชนในหลายความหมายไมวาจะเปน กลุมในงานพัฒนาชุมชน องคกรชาวบาน องคกรประชาชน องคกรชุมชนสวนใหญใหความหมาย ไวคลายคลึงกัน ดังนี้

จิตติ มงคลชัยอรัญญา (อางในปาริชาติ วลัยเสถียร, 2543) ใหความหมายเกี่ยวกับกลุมวาเปนการรวมพลังของคนจํานวนหนึ่งเพื่อแกไขปญหาที่ประสบอยูหรือรวมกันกระทํา สิ่งใดสิ่งหนึ่ง (หรือหลายสิ่ง) เพื่อใหไดรับประโยชนตามที่ตน (และกลุมของตน) ปรารถนา การรวม (หรือรวม) พลังนี้อาจมองได 2 นัยคือ รวมพลังเพื่อตอรองเรียกรอง ขอรับความชวยเหลือจากภายนอกและรวมพลังเพื่อดําเนินการดวยตนเองใหมากที่สุดเพื่อแกไขปญหาของตน

ประเวศ วะสี (2536) ไดใหความหมาย องคกรชุมชนไววา องคกรที่เกิดขึ้นโดยกระบวนการที่คนในชุมชนมาประชุม ปรึกษาหารือกันซ้ํา แลวซ้ํา อีก จนปรากฏตัวผูนําธรรมชาติขึ้นมีการจัดองคกร มีการวิเคราะหปญหา การวินิจฉัยปญหา พิจารณาทางเลือก ตัดสินใจทางเลือกที่

Page 36: การมีส วนร วมในการป องกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Artapong_Chantanasorn

28

ถูกตอง หรือหมายถึง การรวมตัวของคนที่มีวัตถุประสงครวมกัน อาจเปนหมูบานเดียวกัน หรือตางพื้นที่ก็ได สมาชิกมีการสื่อสารกัน เอื้ออาทรตอกัน มีการทํากิจกรรมรวมกัน มีการแลกเปลี่ยนเรียนรูรวมกัน และมีการจัดการ

บัวพันธ พรหมพักพิง และคณะ (2550) กลาววา องคกรชุมชน หมายถึง กลุมกิจกรรมในชุมชนองคกรชุมชนไดรับการตีความวา เปนกลุมกิจกรรมตางๆ ที่เกิดขึ้นในชุมชน เชน กลุมออมทรัพยเพื่อการผลิต กลุมแมบาน เปนตน การตีความองคกรชุมชน นั้นจะมุงในลักษณะของกิจกรรมและพื้นที่ดําเนินกิจกรรมหรืออาจแบงเปน 2 ประเภทตามการเกิดขององคกร คือ องคกรที่รัฐจัดตั้งเรียกวา องคการแบบทางการ หากองคกรที่ชาวบานจัดตั้งขึ้นเองเรียกวา องคกรไมเปนทางการ

กาญจนา แกวเทพ (2538) ใหความหมายวา องคกรชุมชนหมายถึง การจัดระบบรูปแบบความสัมพันธของคนในชุมชนเพื่อดําเนินภารกิจตาง ๆ ใหลุลวง องคกรชุมชนมีลักษณะเปนสถาบันที่บรรพบุรุษไทยไดสรางสรรคขึ้นมา เพื่อทําหนาที่สืบทอดชีวิตของชุมชน ทั้งดานกายภาพเศรษฐกิจ สังคม การเมือง ศาสนาและวัฒนธรรม มาอยางยาวนานในประวัติศาสตร

สมพันธ เตชะอธิก และคณะ (2540) ใหความหมายองคกรชุมชนวา เปนการรวมตัวของชาวบานตั้งแต 2 คน ขึ้นไป หรือตองการมีความสัมพันธโดยอาจอยูในหมูบานเดียวกันหรือตางหมูบานก็ได ไมจํากัดพื้นที่ แตมีวัตถุประสงครวมกัน มีผูนํามีกิจกรรมการพัฒนารวมกัน เชน กลุมออมทรัพยเพื่อการผลิต ธนาคารขาว กลุมปศุสัตว ฯลฯ เพื่อสนองตอบความตองการของตนเองและชุมชน

เมื่อพิจารณาความหมายขององคกรชุมชนโดยทั่วไปแลวองคกรชุมชนหมายถึงกลุมของคนและครอบครัวในชุมชนที่มีจุดมุงหมายวัตถุประสงค ความเชื่อ ความรูสึกเปนเจาของมีผลประโยชนรวมกันมีการจัดกิจกรรมรวมกันและเรียนรูรวมกันอยางตอเนื่อง ในการแกไขปญหาตางๆ ที่ประสบอยูเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนของกลุมและชุมชน

กลาวโดยสรุป องคกรชุมชน คือ กลุมชาวบานตั้งแต 2 คนขึ้นไป มารวมตัวกัน ทั้งเกิดจากการรวมกลุมของประชาชนในชุมชนเองหรือการรวมกลุมที่เกิดจากการสนับสนุนการจัดตั้งจากรัฐใหตั้งในชุมชนมีวัตถุประสงคเดียวกัน และมีกิจกรรมรวมกัน อาจอยูในชุมชนหมูบานเดียวกัน หรือตางหมูบานตางชุมชนก็ได แตมีวัตถุประสงครวมกัน มีผูนํา และกิจกรรมพัฒนารวมกัน เพื่อสนองตอบความตองการของตนเองและชุมชน โดยองคกรชุมชนควรมีความสามารถในการบริหาร 4 ประการ คือ

(1) ความสามารถในการจัดการงานขององคกรรวมกัน(2) ความสามารถรวมคิดรวมทํากับองคกรอื่นเพื่อพัฒนา

Page 37: การมีส วนร วมในการป องกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Artapong_Chantanasorn

29

(3) ความสามารถในการรวมมือกับองคกรประชาชนทํา กิจกรรมการพัฒนาแบบองครวม

(4) ความสามารถในการปรับตัว และริเริ่มงานใหม

2.3.1.3 แนวคิดชุมชนเขมแข็ง1. องคประกอบของชุมชนเขมแข็งองคประกอบที่สําคัญของกระบวนการพัฒนาเพื่อเสริมชุมชนใหเขมแข็ง โดยเนน

ชุมชนเปนตัวตั้ง คือ(1) ภูมิปญญาและความรูที่สืบสานและประยุกตใหสอดคลองตอการเปลี่ยนแปลง

จากภายนอก(2) องคกรชุมชนและกลุมผูนําที่มีคุณธรรมและภูมิปญญา รวมถึงการจัดตั้งกลุม

และจัดระเบียบชุมชน(3) เวทีการเรียนรูและกระบวนการเรียนรูอยางตอเนื่อง เพื่อใหเทาทันตอการ

เปลี่ยนแปลงและการบุกรุกจากภายนอก2. คุณสมบัติของชุมชนเขมแข็งคุณสมบัติขององคกรชุมชนที่จะทําใหเกิดพลังหรืออํานาจประกอบดวย

(1) องคกรจะตองมีการรวมกลุมภายใตมิติการมีน้ําใจ (Spiritual Dimension) เพื่อทํางานรวมกัน

(2) มีการเรียนรูที่ผานกิจกรรมการแกไขปญหารวมกัน (Integrative Learning though Action)

ทั้ง 2 พลังนี้สามารถที่จะทําใหชุมชนนั้น ๆ อยูรวมกันอยางมีความสุขได และจะทําใหเกิดพลังสรางสรรคอยางไมมีที่สิ้นสุด ไมวาจะเกิดปญหาทางดานเศรษฐกิจขึ้นในชุมชน ก็สามารถแกไขปญหาเองได

3. ศักยภาพขององคกรชุมชนบัญชร แกวสอง และคณะ(2537) ไดทําการศึกษาศักยภาพขององคกรชาวบานในภาค

ตะวันออกเฉียงเหนือและไดสรุปองคประกอบสําคัญในการพิจารณาศักยภาพขององคกรชาวบานดังแสดงในภาพที่ 3

Page 38: การมีส วนร วมในการป องกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Artapong_Chantanasorn

30

แผนภาพที่ 1 องคประกอบในการพิจารณาศักยภาพขององคกรชาวบาน ที่มา: บัญชร แกวสองและคณะ(2537)

2.3.2 ระเบียบกรุงเทพมหานครวาดวยชุมชนและกรรมการชุมชน พ.ศ. 2555ประเภทของชุมชนมี 6 ประเภท ดังตอไปนี้1. ชุมชนแออัด2. ชุมชนเมือง3. ชุมชนชานเมือง4. เคหะชุมชน5. ชุมชนอาคารสูง6. ชุมชนหมูบานจัดสรรการจัดตั้งชุมชนใหทําเปนประกาศกรุงเทพมหานครโดยมีหลักเกณฑดังนี้1. เหตุผลในการขอจัดตั้งชุมชน2. มีชื่อชุมชน ที่ตั้ง แผนที่แสดงขอบเขตของชุมชน และผังแสดงที่ตั้งของสิ่งปลูกสราง

และบริเวณขางเคียงของชุมชน3. จํานวนบานที่ประชาชนมีชื่ออยูในทะเบียนบาน ไมนอยกวาหนึ่งรอยหลัง4. ขอมูลโครงสรางประชากรและรายละเอียดของประชาชนในชุมชน เชน ชื่อ - ชื่อสกุล

ศักยภาพในการริเริ่มโครงการ

พัฒนาองคกรและเครือขาย

ศักยภาพในการบริหารจัดการ

ศักยภาพในการระดมทุน

ภายนอกภายใน

ศักยภาพในการตอรอง

Page 39: การมีส วนร วมในการป องกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Artapong_Chantanasorn

31

เพศ อายุ การศึกษา อาชีพ เปนตน5. ขอมูลการคมนาคม สาธารณูปโภค และสาธารณูปการ6. เจาบานหรือผูอาศัยที่เจาของบานมอบหมายที่มีชื่ออยูในทะเบียนบานในชุมชนจํานวน

ไมนอยกวาสามในสี่ของจํานวนบานในชุมชน เขาชื่อเสนอตอผูอํานวยการเขตแจงความประสงคขอจัดตั้งชุมชน

7. มีกลุมดานการพัฒนาชุมชนอยางนอยสามกลุม เชน กลุมอาชีพ กลุมออมทรัพยและกลุมทางสังคมเปนตน และมีระยะเวลาจัดตั้งมาแลวไมนอยกวาหกเดือน โดยมีหลักฐานการดําเนินกิจกรรมอยางตอเนื่อง

8. กรณีบริเวณสถานที่ตั้งชุมชนเปนพื้นที่ของบุคคลอื่นตองไดรับความยินยอมเปนหนังสือจากเจาของกรรมสิทธิ์ใหจัดตั้งเปนชุมชนได

9. สถานที่ตั้งชุมชนไมเปนที่สาธารณะ10. ผูอํานวยการเขตเห็นสมควรจัดตั้งเปนชุมชนและเสนอปลัดกรุงเทพมหานครเปนผูลง

นามตําแหนงในคณะกรรมการชุมชนคณะกรรมการชุมช นประกอบดวยตํ า แหนงต าง ๆ ดั งตอไปนี้ (ตามระเบียบ

กรุงเทพมหานคร วาดวยชุมชนและกรรมการชุมชน พ.ศ. 2555)1. ประธานกรรมการ2. รองประธานกรรมการ3. เลขานุการ4. เหรัญญิก5. นายทะเบียน6. ประชาสัมพันธ7. ตําแหนงอื่นใด ตามที่คณะกรรมการชุมชนเห็นสมควรแตงตั้งวาระการดํารงตําแหนง

กรรมการชุมชนจะดํารงตําแหนงตามวาระคราวละสามป นับแตวันเลือกตั้งโดยกรรมการชุมชนจะพนจากตําแหนงเม่ือเขาเงื่อนไข ดังตอไป

1. ครบกําหนดตามวาระ2. ตาย3. ลาออก4. ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะตองหาม5. กรรมการชุมชนวางลงเกินกวากึ่งหนึ่งของจํานวนกรรมการชุมชนที่ประกาศแตงตั้ง

และใหถือวากรรมการชุมชนสวนที่เหลือพนจากตําแหนง

Page 40: การมีส วนร วมในการป องกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Artapong_Chantanasorn

32

6. ผูมีสิทธิเลือกตั้งกรรมการชุมชนจํานวนไมนอยกวาหนึ่งในสามเขาชื่อเสนอตอผูอํานวยการเขตใหกรรมการชุมชนคนใดคนหนึ่งพนจากตําแหนง

7. ผูมีสิทธิเลือกตั้งกรรมการชุมชนจํานวนไมนอยกวาสองในสาม เขาชื่อเสนอตอผูอํานวยการเขตใหกรรมการชุมชนทั้งชุดพนจากตําแหนง และผูอํานวยการเขตใหความเห็นชอบเมื่อกรรมการชุมชนพนจากตําแหนง ตองจัดใหมีการเลือกตั้งกรรมการชุมชนชุดใหมภายในหกสิบวัน นับแตวันที่กรรมการชุมชนพนจากตําแหนง เวนแตกรณีอยูในระยะเวลาการเลือกตั้งทั่วไป หรือกรณีที่มีเหตุสุดวิสัยหรือเหตุอันสมควรที่ไมสามารถดําเนินการไดภายในระยะเวลาดังกลาว ใหผูอํานวยการเขตขยายเวลาออกไปไดไมเกินหกสิบวัน

หนาที่ของคณะกรรมการชุมชนคณะกรรมการชุมชนมีหนาที่ดังตอไปนี้1. พัฒนาชุมชนโดยการมีสวนรวมของสมาชิกชุมชน ทั้งในดานกายภาพเศรษฐกิจและ

สังคม และระดมทรัพยากรในชุมชนมาใชใหเกิดประโยชนสูงสุด2. จัดประชุมในชุมชนหรือเวทีสาธารณะเพื่อพัฒนาชุมชนตาม (1)3. ดูแลรักษาทรัพยสินของชุมชนและสาธารณสมบัติในชุมชน4. ประสานงานและดําเนินงานรวมกับเครือขายองคกรหนวยงานราชการองคการและ

หนวยงานเอกชนตาง ๆ ที่เกี่ยวของในอันที่จะกอใหเกิดประโยชนแกประชาชนในชุมชน5. เสริมสรางความสามัคคีและการมีวินัยของผูอยูอาศัยในชุมชน6. สงเสริมวัฒนธรรมศีลธรรมและประเพณีอันดีงาม7. สงเสริมการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข8. เผยแพรผลงานติดตามประเมินผลและรายงานตอสมาชิกชุมชน เชน การจัดทําปาย

ประชาสัมพันธการเผยแพรขาวสารตางๆ ทางเครื่องขยายเสียง9. ประสานงานแจงการปฏิบัติงานของหนวยงานและองคกรตาง ๆ ที่เขาไปปฏิบัติงาน

ในชุมชนตอผูอํานวยการเขต10. มีอํานาจแตงตั้งผูมีความรูความเหมาะสมเปนที่ปรึกษา หรือคณะทํางานในฝายตาง ๆ

2.4 ผลงานวิจัยที่เกี่ยวของปราโมทย จิตรสมบูรณ (2553) ไดศึกษาเรื่อง “การมีสวนรวมของประชาชนโครงการ

ตํารวจชุมชนสัมพันธในการปองกันอาชญากรรม สถานีตํารวจภูธรจังหวัดสุพรรณบุรี” ผลการวิจัยพบวา 1) การมีสวนรวมของประชนตอโครงการดังกลาว โดยรวมอยูในระดับมาก 2) ปจจัยสวนบุคคลของประชาชนมีความสัมพันธที่มีผลกับการมีสวนรวมของประชาชนอยางมีนัยสําคัญทาง

Page 41: การมีส วนร วมในการป องกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Artapong_Chantanasorn

33

สถิติที่ระดับ 0.05 และระดับ 0.01 ในการบริหารงานสายตรวจ การจัดเจาหนาที่ตํารวจตามทางแยก และการกําหนดรูปแบบแผนการตรวจ ตามลําดับ สวนสถานภาพการสมรส และระดับการศึกษาไมมีความสัมพันธกัน 3) ปจจัยการมีสวนรวม มีความสัมพันธกับการมีสวนรวมของประชาชนตอโครงการดังกลาวในทิศทางเดียวกัน ในระดับปานกลาง

ประพจน โสฬสจินดา (2551) ไดศึกษาเรื่อง “การมีสวนรวมของคณะกรรมการชุมชนในการปองกันและแกไขปญหายาเสพติด บานดอนหญานาง ตําบลในเมือง อําเภอเมือง จังหวัดขอนแกน” ผลการวิจัยพบวา การมีสวนรวมของคณะกรรมการชุมชนในการปองกันและแกไขปญหายาเสพติด บานดอนหญานาง ตําบลในเมือง อําเภอเมือง จังหวัดขอนแกน โดยรวมอยูในระดับปานกลาง คาเฉลี่ยเทากับ 3.47 เมื่อพิจารณารายดาน พบวา กลุมตัวอยางมีสวนรวมในการปองกันและแกไขปญหายาเสพติดอยูในระดับมาก 2 รายการ คือ การมีสวนรวมในการคนหาปญหาและสาเหตุ การมีสวนรวมในการรับผลประโยชน มีคาเฉลี่ยเทากัน และระดับปานกลาง 3 รายการ คือ การมีสวนรวมในการประเมินผล การมีสวนรวมในการตัดสินใจ การมีสวนรวมในการดําเนินความสัมพันธของปจจัยสวนบุคคลกับการมีสวนรวมของคณะกรรมการชุมชนในการปองกันและแกไขปญหายาเสพติด คือ เพศ อายุ ระดับการศึกษา สถานภาพสมรส ตําแหนงในชุมชน ประสบการณการทํางานในชุมชน รายไดตอเดือน รายจายตอเดือน ภาระหนี้สินตอเดือน และการออมทรัพยตอเดือน ไมมีความสัมพันธกับการมีสวนรวมในการปองกันและแกไขปญหายาเสพติดอยางมีนัยสําคัญที่ 0.05 โดยมีปญหาและขอเสนอแนะวา ปญหาในการปองกันและแกไขปญหา ยาเสพติดชุมชน ขาดเจาหนาที่ใหความรูแกคนในชุมชนเกี่ยวกับยาเสพติด การอบรมคณะกรรมการชุมชนขาดความตอเนื่อง และขาดงบประมาณในการสนับสนุน โดยมีขอเสนอแนะใหหนวยงานที่เกี่ยวของสงเจาหนาที่ลงพื้นที่ใหความรูแกประชาชน จัดใหมีการอบรมสม่ําเสมอ และควรมีการสนับสนุนงบประมาณจากภาครัฐและหนวยงานที่เกี่ยวของใหแกชุมชนในการปองกันและแกไขปญหายาเสพติด

สมศักดิ์ พละกาบ (2551)ได ศึกษาวิจัยเรื่อง “บทบาทของคณะกรรมการหมูบานในการแกไขปญหายาเสพติด ตําบลไผ อําเภอทรายมูล จังหวัดยโสธร” ผลการวิจัยพบวา คณะกรรมการหมูบาน มีบทบาทในการแกไขปญหายาเสพติดโดยรวมอยูในระดับมาก เมื่อพิจารณาเปนรายดาน พบวา อยูในระดับมากทุกดาน ลําดับตามคาเฉลี่ยสูงไปต่ํา คือ ดานการบําบัดรักษาและฟนฟูสมรรถภาพผูติดยาเสพติด ดานการปองกันและการปราบปรามยาเสพติดในชุมชน โดยมีขอเสนอแนะตอการแกไขปญหายาเสพติดจากคณะกรรมการหมูบาน ตําบลไผ อําเภอทรายมูล จังหวัดยโสธร คือ ควรมีการสงเสริมการพัฒนาอาชีพใหผูเสพและผูติดยาเสพติดที่ผานกระบวนการบําบัดรักษา ใหสามารถดํารงชีวิตโดยไมตองพึ่งพาและหวนกลับไปใชยาเสพติด ควรสงเสริม

Page 42: การมีส วนร วมในการป องกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Artapong_Chantanasorn

34

สนับสนุนใหมีการปราบปรามยาเสพติดอยางตอเนื่อง และควรมีวิทยากรมาใหความรูเกี่ยวกับ ยาเสพติดแกคณะกรรมการหมูบาน เพราะบางคนยังขาดความรูความเขาใจ

กฤษฎิ์ มงคลบุตร (2553) ไดศึกษาเรื่อง “ปจจัยที่มีความสัมพันธกับการมีสวนรวมของคณะกรรมการชุมชนในการแกไขปญหาการแพรระบาดของยาเสพติดใหโทษ ในเขตชุมชนในพื้นที่รับผิดชอบของสถานีตํารวจนครบาลบางเขน” ผลการศึกพบวา ระดับการมีสวนรวมของคณะกรรมการชุมชนในการแกไขปญหาการแพรระบาดของยาเสพติดใหโทษ มีระดับการมีสวนรวมอยูในระดับคอนขางสูง ประกอบดวย 4 ประเด็นหลัก คือ การมีสวนรวมในการใหความรูกับชุมชน การมีสวนรวมในการเผยแพรขาวสารใหกับชุมชน การมีสวนรวมในการปองกันยาเสพติดในชุมชน และการมีสวนรวมในการเฝาระวังภายในชุมชน สวนความคิดเห็นเกี่ยวกับปจจัยที่เกื้อหนุนตอการมีสวนรวมของคณะกรรมการชุมชน พบวา ภาพรวมอยูในระดับคอนขางสูง เรียงตามลําดับ ดังนี้ ดานประสบการณในการดํารงตําแหนง ดานประสบการณในการสัมมนา และดานการสนับสนุนจากเจาหนาที่ภาครัฐ สวนปจจัยที่มีความสัมพันธกับการมีสวนรวมของคณะกรรมการชุมชนในการแกไขการแพรระบาดของยาเสพติดใหโทษ ไดแก การเปนผูนํา คณะกรรมการชุมชน การอบรมความรูเกี่ยวกับยาเสพติดใหโทษ และการสนับสนุนจากภาครัฐ

ณัชธนวินท วัฒนกิจพิศาล (2553) ไดทําการศึกษาเรื่อง “การมีสวนรวมของประชาชนในการปองกันและปราบปรามยาเสพติด: ศึกษาเฉพาะกรณีชุมชนหมูบานสินทรัพยนคร เขตบางเขนกรุงเทพมหานคร” ผลการศึกษาพบวา การมีสวนรวมในการปองกันและปราบปรามยาเสพติดของประชาชนอยูในระดับสูง พิจารณารายดานพบวา อยูในระดับสูงทุกดานเรียงตามลําดับดังนี้ การมีสวนรวมในการเฝาระวังภายในชุมชน การมีสวนรวมในการใหความรูกับชุมชน การมีสวนรวมในการเผยแพรขาวสารใหกับชุมชน การมีสวนรวมในการปองกันยาเสพติดในชุมชน และ ความตระหนักตอปญหายาเสพติดของประชาชนอยูในระดับสูง

นพรัตน โคยามา (2552) ไดทําการศึกษาเรื่อง “ปจจัยการมีสวนรวมของคณะกรรมการชุมชนในการแกไขปญหาการแพรระบาดของยาเสพติด กรณีศึกษา : ชุมชนในเขตพื้นที่รับผิดชอบของสถานีตํารวจนครบาลบางซื่อ ผลการศึกษาพบวา การมีสวนรวมของคณะกรรมการชุมชนในการแกไขปญหาการแพรระบาดของยาเสพติดในภาพรวมอยูในระดับคอนขางสูง เรียงตามลําดับดังนี้ ดานการใหความรูกับชุมชน อยูในระดับการมีสวนรวมคอนขางสูง ดานการเผยแพรขาวสารใหกับชุมชน อยูในระดับการมีสวนรวมคอนขางสูง ดานการปองกันปญหายาเสพติดในชุมชน อยูในระดับการมีสวนรวมปานกลาง ดานการติดตามเฝาระวังภายในชุมชน อยูในระดับการมีสวนรวมปานกลาง

Page 43: การมีส วนร วมในการป องกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Artapong_Chantanasorn

35

2.5 กรอบแนวคิดในการศึกษาสําหรับการศึกษา การมีสวนรวมในการปองกันและปราบปรามยาเสพติดของ

คณะกรรมการชุมชนในพื้นที่สถานีตํารวจนครบาลบางเขนครั้งนี้ มุงศึกษาตัวแปรที่สงผลตอการมีสวนรวมของคณะกรรมการชุมชน เพื่อกําหนดกรอบแนวคิดในการศึกษา ดังนี้

ตั วแปรตน คือ ปจจัย เกื้ อหนุนใน การปองกันและ ปราบปรามยา เส พติดของคณะกรรมการชุมชน ตามแนวทางการศึกษาของกฤษฎิ์ มงคลบุตร (2553) มาใชเปนแนวทางในการศึกษา ประกอบดวย 3 ดาน ไดแก

1. ประสบการณการเปนผูนํา2. ความรูเกี่ยวกับยาเสพติดใหโทษ3. การสนับสนุนจากภาครัฐตั วแปรตาม คือการมีส ว นร วมในการปองกันและ ปราบปรามยา เสพติดของ

คณะกรรมการชุมชน ตามแนวทางของยุทธศาสตรการสงเสริมใหประชาชน ชุมชน ทองถิ่น และองคกร มีสวนรวมในกิจการตํารวจ ตามคําสั่งสํานักงานตํารวจแหงชาติ ที่ 248/2554 โดยยุทธศาสตรมุงใหประชาชนใหความรวมมือกับเจาหนาที่รัฐ ในการปองกันอาชญากรรมที่เกิดขึ้นและใหประชาชน ชุมชน ทองถิ่น และองคกร สามารถดําเนินการปองกันและแกไขปญหาอาชญากรรม ปญหายาเสพติด และปญหาอื่น ๆ ที่เกิดขึ้นในชุมชน มาเปนแนวทางในการศึกษา ซึ่งมีตัวชี้วัดไดแก

1. การมีสวนรวมในการเผยแพรความรูใหกับชุมชน2. การมีสวนรวมในการเฝาระวังและปองกันยาเสพติดในชุมชน3. การมีสวนรวมในการปราบปรามยาเสพติดในชุมชน ตัวแปรตน (IV) ตัวแปรตาม (DV)

แผนภาพที่ 2 แสดงความสัมพันธระหวางตัวแปรปจจัยเกื้อหนุนกับตัวแปรการมีสวนรวมของ คณะกรรมการชุมชนที่มีผลตอการปองกันและปราบปรามยาเสพติด

ปจจัยเกื้อหนุน1. ประสบการณการเปนผูนํา2. ความรูเกี่ยวกับยาเสพติดใหโทษ3. การสนับสนุนภาครัฐ

การมีสวนรวมในการปองกันและปราบปรามยาเสพติด 1. การมีสวนรวมในการเผยแพรความรูใหกับชุมชน2. การมีสวนรวมในการเฝาระวังและปองกันยาเสพติดในชุมชน3. การมีสวนรวมในการปราบปรามยาเสพติดในชุมชน

Page 44: การมีส วนร วมในการป องกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Artapong_Chantanasorn

36

2.6 สมมติฐานในการศึกษา สมมติฐานที่ 1 ประสบการณการเปนผูนํามีสหสัมพันธเชิงบวกกับการมีสวนรวมในการ

ปองกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการชุมชนสมมติฐานที่ 2 ความรูความเขาใจเกี่ยวกับยาเสพติดมีสหสัมพันธเชิงบวกกับการมีสวน

รวมในการปองกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการชุมชนสมมติฐานที่ 3 การสนับสนุนภาครัฐมีสหสัมพันธเชิงบวกกับการมีสวนรวมในการ

ปองกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการชุมชน

2.7 นิยามศัพทเชิงปฏิบัติการคณะกรรมการชุมชน หมายถึง ตัวแทนของสมาชิกชุมชน ซึ่งไดรับการเลือกตั้งจาก

สมาชิกชุมชนใหเปนผูนําในการวางแผน การบริหารงาน การปฏิบัติ การศึกษา การประสานงาน การควบคุมการทํางานของกลุม และการติดตามผลในการทํางาน

ปจจัยเกื้อหนุน หมายถึง สิ่งที่สนับสนุนใหเกิดการมีสวนรวมในการปองกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการชุมชน ประกอบดวย ประสบการณการเปนผูนํา ความรูเกี่ยวกับยาเสพติดใหโทษ และการสนับสนุนจากภาครัฐ

ประสบการณการเปนผูนํา หมายถึง ลักษณะการปฏิบัติหนาที่เปนผูนําที่ผานมาของคณะกรรมการชุมชน เชน การเปนผูนําดานการวางแผน การบริหาร การใหการศึกษา ประสานงานการปฏิบัติ การควบคุมการทํางานของกลุม และเปนผูนําในการติดตามผลในการทํางาน เปนตน

ความรูเกี่ยวกับยาเสพติด หมายถึง แนวทางการกระทําของหนวยงานภาครัฐที่มีเปาหมายเพื่อผลประโยชนและบรรลุวัตถุประสงครวมกันกับชุมชน ในการการปองกันและปราบปราม ยาเสพติด เชน การใหคําแนะนํา การจัดกิจกรรม การสนับสนุนงบประมาณและวัสดุอุปกรณ

การสนับสนุนภาครัฐ หมายถึง การที่คณะกรรมการชุมชนไดรับคําแนะนําจากเจาหนาที่ ไดแก กรุงเทพมหานคร สํานักงานตํารวจแหงชาติ สํานักงาน ป.ป.ส. เกี่ยวกับการปองกันและแกไขปญหาการแพรระบาดของยาเสพติดใหโทษ ตลอดจนรวมถึงการไดรับสนับสนุนตาง ๆ จากเจาหนาที่ เชน การไดรับคําแนะนํา ดานความรู ไดรับการสนับสนุนเขารวมกิจกรรมที่จัดขึ้นในชุมชน การสนับสนุนงบประมาณ และสนับสนุนวัสดุอุปกรณ

การมีสวนรวมในการเผยแพรความรูใหกับชุมชน หมายถึง การมีสวนรวมของคณะกรรมการชุมชนในการเผยแพรขาวสารความรู รับฟงและถายทอดความรูเกี่ยวกับการปองกันและปราบปราบยาเสพติใหแกชุมชน

Page 45: การมีส วนร วมในการป องกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Artapong_Chantanasorn

37

การมีสวนรวมในการเฝาระวังและปองกันยาเสพติดในชุมชน หมายถึง การมีสวนรวมของคณะกรรมการชุมชนในการจัดกิจกรรมในชุมชน ในการติดตามเฝาระวัง และสังเกตพฤติกรรมของสมาชิกในชุมชน ที่สอไปในทางที่อาจกอใหเกิดคดียาเสพติดขึ้นในชุมชน รวมทั้งการดําเนินการปองกันปญหาที่อาจเกิดจากคดียาเสพติด

การมีสวนรวมในการปราบปรามยาเสพติดในชุมชน หมายถึง การมีสวนรวมของคณะกรรมการชุมชน ในการชวยเหลือหรืออํานวยความสะดวก ตอการปฏิบัติงานของเจาพนักงานในการจับกุม ตรวจคน หรือการดําเนินการใด ๆ ที่เปนการปราบปรามยาเสพติด

Page 46: การมีส วนร วมในการป องกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Artapong_Chantanasorn

38

บทที่ 3วิธีการศึกษา

สําหรับการศึกษาการศึกษาครั้งนี้เปนการศึกษาเชิงสํารวจ (Survey Research) มุงศึกษาถึง การมีสวนรวมในการปองกันและปราบปรามยาเสพติดใหโทษของคณะกรรมการชุมชนในพื้นที่สถานีตํารวจนครบาลบางเขน จากกรอบแนวความคิด ทฤษฎี และผลงานวิจัยที่เกี่ยวของ ผูศึกษาไดนํามาใชเปนแนวทางในการกําหนดการจัดระเบียบวิธีการศึกษา เพื่อทดสอบสมมติฐานในการศึกษา และการดําเนินงานศึกษาอยางเปนขั้นตอนดังตอไปนี้

3.1 รูปแบบการศึกษาเปนการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) โดยสํารวจการมีสวนรวมใน

การปองกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการชุมชน โดยศึกษาชุมชนในพื้นที่สถานีตํารวจนครบาลบางเขน

3.2 ประชากรและกลุมตัวอยางในการศึกษาประชากร ที่ใชในการวิจัย ไดแก คณะกรรมการชุมชน ซึ่งเปนตัวแทนของชุมชนในพื้นที่

สถานีตํารวจนครบาลบางเขน โดยไดทําการศึกษาทั้งหมด จํานวน 92 ชุมชน โดยแตละชุมชนมีคณะกรรมการชุมชนละ 7 คน รวม 644 คน

กลุมตัวอยางผูศึกษาไดกําหนดขนาดกลุมตัวอยาง โดยใชหลักการของ Taro Yamane จากจํานวน

ประชากร 644 คน กําหนดระดับความเชื่อมั่น 95% ความผิดพลาดไมเกิน 5% คํานวณหาขนาดตัวอยางโดยใชสูตร Taro Yamanen (1967 : 886-887 )

n = N 1+Ne2

เมื่อ n = ขนาดตัวอยางN = จํานวนประชากรคือ คณะกรรมการชุมชน รวม 644 คนe = ระดับความมีนัยสําคัญ ความผิดพลาดที่ยอมรับ

(ในการศึกษาครั้งนี้กําหนดใหมีคาเทากับ 0.05)

Page 47: การมีส วนร วมในการป องกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Artapong_Chantanasorn

39

แทนคา n = 644 1 + 644(0.05)2

= 644 1 + 644 (0.0025)

= 247 คนจากการคํานวณไดขนาดกลุมตัวอยาง จํานวน 247 คน แตเพื่อความสะดวกในการ

วิเคราะหขอมูลผูศึกษาจึงเพิ่มกลุมตัวอยางอีกจํานวน 3 คน รวมเปน 250 คน ดังนั้น กลุมตัวอยางในการศึกษาครั้งนี้ คือ คณะกรรมการชุมชน ซึ่งเปนตัวแทนของ

ชุมชนในเขตพื้นที่รับผิดชอบของสถานีตํารวจนครบาลบางเขน จํานวน 250 คน

3.3 วิธีการสุมตัวอยางผูศึกษาจะใชวิธีการสุมตัวอยางแบบงายโดยนําแบบสอบถามไปแจกใหกลุมตัวอยาง

คณะกรรมการชุมชน ซึ่งเปนตัวแทนของชุมชนในเขตพื้นที่สถานีตํารวจนครบาลบางเขน กรอกขอมูลชุมชนละ 2 – 3 คน จนครบตามจํานวน 250 ชุด และขอรับคืนแบบสอบถามดวยตนเอง จนครบตามจํานวนดังที่แสดงในตารางที่ 1

ตารางที่ 1 แสดงจํานวนกลุมตัวอยางที่แจกแบบสอบถาม

ชื่อชุมชนจํานวน

คณะกรรมการชุมชน(คน)

จํานวนกลุมตัวอยางที่แจกแบบสอบถาม

(คน)1. ชุมชนประดิษฐโทรการ 7 32. ชุมชนพหลโยธิน 46 7 33. ชุมชนโรงชอน 45 7 34. ชุมชนวัดบางบัว 7 35. ชุมชนหลังกรมวิทยาศาสตร 7 36. ชุมชนอยูเจริญ (พหลโยธิน 40) 7 37. ชุมชนกรมวิทยาศาสตรทหารบก 7 38. ชุมชนกองพันทหารชางที่ 1 7 3

Page 48: การมีส วนร วมในการป องกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Artapong_Chantanasorn

40

ตารางที่ 1 (ตอ)

ชื่อชุมชนจํานวน

คณะกรรมการชุมชน(คน)

จํานวนกลุมตัวอยางที่แจกแบบสอบถาม

(คน)9. ชุมชนหมูบานเฉลิมสุขนิเวศน 9 7 310. ชุมชนบานบางเขน 7 311. ชุมชนหมูบานปนทอง 3 7 312. ชุมชนหมูบานพรอมสุข 7 313. ชุมชนเพชราวุธ 7 314. ชุมชนเพชราวุธ พัน.1 7 315. ชุมชนเพชราวุธ พัน.2 7 316. ชุมชนหมูบานรุงสวางวิลเลจ 7 317. ชุมชนวัดไตรรัตนาราม 7 318. ชุมชนหมูบานวังวราเวศน 7 319. ชุมชนหมูบานศิริชัย 7 320. ชุมชนสือสารรวมใจสามัคคี 7 321. ชุมชนอุทิศอนุสรณ 7 322. ชุมชนอาคารสวัสดิการ นทพ 7 323. ชุมชนหมูบานเฉลิมสุขนิเวศน 6 7 324. ชุมชนทิมเรืองเวช (พหลโยธิน 48) 7 325. ชุมชนหมูบานไปรษณียนิเวศน 7 326. ชุมชนหมูบานฝนทองนิเวศน 7 327. ชุมชนพหลโยธิน 48 7 328. ชุมชนรวมพัฒนา 33 7 329. ชุมชนหมูบานสินทรัพยนคร 7 330. ชุมชนอนันตสุขสันต 12 7 331. ชุมชนอยูรวย 7 332. ชุมชนหมูบานเอี่ยมพาณิชย 7 3

Page 49: การมีส วนร วมในการป องกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Artapong_Chantanasorn

41

ตารางที่ 1 (ตอ)

ชื่อชุมชนจํานวน

คณะกรรมการชุมชน(คน)

จํานวนกลุมตัวอยางที่แจกแบบสอบถาม

(คน)33.ชุมชนหมูบานเธียรสวน 7 334.ชุมชนอาคารสงเคราะห ทบ. 7 335.ชุมชนหมูบานอัมรินทรนิเวศน 7 336.ชุมชนกรมทหารขนสงรักษา 7 337.ชุมชนเสนาวัฒนา 7 338.ชุมชนเมตตา 7 339.ชุมชนแฟลต สน.บางเขน 7 340.ชุมชนกุบแดงรวมใจพัฒนา 7 341.ชุมชนบางบัวกองการภาพ 7 342.ชุมชนพลังสามัคคี 7 343.ชุมชนซอยน้ําใส 7 344.ชุมชนยิ่งศิริ 7 345.ชุมชนรวมใจพัฒนากลาง 7 346.ชุมชนรวมใจพัฒนาใต 7 347.ชุมชนรวมใจพัฒนาเหนือ 7 348.ชุมชนรอยกรอง 7 349.ชุมชนรุนใหมพัฒนา 7 350.ชุมชนหมูบานสดใส 7 351.ชุมชนสามัคคีรวมใจ 7 352.ชุมชนหมูบานสุขสันตพัฒนา 7 353.ชุมชนโสรัจ 7 354.ชุมชนหมูบานสวนทองวิลลา 1 7 355.ชุมชนหมูบานเทพนครนิเวศน 7 356.ชุมชนหมูบานทองสถิตยวิลลา 52 7 3

Page 50: การมีส วนร วมในการป องกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Artapong_Chantanasorn

42

ตารางที่ 1 (ตอ)

ชื่อชุมชนจํานวน

คณะกรรมการชุมชน(คน)

จํานวนกลุมตัวอยางที่แจกแบบสอบถาม

(คน)57.ชุมชนสุขฤดี 7 358.ชุมชนหมูบานอยูเจริญ (พหลฯ 50) 7 359.ชุมชน กสบ. หมูที่ 5 7 360.ชุมชนหมูบาน ป.สุวิมล 7 361.ชุมชนหมูบานเลิศอุบล 7 362.ชุมชนกรุณา 7 363.ชุมชนใจรัก 7 364.ชุมชนหมูบานซอยทหารอากาศ 52 7 365.ชุมชนหมูบานซื่อตรง 7 366.ชุมชนหมูบานณัฐกานต 7 367.ชุมชนหมูบานดอนเมืองวิลลา 2 7 268.ชุมชนทองอยูรวมใจ 7 269.ชุมชนทิมเรืองเวช (พหลโยธิน 52) 7 270.ชุมชนเธียรสวนพัฒนา 33 7 271.ชุมชนหมูบานพัฒนา 52 7 272.ชุมชนพูนทรัพย 7 273.ชุมชนเพิ่มสิน 1-2 7 274.ชุมชนแมบานรวมใจพัฒนา 7 275.ชุมชนรวมใจสามัคคี 7 276.ชุมชนรวมใจสามัคคี (ติดวัด) 7 277.ชุมชนรวมมิตรสัมพันธ 7 278.ชุมชนหมูบานสุขสมบูรณ 7 279.ชุมชนเรืองเฮาส 7 280.ชุมชนเพชรสยาม 7 2

Page 51: การมีส วนร วมในการป องกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Artapong_Chantanasorn

43

ตารางที่ 1 (ตอ)

ชื่อชุมชนจํานวน

คณะกรรมการชุมชน(คน)

จํานวนกลุมตัวอยางที่แจกแบบสอบถาม

(คน)81.ชุมชนอนันตสุขสันตรุน 18-20 7 282.ชุมชนเคหะรามอินทรา 7 283.ชุมชนหมูบานคงหิรัญ 7 284.ชุมชนซอยอุนจิตร 7 285.ชุมชนทหารผานศึก 7 286.ชุมชนหมูบานบางเขนวิลลา 7 287.ชุมชนหมูบานแหลมทองพัฒนา 7 288.ชุมชนธันธวัช 5 7 289.ชุมชนทหารสวนแยก 7 290.ชุมชนหมูวังไผ 7 291.ชุมชนกองซอมเครื่องสื่อสาร 7 292.ชุมชนกองการภาพ 7 2

รวม 92 ชุมชน 644 250

3.4 เครื่องมือที่ใชในการศึกษา1. เครื่องมือที่ใชในการศึกษาครั้งนี้ ไดแก แบบสอบถาม (Questionnaire) เปน

แบบสอบถามแบบปลายปด เพื่อทําการสอบถามคณะกรรมการชุมชนเปนรายบุคคล แบงออกเปน 3 ตอน ดังนี้

ตอนที่ 1 ขอมูลพื้นฐานทั่วไปของคณะกรรมการชุมชน ไดแก อายุ ระดับการศึกษา อาชีพและระยะเวลาในการเปนคณะกรรมการชุมชน

ตอนที่ 2 ขอมูลปจจั ย เกื้ อหนุนใน การปองกันและปราบปราบยา เสพติดของคณะกรรมการชุมชน: ศึกษาชุมชนในพื้นที่สถานีตํารวจนครบาลบางเขน ไดแก ประสบการณการเปนผูนํา ความรูความเขาใจเก่ียวกับยาเสพติด และการสนับสนุนจากภาครัฐ

Page 52: การมีส วนร วมในการป องกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Artapong_Chantanasorn

44

สําหรับขอคําถามเกี่ยวกับประสบการณการเปนผูนํา ผูศึกษาไดใหคาคะแนนตามการปฏิบัติหนาที่ในการเปนผูนํา / ตัวแทนชุมชน โดยกําหนดหนาที่คณะกรรมการชุมชนสามารถปฏิบัติได แบงออกเปน 7 หนาที่ คือเปนผูนําวางแผน เปนผูนําในการบริหารงาน เปนผูนําในการศึกษา เปนผูประสานงาน เปนผูนําในการปฏิบัติการ และเปนผูนําในการติดตามผลในการทํางาน ใหคาคะแนนตามที่คณะกรรมการชุมชนไดปฏิบัติหนาที่ โดยใหคาคะแนนการปฏิบัติหนาที่แตละอยาง ตามระดับการปฏิบัติหนาที่นั้นๆ คือ ใชระบบการวัดโดยใหคาคะแนนในการปฏิบัติหนาที่ทุกประเด็นที่กลาวมาทั้ง 7 ประเด็นเปน 4 คะแนน ดังนี้

ไมเคยปฏิบัติหนาที่เลย ใหคาคะแนนเทากับ 1ปฏิบัติหนาที่นอย ใหคาคะแนนเทากับ 2ปฏิบัติหนาที่ปานกลาง ใหคาคะแนนเทากับ 3ปฏิบัติหนาที่มาก ใหคาคะแนนเทากับ 4การแปลผลคะแนน เพื่อวัดระดับการปฏิบัติหนาที่ในการเปนผูนํา / ตัวของชุมชนทั้ง 7

ประเด็น พิจารณาโดยใชคาเฉลี่ย (Mean) เปนเกณฑแบงระดับออกเปน 4 ระดับ โดยแตละระดับจะมีคะแนนตางกัน (Class Interval) ตามเกณฑการกําหนดระดับจากการคํานวณหาอันตรภาคชั้น ดังนี้

ชวงคะแนน = คะแนนสูงสุด – คะแนนต่ําสุด = 4 – 1 = 0.75 จํานวนชั้น 4

โดยนําคะแนนที่ไดมาวิเคราะหหาคาเฉลี่ย การแปลความหมายของระดับคะแนนเฉลี่ย โดยยึดเกณฑตามคาที่ไดจากสูตรคํานวณของระดับชั้น = .75 ดังนี้

จากหลักเกณฑดังกลาว จะไดเกณฑการวัดระดับคะแนนแบงเปนชวง 4 ชวง สําหรับใชแปลคาเฉลี่ยของระดับประสบการณการเปนผูนํา ดังนี้

คะแนนเฉลี่ย 3.26 - 4.00 หมายถึง ระดับสูงคะแนนเฉลี่ย 2.51 - 3.25 หมายถึง ระดับคอนขางสูงคะแนนเฉลี่ย 1.76 - 2.50 หมายถึง ระดับคอนขางต่ําคะแนนเฉลี่ย 1.00 - 1.75 หมายถึง ระดับต่ํา

สําหรับขอคําถามเกี่ยวกับความรูความเขาใจเกี่ยวกับยาเสพติด ผูศึกษาไดกําหนดหลักเกณฑการใหคาคะแนน การเขารวมกิจกรรมการอบรมสัมมนาใหความรูเกี่ยวกับยาเสพติดของคณะกรรมการชุมชนไว 3 ประเด็น คือ การสัมมนาการใหความรูเกี่ยวกับยาเสพติด , การปองกัน

Page 53: การมีส วนร วมในการป องกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Artapong_Chantanasorn

45

การแพรระบาดของยาเสพติดในชุมชน และ กฎหมายที่เกี่ยวของกับยาเสพติด โดยจะมีระดับการใหคะแนน 4 ระดับ ดังนี้

ไมเคยเขารวมสัมมนาอบรมเลย ใหคาคะแนนเทากับ 1ไดเขารวมสัมมนาอบรมนอย ใหคาคะแนนเทากับ 2ไดเขารวมสัมมนาอบรมปานกลาง ใหคาคะแนนเทากับ 3ไดเขารวมสัมมนาอบรมมาก ใหคาคะแนนเทากับ 4การแปลผลคะแนน เพื่อวัดระดับประสบการณการสัมมนาอบรมความรู เกี่ยวกับ

ยาเสพติด ทั้ง 3 ประเด็น พิจารณาโดยใชคาเฉลี่ย (Mean) เปนเกณฑแบงระดับออกเปน 2 ระดับ โดยแตละระดับจะมีคะแนนตางกัน (Class Interval) ตามเกณฑการกําหนดระดับจากการคํานวณหาอันตรภาคชั้น ดังนี้ ชวงคะแนน = คะแนนสูงสุด – คะแนนต่ําสุด = 4 – 1 = 0.75 จํานวนชั้น 4

โดยนําคะแนนที่ไดมาวิเคราะหหาคาเฉลี่ย การแปลความหมายของระดับคะแนนเฉลี่ยโดยยึดเกณฑตามคาที่ไดจากสูตรคํานวณของระดับชั้น = .75 ดังนี้

จากหลักเกณฑดังกลาว จะไดเกณฑการวัดระดับคะแนนแบงเปนชวง 4 ชวง สําหรับใชแปลคาเฉลี่ยของระดับความรูความเขาใจเกี่ยวกับยาเสพติด ดังนี้

คะแนนเฉลี่ย 3.26 - 4.00 หมายถึง ระดับสูงคะแนนเฉลี่ย 2.51 - 3.25 หมายถึง ระดับคอนขางสูงคะแนนเฉลี่ย 1.76 - 2.50 หมายถึง ระดับคอนขางต่ําคะแนนเฉลี่ย 1.00 - 1.75 หมายถึง ระดับต่ํา

สําหรับขอคําถามเกี่ยวกับการสนับสนุนจากภาครัฐ ผูศึกษาไดกําหนดลักษณะการสนับสนุนของเจาหนาที่เกี่ยวกับยาเสพติด ไดแก ไดรับการเขารวมอบรมสัมมนา ไดรับการสนับสนุนเขารวมกิจกรรมที่จัดขึ้นในชุมชน ไดรับสนับสนุนใหไปศึกษาดูงาน และไดรับสนับสนุนดานงบประมาณและวัสดุอุปกรณ ใหคะแนนตามที่คณะกรรมการชุมชนไดรับการสนับสนุนจากภาครัฐ โดยใหคาคะแนนในการสนับสนุนแตละอยาง ตามระดับการไดรับการสนับสนุนนั้นๆ คือ ใชระบบการวัดโดยใหคาคะแนน

Page 54: การมีส วนร วมในการป องกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Artapong_Chantanasorn

46

ในการไดรับการสนับสนุนทุกประเด็นที่กลาวมาทั้ง 4 ประเด็นเปน 4 คะแนน ดังนี้ไมเคยไดรับการสนับสนุนเลย ใหคาคะแนนเทากับ 1ไดรับการสนับสนุนนอย ใหคาคะแนนเทากับ 2ไดรับการสนับสนุนปานกลาง ใหคาคะแนนเทากับ 3ไดรับการสนับสนุนมาก ใหคาคะแนนเทากับ 4การแปลผลคะแนน เพื่อวัดระดับการไดรับการสนับสนุนจากเจาหนาที่ทั้ง 4 ประเด็น

พิจารณาโดยใชคาเฉลี่ย (Mean) เปนเกณฑแบงระดับออกเปน 4 ระดับ โดยแตละระดับจะมีคะแนนตางกัน (Class Interval) ตามเกณฑการกําหนดระดับจากการคํานวณหาอันตรภาคชั้น ดังนี้

ชวงคะแนน = คะแนนสูงสุด – คะแนนต่ําสุด = 4 – 1 = 0.75 จํานวนชั้น 4

โดยนําคะแนนที่ไดมาวิเคราะหหาคาเฉลี่ย การแปลความหมายของระดับคะแนนเฉลี่ยโดยยึดเกณฑตามคาที่ไดจากสูตรคํานวณของระดับชั้น = .75 ดังนี้

จากหลักเกณฑดังกลาว จะไดเกณฑการวัดระดับคะแนนแบงเปนชวง 4 ชวง สําหรับใชแปลคาเฉลี่ยของระดับการสนับสนุนจากภาครัฐ ดังนี้

คะแนนเฉลี่ย 3.26 - 4.00 หมายถึง ระดับสูงคะแนนเฉลี่ย 2.51 - 3.25 หมายถึง ระดับคอนขางสูงคะแนนเฉลี่ย 1.76 - 2.50 หมายถึง ระดับคอนขางต่ําคะแนนเฉลี่ย 1.00 - 1.75 หมายถึง ระดับต่ํา

ตอนที่ 3 ขอมูลระดับในการมีสวนรวมในการปองกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการชุมชน ในแตละประเด็น ดังนี้

1. การมีสวนรวมในการเผยแพรความรูใหกับชุมชน ประกอบดวยคําถามทั้งหมด 5 ขอ2. การมีสวนรวมในการเฝาระวังและปองกันยาเสพติดในชุมชน ประกอบดวยคําถาม

ทั้งหมด 5 ขอ3. การมีสวนรวมในการปราบปรามยาเสพติดในชุมชน ประกอบดวยคําถามทั้งหมด 5

ขอสําหรับเครื่องมือในตอนที่ 3 ที่ใชวัดระดับในการมีสวนรวมในการปองกันและ

ปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการชุมชน ผูศึกษาใชระบบการวัดโดยใหคาคะแนนในการมี

Page 55: การมีส วนร วมในการป องกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Artapong_Chantanasorn

47

สวนรวมในการปองกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการชุมชนทุกประเด็นที่กลาวมา เปน 4 คะแนนดังนี้

ไมมีสวนรวมเลย ใหคาคะแนนเทากับ 1มีสวนรวมนอย ใหคาคะแนนเทากับ 2มีสวนรวมปานกลาง ใหคาคะแนนเทากับ 3มีสวนรวมมาก ใหคาคะแนนเทากับ 4การแปลผลคะแนนเพื่อวัดระดับการมีสวนรวมในการปองกันและปราบปรามยาเสพติด

ในชุมชนทั้ง 3 ประเด็น พิจารณาโดยใชคาเฉลี่ย (Mean) เปนเกณฑแบงออกเปน 4 ระดับ โดยแตละระดับ จะมีคะแนนตางกัน (Class Interval) ตามเกณฑการกําหนดระดับจากการคํานวณหา อันตรภาคชั้น ดังนี้

ชวงคะแนน = คะแนนสูงสุด – คะแนนต่ําสุด = 4 – 1 = 0.75 จํานวนชั้น 4

โดยนําคะแนนที่ไดมาวิเคราะหหาคาเฉลี่ย การแปลความหมายของระดับคะแนนเฉลี่ยโดยยึดเกณฑตามคาที่ไดจากสูตรคํานวณของระดับชั้น = .75 ดังนี้

จากหลักเกณฑดังกลาว จะไดเกณฑการวัดระดับคะแนนแบงเปนชวง 4 ชวง สําหรับใชแปลคาเฉลี่ยของระดับการมีสวนรวมในการแกไขปญหาการแพรระบาดของยาเสพติดของคณะกรรมการชุมชน ดังนี้

คะแนนเฉลี่ย 3.26 - 4.00 หมายถึง ระดับสูงคะแนนเฉลี่ย 2.51 - 3.25 หมายถึง ระดับคอนขางสูงคะแนนเฉลี่ย 1.76 - 2.50 หมายถึง ระดับคอนขางต่ําคะแนนเฉลี่ย 1.00 - 1.75 หมายถึง ระดับต่ํา

2. นําแบบสอบถามที่สรางขึ้นใหอาจารยที่ปรึกษาไดตรวจสอบความสอดคลองของเนื้อหากับวัตถุประสงคของการศึกษา เปนการศึกษาความเที่ยงตรง (Validity) ของแบบสอบถาม แลวนํามาปรับปรุงแกไข เพื่อใหคําถามชัดเจนสามารถสื่อความหมายไดตรงประเด็นและเหมาะสมยิ่งขึ้น

3. การทดสอบเครื่องมือที่ใชในการศึกษา โดยการหาความเชื่อมั่น (Reliability) ของเครื่องมือโดยการนําแบบสอบถามไปสอบถามคณะกรรมการชุมชน ซึ่งเปนตัวแทนของชุมชนใน

Page 56: การมีส วนร วมในการป องกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Artapong_Chantanasorn

48

เขตพื้นที่สถานีตํารวจนครบาลบางเขน จํานวน 35 คน แลวจึงนํามาคํานวณหาคาความเชื่อมั่น ตามวิธีของ Cronbach (Cronbach’s Reliability Coeffcient Alpha) ซึ่งไดคาความเชื่อมั่น (Alpha) ดังนี้

ตัวแปร คาแอลฟา (Alpha) ปจจัยเกื้อหนุน1. ประสบการณการเปนผูนํา .94492. ความรูเกี่ยวกับยาเสพติด .90473. การสนับสนุนจากภาครัฐ .9366

ตัวแปร คาแอลฟา (Alpha)การมีสวนรวมในการปองกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการชุมชน1. การมีสวนรวมในการเผยแพรความรูใหกับชุมชน .94922. การมีสวนรวมในการเฝาระวังและปองกันยาเสพติดในชุมชน .88113. การมีสวนรวมในการปราบปรามยาเสพติดในชุมชน .9084

3.5 การเก็บรวบรวมขอมูลผูศึกษาไดเก็บรวบรวมขอมูลโดยการใชแบบสอบถามปลายปด ที่ไดรับการแกไข

ปรับปรุงแลว ไปสอบถามคณะกรรมการชุมชน จํานวน 92 ชุมชน ชุมชนละ 2-3 คน เก็บขอมูลโดยการสอบถามคณะกรรมการดวยตนเอง ในระหวางการจัดประชุมคณะกรรมการชุมชน

3.6 การวิเคราะหขอมูลการวิเคราะหขอมูล ผูศึกษานําขอมูลที่รวบรวมไดมาตรวจสอบความถูกตองและความ

เรียบรอย จากนั้นไดนํามาจัดระเบียบขอมูลเพื่อเตรียมการสําหรับการวิเคราะหทางสถิติ ซึ่งมีขั้นตอน ดังนี้

1. แปลงขอมูลที่ไดในแบบสอบถามเปนรหัส (Code) แลวบันทึกขอมูลลงในโปรแกรมสําเร็จรูป

2. วิเคราะหคาทางสถิติ แลวนําผลที่ไดจากการประมวลขอมูลมาวิเคราะหคาทางสถิติ

Page 57: การมีส วนร วมในการป องกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Artapong_Chantanasorn

49

3.7 สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล1. คารอยละ (Percentage) และคาเฉลี่ย (Mean) เพื่ออธิบายและวิเคราะหตัวแปร

คุณลักษณะสวนบุคคลของคณะกรรมการชุมชน ไดแก อายุ การศึกษา อาชีพ รายได ประสบการณการเปนผูนํา ความรูความเขาใจเก่ียวกับยาเสพติด และการสนับสนุนจากภาครัฐ

2. คารอยละ (Percentage) คาเฉลี่ย (Mean) คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)และคาสูงสุดต่ําสุด (Maximum – Minimum) กับตัวแปรการมีสวนรวมในการปองกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการชุมชน

3. ใชคาสถิติสัมประสิทธิ์สหสัมพันธแบบเพียรสัน (Pearson’s Correlation) เพื่อวิเคราะหหาสหสัมพันธระหวางตัวแปรอิสระ เชน ประสบการณการเปนผูนํา ความรูความเขาใจเกี่ยวกับ ยาเสพติด และการสนับสนุนจากภาครัฐ กับตัวแปรตาม เชน การมีสวนรวมในการปองกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการชุมชน เกณฑการวัดระดับสหสัมพันธ (พิชิต พิทักษเทพสมบัติ, 2531: 198) ไดแบงเกณฑการวัดระดับสหสัมพันธ ดังน้ี

คาของ r แสดงวา+ 0.70 ขึ้นไป หมายถึง สหสัมพันธในทางบวกและสูงมาก+ 0.50 ถึง 0.69 หมายถึง สหสัมพันธในทางบวกและมากพอสมควร+ 0.30 ถึง 0.49 หมายถึง สหสัมพันธในทางบวกและปานกลาง+ 0.10 ถึง 0.29 หมายถึง สหสัมพันธในทางบวกและต่ํา+ 0.10 ถึง 0.09 หมายถึง สหสัมพันธในทางบวกและแทบไมมีสหสัมพันธ0.00 หมายถึง ไมมีสหสัมพันธเลย- 0.10 ถึง 0.09 หมายถึง สหสัมพันธในทางลบและแทบไมมีสหสัมพันธ- 0.10 ถึง 0.29 หมายถึง สหสัมพันธในทางลบและต่ํา- 0.30 ถึง 0.49 หมายถึง สหสัมพันธในทางลบและปานกลาง- 0.50 ถึง 0.69 หมายถึง สหสัมพันธในทางลบและมากพอสมควร- 0.70 ขึ้นไป หมายถึง สหสัมพันธในทางลบและสูงมากโดยสหสัมพันธในทางลบ (-) แสดงวา มีสหสัมพันธในทิศทางตรงขาม

Page 58: การมีส วนร วมในการป องกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Artapong_Chantanasorn

50

บทที่ 4ผลการวิเคราะหขอมูล

การศึกษาเรื่อง การมีสวนรวมในการปองกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการชุมชนในพื้นที่สถานีตํารวจนครบาลบางเขน นําเสนอผลการวิเคราะหขอมูลเพื่อตอบวัตถุประสงคออกเปน 4 สวน ดังตอไปนี้

4.1 การวิเคราะหขอมูลพื้นฐานทั่วไป 4.2 การวิเคราะหขอมูลปจจัยเกื้อหนุนในการปองกันและปราบปรามยาเสพติดของ

คณะกรรมการชุมชน4.3 การวิ เคราะหขอมูลการมีสวนรวมในการปองกันและปราบปรามยาเสพติดของ

คณะกรรมการชุมชน4.4 การทดสอบสมมติฐาน

4.1 การวิเคราะหขอมูลพื้นฐานทั่วไปการวิเคราะหขอมูลพื้นฐานทั่วไปของคณะกรรมการชุมชน ที่ไดจากแบบสอบถาม

ประกอบดวย อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ และระยะเวลาในการเปนคณะกรรมการชุมชนโดยใชคาความถี่และคารอยละ ปรากฏดังรายละเอียดดังนี้

Page 59: การมีส วนร วมในการป องกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Artapong_Chantanasorn

51

ตารางที่ 2 แสดงจํานวนและรอยละของขอมูลพื้นฐานทั่วไปของคณะกรรมการชุมชน ( n = 250)

ขอมูลพื้นฐานทั่วไป จํานวน รอยละอายุ 21 – 30 ป 31 – 40 ป 41 – 50 ป 51 – 60 ป 61 ปขึ้นไป

176

6110363

6.82.4

24.441.225.2

รวม 250 100.0

ระดับการศึกษา ประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนตน มัธยมศึกษาตอนปลาย/ปวช. อนุปริญญา/ปวส. ปริญญาตรี สูงกวาปริญญาตรี

6148022

11315

2.45.6

32.08.8

45.26.0

รวม 250 100.0อาชีพ ขาราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจ ลูกจางบริษัท หางราน โรงงาน คาขาย

รับจางทั่วไป ไมไดประกอบอาชีพ อื่น ๆ ไดแก ขาราชการบํานาญและธุรกิจสวนตัว

42223237433935

16.88.8

12.814.817.215.614.0

รวม 250 100.0

Page 60: การมีส วนร วมในการป องกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Artapong_Chantanasorn

52

ตารางที่ 2 (ตอ) ( n = 250)

ขอมูลพื้นฐานทั่วไป จํานวน รอยละระยะเวลาในการเปนคณะกรรมการชุมชน 1 – 5 ป 6 – 10 ป คอนขางสูงกวา 10 ป

1085315

43.250.86.0

รวม 250 100.0

จากตารางที่ 2 ผลการศึกษาขอมูลพื้นฐานทั่วไปของคณะกรรมการชุมชนในเขตพื้นที่สถานีตํารวจนครบาลบางเขน จํานวน 250 คน มีรายละเอียดดังนี้

จําแนกตามอายุ พบวา คณะกรรมการชุมชนสวนใหญมีอายุระหวาง 51 - 60 ป จํานวน 103 คน คิดเปนรอยละ 41.2 รองลงมาคือมีอายุ 61 ปขึ้นไป จํานวน 63 คน คิดเปนรอยละ 25.2 อายุระหวาง 41 – 50 ป จํานวน 61 คน คิดเปนรอยละ 24.4 อายุระหวาง 21 - 30 ป จํานวน 17 คน คิดเปนรอยละ 6.8 และนอยที่สุดคือมีอายุระหวาง 31 – 40 ป จํานวน 6 คน คิดเปนรอยละ 2.4 ตามลําดับ

จําแนกตามระดับการศึกษา พบวา คณะกรรมการชุมชนสวนใหญมีการศึกษาระดับ ปริญญาตรี จํานวน 113 คน คิดเปนรอยละ 45.2 รองลงมาคือ มัธยมศึกษาตอนปลาย/ปวช. จํานวน 80คน คิดเปนนอยละ 32.0 อนุปริญญา/ปวส. จํานวน 22 คน คิดเปนรอยละ 8.8 สูงกวาปริญญาตรี จํานวน 15 คน คิดเปนรอยละ 6.0 มัธยมศึกษาตอนตน จํานวน 14 คน คิดเปนรอยละ 5.6 และนอยที่สุดคือ ประถมศึกษา จํานวน 6 คน คิดเปนรอยละ 2.4 ตามลําดับ

จําแนกตามอาชีพ พบวา คณะกรรมการชุมชนสวนใหญมีอาชีพรับจาง จํานวน 43 คน คิดเปนรอยละ 17.2 รองลงมาคือ รับราชการ จํานวน 42 คิดเปนรอยละ 16.8 ไมไดประกอบอาชีพ จํานวน 39 คน คิดเปนรอยละ 15.6 คาขาย จํานวน 37 คน คิดเปนรอยละ 14.8 อื่น ๆ ไดแก ขาราชการบํานาญและธุรกิจสวนตัว จํานวน 35 คน คิดเปนรอย 14.0 ลูกจางบริษัท หางราน โรงงาน จํานวน 32 คน คิดเปนรอยละ 14.8 และนอยที่สุดคือ พนักงานรัฐวิสาหกิจ จํานวน 22คน คิดเปนรอยละ 8.8 ตามลําดับ

จําแนกตามระยะเวลาในการเปนคณะกรรมการชุมชน พบวา คณะกรรมการชุมชนสวนใหญมีระยะเวลาในการเปนคณะกรรมการชุมชน 6 – 8 ป จํานวน 127 คน คิดเปนรอยละ 50.8 รองลงมาคือ

Page 61: การมีส วนร วมในการป องกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Artapong_Chantanasorn

53

1 – 5 ป จํานวน 108 คน คิดเปนรอยละ 43.2 และคอนขางสูงกวา 10 ป จํานวน 15 คน คิดเปนรอยละ 6.0 ตามลําดับ

4.2 การวิ เคราะหขอมูลปจจัยเกื้อหนุนในการปองกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการชุมชน

ในการวิ เคราะหขอมูลปจจัยเกื้อหนุนในการปองกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการชุมชน ประกอบดวย 1.ประสบการณการเปนผูนํา 2.ความรูเกี่ยวกับยาเสพติด และ 3.การสนับสนุนจากภาครัฐ มีรายละเอียดดังตอไปดังนี้

ตารางที่ 3 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของปจจัยเกื้อหนุน

ระดับความคิดเห็นปจจัยเกื้อหนุน

X SDแปลผล

1.ดานประสบการณในการเปนผูนํา 2.95 .805 คอนขางสูง2.ดานความรูความเขาใจเกี่ยวกับยาเสพติด 2.96 .907 คอนขางสูง3.ดานการสนับสนุนจากภาครัฐ 3.04 .814 คอนขางสูง

รวม 2.98 .811 คอนขางสูง

จากตารางที่ 3 ผลการศึกษา พบวา ปจจัยเกื้อหนุนในภาพรวมอยูในระดับคอนขางสูง คือมีคาเฉลี่ยเทากับ 2.98 (SD = .811)

เมื่อพิจารณาในแตละดานพบวา คณะกรรมการชุมชนมีความคิดเห็นตอปจจัยที่เกื้อหนุน เรียงตามลําดับคาเฉลี่ยดังนี้ อันดับแรกคือ ดานการสนับสนุนจากภาครัฐ มีคาเฉลี่ยเทากับคือ 3.04 (SD = .824) รองลงมาคือ ดานความรูความเขาใจเกี่ยวกับยาเสพติดใหโทษ มีคาเฉลี่ยเทากับ 2.96 (SD = .907) และดานประสบการณในการเปนผูนํา มีคาเฉลี่ยเทากับ 2.95 (SD = .805)

Page 62: การมีส วนร วมในการป องกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Artapong_Chantanasorn

54

อยางไรก็ตามเพื่อใหสามารถวิเคราะหผล ไดละเอียดคอนขางสูงยิ่งขึ้น ผูศึกษาไดทําการศึกษาปจจัยที่เกื้อหนุนทั้ง 3 ดาน โดยมีรายละเอียดดังนี้

1. ดานประสบการณในการเปนผูนําจากการวิเคราะหขอมูล ผลการศึกษาปรากฎผลดังตารางตอไปนี้

ตารางที่ 4 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของปจจัยเกื้อหนุน ดานประสบการณในการเปนผูนํา

ระดับความคิดเห็นดานประสบการณในการเปนผูนํา

X SDแปลผล

1. เปนผูนําการวางแผน 2.96 .909 คอนขางสูง2. เปนผูนําในการบริหารงาน 3.01 .929 คอนขางสูง3. เปนผูนําใหการศึกษา 3.04 .937 คอนขางสูง4. เปนผูประสานงาน 3.10 .938 คอนขางสูง5. เปนผูนําในการปฏิบัติ 2.97 .961 คอนขางสูง6. เปนผูนําในการควบคุมการทํางานของกลุม 2.76 .643 คอนขางสูง7. เปนผูนําในการติดตามผลในการทํางาน 2.81 1.120 คอนขางสูง

รวม 2.95 .805 คอนขางสูง

จากตารางที่ 4 ผลการวิเคราะหปจจัยเกื้อหนุน ดานประสบการณในการเปนผูนํา พบวา คณะกรรมการชุมชนมีความคิดเห็นตอปจจัยเกื้อหนุน ดานประสบการณในการเปนผูนํา โดยภาพรวมมีคาเฉลี่ยในระดับคอนขางสูง มีคาเฉลี่ยเทากับ 2.95 (SD = .805)

เมื่อพิจารณาในแตละประเด็นขอคําถาม พบวา คณะกรรมการชุมชนมีความคิดเห็นในระดับคอนขางสูงทั้ง 7 ขอคําถาม นําเสนอเรียงตามลําดับคาเฉลี่ยดังนี้ อันดับแรกคือ การเปนผูประสานงาน มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.10 (SD = .938) รองลงมาคือ เปนผูนําใหการศึกษา มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.04 (SD = .937) เปนผูนําในการบริหารงาน มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.01 (SD = .929) เปนผูนําในการปฏิบัติ มีคาเฉลี่ยเทากับ 2.97 (SD = .961) เปนผูนําการวางแผน มีคาเฉลี่ยเทากับ 2.96 (SD = .909) เปนผูนําในการติดตามผลใน

Page 63: การมีส วนร วมในการป องกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Artapong_Chantanasorn

55

การทํางาน มีคาเฉลี่ยเทากับ 2.81 (SD = 1.120) และอันดับสุดทายคือ เปนผูนําในการควบคุมการทํางานของกลุม มีคาเฉลี่ยเทากับ 2.76 (SD = .643) ตามลําดับ

2. ดานความรูความเขาใจเกี่ยวกับยาเสพติดจากการวิเคราะหขอมูล ผลการศึกษาปรากฎผลดังตารางตอไปนี้

ตารางที่ 5 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของปจจัยเกื้อหนุน ดานความรูความเขาใจเกี่ยวกับยาเสพติด

ระดับความคิดเห็นดานความรูความเขาใจเกี่ยวกับยาเสพติด

X SDแปลผล

1. ความรูเกี่ยวกับภัยจากยาเสพติด 2.96 .907 คอนขางสูง2. การปองกันการแพรระบาดของยาเสพติด 3.16 .942 คอนขางสูง3. กฎหมายที่เกี่ยวของกับยาเสพติด 2.76 1.108 คอนขางสูง

รวม 2.96 .907 คอนขางสูง

จากตารางที่ 5 ผลการวิเคราะหปจจัยเกื้อหนุน ดานความรูความเขาใจเกี่ยวกับยาเสพติด พบวา คณะกรรมการชุมชนมีความคิดเห็นตอปจจัยเกื้อหนุน ดานความรูความเขาใจเกี่ยวกับยาเสพติด โดยภาพรวมมีคาเฉลี่ยในระดับคอนขางสูง มีคาเฉลี่ยเทากับ 2.96 (SD = .907)

เมื่อพิจารณาในแตละประเด็นขอคําถาม พบวา คณะกรรมการชุมชนมีความคิดเห็นในระดับคอนขางสูงทั้ง 3 ขอคําถาม นําเสนอเรียงตามลําดับคาเฉลี่ยดังนี้ อันดับแรกคือ การปองกันการแพรระบาดของยาเสพติด มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.16 (SD = .942) รองลงมาคือ ความรูเกี่ยวกับภัยจากยาเสพติด มีคาเฉลี่ยเทากับ 2.96 (SD = .907) และอันดับสุดทายคือ กฎหมายที่เกี่ยวของกับยาเสพติด มีคาเฉลี่ยเทากับ 2.76 (SD = 1.108) ตามลําดับ

Page 64: การมีส วนร วมในการป องกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Artapong_Chantanasorn

56

3. ดานการสนับสนุนจากภาครัฐจากการวิเคราะหขอมูล ผลการศึกษาปรากฎผลดังตารางตอไปนี้

ตารางที่ 6 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของปจจัยเกื้อหนุน ดานการสนับสนุนจากภาครัฐ

ระดับความคิดเห็นดานการสนับสนุนจากภาครัฐ

X SDแปลผล

1. ทานมีการเขารวมการอบรมสัมมนาเกี่ยวกับการปองกันและปราบปรามยาเสพติดกับหนวยงานที่เกี่ยวของ

3.17 .963 คอนขางสูง

2. ทานเคยใหความรวมมือในการจัดกิจกรรมปองกันและปราบปรามยาเสพติดรวมกับหนวยงานที่เกี่ยวของ

2.93 .786 คอนขางสูง

3. ทานเคยไปไดรับการสนับสนุนจากหนวยงานที่เกี่ยวของใหไปศึกษาดูงาน

2.90 .827 คอนขางสูง

4. ทานเคยรวมจัดสรรงบประมาณ วัสดุ อุปกรณที่ไดมาจากการสนับสนุนจากหนวยงานที่เกี่ยวของ

3.16 .962 คอนขางสูง

รวม 3.04 .814 คอนขางสูง

จากตารางที่ 6 ผลการวิเคราะหปจจัยเกื้อหนุน ดานการสนับสนุนจากภาครัฐ พบวา คณะกรรมการชุมชนมีความคิดเห็นตอปจจัยเกื้อหนุน ดานการสนับสนุนจากภาครัฐ โดยภาพรวมมีคาเฉลี่ยในระดับคอนขางสูง มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.04 (SD = .814)

เมื่อพิจารณาในแตละประเด็นขอคําถาม พบวา คณะกรรมการชุมชนมีความคิดเห็นในระดับคอนขางสูงทั้ง 4 ขอคําถาม นําเสนอเรียงตามลําดับคาเฉลี่ยดังนี้ อันดับแรกคือ ทานมีการเขารวมการอบรมสัมมนาเกี่ยวกับการปองกันและปราบปรามยาเสพติดกับหนวยงานที่เกี่ยวของ มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.17 (SD = .963) รองลงมาคือ ทานเคยรวมจัดสรรงบประมาณ วัสดุ อุปกรณที่ไดมาจากการสนับสนุนจากหนวยงานที่เกี่ยวของ มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.16 (SD = .962) ทานเคยใหความรวมมือในการจัดกิจกรรมปองกันและปราบปรามยาเสพติดรวมกับหนวยงานที่เกี่ยวของ มีคาเฉลี่ยเทากับ 2.93 (SD = .786) และอันดับสุดทายคือ ทานเคยไปไดรับการสนับสนุนจากหนวยงานที่เกี่ยวของใหไปศึกษาดูงาน มีคาเฉลี่ยเทากับ 2.90 (SD = .827) ตามลําดับ

Page 65: การมีส วนร วมในการป องกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Artapong_Chantanasorn

57

4.3 การวิเคราะหขอมูลการมีสวนรวมในการปองกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการชุมชน

การวิเคราะหขอมูลการมีสวนรวมในการปองกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการชุมชนในพื้นที่สถานีตํารวจนครบาลบางเขน ซึ่งมีตัวชี้วัดไดแก 1. การมีสวนรวมในการเผยแพรความรูใหกับชุมชน 2. การมีสวนรวมในการเฝาระวังและปองกันยาเสพติดในชุมชน 3. การมีสวนรวมในการปราบปรามยาเสพติดในชุมชน ซึ่งมีรายละเอียดดังตอไปดังนี้

ตารางที่ 7 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานการมีสวนรวมในการปองกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการชุมชนในพื้นที่สถานีตํารวจนครบาลบางเขน

ระดับการมีสวนรวมการมีสวนรวมของคณะกรรมการชุมชน

X SDแปลผล

1.ดานการมีสวนรวมในการเผยแพรความรูใหกับชุมชน 2.93 .880 คอนขางสูง2.ดานการมีสวนรวมในการเฝาระวังและปองกันยาเสพติดในชุมชน

3.22 .689 คอนขางสูง

3.ดานการมีสวนรวมในการปราบปรามยาเสพติดในชุมชน 2.97 .849 คอนขางสูงรวม 3.04 .761 คอนขางสูง

จากตารางที่ 7 ผลการศึกษา พบวา การมีสวนรวมในการปองกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการชุมชนในพื้นที่สถานีตํารวจนครบาลบางเขน ในภาพรวมอยูในระดับคอนขางสูง มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.04 (SD = .761)

เมื่อพิจารณาในแตละดาน พบวา คณะกรรมการชุมชนมีความคิดเห็นในระดับคอนขางสูงทั้ง 3 ดาน เรียงตามลําดับคาเฉลี่ยดังนี้ ลําดับแรกคือ ดานการมีสวนรวมในการเฝาระวังและปองกันยาเสพติดในชุมชน มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.22 (SD =.689) รองลงมาคือ ดานการมีสวนรวมในการปราบปราม ยาเสพติดในชุมชน มีคาเฉลี่ยเทากับ 2.97 (SD =.849) และอันดับสุดทายคือ ดานการมีสวนรวมในการเผยแพรความรูใหกับชุมชน มีคาเฉลี่ยเทากับ 2.93 (SD =.880)

Page 66: การมีส วนร วมในการป องกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Artapong_Chantanasorn

58

อยางไรก็ตามเพื่อใหสามารถวิเคราะหผลไดละเอียดคอนขางสูงยิ่งขึ้น ผูศึกษาไดทําการศึกษาการมีสวนรวมในการปองกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการชุมชนในพื้นที่สถานีตํารวจนครบาลบางเขน ทั้ง 3 ดาน โดยมีรายละเอียดดังนี้

1. ดานการมีสวนรวมในการเผยแพรความรูใหกับชุมชนจากการวิเคราะหขอมูล ผลการศึกษาปรากฎผลดังตารางตอไปนี้

ตารางที่ 8 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานการมีสวนรวมในการปองกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการชุมชนในพื้นที่สถานีตํารวจนครบาลบางเขน ดานการมีสวนรวมในการเผยแพรความรูใหกับชุมชน

ระดับการมีสวนรวมดานการมีสวนรวมในการเผยแพรความรูใหกับชุมชน

X SDแปลผล

1. ทานเคยรวมจัดกิจกรรมฝกอบรม สัมมนา ใหความรูเรื่อง ยาเสพติดกับคนในชุมชน

2.76 1.072 คอนขางสูง

2. ทานเคยจัดประชุมในชุมชนหรือเวทีสาธารณะเพื่อแลกเปลี่ยนความรูกับคนในชุมชน

2.82 1.034 คอนขางสูง

3. ทานเคยรวมจัดนิทรรศการเผยแพรความรูเรื่องยาเสพติดใหกับคนในชุมชน

3.28 .865 สูง

4. ทานเคยใหคําแนะนําเกี่ยวกับภัยจากยาเสพติดใหกับคนในชุมชน

2.94 .880 คอนขางสูง

5. ทานเคยถายทอดความรูจากการศึกษาดูงานดานยาเสพติดใหกับคนในชุมชน

2.85 .956 คอนขางสูง

รวม 2.93 .880 คอนขางสูง

จากตารางที่ 8 ผลการวิเคราะหระดับความคิดเห็นเรื่องการมีสวนรวมในการปองกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการชุมชนในพื้นที่สถานีตํารวจนครบาลบางเขน ดานการมี สวนรวมในการเผยแพรความรูใหกับชุมชน พบวา ภาพรวมมีคาเฉลี่ยในระดับคอนขางสูง มีคาเฉลี่ยเทากับ 2.93 (SD =.880)

Page 67: การมีส วนร วมในการป องกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Artapong_Chantanasorn

59

เมื่อพิจารณาในแตละประเด็นขอคําถาม พบวา คณะกรรมการชุมชนมีความคิดเห็นในระดับสูง 1 ขอ และระดับคอนขางสูง 4 ขอคําถาม นําเสนอเรียงตามลําดับคาเฉลี่ยดังนี้ อันดับแรกคือ คณะกรรมการชุมชนเคยรวมจัดนิทรรศการเผยแพรความรูเรื่องยาเสพติดใหกับคนในชุมชน มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.28 (SD =.856) รองลงมาคือ คณะกรรมการชุมชนเคยใหคําแนะนําเกี่ยวกับภัยจากยาเสพติดใหกับคนในชุมชน มีคาเฉลี่ยเทากับ 2.94 (SD =.880) คณะกรรมการชุมชนเคยถายทอดความรูจากการศึกษาดูงานดานยาเสพติดใหแกคนในชุมชน มีคาเฉลี่ยเทากับ 2.85 (SD =.956) คณะกรรมการชุมชนเคยจัดประชุมในชุมชนหรือเวทีสาธารณะเพื่อแลกเปลี่ยนความรูกับคนในชุมชน มีคาเฉลี่ยเทากับ 2.82 (SD =1.034) และอันดับสุดทายคือ คณะกรรมการชุมชนเคยรวมจัดกิจกรรมฝกอบรม สัมมนา ใหความรูเรื่องยาเสพติดกับคนในชุมชน มีคาเฉลี่ยเทากับ 2.76 (SD =1.072)

2. ดานการมีสวนรวมในการเฝาระวังและปองกันยาเสพติดในชุมชนจากการวิเคราะหขอมูล ผลการศึกษาปรากฎผลดังตารางตอไปนี้

ตารางที่ 9 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานการมีสวนรวมในการปองกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการชุมชนในพื้นที่สถานีตํารวจนครบาลบางเขน ดานการมีสวนรวมในการเฝาระวังและปองกันยาเสพติดในชุมชน

ระดับการมีสวนรวมดานการมีสวนรวมในการเฝาระวังและปองกันยาเสพติดในชุมชน X SD

แปลผล

1. ทานเคยรวมวางแผนในการเฝาระวังและปองกันยาเสพติด 3.14 1.005 คอนขางสูง2. ทานเคยแจงเบาะแสดานยาเสพติดใหกับเจาหนาที่ 3.46 .665 สูง3. ทานเคยรวมสอดสองดูแลเฝาระวังพฤติกรรมเสี่ยงตอการยุงเกี่ยวกับยาเสพติดในชุมชน

3.44 .663 สูง

4. ทานเคยรวมตรวจตราพื้นที่เสี่ยงตอการยุงเกี่ยวกับยาเสพติดในชุมชน

3.16 .962 คอนขางสูง

5. ทานเคยเขารวมเปนกลุมอาสาสมัครเฝาระวังคดียาเสพติด 2.90 .827 คอนขางสูงรวม 3.22 .689 คอนขางสูง

Page 68: การมีส วนร วมในการป องกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Artapong_Chantanasorn

60

จากตารางที่ 9 ผลการวิเคราะหระดับความคิดเห็นเรื่องการมีสวนรวมในการปองกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการชุมชนในพื้นที่สถานีตํารวจนครบาลบางเขน ดานการมีสวนรวมในการเฝาระวังและปองกันยาเสพติดในชุมชน พบวา ภาพรวมมีคาเฉลี่ยในระดับคอนขางสูง มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.22 (SD =.689)

เมื่อพิจารณาในแตละประเด็นขอคําถาม พบวา คณะกรรมการชุมชนมีความคิดเห็นในระดับสูง 2 ขอ และระดับคอนขางสูง 3 ขอคําถาม นําเสนอเรียงตามลําดับคาเฉลี่ยดังนี้ อันดับแรกคือ คณะกรรมการชุมชนเคยแจงเบาะแสดานยาเสพติดใหกับเจาหนาที่ มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.46 (SD =.665) รองลงมาคือ คณะกรรมการชุมชนเคยรวมสอดสองดูแลเฝาระวังพฤติกรรมเสี่ยงตอการยุงเกี่ยวกับ ยาเสพติดในชุมชน มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.44 (SD =.663) คณะกรรมการชุมชนเคยรวมตรวจตราพื้นที่เสี่ยงตอการยุงเกี่ยวกับยาเสพติดในชุมชน มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.16 (SD =.692) คณะกรรมการชุมชนเคยรวมวางแผนในการเฝาระวังและปองกันยาเสพติด มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.14 (SD =1.005) และอันดับสุดทายคือ คณะกรรมการชุมชนเคยเขารวมเปนกลุมอาสาสมัครเฝาระวังคดียาเสพติด มีคาเฉลี่ยเทากับ 2.90 (SD=.827)

Page 69: การมีส วนร วมในการป องกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Artapong_Chantanasorn

61

3. ดานการมีสวนรวมในการปราบปรามยาเสพติดในชุมชนตารางที่ 10 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานการมีสวนรวมในการปองกันและปราบปราม

ยาเสพติดของคณะกรรมการชุมชนในพื้นที่สถานีตํารวจนครบาลบางเขน ดานการมีสวนรวมในการปราบปรามยาเสพติดในชุมชน

ระดับการมีสวนรวมดานการมีสวนรวมในการปราบปรามยาเสพติดในชุมชน

X SDแปลผล

1. ทานเคยใหขอมูลที่ใชในการวางแผนการปราบปราม ยาเสพติดแกเจาพนักงาน

3.03 .918 คอนขางสูง

2. ทานเคยรวมเปนผูชวยเจาพนักงานในการจับกุมคดียาเสพติด 3.19 .865 คอนขางสูง3. ทานเคยรวมในการสืบสวนเสาะหาขอมูลเกี่ยวกับการยุงเกี่ยวกับยาเสพติดจากเบาะแสที่ไดรับแจงมา

3.15 .792 คอนขางสูง

4. ทานเคยชวยอํานวยความสะดวกในการตรวจหาสารเสพติดของผูตองสงสัยในชุมชน

2.84 1.072 คอนขางสูง

5. ทานเคยชวยอํานวยความสะดวกในการตรวจคนยาเสพติดภายในชุมชนกับเจาหนาที่

2.62 1.250 คอนขางสูง

รวม 2.97 .849 คอนขางสูง

จากตารางที่ 10 ผลการวิเคราะหระดับความคิดเห็นเรื่องการมีสวนรวมในการปองกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการชุมชนในพื้นที่สถานีตํารวจนครบาลบางเขน ดานการมีสวนรวมในการปราบปรามยาเสพติดในชุมชน พบวา ภาพรวมมีคาเฉลี่ยในระดับคอนขางสูง มีคาเฉลี่ยเทากับ 2.97 (SD =.849)

เมื่อพิจารณาในแตละประเด็นขอคําถาม พบวา คณะกรรมการชุมชนมีความคิดเห็นในระดับคอนขางสูง 5 ขอคําถาม นําเสนอเรียงตามลําดับคาเฉลี่ยดังนี้ อันดับแรกคือ คณะกรรมการชุมชนเคยรวมเปนผูชวยเจาพนักงานในการจับกุมคดียาเสพติด มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.19 (SD =.865) รองลงมาคือ คณะกรรมการชุมชนเคยรวมในการสืบสวนเสาะหาขอมูลเกี่ยวกับการยุงเกี่ยวกับยาเสพติดจากเบาะแสที่ไดรับแจงมา มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.15 (SD =.792) คณะกรรมการชุมชนเคยใหขอมูลที่ใชในการวางแผนการ

Page 70: การมีส วนร วมในการป องกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Artapong_Chantanasorn

62

ปราบปรามยาเสพติดแกเจาพนักงาน มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.03 (SD =.918) คณะกรรมการชุมชนเคยชวยอํานวยความสะดวกในการตรวจหาสารเสพติดของผูตองสงสัยในชุมชน มีคาเฉลี่ยเทากับ 2.84 (SD=1.072) และอันดับสุดทายคือ คณะกรรมการชุมชนเคยชวยอํานวยความสะดวกในการตรวจคน ยาเสพติดภายในชุมชนกับเจาหนาที่ มีคาเฉลี่ยเทากับ 2.62 (SD =1.250)

4.4 การทดสอบสมมติฐานการศึกษาเรื่อง การมีสวนรวมในการปองกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการ

ชุมชนในพื้นที่สถานีตํารวจนครบาลบางเขน ผูศึกษาตั้งสมมติฐาน ดังนี้ ปจจัยเกื้อหนุนดานประสบการณการเปนผูนํา ดานความรูเกี่ยวกับยาเสพติด และดานการสนับสนุนภาครัฐ มีสหสัมพันธเชิงบวกกับการ มีสวนรวมในการปองกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการชุมชนชุมชนในพื้นที่สถานีตํารวจนครบาลบางเขน โดยจะใชเทคนิคสัมประสิทธิ์สหสัมพันธแบบเพียรสัน (Pearson’s Correlation) ในการทดสอบความสัมพันธระหวางตัวแปร ที่ระดับคานัยสําคัญทางสถิติ 0.01

ตารางที่ 11 แสดงสหสัมพันธระหวางปจจัยเกื้อหนุนกับการมีสวนรวมในการปองกันและปราบปราม ยาเสพติดของคณะกรรมการชุมชนชุมชนในพื้นที่สถานีตํารวจนครบาลบางเขน

ปจจัยเกื้อหนุน การมีสวนรวมในการเผยแพรความรูใหกับ

ชุมชน

การมีสวนรวมในการเฝาระวังและปองกันยาเสพติดในชุมชน

การมีสวนรวมในการปราบปราม

ยาเสพติดในชุมชน

การมีสวนรวมในการปองกันและ

ปราบปรามยาเสพติดประสบการณการเปนผูนํา

Pearson Correlation .915(**) .858(**) .740(**) .886(**)Sig. (2-tailed) .000 .000 .000 .000

ความรูเกี่ยวกับยาเสพติด

Pearson Correlation .863(**) .850(**) .723(**)Sig. (2-tailed) .000 .000 .000

.858(**).000

การสนับสนุนภาครัฐ

Pearson Correlation .925(**) .888(**) .711(**)Sig. (2-tailed) .000 .000 .000

.889(**).000

** Correlation is significant at the 0.01 level (2-tailed).

Page 71: การมีส วนร วมในการป องกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Artapong_Chantanasorn

63

จากตารางที่ 11 จากทดสอบสหสัมพันธระหวางปจจัยที่เกื้อหนุนกับการมีสวนรวมในการปองกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการชุมชนในพื้นที่สถานีตํารวจนครบาลบางเขน ผลการทดสอบสมมติฐาน ปรากฏผลดังนี้

สมมติฐานที่ 1 ประสบการณการเปนผูนํามีสหสัมพันธเชิงบวกกับการมีสวนรวมในการปองกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการชุมชน

จากทดสอบสหสัมพันธระหวางปจจัยเกื้อหนุนดานประสบการณการเปนผูนํามีสหสัมพันธกับการมีสวนรวมในการปองกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการชุมชน พบวา ในภาพรวมมีคา r เทากับ .886 และมีคา Sig. เทากับ 0.00 ดังนั้น ปจจัยเกื้อหนุนดานประสบการณการเปนผูนําโดยรวมสหสัมพันธเชิงบวกกับการมีสวนรวมของคณะกรรมการในการปองกันและปราบปรามยาเสพติด โดยรวมในระดับสูงมาก อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01

ขณะที่สหสัมพันธระหวางปจจัยเกื้อหนุนดานประสบการณการเปนผูนํามีสหสัมพันธกับการมีสวนรวมในการปองกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการชุมชน ดานการมีสวนรวมในการเผยแพรความรูใหกับชุมชน พบวา มีคา r เทากับ .915 และมีคา Sig. เทากับ 0.00 ดังนั้น ปจจัยเกื้อหนุนดานประสบการณการเปนผูนําโดยรวมมีสหสัมพันธเชิงบวกกับการมีสวนรวมในการปองกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการชุมชน ดานการมีสวนรวมในการเผยแพรความรูใหกับชุมชนในระดับสูงมาก อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01

ผลการทดสอบสหสัมพันธระหวางปจจัยเกื้อหนุนดานประสบการณการเปนผูนํามีสหสัมพันธกับการมีสวนรวมในการปองกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการชุมชน การ มีสวนรวมในการเฝาระวังและปองกันยาเสพติดในชุมชน พบวา มีคา r เทากับ .858 และมีคา Sig. เทากับ 0.00 ดังนั้น ปจจัยเกื้อหนุนดานประสบการณการเปนผูนําโดยรวมมีสหสัมพันธชิงบวกกับการมีสวนรวมในการปองกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการชุมชน ดานการมีสวนรวมในการเฝาระวังและปองกันยาเสพติดในชุมชนในระดับสูงมาก อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01

ผลการทดสอบสหสัมพันธระหวางปจจัยเกื้อหนุนดานประสบการณการเปนผูนํามีสหสัมพันธกับการมีสวนรวมในการปองกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการชุมชน การมีสวนรวมในการปราบปรามยาเสพติดในชุมชน พบวา มีคา r เทากับ .740 และมีคา Sig. เทากับ 0.00 ดังนั้น ปจจัยเกื้อหนุนดานประสบการณการเปนผูนําโดยรวมมีสหสัมพันธเชิงบวกกับการมีสวนรวมในการปองกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการชุมชน ดานการมีสวนรวมในการปราบปราม ยาเสพติดในชุมชนในระดับสูงมาก อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01

Page 72: การมีส วนร วมในการป องกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Artapong_Chantanasorn

64

ผลการทดสอบสมมติฐานจึงสามารถสรุปไดวา ปจจัยเกื้อหนุนดานประสบการณการเปนผูนํามีสหสัมพันธกับการมีสวนรวมในการปองกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการชุมชนในระดับสูงมาก โดยพบวา ดานการมีสวนรวมในการเผยแพรความรูใหกับชุมชนมีสหสัมพันธมากกวา ดานการมีสวนรวมในการเฝาระวังและปองกันยาเสพติดในชุมชนและดานการมีสวนรวมในการปราบปรามยาเสพติดในชุมชน คือ มีคา r = .915 , .858 และ .740 ตามลําดับ

สมมติฐานที่ 2 ความรูความเขาใจเกี่ยวกับยาเสพติดมีสหสัมพันธเชิงบวกกับการมีสวนรวมในการปองกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการชุมชน

จากทดสอบสหสัมพันธระหวางปจจัยเกื้อหนุนดานความรูความเขาใจเกี่ยวกับยาเสพติด มีสหสัมพันธกับการมีสวนรวมในการปองกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการชุมชน พบวา ในภาพรวมมีคา r เทากับ .858 และมีคา Sig. เทากับ 0.00 ดังนั้น ปจจัยเกื้อหนุนดานความรูความเขาใจเกี่ยวกับยาเสพติดโดยรวมสหสัมพันธเชิงบวกกับการมีสวนรวมในการปองกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการชุมชน โดยรวมในระดับสูงมาก อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01

ขณะที่สหสัมพันธระหวางปจจัยเกื้อหนุนความรูความเขาใจเกี่ยวกับยาเสพติดมีสหสัมพันธกับการมีสวนรวมในการปองกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการชุมชน ดานการมีสวนรวมในการเผยแพรความรูใหกับชุมชน พบวา มีคา r เทากับ .863 และมีคา Sig. เทากับ 0.00 ดังนั้น ปจจัยเกื้อหนุนความรูความเขาใจเกี่ยวกับยาเสพติดโดยรวมมีสหสัมพันธเชิงบวกกับการมีสวนรวมในการปองกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการชุมชน ดานการมีสวนรวมในการเผยแพรความรูใหกับชุมชนในระดับสูงมาก อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01

ผลการทดสอบสหสัมพันธระหวางปจจัยเกื้อหนุนดานความรูความเขาใจเกี่ยวกับยาเสพติด มีสหสัมพันธกับการมีสวนรวมในการปองกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการชุมชน การมีสวนรวมในการเฝาระวังและปองกันยาเสพติดในชุมชน พบวา มีคา r เทากับ .850 และมีคา Sig. เทากับ 0.00 ดังนั้น ปจจัยเกื้อหนุนดานความรูความเขาใจเกี่ยวกับยาเสพติดโดยรวมมีสหสัมพันธเชิงบวกกับการมีสวนรวมในการปองกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการชุมชน ดานการมีสวนรวมในการเฝาระวังและปองกันยาเสพติดในชุมชนในระดับสูงมาก อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01

ผลการทดสอบสหสัมพันธระหวางปจจัยเกื้อหนุนดานความรูความเขาใจเกี่ยวกับยาเสพติด มีสหสัมพันธกับการมีสวนรวมในการปองกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการชุมชน การมีสวนรวมในการปราบปรามยาเสพติดในชุมชน พบวา มีคา r เทากับ .723 และมีคา Sig. เทากับ 0.00

Page 73: การมีส วนร วมในการป องกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Artapong_Chantanasorn

65

ดังนั้น ปจจัยเกื้อหนุนดานความรูความเขาใจเกี่ยวกับยาเสพติดโดยรวมมีสหสัมพันธเชิงบวกกับการมีสวนรวมในการปองกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการชุมชน ดานการมีสวนรวมในการปราบปรามยาเสพติดในชุมชนในระดับสูงมาก อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01

ผลการทดสอบสมมติฐานจึงสามารถสรุปไดวา ปจจัยเกื้อหนุนดานความรูความเขาใจเกี่ยวกับยาเสพติดมีสหสัมพันธกับการมีสวนรวมในการปองกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการชุมชนในระดับสูงมาก โดยพบวา ดานการมีสวนรวมในการเผยแพรความรูใหกับชุมชนมีสหสัมพันธมากกวา ดานการมีสวนรวมในการเฝาระวังและปองกันยาเสพติดในชุมชนและดานการมีสวนรวมในการปราบปรามยาเสพติดในชุมชน คือ มีคา r = .863 , .850 และ .723 ตามลําดับ

สมมติฐานที่ 3 การสนับสนุนภาครัฐมีสหสัมพันธเชิงบวกกับการมีสวนรวมในการปองกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการชุมชน

จากทดสอบสหสัมพันธระหวางปจจัยเกื้อหนุนดานการสนับสนุนภาครัฐมีสหสัมพันธกับการมีสวนรวมในการปองกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการชุมชน พบวา ในภาพรวมมี คา r เทากับ .889 และมีคา Sig. เทากับ 0.00 ดังนั้น ปจจัยเกื้อหนุนดานการสนับสนุนภาครัฐโดยรวมมีสหสัมพันธเชิงบวกกับการมีสวนรวมในการปองกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการชุมชน โดยรวมในระดับสูงมาก อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01

ขณะที่สหสัมพันธระหวางปจจัยเกื้อหนุนดานการสนับสนุนภาครัฐมีสหสัมพันธกับการมีสวนรวมในการปองกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการชุมชน ดานการมีสวนรวมในการเผยแพรความรูใหกับชุมชน พบวา มีคา r เทากับ .925 และมีคา Sig. เทากับ 0.00 ดังนั้น ปจจัยเกื้อหนุนดานการสนับสนุนภาครัฐโดยรวมมีสหสัมพันธเชิงบวกกับการมีสวนรวมในการปองกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการชุมชน ดานการมีสวนรวมในการเผยแพรความรูใหกับชุมชนในระดับสูงมาก อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01

ผลการทดสอบสหสัมพันธระหวางปจจัยเกื้อหนุนดานการสนับสนุนภาครัฐมีสหสัมพันธกับการมีสวนรวมในการปองกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการชุมชน การมีสวนรวมในการเฝาระวังและปองกันยาเสพติดในชุมชน พบวา มีคา r เทากับ .888 และมีคา Sig. เทากับ 0.00 ดังนั้น ปจจัยเกื้อหนุนดานการสนับสนุนภาครัฐโดยรวมมีสหสัมพันธเชิงบวกกับการมีสวนรวมในการปองกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการชุมชน ดานการมีสวนรวมในการเฝาระวังและปองกัน ยาเสพติดในชุมชนในระดับสูงมาก อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01

Page 74: การมีส วนร วมในการป องกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Artapong_Chantanasorn

66

ผลการทดสอบสหสัมพันธระหวางปจจัยเกื้อหนุนดานการสนับสนุนภาครัฐมีสหสัมพันธกับการมีสวนรวมในการปองกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการชุมชน การมีสวนรวมในการปราบปรามยาเสพติดในชุมชน พบวา มีคา r เทากับ .711 และมีคา Sig. เทากับ 0.00 ดังนั้น ปจจัยเกื้อหนุนดานการสนับสนุนภาครัฐโดยรวมมีสหสัมพันธเชิงบวกกับการมีสวนรวมในการปองกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการชุมชน ดานการมีสวนรวมในการปราบปรามยาเสพติดในชุมชนในระดับสูงมาก อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01

ผลการทดสอบสมมติฐานจึงสามารถสรุปไดวา ปจจัยเกื้อหนุนดานประสบการณการเปนผูนํามีสหสัมพันธกับการมีสวนรวมในการปองกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการชุมชน ในระดับสูงมาก โดยพบวา ดานการมีสวนรวมในการเผยแพรความรูใหกับชุมชนมีสหสัมพันธมากกวา ดานการมีสวนรวมในการเฝาระวังและปองกันยาเสพติดในชุมชนและดานการมีสวนรวมในการปราบปรามยาเสพติดในชุมชน คือ มีคา r = .925 , .888 และ .711 ตามลําดับ

ตารางที่ 12 สรุปผลการทดสอบสมมติฐาน

ผลการทดสอบสมมติฐานสมมติฐาน

ยอมรับ ปฏิเสธสมมติฐานที่ 1 ประสบการณการเปนผูนํามีสหสัมพันธเชิงบวกกับการมีสวนรวมในการปองกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการชุมชน

สมมติฐานที่ 2 ความรูความเขาใจเกี่ยวกับยาเสพติดมีสหสัมพันธเชิงบวกกับการมีสวนรวมในการปองกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการชุมชน

สมมติฐานที่ 3 การสนับสนุนภาครัฐมีสหสัมพันธเชิงบวกกับการมีสวนรวมของคณะกรรมการในการปองกันและปราบปรามยาเสพติด

Page 75: การมีส วนร วมในการป องกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Artapong_Chantanasorn

67

บทที่ 5สรุป อภิปรายผล และขอเสนอแนะ

การศึกษาเรื่อง การมีสวนรวมในการปองกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการชุมชนในพื้นที่สถานีตํารวจนครบาลบางเขน มีวัตถุประสงค 1) เพื่อศึกษาระดับการมีสวนรวมในการปองกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการชุมชนในพื้นที่สถานีตํารวจนครบาลบางเขน 2) เพื่อศึกษาปจจัยเกื้อหนุนในการปองกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการชุมชนในพื้นที่สถานีตํารวจนครบาลบางเขน และ 3) เพื่อศึกษาสหสัมพันธระหวางปจจัยเกื้อหนุนกับการมีสวนรวมในการปองกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการชุมชนในพื้นที่สถานีตํารวจนครบาลบางเขน

ประชากรในการศึกษาครั้งนี้ คือ คณะกรรมการชุมชน ซึ่งเปนตัวแทนของชุมชนในเขตพื้นที่สถานีตํารวจนครบาลบางเขน กําหนดเปนขนาดกลุมตัวอยางในการศึกษา จํานวน 250 คน สําหรับเครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูล คือ แบบสอบถาม และใชโปรแกรมสําเร็จรูปทางคอมพิวเตอรทําการวิเคราะหหาคาความถี่ (Frequency) คารอยละ (Percentage) คาเฉลี่ย (Mean) สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) และใชสถิติเชิงอนุมาน (Inferential Statistics) เพื่อทดสอบสมมติฐาน โดยการวิเคราะหสัมประสิทธิ์สหสัมพันธของเพียรสัน (Pearson’s Correlation) หาความสัมพันธระหวางตัวแปร

จากผลการศึกษาสามารถสรุป อภิปรายผลและเสนอแนะไดดังตอไปนี้5.1 สรุปผล5.2 อภิปรายผล5.3 ขอเสนอแนะจากผลการศึกษา5.4 ขอเสนอแนะในการศึกษาครั้งตอไป

5.1 สรุปผล 5.1.1 ขอมูลพื้นฐานทั่วไปของคณะกรรมการชุมชน ผ ลจา ก กา รวิ เ คร า ะ ห ข อ มูลพื้ นฐ า น ทั่ ว ไ ป ขอ งคณะ กร ร มกา ร ชุมช น พบ ว า

คณะกรรมการชุมชนสวนใหญมีอายุระหวาง 51 - 60 ป มีการศึกษาระดับปริญญาตรี มีอาชีพรับจาง และคณะกรรมการชุมชนสวนใหญมีระยะเวลาในการเปนคณะกรรมการชุมชน 6 – 8 ป

Page 76: การมีส วนร วมในการป องกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Artapong_Chantanasorn

68

5.1.2 ปจจัยเกื้อหนุนในการปองกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการชุมชนผลการวิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับปจจัยเกื้อหนุนในการปองกันและปราบปรามยาเสพติด

ทั้ง 3 ดาน พบวา คณะกรรมการชุมชนมีความคิดเห็นตอปจจัยเกื้อหนุน ในภาพรวมอยูในระดับคอนขางสูง เรียงตามลําดับดังนี้ อันดับแรกคือ ดานการสนับสนุนจากภาครัฐ รองลงมาคือ ดานความรูความเขาใจเกี่ยวกับยาเสพติดใหโทษ และดานประสบการณในการเปนผูนํา ตามลําดับ

5.1.3 การมีสวนรวมในการปองกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการชุมชนในพื้นที่สถานีตํารวจนครบาลบางเขน

ผลการวิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับการมีสวนรวมในการปองกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการชุมชนในพื้นที่สถานีตํารวจนครบาลบางเขน ทั้ง 3 ดาน พบวา การมีสวนรวมในการปองกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการชุมชนในพื้นที่สถานีตํารวจนครบาลบางเขน ในภาพรวมอยูในระดับคอนขางสูง เรียงตามลําดับดังนี้ อันดับแรกคือ ดานการมีสวนรวมในการเฝาระวังและปองกันยาเสพติดในชุมชน รองลงมาคือ ดานการมีสวนรวมในการปราบปรามยาเสพติดในชุมชน และอันดับสุดทายคือ ดานการมีสวนรวมในการเผยแพรความรูใหกับชุมชน ตามลําดับ

5.1.4 การทดสอบสมมติฐานผลการทดสอบสมมติฐานพบวา ปจจัยเกื้อหนุนมีสหสัมพันธกับการมีสวนรวมในการ

ปองกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการชุมชน ในระดับสูงมาก ปรากฏผลดังนี้สมมติฐานที่ 1 ประสบการณการเปนผูนํามีสหสัมพันธเชิงบวกกับการมีสวนรวมในการ

ปองกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการชุมชนในระดับสูงมาก เปนไปตามสมมติฐานสมมติฐานที่ 2 ความรูความเขาใจเกี่ยวกับยาเสพติดมีสหสัมพันธเชิงบวกกับการมีสวน

รวมในการปองกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการชุมชนในระดับสูงมาก เปนไปตามสมมติฐาน

สมมติฐานที่ 3 การสนับสนุนภาครัฐมีสหสัมพันธเชิงบวกกับการมีสวนรวมในการปองกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการชุมชนในระดับสูงมาก เปนไปตามสมมติฐาน

Page 77: การมีส วนร วมในการป องกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Artapong_Chantanasorn

69

5.2 อภิปรายผลจากผลการศึกษาการมีสวนรวมในการปองกันและปราบปรามยาเสพติดของ

คณะกรรมการชุมชนในพื้นที่สถานีตํารวจนครบาลบางเขน มีประเด็นที่สามารถนํามาอภิปรายผล ดังนี้

5.2.1 การมีสวนรวมในการปองกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการชุมชน ในพื้นที่สถานีตํารวจนครบาลบางเขน

ในการศึกษาครั้งนี้ ผูศึกษาไดนําแนวคิดการมีสวนรวมในการปองกันและปราบปราม ยาเสพติดมาเปนแนวทางในการสรางกรอบแนวคิด ซึ่งผลการศึกษาพบวา การมีสวนรวมในการปองกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการชุมชนในพื้นที่สถานีตํารวจนครบาลบางเขน ในภาพรวมอยูในระดับคอนขางสูง (คาเฉลี่ยเทากับ 3.04) สอดคลองกับผลการศึกษาของกฤษฎิ์ มงคลบุตร (2553) เรื่อง “ปจจัยที่มีความสัมพันธกับการมีสวนรวมของคณะกรรมการชุมชนในการแกไขปญหาการแพรระบาดของยาเสพติดใหโทษ ในเขตชุมชนในพื้นที่รับผิดชอบของสถานีตํารวจนครบาลบางเขน” ผลการวิจัยพบวา ระดับการมีสวนรวมของคณะกรรมการชุมชนในการแกไขปญหาการแพรระบาดของยาเสพติดใหโทษ มีระดับการมีสวนรวมอยูในระดับคอนขางสูง จากผลการศึกษาสามารถอภิปรายผลในประเด็นสําคัญแตละดานดังนี้

ดานการมีสวนรวมในการเผยแพรความรูใหกับชุมชน พบวา มีคาเฉลี่ย 2.93 อยูในระดับคอนขางสูง สอดคลองกับผลการศึกษาของณัชธนวินท วัฒนกิจพิศาล (2553) เรื่อง “การมีสวนรวมของประชาชนในการปองกันและปราบปรามยาเสพติด: ศึกษาเฉพาะกรณีชุมชนหมูบานสินทรัพยนคร เขตบางเขน กรุงเทพมหานคร” ผลการศึกษาพบวา การมีสวนรวมในการปองกันและปราบปรามยาเสพติดของประชาชน ดานการมีสวนรวมในการใหความรูกับชุมชนอยูในระดับสูง แสดงใหเห็นวาการมีสวนรวมในการปองกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการชุมชนในพื้นที่สถานีตํารวจนครบาลบางเขนนั้น ใหความสําคัญกับการเผยแพรความรูใหกับชุมชนเปนอยางยิ่ง เนื่องมาจากปญหาเรื่องยาเสพติดเปนปญหาสําคัญที่รัฐบาลใหขอมูลกับประชาชนอยูอยางสม่ําเสมอและตอเนื่อง ทําใหคณะกรรมการชุมชนเขาถึงขอมูลไดงาย โดยพบวาปญหาที่ เกิดจาก ยาเสพติดเปนปญหาทางสังคมปญหาหนึ่งที่มีความสลับซับซอน เนื่องจากสังคมมีองคประกอบ 3 ประการ ที่เปนสาเหตุของปญหา คือ ตัวบุคคล ยา และสิ่งแวดลอม รายละเอียดดังนี้ 1. ตัวบุคคล มนุษยที่ดําเนินชีวิตอยูในสังคมจะตองประสบกับปญหาอันเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงหลายๆ ดาน ไมวาจะเปนทางรางกาย ทางอารมณ ทางเศรษฐกิจ ความเปนอยูและทางสังคม ผูที่ปรับตัวให

Page 78: การมีส วนร วมในการป องกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Artapong_Chantanasorn

70

เขากับความเปลี่ยนแปลง หรือสภาพนั้นๆ ไมได ก็จะมีพฤติกรรมเบี่ยงเบนไปจากความถูกตองของสังคม และอาจหันไปใชยาเสพติดเปนทางออกในการแกปญหา 2. ยา ปจจุบันมียาชนิดตางๆ อยูมากมาย ทั้งที่ถูกกฎหมายและไมถูกตองตามกฎหมาย โดยตัวของยาเองนั้น มิไดกอใหเกิดปญหาใดๆ จนกวาคนจะนํายานั้นไปใชในทางที่ผิดจนเกิดปญหากลายเปนผูติดยาเสพติดได และ 3. สิ่งแวดลอม มนุษยจําเปนตองอยูรวมกันเปนกลุมสังคม ปฏิบัติตามกฎเกณฑตามสภาพสังคม มนุษยทุกคนจําเปนตองปรับตัวใหเขากับสภาพสังคมและสิ่งแวดลอมที่ตนอาศัยอยู สภาพแวดลอมเหลานี้อาจมีสวนผลักดันทําใหบุคคลหันไปใชยาเสพติดได ทั้งสามสิ่งนี้อยูรวมกันไดโดยไมเกิดปญหาเกี่ยวกับยาเสพติด ถาบุคคลนั้น ๆ เขาใจการดําเนินชีวิตที่ถูกตอง เขาใจในเรื่องการใชยา และเขาใจในเรื่องการปองกันยาเสพติด จากความตระหนักถึงปญหาดังกลาวทําให คณะกรรมการชุมชนเขามารวมจัดนิทรรศการเผยแพรความรูเรื่องยาเสพติดใหกับคนในชุมชน โดยใหคําแนะนําเกี่ยวกับภัยจากยาเสพติดใหกับคนในชุมชน และจัดกิจกรรมฝกอบรม สัมมนา ใหความรูเรื่องยาเสพติดกับคนในชุมชน ถายทอดความรูจากการศึกษาดูงานดานยาเสพติดใหแกคนในชุมชนอยางสม่ําเสมอ นอกจากนี้คณะกรรมการชุมชนยังมีการจัดประชุมในชุมชนหรือเวทีสาธารณะเพื่อแลกเปลี่ยนความรูกับคนในชุมชน โดยเชิญวิทยากรที่มีความรูจากสถานีตํารวจบางเขน และสํานักงานคณะกรรมการปองกันและปราบปรามยาเสพติด (ปปส.) เพื่อมาใหความรูในเรื่องของโทษของ ยาเสพติด ดังนั้น การทําความเขาใจจึงเปนที่มาของการใหความรู โดยเฉพาะในทางปฏิบัติไมวาจะเปนราชการหนวยใด แมแตสถานีตํารวจนครบาลบางเขนเองก็เริ่มตนและใหความสําคัญที่การใหความรูกอนการดําเนินการอื่นซึ่งการใหความรูนี้ก็เปนเรื่องงาย สะดวก และเห็นผลรวดเร็วชัดเจนสอดคลองกับขอเสนอแนะจากผลการศึกษาของสมศักดิ์ พละกาบ (2551) ที่กลาววา ควรสงเสริมสนับสนุนใหมีการปราบปรามยาเสพติดอยางตอเนื่อง และควรมีวิทยากรมาใหความรูเกี่ยวกับ ยาเสพติดแกคณะกรรมการหมูบาน เพราะบางคนยังขาดความรูความเขาใจ

ดานการมีสวนรวมในการเฝาระวังและปองกันยาเสพติดในชุมชน พบวา มีคาเฉลี่ย 3.22 อยูในระดับคอนขางสูง สอดคลองกับผลการศึกษาของณัชธนวินท วัฒนกิจพิศาล (2553) เรื่อง “การมีสวนรวมของประชาชนในการปองกันและปราบปรามยาเสพติด: ศึกษาเฉพาะกรณีชุมชนหมูบานสินทรัพยนคร เขตบางเขน กรุงเทพมหานคร” ผลการศึกษาพบวา การมีสวนรวมในการปองกันและปราบปรามยาเสพติดของประชาชน ดานการมีสวนรวมในการปองกันยาเสพติดในชุมชนอยูในระดับสูง แสดงใหเห็นวาการมีสวนรวมในการปองกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการชุมชนในพื้นที่สถานีตํารวจนครบาลบางเขนนั้น ใหความสําคัญกับการเฝาระวังและปองกันยาเสพติดในชุมชนเปนอยางมาก เนื่องจากการเฝาระวังและการปองกันเปนการดําเนินการที่

Page 79: การมีส วนร วมในการป องกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Artapong_Chantanasorn

71

ยากกวาการใหความรู และเปนการดําเนินการที่ตองอาศัยความเสียสละเขามามีสวนรวมมากขึ้น ดังนั้นคณะกรรมการชุมชนจึงรวมวางแผนในการเฝาระวังและปองกันยาเสพติดกับสถานีตํารวจนครบาลบางเขนและคนในชุมชน โดยรวมสอดสองดูแลเฝาระวังพฤติกรรมเสี่ยงตอการยุงเกี่ยวกับยาเสพติดในชุมชน รวมตรวจตราพื้นที่ เสี่ ยงตอการยุ งเกี่ยวกับยาเสพติดในชุมชน ทั้งนี้คณะกรรมการชุมชนไดเขารวมเปนกลุมอาสาสมัครเฝาระวังคดียาเสพติด เพื่อใหคนในชุมชนตระหนักในปญหาของตนเอง และตระหนักถึงความสําคัญของการมีสวนรวมในการแกปญหา มีโอกาสที่จะไดใชและพัฒนาความสามารถของตนเอง เพื่อการระดมทรัพยากรบุคคลมาใชใหเกิดประโยชนสูงสุด และพรอมแจงเบาะแสดานยาเสพติดใหกับเจาหนาที่ตํารวจสถานีตํารวจนครบาลบางเขนทันที เมื่อพบวามีการใชยาเสพติดภายในชุมชน ดานการมีสวนรวมในการปราบปรามยาเสพติดในชุมชน พบวา มีคาเฉลี่ย 2.97 เนื่องจากคณะกรรมการชุมชนในพื้นที่สถานีตํารวจนครบาลบางเขนใหความสําคัญกับการมีสวนรวมในการปราบปรามยาเสพติดในชุมชน โดยคณะกรรมการชุมชนรวมเปนผูชวยเจาพนักงานในการจับกุมคดียาเสพติด ที่ไดรวมสืบสวนเสาะหาขอมูลเกี่ยวกับการยุงเกี่ยวกับยาเสพติดจากเบาะแสที่ไดรับแจงมา จากการใหขอมูลที่ใชในการวางแผนการปราบปรามยาเสพติดแกเจาหนาที่ตํารวจ นอกจากนี้ คณะกรรมการชุมชนยังชวยอํานวยความสะดวกในการตรวจหาสารเสพติดของผูตองสงสัยในชุมชน และยังชวยอํานวยความสะดวกในการตรวจคนยาเสพติดภายในชุมชนกับเจาหนาที่ สอดคลองกับแนวคิดของ Cohen and uphoff (1980) ที่กลาววาการมีสวนรวมในการปฏิบัติการ (Implementation) ประกอบดวยการสนับสนุน ดานทรัพยากร การบริหาร และการประสานขอความรวมมือ และสอดคลองกับผลการศึกษาของสมศักดิ์ พละกาบ (2551) เรื่อง “บทบาทของคณะกรรมการหมูบานในการแกไขปญหายาเสพติด ตําบลไผ อําเภอทรายมูล จังหวัดยโสธร” ผลการวิจัยพบวา คณะกรรมการหมูบาน มีบทบาทในการแกไขปญหายาเสพติดโดยรวมอยูในระดับมาก โดยเฉพาะในดานการปองกันและการปราบปรามยาเสพติดในชุมชน

5.2.2 ปจจัยเกื้อหนุนในการปองกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการชุมชนในพื้นที่สถานีตํารวจนครบาลบางเขน

จากผลการศึกษาปจจัยเกื้อหนุนในการปองกันและปราบปรามยาเสพติด ในภาพรวมอยูในระดับคอนขางสูง เรียงตามลําดับดังนี้ อันดับแรกคือ ดานการสนับสนุนจากภาครัฐ รองลงมาคือ ดานความรูความเขาใจเกี่ยวกับยาเสพติด และดานประสบการณในการเปนผูนํา สอดคลองกับผลการศึกษาของกฤษฎิ์ มงคลบุตร (2553) เรื่อง ปจจัยที่มีความสัมพันธกับการมีสวนรวมของ

Page 80: การมีส วนร วมในการป องกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Artapong_Chantanasorn

72

คณะกรรมการชุมชนในการแกไขปญหาการแพรระบาดของยาเสพติดใหโทษ ในเขตชุมชนในพื้นที่สถานีตํารวจนครบาลบางเขน พบวา ปจจัยเกื้อหนุนตอการมีสวนรวมของคณะกรรมการชุมชน พบวา ภาพรวมอยูในระดับคอนขางสูง จากผลการศึกษาสามารถอภิปรายผลในประเด็นสําคัญ แตละดานดังนี้

ดานการสนับสนุนจากภาครัฐ พบวา มีคาเฉลี่ย 2.97 เปนปจจัยเกื้อหนุนในการปองกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการชุมชน ในระดับคอนขางสูง ทั้งนี้เปนเพราะนโยบายของรัฐในการสงเสริมชุมชนและองคกรชุมชนใหมีความเขมแข็งจะทําใหเกิดเครือขายประชาชนและองคกรตาง ๆ ขยายตัวออกไปและสามารถเขามามีสวนในการดําเนินงานปองกันและแกไขปญหายาเสพติดไดมากขึ้น คณะกรรมการชุมชนในพื้นที่สถานีตํารวจนครบาลบางเขน จึงไดรับการสงเสริมและสนับสนุนโดยการใหคําแนะนําจากเจาหนาที่ภาครัฐ ไดแก กรุงเทพมหานคร สํานักงานตํารวจแหงชาติ สถานีตํารวจนครบาลบางเขน สํานักงาน ป.ป.ส. เกี่ยวกับการปองกันและแกไขปญหาการแพรระบาดของยาเสพติดใหโทษ เนื่องมาจากปญหาเรื่องยาเสพติดเปนปญหาสําคัญของรัฐบาล ดังนั้น การทําความเขาใจจึงเปนที่มาของการใหความรู โดยเฉพาะในทางปฏิบัติไมวาจะเปนราชการหนวยใด แมแตสถานีตํารวจนครบาลบางเขนเองก็เริ่มตนและใหความสําคัญที่การใหความรูแกคณะกรรมการชุมชนและประชาชน กอนการดําเนินการในดานอื่น ซึ่งการใหความรูนี้ก็เปนเรื่องงาย สะดวก และเห็นผลรวดเร็วชัดเจน ทําใหคณะกรรมชุมชนเขาถึงขอมูลไดงาย ตลอดจนรวมถึงการไดรับสนับสนุนตาง ๆ จากเจาหนาที่ เชน การสนับสนุนเขารวมกิจกรรมที่จัดขึ้นในชุมชนเพื่อรณรงคตอตานยาเสพติด โดยการสนับสนุนงบประมาณ และสนับสนุนวัสดุอุปกรณ โดยไดมีการจัดตั้ง กองทุนเพื่อสนับสนุนการดําเนินการปองกันและแกไขปญหาและเพื่อใชสนับสนุนการบําบัดรักษาและฟนฟูสมรรถภาพผูติดยาเสพติดใหกลับมาเปนพลังสําคัญในการพัฒนาประเทศ เปนตน สอดคลองกับหนาที่ของคณะกรรมการชุมชน ในเรื่องการประสานงานและดําเนินงานรวมกับเครือขายองคกรหนวยงานราชการ องคการและหนวยงานเอกชนตาง ๆ ที่เกี่ยวของในอันที่จะกอใหเกิดประโยชนแกประชาชนในชุมชน (ตามระเบียบกรุงเทพมหานคร วาดวยชุมชนและกรรมการชุมชน พ.ศ. 2555) รองลงมาคือ ดานความรูความเขาใจเกี่ยวกับยาเสพติดพบวา อยูในระดับคอนขางสูง คาเฉลี่ยเทากับ 2.96 ทั้งนี้เนื่องจากคณะกรรมการชุมชนในพื้นที่สถานีตํารวจนครบาลบางเขน มีความตระหนักในความรุนแรงของปญหายาเสพติด และผลกระทบที่มีตอความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน รวมทั้งมีความปรารถนาที่จะใหมีการแกไขปญหาอยางเรงดวนและจริงจัง โดยการศึกษาความรูเกี่ยวกับภัยจากยาเสพติดที่เกิดขึ้นทั้งโทษ พิษภัยของสารเสพติด และกฎหมายที่เกี่ยวของกับยาเสพติด โดยเผยแพรใหคนในชุมชนรับทราบ ทั้งการจัดอบรม

Page 81: การมีส วนร วมในการป องกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Artapong_Chantanasorn

73

ในชุมชน โดยมีเจาหนาที่ตํารวจเขามาเปนวิทยากรในการใหความรู การจัดกิจกรรมตามสถานศึกษาในชุมชน และเอกสารตาง ๆ เพื่อหาแนวทางในการปองกันการแพรระบาดของ ยาเสพติดในชุมชนรวมกับสถานีตํารวจนครบาลบางเขน นับเปนเกราะปองกันตัวที่ดีที่จะชวยใหพนจากสารเสพติดได เปนการสรางภูมิคุมกันของชุมชน ทําใหปญหาสารเสพติดไมสามารถเขามาแพรระบาดในชุมชนได และดานประสบการณในการเปนผูนํา พบวา อยูในระดับคอนขางสูง คาเฉลี่ยเทากับ 2.95 แสดงใหเห็นวาคณะกรรมการชุมชนในพื้นที่สถานีตํารวจนครบาลบางเขน สวนใหญมีความสามารถในการบริหารการดําเนินการของชุมชนในรูปแบบการมีสวนรวม โดยคุณลักษณะประการหนึ่งของผูนําคณะกรรมการชุมชนในการมีสวนรวมกับตํารวจในแกไขปญหายาเสพติดในชุมชนไดแก การมีแรงกระตุน (Drive) เปนคุณลักษณะของผูนําที่จะตองมีแรงกระตุนที่จะทํางานใหสําเร็จ มีพลังผลักดัน ทํางานอยางไมรูเหน็ดเหนื่อย และแสดงความคิดริเริ่ม ซึ่งเปนคุณลักษณะที่มีความสัมพันธสนับสนุนการสรางโครงสรางของความรวมมือที่เปนสิ่งที่ตองการพลัง ความคิดสรางสรรค ความเขาใจ ของทั้งคนในชุมชน ดังนั้นจึงสามารถที่จะประสานงานและวางแผนรวมกับทุกภาคสวน ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และชุมชน ใหเกิดความรวมมือในการปองกันและปราบปรามยาเสพติดภายในชุมชน โดยพรอมใหความรวมมือในการดําเนินการ การควบคุมการทํางาน โดยเปนผูนําในการติดตามเฝาระวังภายในชุมชน ไมใหมีการแพรระบาดของยาเสพติด

5.2.3 สหสัมพันธระหวางปจจัยเกื้อหนุนกับการมีสวนรวมในการปองกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการชุมชนชุมชนในพื้นที่สถานีตํารวจนครบาลบางเขน

การศึกษาเรื่อง การมีสวนรวมในการปองกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการชุมชนในพื้นที่สถานีตํารวจนครบาลบางเขน ผูศึกษาตั้งสมมติฐาน ดังนี้ ปจจัยเกื้อหนุนมีสหสัมพันธเชิงบวกกับการมีสวนรวมในการปองกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการชุมชนชุมชนในพื้นที่สถานีตํารวจนครบาลบางเขน โดยจะใชเทคนิคสัมประสิทธิ์สหสัมพันธแบบเพียรสัน (Pearson’s Correlation) ในการทดสอบสหสัมพันธระหวางตัวแปร ปรากฎผลดังนี้

สมมติฐานที่ 1 ประสบการณการเปนผูนํามีสหสัมพันธเชิงบวกกับการมีสวนรวมในการปองกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการชุมชน จากทดสอบสหสัมพันธ พบวา ปจจัยเกื้อหนุนดานประสบการณการเปนผูนําโดยรวม มีสหสัมพันธเชิงบวกกับการมีสวนรวมในการปองกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการชุมชน โดยรวมในระดับสูงมาก อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 ทั้งนี้เนื่องจากคณะกรรมการชุมชนมีความสามารถสรางความนาเชื่อถือและความไววางใจระหวางตนเองกับประชาชนในชุมชนซึ่งเปนผูตามได จากการทํางาน

Page 82: การมีส วนร วมในการป องกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Artapong_Chantanasorn

74

ที่มีความสัตยซื่อ และพูดคําไหนเปนคํานั้น มีความมั่นใจในตัวเอง (Self-confidence) พรอมเสียสละเวลาในการทํางานเพื่อปองกันและปราบปรามยาเสพติดในชุมชน นอกจากนี้คณะกรรมการชุมชนยังมีประสบการณในการเปนผูนําในการบริหารงาน การควบคุมการทํางานภายในชุมชน การวางแผนและการเปนผูประสานงานที่ดี รวมทั้งการติดตามผลในการทํางาน จึงสามารถที่จะปฏิบัติงานรวมกับประชาชนในชุมชนเพื่อปองกันและปราบปรามยาเสพติดไดอยางมีประสิทธิภาพ จึงสงผลใหมีสหสัมพันธกับการมีสวนรวมในการปองกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการชุมชน เพราะการมีสวนรวมในความหมายของการเสริมสรางพลังอํานาจนั้น เปนการสะทอนแนวคิดที่มองวาประชาชนตองเปนอิสระไมพึ่งพิงเจาหนาที่และสามารถดูแลสุขภาพของตนเองได การดําเนินงานจึงเปนวิธีการใหการศึกษาแบบผูใหญ การมีสวนรวมแบบนี้เปนการมีสวนรวมในระดับสูง คือ ประชาชน มีอํานาจและมีสิทธิของตนเอง ในการตัดสินใจอยางเต็มที่ในปญหา หรือสิ่งที่ดํารงอยูในชีวิตของเขาเอง (Rifkin et al., 1988) และสอดคลองกับผลการศึกษา ของกฤษฎิ์ มงคลบุตร (2553) ที่พบวา สวนปจจัยที่มีความสัมพันธกับการมีสวนรวมของคณะกรรมการชุมชนในการแกไขการแพรระบาดของยาเสพติดใหโทษ ไดแก การเปนผูนํา คณะกรรมการชุมชน การอบรมความรูเกี่ยวกับยาเสพติดใหโทษ และการสนับสนุนจากภาครัฐ

สมมติฐานที่ 2 ความรูความเขาใจเกี่ยวกับยาเสพติดมีสหสัมพันธเชิงบวกกับการมีสวนรวมในการปองกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการชุมชน จากทดสอบสหสัมพันธพบวา ปจจัยเกื้อหนุนดานความรูความเขาใจเกี่ยวกับยาเสพติดโดยรวม มีสหสัมพันธเชิงบวกกับการมีสวนรวมในการปองกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการชุมชน โดยรวมในระดับสูงมาก อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 ทั้งนี้เนื่องจากคณะกรรมการชุมชนมีความรูเกี่ยวกับสารเสพติดที่เปนสารมหัตภัยรายแรงที่เปนอันตรายตอสุขภาพ และสรางปญหาที่สงผลกระทบทั้งตอ ผูเสพเองและผูอื่น จึงพรอมที่จะเขามามีสวนรวมหาแนวทางในการสรางความรูความเขาใจเกี่ยวกับยาเสพติด ที่มีเปาหมายในการปองกันและปราบปรามยาเสพติด เชน การใหคําแนะนํา การจัดกิจกรรมโดยมีเจาหนาที่ตํารวจเขามาเปนวิทยากรในการใหความรู โดยเผยแพรใหคนในชุมชนรับทราบ และตระหนักถึงภัยที่จะเกิดขึ้น จึงสงผลใหปจจัยเกื้อหนุนดานความรูความเขาใจเกี่ยวกับยาเสพติดโดยรวมมีสหสัมพันธเชิงบวกกับการมีสวนรวมในการปองกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการชุมชน สอดคลองกับผลการศึกษาของ นพรัตน โคยามา (2552) ไดทําการศึกษาเรื่อง “ปจจัยการมีสวนรวมของคณะกรรมการชุมชนในการแกไขปญหาการแพรระบาดของ ยาเสพติด กรณีศึกษา : ชุมชนในเขตพื้นที่รับผิดชอบของสถานีตํารวจนครบาลบางซื่อ ผลการศึกษา

Page 83: การมีส วนร วมในการป องกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Artapong_Chantanasorn

75

พบวา ดานการใหความรูกับชุมชน อยูในระดับการมีสวนรวมคอนขางสูง ดานการเผยแพรขาวสารใหกับชุมชน อยูในระดับการมีสวนรวมคอนขางสูง

สมมติฐานที่ 3 การสนับสนุนภาครัฐมีสหสัมพันธเชิงบวกกับการมีสวนรวมในการปองกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการชุมชน จากทดสอบสหสัมพันธพบวา ปจจัยเกื้อหนุนดานการสนับสนุนภาครัฐโดยรวม มีสหสัมพันธเชิงบวกกับการมีสวนรวมในการปองกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการชุมชน โดยรวมในระดับสูงมาก อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 แสดงใหเห็นวาคณะกรรมการชุมชนไดรับการสนับสนุนภาครัฐเกี่ยวกับยาเสพติด โดยการไดรับคําแนะนําจากเจาหนาที่เกี่ยวกับการมีสวนรวมในการเผยแพรความรูใหกับชุมชน รองลงมาคือ การมีสวนรวมในการเฝาระวังและปองกันยาเสพติดในชุมชนและดานการมีสวนรวมในการปราบปรามยาเสพติดในชุมชน ทั้งนี้เนื่องจากคณะกรรมการชุมชนไดรับการสนับสนุนเกี่ยวกับสื่อวีดีทัศน สื่อสิ่งพิมพ และแผนพับในการใหความรู เกี่ยวกับยาเสพติด เปนตน นอกจากนี้ยังสนับสนุนใหมีการปราบปรามยาเสพติดอยางตอเนื่อง และมีวิทยากรมาใหความรูเกี่ยวกับยาเสพติดแกคณะกรรมการชุมชนอยางสม่ําเสมอ สงผลใหเกิดการกระตุนสรางจิตสํานึกในการมีสวนรวมใหกับคณะกรรมการชุมชนในพื้นที่สถานีตํารวจนครบาลบางเขน ดังนั้นปจจัยเกื้อหนุนดานการสนับสนุนภาครัฐจึงมีสหสัมพันธเชิงบวกกับการมีสวนรวมในการปองกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการชุมชน ในการศึกษาครั้งนี้ สอดคลองกับขอเสนอแนะจากผลการศึกษาของประพจน โสฬสจินดา (2551) เรื่องการมีสวนรวมของคณะกรรมการชุมชนในการปองกันและแกไขปญหายาเสพติด บานดอนหญานาง ตําบลในเมือง อําเภอเมือง จังหวัดขอนแกน ที่พบวา ปญหาในการปองกันและแกไขปญหายาเสพติดในชุมชน การอบรมคณะกรรมการชุมชน ขาดความตอเนื่อง และขาดงบประมาณในการสนับสนุน โดยมีขอเสนอแนะใหหนวยงานที่เกี่ยวของสงเจาหนาที่ลงพื้นที่ใหความรูแกประชาชน จัดใหมีการอบรมสม่ําเสมอ และควรมีการสนับสนุนงบประมาณจากภาครัฐและหนวยงานที่เกี่ยวของใหแกชุมชนในการปองกันและแกไขปญหายาเสพติด

5.3 ขอเสนอแนะจากผลการศึกษาจากการศึกษา การมีสวนรวมในการปองกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการ

ชุมชนในพื้นที่สถานีตํารวจนครบาลบางเขน ผูศึกษานําเสนอขอเสนอแนะจากผลการศึกษา ดังน้ี5.3.1 ขอเสนอแนะเกี่ยวกับการมีสวนรวมในการปองกันและปราบปรามยาเสพติดของ

คณะกรรมการชุมชน

Page 84: การมีส วนร วมในการป องกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Artapong_Chantanasorn

76

1. ดานการมีสวนรวมในการเผยแพรความรูใหกับชุมชน คณะกรรมการชุมชนควรรณรงคใหการจัดฝกอบรม สัมมนา เพื่อใหความรูเกี่ยวกับยาเสพติดภายในชุมชนใหมาก โดยประสานความรวมมือกับสถานีตํารวจนครบาลบางเขน และสํานักงานคณะกรรมการปองกันและปราบปรามยาเสพติด (ปปส.) เพื่อมาใหความรูในเรื่องของโทษของยาเสพติด เพื่อใหประชาชนในชุมชนตระหนักถึงความสําคัญของปญหาวาเปนปญหาเรงดวนที่ตองชวยกันดําเนินการแกไข ไมเพียงแตเปนหนาที่ของคณะกรรมการชุมชนเทานั้น แตเปนหนาที่ของทุกคน

2. ดานการมีสวนรวมในการเฝาระวังและปองกันยาเสพติดในชุมชน สถานีตํารวจ นครบาลบางเขนควรจัดใหคณะกรรมการชุมชนในพื้นที่เขารวมเปนกลุมอาสาสมัครเฝาระวังคดี ยาเสพติดรวมกับเจาหนาที่ตํารวจ โดยควรอบรมเพื่อใหมีความรูความเขาใจในการเฝาระวังและปองกันยาเสพติดในชุมชน เพื่อใหเกิดประสิทธิภาพในการปราบปรามยาเสพติดในชุมชน

3. ดานการมีสวนรวมในการปราบปรามยาเสพติดในชุมชน คณะกรรมการชุมชนควรใหความสะดวกกับเจาหนาที่ตํารวจในการตรวจคนยาเสพติดภายในชุมชน โดยการพาเจาหนาที่ไปยังจุดลอแหลมตางๆ หรือบริเวณที่สงสัยวาจะมีการมั่วสุมใชยาเสพติด ดวยความกระตือรือรนและเต็มใจ ทั้งน้ีเพื่อการปราบปรามยาเสพติดในชุมชนอยางจริงจัง

5.3.2 ขอเสนอแนะเกี่ยวกับปจจัยเกื้อหนุน1. ดานประสบการณในการเปนผูนํา คณะกรรมการชุมชนควรนําประสบการณในการ

บริหารแบบมีสวนรวม และการวางแผนการจัดการชุมชนมาประยุกตใชในการควบคุมการแพรระบาดของยาเสพติดในชุมชน ดวยการจัดประชุมประชาคมหมูบาน การตั้งดานตรวจรวมกับเจาหนาที่ตํารวจสถานีตํารวจนครบาลบางเขน การนําผูเสพเขารับการบําบัดรักษา อบรมและพัฒนาประชาชนในชุมชน รวมถึงควรรณรงคประชาสัมพันธเกี่ยวกับยาเสพติด และสามารถดําเนินการผานเกณฑการเปนชุมชนเขมแข็งปลอดภัยจากยาเสพติดใหได

2. ดานความรูความเขาใจเกี่ยวกับยาเสพติด คณะกรรมการชุมชนควรศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับกฎหมายที่เกี่ยวของกับยาเสพติด เพื่อใหเกิดความรูความเขาใจเกี่ยวกับยาเสพติด เชน สามารถอธิบายโทษทางกฎหมาย หากถูกจับวาเสพยาเสพติด ประเภทที่ 1 ยาเสพติดใหโทษชนิดรายแรง คือ เฮโรอีน แอมเฟตามีน แมทแอมเฟตามีน เอ็กซตาซี และแอลเอสดี มีโทษจําคุกตั้งแต 6 เดือน ถึง 3 ป หรือปรับตั้งแต 10,000-60,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ (ม.91) เปนตน และสามารถนําไปเผยแพรใหประชาชนในชุมชนเขาใจและตระหนักถึงความสําคัญในการมีสวนรวมปองกันและปราบปรามยาเสพติดไดอยางเปนรูปธรรม

Page 85: การมีส วนร วมในการป องกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Artapong_Chantanasorn

77

3. ดานการสนับสนุนจากภาครัฐ สถานีตํารวจนครบาลบางเขน กรุงเทพมหานครและสํานักงานคณะกรรมการปองกันและปราบปรามยาเสพติด (ปปส.) ควรสนับสนุนใหคณะกรรมการชุมชนในพื้นที่ ไดมีโอกาสไปศึกษาดูงานการจัดการดานยาเสพติดในชุมชนตนแบบ เพื่อพัฒนาความรูความเขาใจเกี่ยวกับการปราบปรามยาเสพติดในชุมชน และนําความรูที่ไดกลับมาปรับปรุงใชกับชุมชนของตนเองในดานการปองกันและแกไขปญหาการแพรระบาดของยาเสพติดในชุมชนนอกจากนี้ควรสนับสนุนใหมีกลองวงจรปดภายในจุดสําคัญของชุมชน เพื่อใหคณะกรรมการชุมชนสามารถรวมสอดสองดูแลเฝาระวังภายในชุมชน

5.4 ขอเสนอแนะในการศึกษาครั้งตอไป1. ควรเพิ่มปจจัยอื่นๆ ที่สงผลตอระดับการมีสวนรวมของประชาชนในการปองกัน

ปราบปรามยาเสพติด เชน ปจจัยดานเศรษฐกิจ ปจจัยดานทัศนคติ ปจจัยดานสิ่งแวดลอม เปนตน เพื่อทําใหทราบถึงวาปจจัยใดบางที่มีผลตอการมีสวนรวม และนําผลที่ไดไปพัฒนาเพิ่มประสิทธิภาพในการปองกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการชุมชนใหเกิดประสิทธิผลสูงสุด ตอไป

2. ควรศึกษาเพิ่มเติมในประเด็นปจจัยที่มีอิทธิพลตอการปองกันและปราบปราม ยาเสพติดในพื้นที่สถานีตํารวจนครบาลบางเขน

3. ควรศึกษาเชิงคุณภาพเขามาเพิ่มเติมในการวิจัยครั้งตอไปเพื่อใหไดผลการวิจัยที่มีคุณภาพเพิ่มขึ้นมีประโยชน และสามารถนําไปเปนประโยชนการแกไขปญหายาเสพติดไดอยางแทจริง

Page 86: การมีส วนร วมในการป องกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Artapong_Chantanasorn

78

บรรณานุกรม

หนังสือและบทความในหนังสือ

กาญจนา แกวเทพ. เครื่องมือการทํางานแนววัฒนธรรมชุมชน. กรุงเทพมหานคร: มายดพับลิชชิ่ง, 2538.

กระทรวงสาธารณสุข. พระราชบัญญัติยาเสพติดใหโทษ พ.ศ. 2522. นนทบุรี: กระทรวงสาธารณสุข, 2522.

กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. การพัฒนาการมีสวนรวมของชุมชนในงานโรคเรื้อน. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพศาสนา, 2535.

กองกฎหมายและคดียาเสพติด สํานักงาน ป.ป.ส. กระทรวงยุติธรรม. คูมือกฎหมายระเบียบ คําสั่ง เกี่ยวกับการดําเนินคดียาเสพติด. กรุงเทพมหานคร: สํานักงานตํารวจแหงชาต,ิ 2548.

กองแผนงานอาชญากรรม. ยุทธศาสตรการสงเสริมใหประชาชน ชุมชน ทองถิ่น และองคกร มีสวนรวมในกิจการตํารวจ ตามคาสั่งสํานักงานตํารวจแหงชาติ ที่ 248/2554. กรุงเทพมหานคร:สํานักงานยุทธศาสตรตํารวจ สํานักงานตํารวจแหงชาติ, 2554.

เจิมศักดิ์ ปนทอง. การระดมประชาชนเพื่อการพัฒนาชนบทในการบริหารงานพัฒนาชนบท . กรุงเทพมหานคร: โอเดียนสโตร, 2527.

ชินรัตน สมสืบ. การมีสวนรวมของประชาชนในการพัฒนาชนบท. นนทบุร:ี มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2539.

Page 87: การมีส วนร วมในการป องกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Artapong_Chantanasorn

79

ติน ปรัชญพฤทธิ์. การบริหารการพัฒนา ความหมาย เนื้อหา แนวทางและปญหา. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2537.

ถวิลวดี บุรีกุลและคณะ . จับชีพจรประเทศไทย: ตัวชี้วัดประชาธิปไตยและธรรมาภิบาล. นนทบุรี: สถาบันพระปกเกลา, 2547.

ทนงศักดิ์ คุมไขน้ํา. การพัฒนาชุมชนเชิงปฏิบัติ. กรุงเทพมหานคร: บพิธการพิมพ, 2540.

ทวีทอง หงสวิวัฒน. การมีสวนรวมของประชาชนในงานพัฒนา. กรุงเทพมหานคร: ศักดิ์โสภาการพิมพ, 2532.

ธีระพงษ แกวหาวงษ. กระบวนการเสริมสรางชุมชนเขมแข็ง: ประชาคม ประชาสังคม. ขอนแกน: คลังนานาวิทยา, 2543.

นิรันดร จงวุฒิเวศน. กลวิธี แนวทาง วิธีการสงเสริมการมีสวนรวมของประชาชนในงานพัฒนาชุมชน. กรุงเทพมหานคร: ศูนยศึกษานโยบายสาธารณสุขมหาวิทยาลัยมหิดล, 2537.

บัญชร แกวสอง และคณะ. การวางแผนสาธารณสุข. ขอนแกน: ภาควิชาบริหารงานสาธารณะสุข คณะสาธารณสุขศาสตร, มหาวิทยาลัยขอนแกน, 2537.

ปาริชาติวลั ย เสถียร และคณะ.กระบวนกา รพัฒนาและเท คนิคการทํ างา นของนักพัฒนา .กรุงเทพมหานคร: สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.), 2543.

ประเวศ วะสี . การศึกษากับภูมิปญญาทองถิ่น : ภูมิปญญาชาวบานกับการพัฒนาชนบท.กรุงเทพมหานคร: อัมรินทรพริ้นติ้งกรุป จํากัด, 2536.

____________. การสรางภูมิปญญาไทยเพื่อการพัฒนา. กรุงเทพมหานคร: อัมรินทรพริ้นติ้งกรุป จํากัด, 2541.

Page 88: การมีส วนร วมในการป องกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Artapong_Chantanasorn

80

วีระ นิยมวัน. เทคนิคการพัฒนาคนตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจแหงชาติฉบับที่ 8. กรุงเทพมหานคร:สํานักงานวิชาการกรมอนามัย, 2542.

สมพนธ เตชะอธิก และคณ. อบต.ในอุดมคติ. ขอนแกน: สถาบันวิจัยและพัฒนามหาวิทยาลัยขอนแกน, 2540.

อคิน รพีพัฒน. การมีสวนรวมของชุมชนในสภาพสังคมและวัฒนธรรมไทยในการมีสวนรวมของประชาชนในการพัฒนา. กรุงเทพมหานคร: ศักดิ์โสภาการพิมพ, 2527.

โอชา จันทรสวาง. การสัมมนาเจาหนาที่ระดับผูบริหารงานพัฒนาชนบท. กรุงเทพมหานคร: กรมการพัฒนาชุมชน, 2532.

เอกสารอื่น ๆ

กฤษฎิ์ มงคลบุตร. “ปจจัยที่มีความสัมพันธกับการมีสวนรวมของคณะกรรมการชุมชนในการแกไขปญหาการแพรระบาดของยาเสพติดใหโทษ ในเขตชุมชนในพื้นที่รับผิดชอบของสถานีตํารวจนครบาลบางเขน”. สารนิพนธหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกริก, 2553.

ณัชธนวินท วัฒนกิจพิศาล. “การมีสวนรวมของประชาชนในการปองกันและปราบปรามยาเสพติด: ศึกษาเฉพาะกรณีชุมชนหมูบานสินทรัพยนคร เขตบางเขนกรุงเทพมหานคร”.วิทยานิพนธการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยบูรพา, 2553.

นพรัตน โคยามา. “ปจจัยการมีสวนรวมของคณะกรรมการชุมชนในการแกไขปญหาการแพรระบาดของยาเสพติด กรณีศึกษา : ชุมชนในเขตพื้นที่รับผิดชอบของสถานีตํารวจนครบาลบางซื่อ”. สารนิพนธหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต วิทยาลัยการจัดการเพื่อการพัฒนา มหาวิทยาลัยทักษิณ, 2552.

Page 89: การมีส วนร วมในการป องกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Artapong_Chantanasorn

81

บุญมี รัตนะพันธุ. “การมีสวนรวมของคณะกรรมการหมูบานในการพัฒนาหมูบานศึกษาเฉพาะกรณีอําเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดรอยเอ็ด”. ภาคนิพนธคณะพัฒนาสังคม สถาบันบัณฑิต พัฒนบริหารศาสตร, 2543.

บัวพันธ พรหมพักพิงและคณะ. “การพัฒนารูปแบบการบูรณาการเครือขายกองทุนสวัสดิการชุมชนในระดับอําเภอ อําเภอน้ําพอง จังหวัดขอนแกน”. สํานักงานสงเสริมและสนับสนุนวิชาการ 6 จังหวัดขอนแกน, 2550.

ประพจน โสฬสจินดา. “การมีสวนรวมของคณะกรรมการชุมชนในการปองกันและแกไขปญหายา เสพติด บานดอนหญานาง ตําบลในเมือง อําเภอเมือง จังหวัดขอนแกน”. การศึกษาอิสระปริญญา รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการปกครองทองถิ่น วิทยาลัยการปกครองทองถิ่น มหาวิทยาลัยขอนแกน, 2551.

ประสบสุข ดีอินทร. “การมีสวนรวมในการอนุรักษทรัพยากรปาไมของผูใหญบานและกํานันภาคเหนือ”. วิทยานิพนธปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาสิ่งแวดลอม บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล, 2531.

ปราโมทย จิตรสมบูรณ. “การมีสวนรวมของประชาชนโครงการตํารวจชุมชนสัมพันธในการปองกันอาชญากรรม สถานีตํารวจภูธรจังหวัดสุพรรณบุรี”. ภาคนิพนธรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตสาขาการบริหารและการพัฒนาประชาคมเมืองและชนบท มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี, 2553.

วิเชียร บุญระชัยสวรรค. “การมีสวนรวมของคณะกรรมการชุมชนในการดูแลสิ่งแวดลอม”. วิทยานิพนธปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขารัฐศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, 2555.

Page 90: การมีส วนร วมในการป องกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Artapong_Chantanasorn

82

ศุภวัลย พลายนอย. “โครงการทักษะการทํางานและปจจัยเงื่อนไขในการพัฒนาทักษะการทํางานของแรงงานภาคอุตสาหกรรมทองเที่ยวในทองถิ่น: การศึกษาในกลุมประชาคม (Civic Groups) ภาคเหนือตอนบน กรณีศึกษาจังหวัดนาน”. งานวิจัยสํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.), 2545.

สุนีย มัลลิกะมาลยและคณะ. “โครงการวิจัยการมีสวนรวมของประชาชนในการจัดการขยะชุมชน”. กรุงเทพมหานคร: ศูนยกฎหมายและการพัฒนาสิ่งแวดลอม คณะนิติศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2543.

สุวรรณา มานะโรจนานนท. “ปจจัยเกื้อหนุนความสามารถในการมีสวนรวมปฏิบัติงานของสมาชิก องคการบริหารสวนตําบลสตรี พื้นที่จังหวัดเขตปริมณฑล”. 2542.

สมศักดิ์ พละกาบ. “บทบาทของคณะกรรมการหมูบานในการแกไขปญหายาเสพติด ตําบลไผ อําเภอทรายมูล จังหวัดยโสธร”. วิทยานิพนธหลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชายุทธศาสตรการพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ, 2551.

พระราชบัญญัติยาเสพติดใหโทษ พ.ศ. 2522 แกไขเพิ่มเติมฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2545).

พระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามยาเสพติด พ.ศ. 2519 แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2545.

พระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดียาเสพติด พ.ศ. 2550.

ระเบียบกรุงเทพมหานคร วาดวยชุมชนและกรรมการชุมชน พ.ศ. 2555.

Page 91: การมีส วนร วมในการป องกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Artapong_Chantanasorn

83

Books.

Cohen, J.M., & Uphoff, N.T. Participations Place in Rural Development: Seeking Clarity Through Specificity. New York: World Developments, 1980.

Oakley, P. & Marsden, D. Approaches to Participation in Rural Development. Geneva: ILO, 1985.

Oakley, P. Community Involvement in Health Development : An Examine of the Critical. Issue. WHO, Geneva, 1989.

Parsons, Talcott. The social system. Glencoe: Ill, Free Press, 1951.

Stone, R. J. Human resource management. (3rd ed.). New York : John Wiley and Sons, 1992.

Reeder, William W. Some Aspects of the Informal Social Participation of Farm Families in New York State. Cornell University. (Unpublished Ph.D.Dissertation), 1973.

World Health Organization. Primary Health Care report of the International Conference on Primary Health Care. Geneva: World Health Organization, 1978.

_____________________, WHOQOL: Study Protocal: Division of Mental Health. Geneva: World Health Organization, 1990.

Page 92: การมีส วนร วมในการป องกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Artapong_Chantanasorn

ภาคผนวก

Page 93: การมีส วนร วมในการป องกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Artapong_Chantanasorn

แบบสอบถามเรื่อง การมีสวนรวมในการปองกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการชุมชนใน

พื้นที่สถานีตํารวจนครบาลบางเขน

ตอนที่ 1 ขอมูลพื้นฐานทั่วไปของคณะกรรมการชุมชน

คําชี้แจงโปรดทําเครื่องหมาย ลงในเครื่องหมาย ใหตรงกับขอมูลตามความเปนจริงเกี่ยวกับตัวทานใหมากที่สุด

1. อายุ………………..ป

2. ระดับการศึกษา 1. ประถมศึกษา 2. มัธยมศึกษาตอนตน 3. มัธยมศึกษาตอนปลาย/ปวช. 4. อนุปริญญา/ปวส. 5. ปริญญาตรี 6. สูงกวาปริญญาตรี

3. อาชีพ 1. รับราชการ 2. รัฐวิสาหกิจ 3. ลูกจางบริษัท หางราน โรงงาน 4. คาขาย 5. รับจางทั่วไป 6. ไมไดประกอบอาชีพ 7. อื่น ๆ ระบ.ุ........................................

4. ระยะเวลาในการเปนคณะกรรมการชุมชน…………ป

85

Page 94: การมีส วนร วมในการป องกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Artapong_Chantanasorn

86

ตอนที่ 2 ขอมูลปจจัยเกื้อหนุนในการปองกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการชุมชนคําชี้แจง โปรดทําเครื่องหมาย ลงในเครื่องหมายใหตรงกับขอมูลตามความเปนจริงใหมากที่สุด

ระดับความคิดเห็นขอคําถามปจจัยเกื้อหนุน มาก ปาน

กลางนอย ไมเคย

ดานประสบการณในการเปนผูนํา

1. เปนผูนําการวางแผน2. เปนผูนําในการบริหารงาน3. เปนผูนําใหการศึกษา4. เปนผูประสานงาน5. เปนผูนําในการปฏิบัติ6. เปนผูนําในการควบคุมการทํางานของกลุม7. เปนผูนําในการติดตามผลในการทํางาน ดานความรูความเขาใจเกี่ยวกับยาเสพติด

1. ความรูเกี่ยวกับภัยจากยาเสพติด

2. การปองกันการแพรระบาดของยาเสพติด

3. กฎหมายที่เกี่ยวของกับยาเสพติด

ดานการสนับสนุนจากภาครัฐ

1. ทานมีการเขารวมการอบรมสัมมนาเกี่ยวกับการปองกันและปราบปรามยาเสพติดกับหนวยงานที่เกี่ยวของ2. ทานเคยใหความรวมมือในการจัดกิจกรรมปองกันและปราบปรามยาเสพติดรวมกับหนวยงานที่เกี่ยวของ3. ทานเคยไปไดรับการสนับสนุนจากหนวยงานที่เกี่ยวของใหไปศึกษาดูงาน4. ทานเคยรวมจัดสรรงบประมาณ วัสดุ อุปกรณที่ไดมาจากการสนับสนุนจากหนวยงานที่เกี่ยวของ

Page 95: การมีส วนร วมในการป องกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Artapong_Chantanasorn

87

ตอนที่ 3 ขอมูลเกี่ยวกับการมีสวนรวมในการปองกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการชุมชนในพื้นที่สถานีตํารวจนครบาลบางเขน

คําชี้แจง โปรดทําเครื่องหมาย ลงในเครื่องหมายใหตรงกับขอมูลตามความเปนจริงใหมากที่สุดระดับความคิดเห็นขอคําถาม

การมีสวนรวมของคณะกรรมการชุมชน มาก ปานกลาง

นอย ไมเคย

ดานการมีสวนรวมในการเผยแพรความรูใหกับชุมชน

1. ทานเคยรวมจัดกิจกรรมฝกอบรม สัมมนา ใหความรูเรื่องยาเสพติดกับคนในชุมชน2. ทานเคยจัดประชุมในชุมชนหรือเวทีสาธารณะเพื่อแลกเปลี่ยนความรูกับคนในชุมชน3. ทานเคยรวมจัดนิทรรศการเผยแพรความรูเรื่องยาเสพติดใหกับคนในชุมชน4. ทานเคยใหคําแนะนําเกี่ยวกับภัยจากยาเสพติดใหกับคนในชุมชน5. ทานเคยถายทอดความรูจากการศึกษาดูงานดานยาเสพติดใหแกคนในชุมชน ดานการมีสวนรวมในการเฝาระวังและปองกันยาเสพติดในชุมชน

1. ทานเคยรวมวางแผนในการเฝาระวังและปองกันยาเสพติด2. ทานเคยแจงเบาะแสดานยาเสพติดใหกับเจาหนาที่3. ทานเคยรวมสอดสองดูแลเฝาระวังพฤติกรรมเสี่ยงตอการยุงเกี่ยวกับยาเสพติดในชุมชน4. ทานเคยรวมตรวจตราพื้นที่เสี่ยงตอการยุงเกี่ยวกับยาเสพติดในชุมชน5. ทานเคยเขารวมเปนกลุมอาสาสมัครเฝาระวังคดียาเสพติด

Page 96: การมีส วนร วมในการป องกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Artapong_Chantanasorn

88

ระดับความคิดเห็นขอคําถามการมีสวนรวมของคณะกรรมการชุมชน มาก ปาน

กลางนอย ไมเคย

ดานการมีสวนรวมในการปราบปรามยาเสพติดในชุมชน

1. ทานเคยใหขอมูลที่ใชในการวางแผนการปราบปราม ยาเสพติดแกเจาพนักงาน2. ทานเคยรวมเปนผูชวยเจาพนักงานในการจับกุมคดี ยาเสพติด3. ทานเคยรวมในการสืบสวนเสาะหาขอมูลเกี่ยวกับการยุงเกี่ยวกับยาเสพติดจากเบาะแสที่ไดรับแจงมา4. ทานเคยชวยอํานวยความสะดวกในการตรวจหา สารเสพติดของผูตองสงสัยในชุมชน5. ทานเคยชวยอํานวยความสะดวกในการตรวจคนยาเสพติดภายในชุมชนกับเจาหนาที่

Page 97: การมีส วนร วมในการป องกันและปราบปรามยาเสพติดของคณะกรรมการ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2557/F_Artapong_Chantanasorn

ประวัติผูศึกษา ชื่อ - สกุล พันตํารวจโท อรรถพงษ จันทนะสรวัน/เดือน/ปเกิด วันที่ 2 ตุลาคม พ.ศ. 2507ที่อยู เลขที่ 80/140 หมูบานเอซีเฮาส 4 ลําลูกกาคลองสี่ ตําบลลาดสวาย

อําเภอลําลูกกา จังหวัดปทุมธานี 12150

ประวัติการศึกษา พ.ศ. 2525 มัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห สิงหเสนี) พ.ศ. 2529 ปริญญาตรี นิติศาสตรบัณฑิต คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยรามคําแหง พ.ศ. 2557 ปริญญาโท รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกริก

ประวัติการทํางานพ.ศ. 2540 รองสารวัตรสอบสวน สถานีตํารวจภูธรทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรีพ.ศ. 2543 รองสารวัตรปองกันปราบปราม สถานีตํารวจนครบาลประชาชื่นพ.ศ. 2550 รองสารวัตรสืบสวนปราบปราม สถานีตํารวจนครบาลบางเขนพ.ศ. 2551 สารวัตรสืบสวนปราบปราม สถานีตํารวจนครบาลบางเขน

พ.ศ. 2552-ปจจุบัน สารวัตรปองกันปราบปราม สถานีตํารวจนครบาลบางเขน

89