มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข...

278
มาตรการทางกฎหมายในการบังคับใหมีขอความเตือนภัยจากโรคภูมิแพ ลงไวในฉลากอาหารสําเร็จรูป โดย นายศุภชัย หนองชาง วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร นิติศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชากฎหมายธุรกิจ คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยเกริก พ.ศ.2559

Upload: others

Post on 04-Oct-2020

4 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

มาตรการทางกฎหมายในการบังคับใหมีขอความเตือนภัยจากโรคภูมิแพ

ลงไวในฉลากอาหารสําเร็จรูป

โดย

นายศุภชัย หนองชาง

วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรนิติศาสตรมหาบัณฑิต

สาขาวิชากฎหมายธุรกิจคณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยเกริก

พ.ศ.2559

Page 2: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

ลิขสิทธิ์ของคณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยเกริก

Page 3: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

Legal Measure in enforcement to have warning content for allergy on the label of ready-to-eat food

By

Mr. Supachai Nongchang

A Thesis Submitted in Partial Fulfillment of the Requirement for the Degree of Master of Laws in Business Law

Faculty of LawKRIRK UNIVERSITY

2016

Page 4: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

(6)

กิตติกรรมประกาศ

วิทยานิพนธฉบับนี้สําเร็จลุลวงไดเปนอยางดี เพราะความกรุณาและความอนุเคราะหจาก

รองศาสตราจารยไฉไล ศักดิวรพงศ และรองศาสตราจารย ดร.ภูมิ โชคเหมาะ ที่อนุเคราะหและ

ใหความเมตตารับเปนอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ และอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธรวม ที่

กรุณาไดสละเวลาอันมีคา ชวยชี้แนะและใหความรูอันเปนปะโยชนในการทําวิทยานิพนธ รวมทั้งได

สละเวลาอันมีคาในการตรวจสอบเพื่อแกไขขอบกพรองตาง ๆ ทําใหวิทยานิพนธฉบับนี้สําเร็จลุลวง

ดวยดี ผูเขียนมีความซาบซึ้งใจเปนอยางยิ่ง และขอกราบขอบพระคุณทานอาจารยทั้งสองไว ณ ที่นี้

ดวย

ผูเขียนขอกราบขอบพระคุณ ศาสตราจารย พิชัยศักดิ์ หรยางกูร ที่สละเวลาอันมีคา ใน

การรับเปนประธานกรรมการวิทยานิพนธ และรองศาสตราจารย จุฑามาศ นิศารัตน กรรมการ

วิทยานิพนธ ซึ่งใหคําแนะนําและขอเสนอแนะอันเปนประโยชน ตลอดจนขอคิดเห็นตาง ๆ เพื่อ

ประโยชนสูงสุดในการทําวิทยานิพนธและสําเร็จในที่สุด

นอกจากนี้ ผูเขียนขอกราบขอบพระคุณบิดามารดา พี่สาว ที่เปดโอกาสใหไดศึกษาเลา

เรียน สนับสนุนการศึกษา ตลอดจนคอยชวยเหลือใหกําลังใจเสมอมาจนสําเร็จการศึกษา รวมไป

ถึงขอขอบพระคุณเพื่อนในชั้นปริญญาโท ที่คอยผลักดัน สนับสนุน เปนกําลังใจและใหคําแนะนํา

ชวยเหลือผูเขียนในการทําวิทยานิพนธครั้งนี้

นายศุภชัย หนองชาง

มหาวิทยาลัยเกริก

พ.ศ. 2559

Page 5: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

หัวขอวิทยานิพนธ มาตรการทางกฎหมายในการบังคับใหมีขอความ

เตือนภัยจากโรคภูมิแพลงไวในฉลากอาหารสําเร็จรูป

ชื่อผูเขียน นายศุภชัย หนองชาง

สาขาวิชา/คณะ/มหาวิทยาลัย สาขาวิชากฎหมายธุรกิจ คณะนิติศาสตร

มหาวิทยาลัยเกริก

อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ รองศาสตราจารยไฉไล ศักดิวรพงศ

อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธรวม รองศาสตราจารย ดร.ภูมิ โชคเหมาะ

ปการศึกษา 2559

บทคัดยอ

วิทยานิพนธฉบับนี้มีจุดมุงหมายเพื่อศึกษาเพื่อศึกษาถึงมาตรการทางกฎหมายในการ

บังคับใหมีขอความเตือนภัยจากโรคภูมิแพลงไวในฉลากอาหารสําเร็จรูปผูบริโภค ปจจุบันยังไมมี

มาตรการในการบังคับใหมีขอความเตือนภัยจากโรคภูมิแพลงไวในฉลากอาหารสําเร็จรูปฉลากระบุ

ขอมูลเพื่อแสดงอันตรายที่อาจกอใหเกิดอาการภูมิแพแกผูบริโภคอยางชัดเจนทําใหผูบริโภคไดรับ

อันตรายและไดรับความเสียหายทั้งทางรางกายและจิตใจซึ่งเกี่ยวของกับการคุมครองสิทธิของ

ประชาชน อันพึงไดรับความคุมครองตามกฎหมายที่ใชบังคับในปจจุบัน กลาวคือ รัฐธรรมนูญแหง

ราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2550 รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย(ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช

2557 พระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภคพ.ศ.2522 พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ.2522 พระราชบัญญัติ

ความรับผิดตอความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินคาที่ไมปลอดภัย พ.ศ.2551และบทบัญญัติของ

กฎหมายอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ โดยศึกษาวิเคราะหเปรียบเทียบกับกฎหมายตางประเทศไดแกประเทศ

สหรัฐอเมริกา แคนาดา ญี่ปุน กฎหมายกลุมสหภาพยุโรป

อยางไรก็ตามการบังคับใหมีขอความเตือนภัยจากโรคภูมิแพลงไวในฉลากอาหารสําเร็จรูป

ผูบริโภคสงผลกระทบตอการลงโทษตามกฎหมายไทยยังไมมีการบัญญัติกฎหมายเพื่อใหเปนผล

บังคับอยางชัดเจนเปนการเฉพาะทําใหเกิดปญหาเกี่ยวกับการควบคุมฉลากเพื่อการโฆษณา

อาหารกอใหเกิดการภูมิแพปญหาเกี่ยวกับบทนิยามฉลากอาหารที่กอใหเกิดการภูมิแพปญหา

เกี่ยวกับหนวยงานหรือผูรับผิดชอบในการตรวจสอบฉลากอาหารที่กอใหเกิดการภูมิแพปญหาการ

เยียวยาผูบริโภคที่ไดรับความเสียหายจากการบริโภคอาหารที่กอใหเกิดการภูมิแพปญหาการ

(1)

Page 6: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

บังคับลงโทษตามกฎหมายฉลากอาหารที่กอใหเกิดการภูมิแพและประเทศไทยยังไมบังคับให

ผูประกอบการตองแสดงฉลากเกี่ยวกับอาหารกอภูมิแพ อยางชัดเจนรวมทั้งมีบทลงโทษหากไม

ปฏิบัติตามอยางชัดเจนเพื่อใหสามารถบังคับตามกฎหมายไดอยางมีประสิทธิภาพ และใหความ

เปนธรรม

ดังนั้นจากการศึกษามาตรการทางกฎหมายในการบังคับใหมีขอความเตือนภัยจากโรค

ภูมิแพลงไวในฉลากอาหารสําเร็จรูปผูบริโภคผูวิจัยมีขอเสนอแนะดังตอไปนี้

1. ควรบัญญัติกฎหมายเพิ่มเติมตามระเบียบสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาวา

ดวยการดําเนินการเกี่ยวกับเลขสารบบอาหาร (ฉบับที่6) จากขอ8.4.21“การเปลี่ยนแปลงขอความ

ในการแสดงสวนประกอบที่ใชในผลิตภัณฑที่อาจกอใหเกิดภูมิแพเชนเพิ่ม/ตัด/แกไขขอความสาร

กอภูมิแพ : ถั่วไขเปนตน”โดยเพิ่มเติมและใชคําวา“การเปลี่ยนแปลงขอความผูประกอบการตองมี

การแสดงรายละเอียดสวนประกอบที่ใชในผลิตภัณฑที่อาจกอใหเกิดภูมิแพเชนเพิ่ม/ตัด/แกไข

ขอความสารกอภูมิแพในการบังคับใหมีขอความเตือนภัยจากโรคภูมิแพลงไวในฉลากอาหาร

สําเร็จรูปดวย

2. มาตรา 31“ฉลากของสินคาที่ควบคุมฉลากจะควรบัญญัติใหมีลักษณะที่ระบุ

สวนประกอบที่ใชในผลิตภัณฑอาหารที่อาจกอใหเกิดภูมิแพ

3. ควรบัญญัติบทนิยามความหมายของความวา“ฉลากอาหารที่กอใหเกิดการภูมิแพ”ใหมี

ความชัดเจน

4. ควรใหหนวยงานของรัฐที่เกี่ยวของดําเนินการเยียวยาความเสียหายในเบื้องตนกอน

5. แกไขเพิ่มเติมเพิ่มเนื้อหาใหมโดยมุงเพิ่มเติมอัตราโทษใหสูงขึ้นจากเดิมเพื่อเปนการ

ปองกันและปราบปรามผูกระทําผิดมิใหกระทําผิด ทั้งนี้ปรากฏตามมาตรา52/1มีขอความดังนี้“ผูใด

ขายอาหารหรือสินคาที่ควบคุมฉลากอาหารที่กอใหเกิดภูมิแพหรือสินคาที่กอใหเกิดภูมิแพโดยไมมี

ฉลากอาหารที่กอใหเกิดภูมิแพหรือหรือมีฉลากสินคาที่กอใหเกิดภูมิแพหรือมีฉลากแตฉลากนั้นไม

ถูกตองหรือเปนฉลากไมชอบดวยกฎหมาย หรือขายสินคาที่มีฉลากที่คณะกรรมการวาดวยฉลาก

สั่งเลิกใชตามกฎหมาย ทั้งนี้ โดยรูหรือควรรูอยูแลววาการไมมีฉลากหรือการแสดงฉลากดังกลาว

นั้นไมถูกตองตามกฎหมาย ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหกเดือนถึงหนึ่งป หรือปรับไมเกินหาหมื่น

บาทถึงหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ”เปนตน

(2)

Page 7: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

(3)

Thesis title Legal Measure in enforcement to have warning

content for allergy on the label of ready-to-eat food

Author’s Name Mr. Supachai Nongchang

Department/Faculty/University Department of Business Law

Faculty of Law, Krirk University

Thesis Advisor Assoc. Prof. Chailai Sakdivorapong

Thesis Co-Advisor Dr. Suthee Yoosathaporn

Academic Year 2016

AbstractThe objective of this thesis is to study the legal measure in enforcement to have

warning content on the label of ready-to-eat food. Now there is no compulsory measure

to have the warning content for food allergy on the label of ready-to-eat food in order to

clearly show information about danger that such food may cause the allergic symptom

to consumer. This may cause the consumer a danger and damage physically and

mentally which this issue is related to the citizen’s right which should be protected under

the current applicable laws: Thai Constitution of B.E. 2550 (2007), Thai Constitution

(Temporary) of B.E. 2557 (2014), Consumer Protection Act of B.E. 2522 (1979), Food

Act of B.E. 2522 (1979), Act of Liabilities for Damages from Unsafe Product of B.E. 2551

(2008) and other relevant legislations. This is the comparative study by analyzing the

laws in several countries for example U.S., Canada, Japan, European Union.

However, the enforcement to have warning content for food allergen on the label

of ready-to-eat food may affect legal punishment under Thai law since there is no law

that clearly enforceable particularly on this issue which cause the problem in controlling

the label of food that may cause allergy, problem related to definition in label of food

which may cause allergy, problem related to the government authority or in charge

person in checking the label of food that may cause allergy, problem related to remedy

for a consumer who is damaged from consuming the food that cause allergy, problem

Page 8: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

(4)

related to the enforcement for the punishment by the law controlling label of the food

that cause allergy and Thailand has not enforced the business operator to show label

related to food allergen clearly and has no clear punishment in case of non-compliance

in order to enforce the laws effectively and in fair and just manner.

Therefore, from the study on legal measure about enforcement to have warning

content for food allergen on label of the ready-to-eat food, the author has the following

proposal:

1. There should be the laws in additional to the Food and Drug Administration

Committee’s Regulation on procedure for Food Serial Number (No. 6), from Article

8.4.21 “Change of the content showing the ingredients in product which may cause

allergies such as adding/deleting/revising the content about allergen: nut, egg, for

instance.” to be “In changing of the content, the business operator must show the

details of ingredient in the product which may cause allergies such as

adding/deleting/revising the content about allergen and enforcing to have warning

content for allergy on label of the ready-to-eat food.”

2. Section 31 “Label of product which is controlled its label must be prescribed

in the format that specifies the ingredients used in the product which may cause allergy.

3. There should be a provision clearly giving definition of “label of good that

causes allergy”.

4. There should have the related government authority to process for providing

primary remedy in the first stage.

5. Amending or adding new content which aims to increase penalty rate to be

higher than the current in order to prohibit and suppress wrongdoer to commit the

offense. It appears in Section 52/1 that “Anyone who sells food or product which is

controlled food label which such food may cause allergy or the product may cause

allergy without food label warning on the allergy or with food label which its content is

incorrect or illegal or sell product with the label that Label Committee has ordered to

Page 9: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

(5)

refrain from using such label whether he/she knows or ought to know that the absence of

label or showing such label is illegal, he/she shall be liable for imprisonment not over six

months to one year or fine punishment not over fifty thousand baht to one hundred

thousand baht or both”.

Page 10: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

(7)

สารบัญ

หนาบทคัดยอภาษาไทย (1)บทคัดยอภาษาอังกฤษ (3)กิตติกรรมประกาศ (6)บทที่ 1 บทนํา 1

1.1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา 11.2 วัตถุประสงคของการศึกษา 61.3 ขอบเขตของการศึกษา 6

1.4 สมมติฐานของการศึกษา 6 1.5 วิธีการศึกษา 71.6 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 7

บทที่ 2 ประวัติความเปนมา แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับอาหารที่กอใหเกิดอาการภูมิแพของผูบริโภค 82.1 ประวัติความเปนมาของอาหารที่กอใหเกิดการภูมิแพ 8 2.1.1 การบริโภคอาหารที่กอใหเกิดการแพอาหารในสวนของตางประเทศ 8

2.1.2 กรณีอาหารกอภูมิแพที่พบในประเทศไทย 10

2.1.3 ความหมายของโรคภูมิแพ 11

2.1.4 ขอมูลทั่วไปของอาหารกอภูมิแพ 13

2.1.5 ประเภทและลักษณะของอาหารที่การควบคุม 16

2.1.6 สัญญาณอันตรายจากภาวะโภชนาการ 17

2.1.7 การปองกันความเสียหายที่กอใหเกิดภูมิแพ 18

2.1.8 การวินิจฉัยภูมิแพจากอาหาร 18

2.1.9 การรักษาภูมิแพแบบฉบับ 19 2.1.10 การรักษาภูมิแพแบบผสมผสาน 20

Page 11: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

(8)

สารบัญ (ตอ)

หนา2.2 แนวคิดหลักการใหความคุมครองผูบริโภคตามกฎหมาย 20

2.2.1 แนวคิดทฤษฎีและที่มาของกฎหมายคุมครองผูบริโภค 22

2.2.2 หลักการคุมครองผูบริโภคตางประเทศ 23

2.2.3 หลักการคุมครองผูบริโภคประเทศไทย 30

2.2.4 สิทธิขั้นพื้นฐานของผูบริโภคเมื่อสินคาไมปลอดภัย 34

2.2.5 สิทธิขั้นพื้นฐานรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 35

2.2.6 สิทธิขั้นพื้นฐานรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 36

2.2.7 สิทธิขั้นพื้นฐานตามพระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภค พ.ศ.2522 39

2.2.8 แนวคิดความเสียหายที่เกิดจากการบริโภคอาหาร 41

2.2.9 แนวคิดการเยียวยาคาเสียหายของผูบริโภค 42

2.2.9.1 สิทธิเรียกรองคาเสียหาย 45

2.2.9.2 ระยะเวลาการเรียกรองคาเสียหาย 47

2.2.10 บทบาทหนวยงานของรัฐกับการใหการคุมครองผูบริโภค 53

2.2.10.1 สํานักงานคุมครองผูบริโภค 53

2.2.10.2 สํานักงานคณะกรรมาการอาหารและยา 56

2.2.11 แนวคิดการลงโทษทางปกครอง 57

2.2.12 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการลงโทษทางอาญา 60

2.2.13 แนวคิดและหลักภาระการพิสูจน 67

2.2.14 แนวความคิดเกี่ยวกับการละเมิด 82

2.2.15 หลักเกณฑในการกําหนดความรับผิดทางละเมิด ตามกฎหมายไทย 88

Page 12: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

(9)

สารบัญ (ตอ)

หนา 2.2.15.1 องคประกอบการกระทําตอบุคคลอื่น

โดยผิดกฎหมาย (Unlawful Conduct) 91

2.2.15.2 องคประกอบจงใจหรือประมาทเลินเลอ (Intention หรือ Negligence) 93

2.2.15.3 องคประกอบความเสียหาย (Injury) องคประกอบ สวนของความเสียหายเปนความเสียหายทั่วไป 94

2.2.15.4 คาสินไหมทดแทนเพื่อความเสียหายอยางอื่น อันมิใชตัวเงิน (Non-pecuniary loss) 97

บทที่ 3 มาตรการทางกฎหมายในการบังคับใหมีขอความเตือนภัยจากโรคภูมิแพลงไวในฉลากอาหารสําเร็จรูปของผูบริโภค 98

3.1 มาตรการทางกฎหมายที่เกี่ยวของกับฉลากอาหารของประเทศไทย 98

3.1.1 รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 98

3.1.2 พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ.2522 101

3.1.3 ระเบียบสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาวาดวยการ ดําเนินการเกี่ยวกับเลขสารบบอาหาร (ฉบับที ่6 102

3.1.4 ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 367) พ.ศ.2557

เรื่องการแสดงฉลากของอาหารในภาชนะบรรจุ 103

3.1.5 ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 182) พ.ศ.2541

เรื่องฉลากโภชนาการ 106

3.1.6 บุคคลซึ่งเกี่ยวของกับอาหารที่กอใหเกิดการภูมิแพ 112

3.1.6.1 ผูผลิต 113

3.1.6.1.1 พระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภค พ.ศ.2522 113

3.1.6.1.2 พระราชบัญญัติ อาหาร พ.ศ.2522 114

3.1.6.2 ผูจําหนายอาหาร 116

Page 13: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

(10)

สารบัญ (ตอ)

หนา 3.1.6.2.1 พระราชบัญญัติกฎหมายคุมครองผูบริโภค

พ.ศ.2522 116

3.1.6.2 พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ.2522 117

3.1.6.3 ผูบริโภคอาหาร 117

3.1.6.3.1 พระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภค พ.ศ.2522 117

3.1.6.3.2 พระราชบัญญัติความรับผิดตอความเสียหาย ที่เกิดขึ้นจากสินคาที่ไมปลอดภัย พ.ศ.2551 118

3.1.7 หลักการคุมครองผูบริโภคการบังคับใหมีขอความเตือนภัย จากโรคภูมิแพลงไว ในฉลากอาหารสําเร็จรูปของผูบริโภค 119

3.1.7.1 หลักการคุมครองดานฉลากทั่วไปตามพระราชบัญญัติ คุมครองผูบริโภค พ.ศ.2522 120

3.1.7.2 หลักการคุมครองดานฉลากอาหารที่กอใหเกิดภูมิแพ 121

3.1.7.2.1 การคุมครองดานฉลากอาหารที่กอใหเกิด ภูมิแพตามพระราชบัญญัติอาหาร

พ.ศ.2522 121

3.1.7.2.2 การคุมครองดานฉลากอาหารที่กอใหเกิด ภูมิแพตามระเบียบ สํานักงานคณะกรรมการ อาหารและยาวาดวยการดําเนินการเกี่ยว กับเลขสารบบอาหาร (ฉบับที่ 6 122

3.1.7.2.3 การคุมครองดานฉลากอาหารที่กอใหเกิด ภูมิแพตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 367) พ.ศ.2557 เรื่อง การแสดง ฉลากของอาหารในภาชนะบรรจุ 122

Page 14: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

(11)

สารบัญ (ตอ)

หนา

3.1.8 หนวยงานที่มีหนาที่ควบคุมกํากับตรวจสอบและดูแลฉลากอาหาร ที่กอใหเกิดการภูมิแพ 124

3.1.8.1 สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา 124

3.1.8.2 สํานักงานคุมครองผูบริโภค 126

3.1.8.3 สมาคมหรือมูลนิธิภาคเอกชน 129

3.1.9 หลักความรับผิดตอความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินคา ที่ไมปลอดภัย 132

3.1.10 หลักการเยียวยาความเสียหายของผูบริโภคตามกฎหมาย 134

3.1.10.1 การเยียวยาความเสียหายตามรัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 134

3.1.10.2 การเยียวยาความเสียหายตามพระราชบัญญัติ วิธีพิจารณาคดีผูบริโภค พ.ศ. 2551 136

3.1.10.3 การเยียวยาคาเสียหายตามพระราชบัญญัติ ความรับผิดตอความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินคา

ที่ไมปลอดภัย พ.ศ.2551 138

3.1.10.3.1 หลักการการแกไขเยียวยาคาเสียหาย 139

3.1.10.3.2 ระยะเวลาการเรียกรองคาเสียหาย 141

3 .1.11 มาตรการลงโทษผูที่เกี่ยวของกับฉลากอาหารที่กอให เกิดการภูมิแพ 143

3.1.11.1 อาญา 143

3.1.11.2 แพง 144

3.1.11.3 ปกครอง 145

Page 15: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

(12)

สารบัญ (ตอ)

หนา

3.2 มาตรการทางกฎหมายที่เกี่ยวของกับการควบคุมฉลากเพื่อ การโฆษณาอาหารที่กอใหเกิดอาการภูมิแพของผูบริโภคใน ตางประเทศ 146

3.2.1 สหรัฐอเมริกา 146

3.2.1.1 มาตรการคุมครองในดานการโฆษณา 146

3.2.1.2 มาตรการคุมครองในดานฉลากภูมิแพ 148

3.2.1.3 มาตรการคุมครองในดานการเยียวยา 154

3.2.1.4 องคกรบังคับใชกฎหมาย 156

3.2.2 แคนาดา 158

3.2.2.1 มาตรการคุมครองในดานการโฆษณา 158

3.2.2.2 มาตรการคุมครองในดานฉลากภูมิแพ 160

3.2.2.3 มาตรการคุมครองในดานการเยียวยา 162

3.2.2.4 องคกรบังคับใชกฎหมาย 164

3.2.3 กลุมประเทศสหภาพยุโรป 165

3.2.3.1 มาตรการคุมครองในดานการโฆษณา 165

3.2.3.2 มาตรการคุมครองในดานฉลากภูมิแพ 167

3.2.3.3 มาตรการคุมครองในดานการเยียวยา 168

3.2.3.4 องคกรบังคับใชกฎหมาย 171

3.2.4 อังกฤษ 172

3.2.4.1 มาตรการคุมครองในดานการโฆษณา 172

3.2.4.2 มาตรการคุมครองในดานฉลากภูมิแพ 176

3.2.4.3 มาตรการคุมครองในดานการเยียวยา 177

3.2.4.4 องคกรบังคับใชกฎหมาย 178

Page 16: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

(13)

สารบัญ (ตอ)

หนา 3.2.5 ญี่ปุน 180

3.2.5.1 มาตรการคุมครองในดานการโฆษณา 180

3.2.5.2 มาตรการคุมครองในดานฉลากภูมิแพ 185

3.2.5.3 มาตรการคุมครองในดานการเยียวยา 186

3.2.5.4 องคกรบังคับใชกฎหมาย 192

บทที่ 4 วิเคราะหปญหากฎหมายเกี่ยวกับการควบคุมฉลากอาหารที่กอใหเกิดการภูมิแพเปรียบเทียบกับกฎหมายตางประเทศ 196

4.1 ปญหากฎหมายเกี่ยวกับการควบคุมฉลากเพื่อการโฆษณาอาหาร กอใหเกิดการภูมิแพ 196

4.2 ปญหากฎหมายเกี่ยวกับบทนิยามฉลากอาหารที่กอใหเกิด การภูมิแพ 201

4.3 ปญหากฎหมายเกี่ยวกับหนวยงานหรือผูรับผิดชอบในการ ตรวจสอบฉลากอาหารที่กอใหเกิดการภูมิแพ 2054.4 ปญหาเกี่ยวกับการเยียวยาผูบริโภคที่ไดรับความเสียหาย จากการบริโภคอาหารที่กอใหเกิดการภูมิแพ 210

4.4.1 ระยะเวลาการเรียกรองคาเสียหาย 214

4.4.2 การเขาถึงในการรับรูสิทธิของผูบริโภคที่ไดรับความคุมครอง ตามกฎหมาย 217

4.5 ปญหาเกี่ยวกับการบังคับลงโทษตามกฎหมายฉลาก อาหารที่กอใหเกิดการภูมิแพ 221

บทที่ 5 บทสรุปและขอเสนอแนะ 227

5.1 บทสรุป 227

5.2 ขอเสนอแนะ 239

5.2.1 ปญหากฎหมายเกี่ยวกับการควบคุมฉลากเพื่อการโฆษณา อาหารกอใหเกิดการภูมิแพ 239

Page 17: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

(14)

สารบัญ (ตอ)

หนา5.2.2 ปญหากฎหมายเก่ียวกับบทนิยามฉลากอาหารที่กอใหเกิดการภูมิแพ 240

5.2.3 ปญหากฎหมายเกี่ยวกับหนวยงานหรือผูรับผิดชอบในการตรวจ สอบฉลากอาหารที่กอใหเกิดการภูมิแพ 241

5.2.4 ปญหาเกี่ยวกับการเยียวยาผูบริโภคที่ไดรับความเสียหายจากการ บริโภคอาหารที่กอใหเกิดการภูมิแพ 242

5.2.5 ระยะเวลาการเรียกรองคาเสียหาย 242

5.2.6 การเขาถึงในการรับรูสิทธิของผูบริโภคที่ไดรับความคุมครอง ตามกฎหมาย 243

5.2.7 ปญหาเกี่ยวกับการบังคับลงโทษตามกฎหมายฉลากอาหาร

ที่กอใหเกิดการภูมิแพ 244

บรรณานุกรม 246

ประวัติผูเขียน 261

Page 18: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

บทที่ 1

บทนํา

1.1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา

ในปจจุบันอาการแพอาหารไมใชเรื่องไกลตัวเพราะผูบริโภครับประทานอยูทุกวันซึ่งแพทย

สวนใหญยืนยันแลววาอาหารที่ทําใหเกิดการแพมีอยูในอาหารแทบทุกชนิด และการแพอาหารอาจ

เปนจุดเริ่มตนของปญหาสุขภาพเรื้อรังไดอยางคาดไมถึง คนบางคนมีอาการหอบหืด เยื่อจมูก

อักเสบเรื้อรัง ทั้งนี้ก็เพราะรับประทานที่แพเขาไปทุกวันโดยไมเคยรูตัวภูมิแพกลายเปนประเด็น

สําคัญในภาคอุตสาหกรรมอาหาร เนื่องจากหลายประเทศที่นําเขาสินคาอาหารจากประเทศไทย

เชน ญี่ปุน สหรัฐอเมริกา แคนาดา สหภาพยุโรป แมแตประเทศในแทบเอเชียมีมาตรการทาง

กฎหมายในการบังคับใหมีขอความเตือนภัยจากโรคภูมิแพลงไวในฉลากอาหารสําเร็จรูป1หรือที่

เรียกวากฎหมายเกี่ยวกับการแสดงฉลากอาหารที่กอใหเกิดสารภูมิแพ ซึ่งผูสงออกอาหารตองให

ความสําคัญที่จะตองปฏิบัติตามอยางเครงครัดตอกฎระเบียบและมาตรการความปลอดภัยดาน

อาหารการระวังเรื่องการปนเปอนแบบไมเจตนาของอาหารกอภูมิแพในผลิตภัณฑอาหารนั้น

จําเปนที่จะตองประเมินโอกาสในการเกิดการปนเปอนขามโดยไมตั้งใจ จากวัตถุดิบสูผลิตภัณฑ

สําเร็จรูป เมื่อไดผานการวิเคราะหความเสี่ยงผูผลิตจึงสามารถกําหนดวาควรจะมีการระบุ ฉลากใน

ผลิตภัณฑสําเร็จรูปเพื่อจําหนายใหกับผูบริโภคอยางไร ทั้งนี้การบริโภคอาหารที่แตกตางกันใน แต

1อาหารสําเร็จรูปหมายถึงอาหารสําเร็จรูป เปนอาหารที่อํานวยความสะดวกอีกประเภทหนึ่ง ไดแก

อาหารสําเร็จรูปประเภทตางๆ ไมวาจะเปนอาหารแปรรูปที่ใชบริโภคเปนอาหารมื้อหลัก จําพวกเนื้อสัตว หรือ

อาหารทะเลบรรจุภาชนะกระปองปดสนิท หรือใชบริโภครวมกับอาหารหลัก เชน พืชผักดองกระปอง เครื่องดื่ม

หรือบริโภคเปนอาหารวาง หรืออาหารขบเคี้ยวระหวางมืออาหารหลัก เชน ขนมปงกรอบ ถั่วอบ วุนสําเร็จรูป ขนม

หวาน และขนมเยลลี่

อาหารสําเร็จรูปที่พรอมบริโภคทันที หมายถึง อาหารที่ผลิตเรียบรอยพรอมบริโภคที่บรรจุในภาชนะ

พรอมจําหนายไดทันที อาหารแชเยือกแข็ง (frozen food) จัดเปนอาหารที่อํานวยความสะดวกชนิดใหมที่ผลิตขึ้น

ในประเทศไทย ซึ่งเปนที่รูจักกันมานานแลวในตางประเทศ เพราะเปนอาหารสําหรับผูที่ไมมีเวลา แมกระทั่งจะ

ออกจากบาน จึงมีผูคิดคนพัฒนาอาหารจานดวนใหเก็บรักษาไดนาน โดยการนําไปแชเยือกแข็งเมื่อปรุง

ผสมเสร็จแลว นํากลองกระดาษใสอาหารที่ปรุงสําเร็จรูปแชเยือกแข็งไว เมื่อจะรับประทานจะนํามาใสเตา

ไมโครเวฟเพียงเวลาไมกี่วินาทีก็สามารถนําออกมารับประทานไดทันที สําหรับภาชนะบรรจุของอาหารประเภทนี้

อาจเปนแผนหรือถุงพลาสติก กลองกระดาษ หรือโฟม หรือกระปองตามความเหมาะสมของสภาพอาหารและ

การจําหนาย

Page 19: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

2

ละทองถิ่นและแตละพื้นที่สงผลใหอาหารที่กอใหเกิดภูมิแพมีความแตกตางกัน อีกทั้งความ

แตกตางทางกรรมพันธุของมนุษยก็เปนได จากการศึกษาวิจัยพบวา2

1) อาหารกอภูมิแพหลักสําหรับเด็กในประเทศตางๆ มี 3 ชนิดหลักดวยกัน คือ ไขไก นมวัว

และธัญพืช

2) อาการภูมิแพของผูบริโภคไขไกและนมวัวนั้นสามารถพบไดทั่วโลก

3) อาการภูมิแพของผูบริโภคตอถั่วลิสงนับเปนอาหารกอภูมิแพอันดับที่ 3 ในสหรัฐอเมริกา

และสวิตเซอรแลนด

4) อาการภูมิแพของผูบริโภคขาวสาลีนับเปนอาหารกอภูมิแพอันดับ 3 ในสหพันธ

สาธารณรัฐเยอรมนีและญี่ปุน

5) อาการภูมิแพของผูบริโภคปลาเปนอาหารกอภูมิแพอันดับ 3 ในสเปน

6) อาการภูมิแพของผูบริโภคเมล็ดงาเปนอาหารกอภูมิแพอันดับ 3 ในอิสราเอล

อาการภูมิแพของผูบริโภคคือการผิดปกติของรางกายเมื่อทานอาหารบางอยางเขาไปโดยสาเหตุของความผิดปกติเกี่ยวของกับระบบภูมิคุมกันของรางกายอาการไมพึงประสงคจากอาหาร(Adverse food reaction: AFR) แบงออกเปน 2 กลุมคือ

(1) เกี่ยวของกับระบบภูมิคุมกันแบงออกเปน 2 กลุมยอย IgE mediated reaction เชนอาการภูมิแพของผูบริโภคถั่วลิสงที่เกิดภายใน 1 นาทีหลังจากกินเขาไปถุงพลาสติก-กลองกระดาษ หรือโฟม หรือกระปองตามความเหมาะสมของสภาพอาหารและ Non IgE mediated reaction

เชนเกิด protein-induced enterocolitis syndrome ภายใน 1 ชั่วโมงหลังจากกินเขาไปโดย IgE

mediated reaction สวนใหญจะเกิดภายในเวลาไมเกิน 2 ชั่วโมงถาเกิดขึ้นพนจากชวงนี้ไปแลวมักไมใชการแพอาหาร

(2) Food intolerances ไมเกี่ยวกับระบบภูมิคุมกันเชน lactose intolerances แบงออกเปน 2 กลุมยอย Toxic reactions เชนอาการภูมิแพของผูบริโภคอาหารเปนพิษหรือไดรับพิษจากปลา Non-toxic reaction เชนแพนม (lactose intolerance)

การ “แพ” หรือ “Allergic reaction” คือ การที่ระบบภูมิตานทานของรางกายเกิดปฏิกิริยา

มากผิดปกติ ตอสารธรรมดาในคนทั่วไป ระบบภูมิตานทานของรางกาย จะมีปฏิกิริยา ตอสิ่งที่จะ

ทําอันตรายรางกายเทานั้น เชน พวกเชื้อโรคตางๆ โดยรางกายจะสรางสารที่เรียกกันรวมๆ วา

2 FoodAllergen.อาหารที่กอใหเกิดภูมิแพ, (28 พฤศจิกายน 2556 ), สืบคนเมื่อวันที่ 2กุมภาพันธ

2557,จาก.http://www.ifrpd-foodallergy.com/index.php/th.

Page 20: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

3

“ภูมิคุมกัน” (Antibody) ออกมามากมายหลายชนิด ในคนที่เปนโรคภูมิแพ เมื่อรางกายไดรับสาร

ธรรมดาบางอยาง เชน ละอองเกสร ไรฝุน เศษแมลงสาบ รังแคสัตวเลี้ยง สปอรเชื้อรา หรือแมแต

สารอาหารชนิดตางๆ รางกายกลับสรางภูมิคุมกันชนิดหนึ่ง ที่เรียกวา IgE3 ขึ้นมามากมาย มาตอสู

กับ “สารกอภูมิแพ” ดังกลาว จนเกิดอาการตางๆ ของโรค ซึ่งการแพอาหารจึงหมายถึง คนที่

รับประทานอาหาร อยางใดอยางหนึ่ง เชน นม ไข อาหารทะเล ฯลฯ เขาไปแลว รางกายของเขา

สราง IgE มาตอสูกับโปรตีนของสารอาหารดังกลาว จนทําใหเกิดอาการแพขึ้นอาการของโรคแพ

อาหารอาการมีไดหลายอาการในระบบทางเดินอาหาร เชน คันปาก คลื่นไส อาเจียน ปวดทอง

อาหารไมยอย ทองเสียอาการในระบบทางเดินหายใจ เชน คัดจมูก น้ํามูกไหล จาม คันในจมูก คัน

คอ หายใจลําบาก แนนหนาอก หอบอาการทางผิวหนัง เชน มีผื่นขึ้น อาจเปนผื่นแผงๆ ที่เรียกวา

eczema หรือ ผื่นแบบลมพิษ คันตามตัวรายที่อาการเปนมาก รุนแรง เปนทีเดียวหลายระบบ ก็

ช็อก (shock) ได ถารักษาไมทันก็มีสิทธิ์ตายไดทั้งนี้ทั้งนั้นอาการและความรุนแรงจะแตกตางกันไป

ในผูปวยแตละราย แมในรายเดียวกัน อาการแพแตละครั้ง อาจแตกตางกัน ไมเหมือนครั้งกอนๆ ก็

ได นอกจากนี้ในบางราย โดยเฉพาะรายที่ปฏิกิริยาแพไมรุนแรง อาการอาจไมเกิดทันทีที่

รับประทานอาหารนั้นเขาไป แตจะทิ้งชวงหลายชั่วโมงจนถึงเปนวัน ซึ่งยิ่งทําใหนักสืบจับผูรายยาก

ใหญและยังควรทราบดวยวา อาการที่เกิดเนื่องจากการรับประทานอาหาร ไมจําเปนตองเปนโรค

แพอาหารเสมอไป ยกตัวอยางเชน กรณีที่ไปรับประทานอาหารไมสะอาด หรืออาหารมีเชื้อโรคปน

อยู ทําใหเกิดอาการปวดทอง ทองเดิน อยางนั้นเราไมเรียกวา แพอาหาร นะคะ เรียกวา อาหารเปน

พิษคะ หรือในคนที่ดื่มนมวัวแลวทองเสีย เนื่องจากรางกายขาดน้ํายอยชนิดหนึ่ง แบบนี้ก็ไมเรียกวา

“แพ” เปนตน4

การบังคับใชในดานกฎหมายในปจจุบันเมื่อศึกษาประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่

367 พ.ศ.2543 ขอ 4 แมจะมีการกําหนดขอความวา “ขอมูลสําหรับผูแพอาหาร”ที่ยังไมมีความ

ชัดเจนและไมควบคุมรวมทั้งไมปรากฏบทลงโทษหากผูประกอบการไมปฏิบัติตามประกาศ

ดังกลาวเพื่อใหเกิดความชัดเจนและคุมครองผูบริโภคอยางเปนธรรมรวมไปถึงระเบียบสํานักงาน

คณะกรรมการอาหารและยาวาดวยการดําเนินการเกี่ยวกับเลขสาระบบอาหาร (ฉบับที่ 6) 8.4.21

การเปลี่ยนแปลงขอความในการแสดงสวนประกอบที่ใชในผลิตภัณฑที่อาจกอใหเกิดภูมิแพเชน

เพิ่ม/ตัด/แกไขขอความสารกอภูมิแพถั่วไขเปนตนประกอบกับพระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภค

3IgE Mediated Food Allergy เปนการเกิดแพอาหารโดยที่โปรตีนของอาหารเมื่อผานผนังลําไส และ

เกิดปฏิกิริยาภูมิแพชนิด IgE อาการที่เกิดมักจะเฉียบพลัน เชนผื่นลมพิษ อาการอาจจะรุนแรงจนกระทั่งเสียชีวิต

โดยที่ไมมีผื่น4พ.ญ.สิรินันท บุญยะลีพรรณ,“แพอาหารเกือบตาย,”สืบคนเมื่อวันที่ 30 เมษายน 2558 จาก,

http://www.inderm.go.th/inderm_sai/skin/skin28.html.

Page 21: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

4

พ.ศ.2522 และพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ.2522 มาตรา 4 ไดใหความหมายไปในทางเดียวกัน

กลาวคือ เรื่องฉลากอาหาร ใหคํานิยามของฉลากอาหารวาคือ รูป รอยประดิษฐ เครื่องหมาย หรือ

ขอความใดๆ ที่แสดงไวที่อาหาร ภาชนะบรรจุ หรือหีบหอของภาชนะที่บรรจุอาหาร (รวมถึงแผน

พับและฉลากคอขวด) โดยกําหนดใหอาหารทุกชนิดที่ผูผลิตไมไดเปนผูขายอาหารนั้นใหกับ

ผูบริโภคโดยตรง ตองแสดงฉลากบนภาชนะบรรจุ ขอมูลที่แสดงบนฉลากอาหารนั้น ซึ่งฉลาก

อาหารที่อยูบนภาชนะบรรจุอาหารโดยทั่วไปนั้นจะมีขอมูลพื้นฐานเกี่ยวกับสวนประกอบของ

อาหารและคุณคาทางโภชนาการเพื่อชวยใหผูบริโภคเลือกซื้อไดอยางมั่นใจวาเปนอาหารที่

เหมาะสมตรงตามความตองการคุมราคาอาหารที่ไดมาตรฐานจะมีฉลากที่ไดรับอนุญาตจาก

สํานักงานมาตรฐานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.)กระทรวงสาธารณสุขโดยมีขอมูลที่แสดง

บนฉลากดังตอไปนี้5

1) เครื่องหมายแสดงทะเบียนหรือเลขอนุญาตใชฉลากอาหารจะมีอักษรยอของสํานักงาน

คณะกรรมการอาหารและยาคือ อย.อยูติดกับแถบปายตัวอักษรยอซึ่งแสดงสถานภาพของสถานที่

ผลิตและประเภทของอาหารเชนผลิตในประเทศไทยใชอักษรยอวา “ผ” ตามดวยอักษร “นป” คือ

น้ําปลาตามดวยเลขทะเบียนและปที่ไดรับอนุญาตใหขึ้นทะเบียนรวมแลวจะเห็นเลขทะเบียนเปน

อย. ผนป 25/2540 ดังนั้นทุกครั้งกอนที่เราจะตัดสินใจซื้อควรมองหาแถบปายนี้บนฉลากเพื่อให

มั่นใจวาขอมูลบนฉลากถูกตอง

2) น้ําหนักหรือปริมาตรสุทธิ เปนน้ําหนักหรือปริมาณของอาหารที่ไมรวมภาชนะบรรจุบาง

กรณีอาจจะเปนน้ําหนักเฉพาะเนื้ออาหารไมรวมน้ําตามกฎหมายขอมูลนี้จะตองบอกเปนหนวย

เมตริกคือ มีหนวยน้ําหนักเปนกรัมหรือมีหนวยปริมาตรเปน มิลลิลิตร

3) ชื่ออาหารมีทั้งชื่อตามที่กฎหมายกําหนดเชนนมพรอมดื่มและชื่อทางการคา

สวนประกอบที่สําคัญโดยจะระบุเปนปริมาณรอยละของน้ําหนักและระบุสวนประกอบอยางอื่นที่มี

การเติมแตงลงไปเชนสารแตงกลิ่นรสสารกันบูดสีผสมอาหารเพื่อใหผูบริโภคไดทราบ

4) วัน เดือน ป ที่ผลิต หรือหมดอายุอาจจะใชคําวาผลิตหรือหมดอายุโดยทั่วไปอาหารที่มี

อายุการเก็บสั้น เชน นมพาสเจอรไรสมักระบุวันหมดอายุสวนที่มีอายุการเก็บนาน เชน อาหาร

กระปองมักจะระบุวันที่ผลิตถาพบวามีอายุเกิน 2 ป ขึ้นไปก็ไมควรซื้อ

5) ชื่อและที่อยูของผูผลิตหรือผูบรรจุถาเปนอาหารนําเขาตองระบุประเทศผูผลิต

6) คําแนะนําในการเก็บรักษาเชนตองเก็บไวในตูเย็น เปนตน

5บทความศูนยทดสอบฉลาดซื้อ ประเภทอาหาร/สุขภาพ ฉบับที่ 134 ฉลากอาหารกับความเขาใจของ

ผูบริโภค, ศูนยคุมครองสิทธิผูบริโภค มูลนิธิเพื่อผูบริโภค,

http://www.chaladsue.com/index.php/Food-health/1150-test134.html.

Page 22: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

5

นอกจากนั้นขอมูลที่สําคัญบนฉลากอาหารที่ผูบริโภคควรใหความสนใจในการเลือกซื้อ

ผลิตภัณฑอาหารใหปลอดภัย คือ วันที่ผลิต/หมดอายุ และเครื่องหมาย อย. ซึ่งประกอบดวยเลข

อย. หรือเลขสาระบบอาหาร ที่เปรียบเสมือนลายนิ้วมือของผลิตภัณฑอาหาร เลขสารอาหาร

ประกอบดวยตัวเลข 13 หลัก แบงเปน 5 กลุม โดยเลข 8 หลักแรกแสดงถึงขอมูลของผูผลิตหรือผู

นําเขาอาหาร เชน จังหวัด ที่ตั้ง สถานะ และเลขที่ 5 หลักหลัง แสดงถึงขอมูลที่เกี่ยวของกับ

ผลิตภัณฑ เชนหนวยงานที่เปนผูออกเลขสาระบบใหผลิตภัณฑนั้นๆ ทําใหการแสดงฉลากสินคา

อาหารที่มีขอมูลเพียงพอและถูกตองของสารกอภูมิแพ จะชวยลดความเสี่ยงของการเกิดโรคภูมิแพ

ที่มีผลตอความเปนอยูของประชากรในประเทศได

จากกรณีดังกลาวผูเขียนมีความสนใจจึงทําการศึกษาถึงมาตรการทางกฎหมายในการ

บังคับใหมีขอความเตือนภัยจากโรคภูมิแพลงไวในฉลากอาหารสําเร็จรูปโดยศึกษาพระราชบัญญัติ

คุมครองผูบริโภค พ.ศ.2522 พระราชบัญญัติสินคาไมปลอดภัยกฎหมายที่เกี่ยวของกับฉลาก

ระเบียบสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาวาดวยการดําเนินการเกี่ยวกับเลขสาระบบอาหาร

(ฉบับที่ 6) ขอ 8.4.21 การเปลี่ยนแปลงขอความในการแสดงสวนประกอบที่ใชในผลิตภัณฑที่อาจ

กอใหเกิดภูมิแพเชนเพิ่ม/ตัด/แกไขขอความสารกอภูมิแพถั่วไขเปนตนและกฎหมายอื่น ๆ ที่

เกี่ยวของรวมไปถึงกฎหมายตางประเทศวาดวยฉลากอาหารที่กอใหเกิดภูมิแพซึ่งยังไมมีความ

ชัดเจนในการบังคับใชกฎหมายกอใหเกิดการคุมครองผูบริโภคดังกลาวเชนกันดังนั้นผูเขียนมี

ประเด็นที่ปญหาที่ใชในการศึกษาเฉพาะ เปนลําดับดังตอไปนี้

ประการแรก ปญหากฎหมายเกี่ยวกับการควบคุมฉลากเพื่อการโฆษณาอาหารกอใหเกิด

การภูมิแพ

ประการที่สองปญหากฎหมายเกี่ยวกับบทนิยามฉลากอาหารที่กอใหเกิดการภูมิแพ

ประการที่สาม ปญหากฎหมายเกี่ยวกับหนวยงานหรือผูรับผิดชอบในการตรวจสอบฉลาก

อาหารที่กอใหเกิดการภูมิแพ

ประการที่สี่ ปญหาเกี่ยวกับการเยียวยาผูบริโภคที่ไดรับความเสียหายจากการบริโภค

อาหารที่กอใหเกิดการภูมิแพ

ประการที่หา ปญหาเกี่ยวกับการบังคับลงโทษตามกฎหมายฉลากอาหารที่กอใหเกิดการ

ภูมิแพ

ดังนั้นผูวิจัยจึงตองการเปรียบเทียบมาตรการทางกฎหมายในการบังคับใหมีขอความเตือน

ภัยจากโรคภูมิแพลงไวในฉลากอาหารสําเร็จรูปของประเทศไทยและในตางประเทศ เพื่อใหได

แนวทางในการกําหนดมาตรการทางกฎหมายในการบังคับใหมีขอความเตือนภัยฉลากอาหาร

สําเร็จรูปที่กอใหเกิดการภูมิแพในอาหารสําเร็จรูปที่เปนการคุมครองผูบริโภคในประเทศไทยใหเกิด

ความเปนธรรมตอไป

Page 23: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

6

1.2 วัตถุประสงคของการศึกษา1. เพื่อศึกษาแนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับมาตรการทางกฎหมายในการบังคับใหมีขอความ

เตือนภัยจากโรคภูมิแพลงไวในฉลากอาหารสําเร็จรูป

2. เพื่อศึกษามาตรการทางกฎหมายเกี่ยวกับมาตรการทางกฎหมายในการบังคับใหมี

ขอความเตือนภัยจากโรคภูมิแพลงไวในฉลากอาหารสําเร็จรูป

3. เพื่อศึกษาวิเคราะหมาตรการทางกฎหมายในการบังคับใหมีขอความเตือนภัยจากโรค

ภูมิแพลงไวในฉลากอาหารสําเร็จรูป

4. เพื่อแนะแนวทางแกไขปญหาการบังคับใหมีขอความเตือนภัยจากโรคภูมิแพลงไวใน

ฉลากอาหารสําเร็จรูป

1.3 ขอบเขตของการศึกษาวิทยานิพนธฉบับนี้ทําการศึกษาปญหากฎหมายเกี่ยวกับการควบคุมฉลากอาหารที่

กอใหเกิดอาการภูมิแพของผูบริโภค เปรียบเทียบกับกฎหมายตางประเทศซึ่งเกี่ยวของกับการ

คุมครองสิทธิของประชาชน อันพึงไดรับความคุมครองตามกฎหมายที่ใชบังคับในปจจุบัน อาทิเชน

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย (ฉบับ

ชั่วคราว) พุทธศักราช 2557 พระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภค พ.ศ.2522 พระราชบัญญัติอาหาร

พ.ศ.2522 พระราชบัญญัติความรับผิดตอความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินคาที่ไมปลอดภัยพ.ศ.

2551 และบทบัญญัติของกฎหมายอื่นที่เกี่ยวของ โดยศึกษาวิเคราะหเปรียบเทียบกับกฎหมาย

ตางประเทศไดแกประเทศสหรัฐอเมริกา แคนาดาญี่ปุน กฎหมายกลุมสหภาพยุโรป ตลอดจน

ศึกษาถึงคําวินิจฉัยและคําพิพากษาของศาลที่เกี่ยวของเพื่อใชเปนแนวทางในการปรับปรุงแกไข

มาตรการทางกฎหมายในการบังคับใหมีขอความเตือนภัยจากโรคภูมิแพลงไวในฉลากอาหาร

สําเร็จรูปรวมทั้งวิเคราะหปญหาดังกลาวเพื่อหาขอเสนอแนะเปนแนวทางแกไขตอไป

1.4 สมมติฐานของการศึกษาในปจจุบันยังไมมีมาตรการในการบังคับใหมีขอความเตือนภัยจากโรคภูมิแพลงไวในฉลาก

อาหารสําเร็จรูปฉลากระบุขอมูลเพื่อแสดงอันตรายที่อาจกอใหเกิดอาการภูมิแพแกผูบริโภคอยาง

ชัดเจนทําใหผูบริโภคไดรับอันตรายและไดรับความเสียหายทั้งทางรางกายและจิตใจจึงจําเปนตอง

มีมาตรการในควบคุมการปองกันที่เหมาะสมและมีการปรับปรุงแกไขเพิ่มเติมกฎหมายในสวนที่

เกี่ยวของกับฉลากเตือนภัยจากโรคภูมิแพ การโฆษณาโดยฉลาก เพื่อใหสอดคลองในระดับสากล

และสามารถคุมครองผูบริโภครวมทั้งเปนแนวทางในการปฏิบัติงานของหนวยงานที่รับผิดชอบการ

Page 24: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

7

ควบคุมตรวจสอบการเยียวยาและมาตรการในการลงโทษผูประกอบการอาหารที่อาจจะกอใหเกิด

โรคภูมิแพอันสงผลทําใหเกิดความเปนธรรมตอผูบริโภค

1.5 วิธีการศึกษาการดําเนินการการศึกษานั้น ผูวิจัยไดทําการศึกษาคนควาวิจัยเอกสาร Documentary

Research) จากหนังสือ บทความ งานวิจัย วิทยานิพนธ บทบัญญัติของกฎหมายไทยและ

ตางประเทศที่เกี่ยวของ ซึ่งผูศึกษาจะไดนําขอมูลที่ไดมาศึกษาและวิเคราะห เพื่อชวยใหเขาใจถึง

สภาพปญหาตางๆ และสามารถคนควาหาแนวทางแกไขเพิ่มเติมกฎหมายที่เกี่ยวของกับการ

ควบคุมฉลากเพื่อการโฆษณาอาหารที่กอใหเกิดอาการภูมิแพของผูบริโภคไดอยางเหมาะสมตอไป

1.6 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับจากการศึกษา

1. ทําใหทราบถึงแนวคิดทฤษฎีและมาตรการทางกฎหมายในการบังคับใหมีขอความเตือน

ภัยจากโรคภูมิแพลงไวในฉลากอาหารสําเร็จรูป

2. ทําใหทราบถึงมาตรการทางกฎหมายในการบังคับใหมีขอความเตือนภัยจากโรคภูมิแพ

ลงไวในฉลากอาหารสําเร็จรูป

3. ทําใหทราบผลการวิเคราะหมาตรการทางกฎหมายในการบังคับใหมีขอความเตือนภัย

จากโรคภูมิแพลงไวในฉลากอาหารสําเร็จรูป

4. ทําใหทราบถึงขอเสนอแนะแกหนวยงานที่เกี่ยวของในการวางหลักเกณฑการบังคับใหมี

ขอความเตือนภัยจากโรคภูมิแพลงไวในฉลากอาหารสําเร็จรูป

Page 25: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

บทที่ 2

ประวัติความเปนมา แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับอาหารที่กอใหเกิดอาการภูมิแพของผูบริโภค

การควบคุมฉลากในการโฆษณาอาหารที่กอใหเกิดอาการภูมิแพของผูบริโภคกับการ

บังคับใหมีขอความเตือนภัยจากโรคภูมิแพลงไวในฉลากอาหารสําเร็จรูปดังกลาวมีความสําคัญทั้ง

ในเชิ งทฤษฎีและเชิงปฏิบัติ เพราะแนวคิดดังกลาวจะแสดงให เห็นถึงความชอบธรรม

(Justification) ในการบังคับใชกฎหมาย และจะเปนการชี้ใหเห็นถึงแนวทางการบังคับใชกฎหมาย

ดังกลาวดวยวา การบังคับใชกฎหมายจะเปนไปในทิศทางใด จะสามารถสรางดุลยภาพในสังคม

ระหวางผูบริโภคและผูประกอบธุรกิจเปนเพราะมีเปาหมายสําคัญคือการสรางความเปนธรรมและ

ความสงบสุขในสังคมดังนั้นผูเขียนจึงทําการศึกษาแนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวของโดยมีรายละเอียด

ดังตอไปนี้

2.1 ประวัติความเปนมาของอาหารที่กอใหเกิดการภูมิแพ

อาหาร คือสิ่งจําเปนสําหรับรางกายในการเสริมสรางและซอมแซมอวัยวะตางๆ ซึ่งตองมีความ

หลากหลายและปริมาณที่พอเหมาะ จึงจะทําใหเรามีสุขภาพที่ดี ปราศจากโรคภัยไขเจ็บ แตใน

ขณะเดียวกัน อาหารที่เหมาะสมกับคนอื่นอาจไมเหมาะสมกับรางกายเรา เนื่องจากระบบ

ภูมิคุมกันเราไมยอมรับ อาหารนั้นก็อาจเปนสาเหตุของการเจ็บปวย และกอใหเกิดภาวะความ

เสื่อมไปทั่วรางกายไดเชนกัน สิ่งที่เราเรียกวาอาหารนั้น ก็จะกลายเปนสารพิษแทน

2.1.1 การบริโภคอาหารที่กอใหเกิดการแพอาหารในสวนของตางประเทศการแพอาหารในตางประเทศกอให เกิดความเสียหายดังนั้นผู เขียนของยกตัวอยางเชน

สหรัฐอเมริกา เนื่องจากประชากรประมาณ 2% ของผูใหญและ 5% ของเด็กในสหรัฐอเมริกาเปน

ภูมิแพอาหารบางชนิด โดยในแตละปมีผูปวยเสียชีวิตปละ 150 คน ดังนั้นจึงไดมีการกําหนดชนิด/

กลุม อาหารกอภูมิแพ 8 ชนิด ที่ตองติดฉลากระบุคือ นม ไข ปลา สัตวน้ําไมมีกระดูกสันหลังที่มี

เปลือก เชน กุง กั้ง ปู เมล็ดถั่ว ประเภทพืชยืนตน (Tree nuts) เชน ถั่วอัลมอนด พีแคนนัท หรือ

วอลนัท ถั่วลิสง เมล็ดขาวสาลี ถั่วเหลือง โดยจะตองติดฉลาก คําวา “contains” อยูหนาชื่อชนิด

ของอาหารกอภูมิแพ และใชชื่อธรรมดาสามัญ (Common or usual name) ของสินคานั้น ๆ ที่

ผูบริโภคทั่วไปรูจัก (พิมพตอกัน) โดยชื่ออาหารกอภูมิแพจะตองพิมพในขนาดตัวอักษรที่ไมเล็กไป

กวาชื่อของสวนประกอบอาหาร (Food ingredient) ใหใชขนาดตัวอักษรที่มีขนาดใหญอยางนอย

Page 26: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

9

1/16 นิ้ว (ความสูงเทียบจากอักษร O) กฎหมายมีผลบังคับใชตั้งแตวันที่ 1 มกราคม 2549 เปนตน

ไปทั้งนี้ถึงแมวาสหรัฐอเมริกาไมไดระบุซัลเฟอรไดออกไซด (Sulphurdioxide) หรือซัลไฟต (Sulfite)

เปนอาหารกอภูมิแพ ซึ่งแตกตางจากของสหภาพยุโรป อยางไรก็ตามในระเบียบการติดฉลากทั่วไป

ของสหรัฐอเมริกา หากมีซัลเฟอรไดออกไซดหรือซัลไฟตเกิน 10 ppm ตองระบุในฉลาก เชน ระบุ

ในสวนประกอบอาหาร (เชน Wheat,Corn starch (contains sulphurdioxide as processing

aid < 0.005%) หรือใตฉลากโภชนาการ (Nutrition Facts Panel)

ในสวนกระทรวงสาธารณสุขแคนาดา (Health Canada) ไดประกาศรางระเบียบใหม เรื่อง

“การแสดงฉลากอาหารที่มีสวนประกอบของสารกอภูมิแพ กลูเต็น และ ซัลไฟต ภายใตกฎหมาย

ความปลอดภัยสินคาผูบริโภค (Consumer Product Safety Act) ทั้งนี้เนื่องจากพบวาเด็กชาวแค

นาดรอยละ 5-6 และผูใหญกวารอยละ 3-4 เสี่ยงตอการแพอาหารบางชนิดซึ่งอาจสงผลใหเกิด

อาการปวดทองอยางรุนแรง ทองเสีย ออนเพลีย และอาจเปนอันตรายถึงชีวิต โดยระเบียบใหมนี้

กําหนดใหผูผลิตและผูนําเขาสินคาอาหารตองติดฉลากระบุสวนประกอบของสารกอภูมิแพ ไดแก

กลูเต็น ซัลไฟต ถั่วลิสง ไข นม ถั่ว ขาวสาลี ถั่วเหลือง งา อาหารทะเล และมัสตารด ซึ่งจะเริ่มมีผล

บังคับใชตั้งแต วันที่ 4 สิงหาคม 2555 เปนตน

สหภาพยุโรป กําหนดอาหารกอภูมิแพ 9 กลุม ที่ตองติดฉลากระบุ ไดแก ธัญพืชที่มีกลูเตน

(Gluten) และผลิตภัณฑ เชน ขาวสาลี ไรย บารเลย โอต Spelt Kamit รวมทั้งธัญพืชที่เปนพันธุ

ลูกผสมจากสายพันธุเหลานี้ดวย สัตวน้ําและผลิตภัณฑ สัตวน้ํามีเปลือกและผลิตภัณฑ นมและ

ผลิตภัณฑนม (รวมทั้งแลคโตส) ถั่วและผลิตภัณฑ เชน อัลมอนด วอลนัท พีแคนนัท บราซิลนัท

พีนัทชีโอนัท มะคาเดเมียนัท ฮาเซลนัท ควีนแลนดนัท ถั่วเหลือง และถั่วลิสง คื่นชายและพืชใน

ตระกูลเดียวกัน (Umbelliferae family) และผลิตภัณฑ มัสตารดและผลิตภัณฑ งาและผลิตภัณฑ

ซัลเฟอรไดออกไซดและซัลไฟต ที่มีความเขมขนมากกวา 10 ppm ลักษณะการติดฉลากใหใชเปน

เครื่องหมายการคา (Trademark) รูปสัญลักษณที่ปรากฏบนสินคา หีบหอ เอกสาร ปาย และใชคํา

วา “contains” ตามดวยชื่ออาหารกอภูมิแพ เชน contains peacan nut แตในกรณีของเครื่องดื่มที่

รายการของสวนประกอบอาหาร (List of ingredient) ระบุชื่อเฉพาะแลว ไมตองระบุซ้ําในฉลากอีก

โดยมีผลบังคับใชตั้งแต 25 พฤศจิกายน 25481

การกอภูมิแพที่มีอยูในปลาทะเล โปรตีนที่เปนสารกอภูมิแพสําคัญในอาหารปลาทะเล

ไดแก parvalbumins สวนโปรตีนที่เปนสารกอภูมิแพสําคัญในอาหารประเภทกุงและหอย ไดแก

1Food Allergen และกฎระเบียบของประเทศคูคาไทย, สืบคนเมื่อวันที่ 23 มกราคม 2557, จาก

,http://www.tistrfoodprocess.net:8080/download/should_know/Food_Allergens.htm.

Page 27: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

10

tropomyosin โปรตีนอีกชนิดหนึ่งที่พบในเนื้อปลา เรียกวา Gad c1 หรือเดิมเรียกวา protein M

ตอมาไดมีการศึกษาวาการแพอาหารปลาทะเลนั้นมีปฏิกิริยาขามพวกหรือไม หมายความวาถาแพ

ชนิดหนึ่งแลวจะแพชนิดอื่นๆ ดวยหรือไม พบวากรณีของโปรตีน parvalbumins ซึ่งเปนโปรตีนจับ

กับแคลเซียม กอใหเกิดปฏิกิริยาขามพวกได ผูที่ทําการทดสอบการแพอาหารแลวพบวาแพปลา

cod จะแพปลาชนิดอื่นๆ เชน herring, plaice และ mackerel ดวยนอกจากนั้นการแพกุง จาก

การศึกษาผูที่มีอาการแพเนื้อกุงจํานวนหนึ่ง พบวารอยละ 80 จะเกิดปฏิกิริยาแพตอเนื้อปูและเนื้อ

กั้งดวย นอกจากนี้ผูที่เกิดอาการแพทันทีหลังจากที่กินเนื้อกุง รอยละ 50 จะแพเนื้อกั้งในเวลา

ตอมา และทุกรายจะเกิดปฏิกิริยาแพเนื้อปู จากรายงานดังกลาวพบผูที่แพเนื้อกุงเพียงชนิดเดียว

รอยละ 20 เทานั้น ทั้งนี้มีขอมูลการแพอาหารทะเลในประเทศญี่ปุนดังกลาว ซึ่งพบวามีสถิติผูที่แพ

อาหารทะเลเปนจํานวนมาก และแบงออกเปน 4 กลุม ดังนี้ 1) กลุมปลา salmon, sardine, horse

mackerel, mackerel2)กลุมปลา cod และ tuna3) กลุมปลาหมึกและปลาหมึกยักษ 4) กลุมปู

และกุง เปนตน2

2.1.2 กรณีอาหารกอภูมิแพที่พบในประเทศไทยจากการสํารวจประชากรทั่วประเทศพบวาประชากรเด็กในกรุงเทพฯแพอาหารมากที่สุด

ประมาณรอยละ 10 เปอรเซ็นต (ในชวงอายุ 5-11 ป และ 12-18 ป) อาหารที่แพมากที่สุดคือ

อาหารทะเลนมวัวไขแปงสาลี เด็กที่แพอาหารทะเลจะสูงถึงรอยละ80 เปอรเซ็นต ไดมีการสํารวจ

ความคิดเห็นของคนไขแพอาหารตอการแสดงฉลากอาหารสรุปไดดังนี้3

1) คนไขรอยละ 70 เปอรเซ็นต ระวังในการรับประทานอาหารจะตรวจสอบฉลากอาหาร

ทุกครั้งกอนรับประทาน

2) คนไขรอยละ 60 เปอรเซ็นต มีอาการแพอาหารจากการรับประทานอาหารที่ฉลากไมได

ระบุสารกอภูมิแพ

3) คนไขรอยละ 94 เปอรเซ็นต ตองการใหฉลากมีขอมูลเกี่ยว-กับอาหารกอภูมิแพ

4) คนไขรอยละ 96 เปอรเซ็นตคิดวาการแสดงฉลากของ FoodAllergen สามารถชวยให

ผูบริโภคเลือกซื้ออาหารไดปลอดภัยมากขึ้น

2นพ.วรวุฒิ เจริญศิริ, ศูนยขอมูลสุขภาพกรุงเทพ, สืบคนเมื่อวันที่ 23 มกราคม 2558,จาก,

http://www.bangkokhealth.com/index.php/health/health-system/skin/1255.3ดารณี หมูขจรพันธ,(ตุลาคม 2552), ผูเชี่ยวชาญดานความปลอดภัยของอาหารและการบริโภคอาหาร

,กฎระเบียบของอาหารกอภูมิแพ,(food allergen),ที่ตองรู,สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา,หนา 69.

Page 28: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

11

ดังนั้นจะเห็นไดวา สารอาหารในอาหารแตละชนิดมีประโยชนตอการทํางานขอบระบบ

ภูมิคุมกันของรางกายแตกตางกัน ฉะนั้นความสมดุลของสารอาหารในรางกายของผูปวยโรค

ภูมิแพจึงเปนเรื่องสําคัญมาก ถึงแมจะตองจํากัดประเภทของอาหารที่รับประทาน แตก็ยังตอง

รักษาสมดุลของอาหารอยู และบริโภคอาหารที่หลากหลายในปริมาณที่พอเหมาะ รวมทั้งหลีกเลี่ยง

อาหารที่เปนสาเหตุของโรคภูมิแพดวยเปนตน

2.1.3 ความหมายของโรคภูมิแพ1) โรคภูมิแพคืออะไร4

โรคภูมิแพ คือ โรคที่รางกายเกิดปฏิกิริยาที่ผิดปกติตอสารกอภูมิแพ ทําใหเกิดการอักเสบ

เรื้อรังที่เยื่อบุของอวัยวะตางๆ ในรางกาย เชน ผิวหนัง เยื่อบุโพรงจมูก เยื่อบุตาขาว เยื่อบุทางเดิน

หายใจ หรือเยื่อบุทางเดินอาหาร เปนตน สารกอภูมิแพมี 2 ประเภท ไดแก

(1) สารกอภูมิแพในอากาศ เชน ไรฝุน แมลงสาบ ขนสุนัข ขนแมว เกสรหญา หรือเชื้อรา

เปนตน

(2) สารกอภูมิแพประเภทอาหาร เชน นมวัว นมถั่วเหลือง ไข อาหารทะเล หรือแปงสาลี

เปนตน

ทั้งนี้ ผูปวยโรคภูมิแพจะมีอาการตามอวัยวะที่เกิดการอักเสบจาการกระตุนโดยสารกอ

ภูมิแพ เชน

(1) ผิวหนังจะทําใหเกิด โรคผื่นภูมิแพผิวหนัง ผูปวยจะมีอาการผื่นคันเรื้อรัง บริเวณ

ใบหนา ขอพับแขนขา หรือลําตัว เปนตน

(2) เยื่อบุจมูกจะทําใหเกิด โรคเยื่อบุจมูกอักเสบภูมิแพหรือโรคแพอากาศ ผูปวยจะมี

อาการน้ํามูกเรื้อรัง รวมกับอาการจาม คันหรือคัดจมูก

(3) เยื่อบุตาขาวจะทําใหเกิด โรคเยื่อบุตาขาวอักเสบภูมิแพ ผูปวยจะมีอาการคัน หรือ

เคืองตาเรื้อรัง แสบตา หรือน้ําตาไหลบอย ๆ

(4) เยื่อบุทางเดินหายใจจะทําใหเกิด โรคหืด ผูปวยจะมีอาการไอ หอบหายใจไมสะดวก

แนนหนาอก หรือหายใจไดยินเสียงวี๊ด

(5) เยื่อบุทางเดินอาหารจะทําใหเกิด โรคแพอาหาร ผูปวยจะมีอาการอุจจาระรวงเรื้อรัง

อาเจียน น้ําหนักตัวลด รวมกับอาการผื่นเรื้อรังและภาวะซีด

2) สาเหตุการเกิดโรคภูมิแพ

4น.พ ปรีดา สงาเจริญกิจ,กุมารแพทยโรคภูมิแพและวิทยาภูมิคุมกัน โรงพยาบาลพญาไทย1, สืบคน

เมื่อวันที่ 10 เมษายน 2559,จาก http://www.phyathai.com/medicalcenterdetail_article/24/260/PYT2/th.

Page 29: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

12

ปจจุบันยังไมทราบสาเหตุที่แนชัดของการเกิดโรคภูมิแพ แตปจจัยตอไปนี้อาจเกี่ยวของ

กับการเกิดโรคภูมิแพ ไดแก

(1) ปจจัยทางดานพันธุกรรม ผูปวยโรคภูมิแพมักมีประวัติบิดาหรือมารดาเปนโรคภูมิแพ

โดยที่ผูปวยอาจไมไดเปนโรคภูมิแพชนิดเดียวกับที่บิดาหรือมารดาเปน หรือไมไดแพสารกอภูมิแพ

ชนิดเดียวกับที่บิดาหรือมารดาแพได พบวาผูปวยที่บิดาหรือมารดาเปนโรคภูมิแพ มีโอกาสเปนโรค

ภูมิแพไดรอยละ 20-40 และมีโอกาสเปนโรคภูมิแพไดรอยละ 50-80 ในกรณีที่บิดาและมารดาเปน

โรคภูมิแพ

(2) ปจจัยทางดานสิ่งแวดลอม มลพิษในอากาศ เชน ควันจากทอไอเสียรถยนต ควันจาก

โรงงานอุตสาหกรรม ควันบุหรี่ เปนตน รวมถึงวิถีชีวิตของประชากรที่เปลี่ยนจากสังคมชนบทมา

เปนสังคมเมือง ทําใหมารดาไมสามารถใหนมบุตรไดในชวงแรกคลอด หรือความเรงดวนในการ

ดําเนินชีวิตประจําวัน ทําใหจําเปนตองรับประทานอาหารจานดวนหรืออาหารสําเร็จรูป ซึ่งสวน

ใหญประกอบไปดวยสารอาหารประเภทแปงและไขมัน สิ่งเหลานี้อาจเปนปจจัยเสี่ยงที่กอใหเกิด

โรคภูมิแพได เนื่องจากพบวาผูปวยโรคภูมิแพรอยละ 15 ไมไดมีบิดาหรือมารดาเปนโรคภูมิแพ

3) ขอสังเกตการเปนโรคภูมิแพ

ขอสังเกตสําหรับผูปวยโรคแพอากาศ คือ ผูปวยมักมีอาการน้ํามูกใสๆ จาม คันจมูกหรือ

คัดจมูกเรื้อรัง โดยในผูปวยบางรายจะมีอาการคันเคืองตารวมดวย อาการดังกลาวมักเปนมาก

ในชวงหัวค่ํา หรือหลังจากตื่นนอนตอนเชาเนื่องจากเปนชวงเวลาที่อากาศคอนขางเย็น โดยที่

ผูปวยจะไมมีอาการรวมอื่นๆ เชน อาการไข ไอ เจ็บคอ หรือเสมหะเขียว เปนตน

นอกจากอาศัยการสังเกตอาการและอาการแสดงที่พบบอยของโรคภูมิแพแลว แพทยอาจ

สงสัยวาผูปวยเปนโรคภูมิแพในกรณีที่ตรวจพบโรคที่พบรวมกับโรคภูมิแพไดบอย เชน โรคเยื่อบุตา

ขาวอักเสบภูมิแพ โรคโพรงไซนัสอักเสบ โรคหูชั้นกลางอักเสบ หรือภาวะนอนกรนในเด็กจากโรค

ตอมอะดีนอยดโต ซึ่งเปนโรคที่ตรวจพบรวมไดบอยในผูปวยโรคแพอากาศ โรคแพอากาศ ซึ่งเปน

โรคที่ตรวจพบรวมไดบอยในผูปวยโรคหืด และโรคแพอาหารที่ตรวจพบรวมไดบอยในผูปวยโรคผื่น

ภูมิแพผิวหนัง เปนตน

Page 30: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

13

2.1.4 ขอมูลทั่วไปของอาหารกอภูมิแพ5

Food Allergen 6ที่เปนสาเหตุการแพอาหารเปนเรื่องเฉพาะบุคคลไมเกิดกับทุกคนที่รับประทาน

อาหารชนิดเดียวกันอาหารกอภูมิแพอาจมีความแตกตางกันไปในแตละประเทศหรือแตละภูมิภาค

ขึ้นกับลักษณะนิสัยการบริโภคในแตละพื้นที่หรืออาจมีสาเหตุจากความแตกตางทางพันธุกรรมของ

มนุษยอาการแพอาหารเปนปฏิกิริยาทางภูมิคุมกันพบประมาณ 1-2 เปอรเซ็นตของประชากรทั่วไป

และพบมากในเด็กถึงรอยละ 80 เปอรเซ็นต โดยอาหารที่เด็กแพมากที่สุดคือ นมวัวและไขจากการ

สํารวจประชากรทั่วโลกพบวาการแพนมและไขจะสูงเปนอันดับตนๆ ของประชากรทุกประเทศ

นอกจากนั้นจะเปนการแพอาหารเฉพาะกลุมในประเทศนั้นๆ ที่นิยมรับประทานเชนการแพ

มัสตารดในประเทศฝรั่งเศสอาหารทะเลและรังนกในประเทศสิงคโปรขาวสาลีและขาวเจาใน

ประเทศญี่ปุนถั่วลิสงในประเทศสหรัฐฯและสวิสเซอรแลนดปลาในประเทศสเปนและเมล็ดงาใน

ประเทศอิสราเอลเปนตน

ทั้งนี้รางกายของคนเรามีปฏิกิริยาตอบสนอง หรือการแพอาหารท่ีเรารับประทานในระดับที่

แตกตางกัน การแพอาหารในรูปแบบของผื่นลมพิษ (Urticaria Rash) หรือการหอบหืด

(Asthmatic attacks) เปนรูปแบบการตอบสนองของรางกายตอสิ่งแปลกปลอมผาน

Immunoglobulin E หรือ IgE หรือ Acute Food Allergy ซึ่งจะเกิดขึ้นทันทีอยางรวดเร็วหลังการ

รับประทานอาหารชนิดนั้นๆ ปฏิกิริยาอีกรูปแบบหนึ่งซึ่งเกิดขึ้นไดชา นับเวลาเปนชั่วโมง หรือเปน

วัน หลังการรับประทานอาหารนั้นๆ เปนรูปแบบการตอบสนองของรางกายตอสิ่งแปลกปลอมผาน

Immunoglobulin G หรือ IgG หรือ Food Intolerance ปฏิกิริยารูปแบบนี้เกิดจากการรับประทาน

อาหารชนิดเดิมอยางซ้ําๆ ซ้ําไปซ้ํามา จนรางกายแสดงอาการออกมาในรูปแบบการสราง IgG

ตอบสนองตออาหารซึ่งเปนสิ่งแปลกปลอม อาการแสดงจะแตกตางกันออกไปในระหวางบุคคล แต

โดยมากแสดงออกในรูปผื่น อาการคันตามผิวหนัง ออนเพลีย ไมมีแรง รูสึกงวงผิดปกติ เมื่อเรายัง

รับประทานอาหารตัวเดิมตอ ก็เหมือนเปนการบั่นทอนสุขภาพ สะสมตอเนื่องจนกอใหเกิดปญหา

5เอกสารวิชาการกองควบคุมอาหารเรื่องการแสดงฉลากของ,Food Allergen, พ.ศ.2552, หนา 1.6FoodAllergen หมายถึงสารกอภูมิแพ สารอาหาร (nutrient) ที่กอใหเกิดภูมิแพ มักเปนสารอาหาร

ประเภทโปรตีนที่ทนตอความรอน ทนตอการยอยในระบบทางเดินอาหาร เชน การยอยดวยกรดในกระเพาะ

อาหาร และเอนไซมในลําไสเล็กอาหารที่ถูกกําหนดวาเปนสารกอภูมิแพ

Page 31: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

14

โรคเรื้อรัง ภูมิคุมกันออนแอ เชน กลุมโรคแพภูมิตนเอง Food allergy7 โรคระบบลําไสรั่ว ลําไส

อักเสบเรื้อรัง หรือแมแตเกิดการรบกวนระบบประสาทและความจํา เชน ในภาวะสมาธิสั้น เครียด

ไมเกรน เปนตนทั้งนี้กลไกการเกิดอาการแพอาหารเกิดจากโปรตีนที่เปน Allergen ที่ถูกยอยที่ลําไส

เล็กแลวจากนั้นสาร Allergen จะไปจับกับ ICE Receptor ทําใหมีการหลั่งสารตางๆ ทางเม็ดเลือด

ขาวออกมาคนไขจึงเกิดอาการแพความรุนแรงของการแพอาหารสรุปไดดังนี้

1) อาการแพถั่วลิสงจะหายใจไมออกและช็อกอาจตายได

2) อาการแพนมวัวพบในเด็กทารกมีลักษณะเปนผื่นขึ้นตามตัวเปนลมพิษตัวแดงและ

ทองเสียเรื้อรัง

3) การแพแบบ Multiple Food Allergy จะมีอาการตัวบวมและมีการรั่วของโปรตีนทาง

ปสสาวะและลําไสอุจจาระเปนเลือดและช็อก

4) การแพอาหารทะเลจะมีอาการตาบวม ปากบวมและหายใจไมออก

ทั้งนี้ ทั้งนี้ อาการไมพึงประสงคจากอาหาร (Adverse food reaction: AFR) แบงออกเปน 2 กลุมคือ

1) เกี่ยวของกับระบบภูมิคุมกันแบงออกเปน 2 กลุมยอย

(1) IgE mediated reaction เชน อาการแพถั่วลิสงที่เกิดภายใน 1 นาที

หลังจากกินเขาไป

(2) Non IgE mediated reaction เชนเกิด protein – induced

enterocolitis syndrome ภายใน 1 ชั่วโมงหลังจากกินเขาไปโดย IgE mediated reaction สวน

ใหญจะเกิดภายในเวลาไมเกิน 2 ชั่วโมงถาเกิดขึ้นพนจากชวงนี้ไปแลวมักไมใชการแพอาหาร

2) Food intolerances ไมเกี่ยวกับระบบภูมิคุมกันเชน lactose intolerances

แบงออกเปน 2 กลุมยอย

7Food allergy เปนโรคการแพอาหาร คือ การผิดปกติของรางกายเมื่อทานอาหารบางอยางเขาไป โดย

สาเหตุของความผิดปกติเกี่ยวของกับระบบภูมิคุมกันของรางกาย อาการไมพึงประสงคจากอาหาร (Adverse

food reaction : AFR) แบงออกเปน 2 กลุม คือ

1. เกี่ยวของกับระบบภูมิคุมกัน แบงออกเปน 2 กลุมยอย เชน lgE mediated reaction เชน อาการแพ

ถั่วลิสงที่เกิดขึ้นภายใน 1 นาทีหลังจากกินเขาไป หรือ Non lgE mediated reaction สวนใหญจะเกิดภายใน

เวลาไมเกิน 2 ชั่วโมง

2.Food intolerances ไมเกี่ยวกับระบบภูมิคุมกัน เชน lactose intolerances แบงออกเปน 2 กลุมยอย

ไดแก Toxic reaction เชน อาหารเปนพิษ หรือไดรับพิษจากปลาเชน Non-toxic reaction เชน แพนม (lactose

intolerances)

Page 32: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

15

(1) Toxic reactions เชนอาหารเปนพิษหรือไดรับพิษจากปลา

(2) Non-toxic reaction เชนแพนม (lactose intolerance) เปนตน

ทั้งนี้ประเภทอาหารที่กอใหเกิดการภูมิแพ8กลุมอาหารที่ทําใหเกิดอาการแพเกิดจากสารที่

ทําใหเกิดอาการแพอาหารมักจะเปนโปรตีนที่พบในธรรมชาติที่มีอยูในอาหารจําพวกกุงปูปลาหอย

เปนอาหารที่พบวาทําใหเกิดอาการแพที่พบไดบอยมากสาเหตุสําคัญเกิดจากการสรางภูมิคุมกัน

(antibody) ที่มีตอโปรตีนที่เขาไปในรางกายเชนถั่วเหลืองเปนสาเหตุที่ทําใหเกิดการแพอาหารที่พบ

มากในประเทศญี่ปุนปลาคอด (codfish) เปนสาเหตุที่ทําใหเกิดการแพอาหารที่พบมากในหมู

ประเทศกลุมสแกนดิเนเวียน ทั้งนี้ผูเขียนยกตัวอยางอาหารที่กอใหเกิดการภูมิแพดังตอไปนี้

1) แพ Tree nut

ในกลุมนี้รวมถึงตนถั่วจริงๆ เชน ถั่วบราซิล ฮาเซลนัท วอลนัท และพีแคน ขณะที่

การศึกษาแสดงใหเห็นวาตนถั่วนี้ไมทําใหเกิดอาการรุนแรงเชนถั่วลิสง แตก็เกิดอาการแพไดรุนแรง

ถึงขนาดที่เสียชีวิตไดในบางราย เด็กๆ ที่มีภาวะไวตอสิ่งกระตุนใหเกิดอาการแพตอตนถั่ว ก็จะยังมี

อาการไปตลอดอาการแพฮาเซลนัทและ อัลมอนด จะมีลักษณะคลายกับผูที่แพผลไม และ

เกี่ยวเนื่องกับอาการแพเกสรตนไม ที่อาจทําใหเกิดการแพในอีกลักษณะอื่นได

2) แพอาหารทะเล

การแพสัตวน้ําที่มีเปลือกนั้นมักไมคอยพบ แตจะพบไดบอยในผูใหญ และปฏิกิริยาการแพ

ปลานั้นพบไดทั้งในเด็กและผูใหญ อัตราการแพอาหารทะเลนั้นจะเกิดไดสูงในประเทศที่มีการ

บริโภคปลาและสัตวน้ํามีเปลือกในปริมาณสูง สามารถเกิดลักษณะการแพไดหลายลักษณะที่พบ

ในการแพอาหารเหลานี้ รวมถึงการแพแบบรุนแรง การปรุงใหสุกนั้นไมสามารถทําใหการแพใน

ปลาและสัตวน้ํามีเปลือกหายไปได ในบางรายก็มีการแพปลาที่ทําใหสุกแลว แตในปลาดิบไมแพ

ปจจัยหลักที่ทําใหเกิดการแพปลาคือ โปรตีนในเนื้อปลาที่เรียกวา paralbumins ที่มีอยูในเนื้อปลา

ทุกชนิด นี่คือเหตุผลที่วาทําไมคนที่แพปลา cod ก็มักจะแพปลาอื่นๆ เชน hake, carp, pike ดวย

อาการแพสัตวน้ําเปลือกแข็ง มักพบไดในเนื้อและสวนที่เปนระบบโปรตีนกลามเนื้อ ขณะที่ในกุงก็

ยังสามารถพบวาแพไดจากเปลือกกุง

8สถาบันอาหารกระทรวงอุตสาหกรรม,(สืบคนเมื่อวันที่ 10 เมษายน 2557),จาก,

http://fic.nfi.or.th/foodsafety.

Page 33: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

16

3) แพถั่วลิสง

อาหารในกลุมนี้รวมถึงถั่วเหลืองและถั่วลิสงดวย ถั่วลิสงนั้นเปนหนึ่งในอาหารหลาย ๆ

อยางที่พบวามีคนแพไดบอย และมีอาการหลายลักษณะรวมถึงอาการแพแบบรุนแรงดวย อาการ

แพถั่วลิสงนั้นพบไดในเด็ก และโดยทั่วไปมักเปนไปตลอด อาหารชนิดนี้จะทําใหเกิดการแพไดทั้ง

แบบดิบและแบบสุกแลว อาการแพถั่วลิสงนี้อาจเปนไดรุนแรงแมวาจะรับประทานเขาไปแตเพียง

นอยนิด ดังนั้นปจจัยหลักที่ทําใหเกิดอาการแพในถั่วลิสงและถั่วเหลืองคือ โปรตีนที่เมล็ดเปนที่เก็บ

อาหารเพื่อใชในการเจริญเติบโตเปนตนถั่ว อาการแพอยางหนึ่งในถั่วเหลืองนั้นคลายกันมากกับการ

แพไรฝุน ยังไมอาจแนใจไดวาอาจมีความเกี่ยวเนื่องกันระหวางการแพฝุนกับการแพถั่วเหลือง

4) แพไข

จะสังเกตเห็นไดวาอาการแพไขนั้น มักจะเกิดในเด็กมากกวาวัยผูใหญ และเชนเดียวกับ

นมวัวคือ อาการแพจะคอยๆ หายไปเมื่ออายุ มากขึ้น บางครั้งบางคราวเด็กๆ ก็จะมีลักษณะ

อาการแพหลายๆ อยาง ปจจัยหลักที่ทําใหเกิดอาการแพไขคือ โปรตีนที่อยู ในไขขาวชื่อ

ovomucoid, ovalbumin และ ovotransferrin ไขของสัตวปกอื่นๆ เชน เปด ก็มีลักษณะคลายกัน

มากกับไขไก และทําใหเกิดการแพไดเชนเดียวกัน จึงไมควรกินเพื่อทดแทนกัน

5) แพนม

พบวาเด็กทารกจํานวน 2 ใน 100 คน ที่มีอายุต่ํากวา 1 ปนั้นจะมีอาการแพนมวัว ซึ่งเปน

การแพที่พบไดบอยในเด็ก และอาการแพนั้นจะหายไปเมื่อมีอายุประมาณ 3 ป ที่อัตราสวน 9 ใน

10 และพบวาเปนการไมปกติหากพบวามีการแพลักษณะดังกลาวในผูใหญ ลักษณะอาการคือ ใน

เด็กจะมีอาการอาเจียน และทองเสีย และอาจพบวา 30-50 เปอรเซ็นตมีอาการคันผิวหนังไดใน

ลักษณะตางๆ จํานวนของเด็กที่มีปฏิกิริยาแพตอนมนั้นมีไมมากที่มีแนวโนมวาจะเปนไปตลอดชีวิต

ปจจัยหลักที่ทําใหเกิดอาการแพนมคือ โปรตีนเคซิน, เวย และ b–lactoglobulin ซึ่งปกติแลวคน

ทั่วไปมักจะแพโปรตีนมากกวาหนึ่งชนิดที่อยูในนมวัวโปรตีนที่ไดจากนมวัวนั้นคลายกันมากกับนม

แพะ และนมแกะ ดังนั้น ทั้งนมแพะ และนมแกะ ก็ไมควรดื่มแทนนมวัวเพื่อหวังลดอาการแพนม

เปนตน

2.1.5 ประเภทและลักษณะของอาหารที่การควบคุม อาหารที่ตองมีการควบคุมสามารถแบงออกได 3 ประเภท ไดแก

1) อาหารควบคุมเฉพาะ เปนอาหารที่เราใชกันบอยในชีวิตประจําวัน จึงมีความเสี่ยงตอ

สุขภาพ หากผลิตออกมาไมไดคุณภาพ อาหารประเภทนี้จึงตองมีเลขทะเบียน อย. เชน น้ําดื่ม

บรรจุขวด น้ํามันและไขมัน น้ําแข็ง เปนตน

Page 34: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

17

2) อาหารที่กําหนดคุณภาพหรือมาตรฐาน ตองมีเลขทะเบียนเชนกัน เชน ช็อกโกแลต ไข

เยี่ยวมา ขาวเสริมวิตามิน เปนตน

3) อาหารที่กําหนดใหแสดงฉลาก โดยกําหนดขอความรายละเอียดที่ตองแจงบนฉลาก

เพื่อเปนขอมูลแกผูบริโภคในการเลือกซื้อ ม ี2 กลุม ไดแก

(1) กลุมแรก อาหารที่ตองสงมอบฉลากใหสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา

พิจารณาอนุญาตกอนนําไปใช ตองมีเลขทะเบียน อย. เชน วุนสําเร็จรูปและขนมเยลลี น้ําเกลือปรุง

อาหาร

(2) กลุมที่สอง อาหารที่ไมตองสงมอบฉลากใหสํานักงานคณะกรรมการอาหาร

และยาพิจารณา แตตองแสดงขอความตามที่ อย.กําหนด มี 3 ชนิด คือ

1) ผลิตภัณฑจากเนื้อสัตว (ไดแก ลูกชิ้น ไสกรอก แหนม หมูยอ กุนเชียง)

2) อาหารสําเร็จรูปพรอมบริโภคทันทีและ อาหารพรอมปรุง

ปจจุบัน คนไทยเริ่มมีการตื่นตัวที่จะแสวงหาความรูและแนวทางปฏิบัติที่ถูกตอง ทางดาน

อาหารและโภชนาการกันมากขึ้น คนไทยสวนใหญเริ่มตระหนัก เห็นความสําคัญของการกินอาหาร

ใหถูกหลักโภชนาการ แลวจะนําไปสูการมีภาวะโภชนาการ และสุขภาพที่ดีทั้งนี้ขอปฏิบัติการกิน

อาหารเพื่อสุขภาพที่ดีของคนไทย หรือเรียกวา “โภชนาบัญญัติสําหรับคนไทย” ซึ่งมี 9 ขอ ดังนี้

1) กินอาหารครบ 5 หมู แตละหมูใหหลากหลายและหมั่นดูแลน้ําหนักตัว

2) กินขาวเปนอาหารหลัก สลับกับอาหารประเภทแปงเปนบางมื้อ

3) กินพืชผักใหมากและกินผลไมเปนประจําและ กินปลา เนื้อสัตวไมติดมัน ไข และถั่ว

เมล็ดแหง เปนประจํา

4) ดื่มนมใหเหมาะสมตามวัย

5) กินอาหารที่มีไขมันแตพอควร

6) หลีกเลี่ยงการกินอาหารรสหวานจัด และเค็มจัด

7) กินอาหารที่สะอาด ปราศจากการปนเปอนและ งดหรือลดเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล

อาหารมีอิทธิพลตอการพัฒนาของสมองตั้งแตกอนเด็กเกิดนับตั้งแตปฏิสนธิขึ้นในครรภ

ของแมเลยทีเดียว อาหารบํารุงสมองของเด็กจึงเปนอาหารในระยะตั้งครรภของแมและอาหารของ

เด็กแรกเกิดจนอายุ 1-2 ป

2.1.6 สัญญาณอันตรายจากภาวะโภชนาการ1) เซลลและเนื้อเยื่อมีสารอาหารลดต่ํากวาปกติ

2) ปริมาณสารอาหารในเลือดหรือปสสาวะลดต่ํากวาปกติ

Page 35: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

18

3) การทํางานของอวัยวะผิดปกติ เชน เหนื่อยงาย มึนซึม เบื่ออาหาร มีอาการแสดงซึ่งบง

ถึงโรคขาดสารอาหารเห็นไดชัดเจนและอาจรุนแรงถึงเสียชีวิต

2.1.7 การปองกันความเสียหายที่กอใหเกิดภูมิแพอาการภูมิแพจากอาหารอาหารสามารถกอสารภูมิแพไดหลายรูปแบบบางครั้งก็ซอน

อาการไวเงียบๆ ใหเราตายใจเปนเรื่องยากที่จะระบุวาอาหารใดบางที่จะกระตุนภูมิแพมีความ

แตกตางหลากหลายขึ้นกับบุคคลอาการภูมิแพอาหารสามารถเกิดไดทั่วรางกายตั้งแตปวดทอง

นิดๆ จนถึงตายถาปฏิกิริยาการแพเกิดระหวางที่อาหารเดินทางจากปากถึงกระเพาะลําไสรางกาย

จะแสดงอาการตอบโตเพื่อขับสารที่ไมตองการออกทันทีดวยการคลื่นไสอาเจียนหรือถายออกอยาง

รวดเร็วทําใหทองเสียทองเดินหรืออาจหยุดยั้งมันไวทําใหเกิดอาการหดเกร็งในชองทองแตถาสาร

กระตุนภูมิแพจากอาหารถูกดูดซึมเขากระแสเลือดอาการแพก็จะลุกลามทั่วตัวทําใหหอบหืดคัด

จมูกน้ํามูกไหลหายใจลําบากหรือแสดงอาการทางผิวหนังเกิดลมพิษเหอบวมรอนแดงและมีอาการ

ตอการทํางานของสมองทําใหปวดหัวหงุดหงิดกระวนกระวายอารมณแปรปรวนเหลานี้ลวนเกิด

จากการแพอาหารไดเชนกันอาหารทุกชนิดไมวาจะเปนพืชผักเนื้อสัตวปลาอาหารทะเลเมล็ดพืช

ธัญพืชน้ําตาลกาแฟสุรานมและผลิตภัณฑสารปรุงแตงรสอาหารลวนสามารถกระตุนการแพไดโดย

อาจกระตุนระบบภูมิคุมกันโดยตรงหรืออาจไปทําใหภูมิคุมกันแปรปรวนออนแอจนทํางาน

ผิดพลาด

2.1.8 การวินิจฉัยภูมิแพจากอาหารการวินิจฉัยในเรื่องที่เกี่ยวของกับการแพอาหารอาจจําแนกไดเปน 4 ประการดังนี้

1) คนเรากินอาหารหลากหลายแพทยจะรูไดอยางไรวาคุณแพอะไรแมแตคนที่กินอาหาร

ซ้ําซากจําเจทุกวันเชนเชากินขนมปงกาแฟไสกรอกในขนมปงมีทั้งสารกลูเตนนมหรือผลิตภัณฑ

จากนมเนยไขมันแปลสภาพกลิ่นสังเคราะหสีสังเคราะหสารกันบูดแลวในกาแฟหนึ่งแกวมีอะไรบาง

ครีมเทียมมีสารสังเคราะหมากมายน้ําตาลทรายมีสารฟอกสีหรือคุณอาจเติมสารใหความหวาน

แทนน้ําตาลดังนั้นการจะคนหาใหถึงตนตอวาคุณแพอะไรในอาหารจึงมิใชเรื่องงายและอาหาร

สําเร็จรูปมักมีสารเคมีปะปนมากมายคาดไมถึงทีเดียว

2) การแพอาหารมีอาการคลายคลึงกับโรคบางชนิด คุณดื่มนมแลวทองเสียพูดอยาง

ชาวบานวา คุณแพนมแตเมื่อพูดในแงมุมของนักวิชาการ คุณอาจไมไดแพนม คุณเพียงไวตอ

น้ําตาลแลคโตสในนม คุณกินอาหารทะเลแลวปวดทองอาจเปนเพราะเชื้อแบคทีเรียบางชนิดซึ่งกอ

โรคอาหารเปนพิษ หรือคุณอาจเปนผื่นคันจากสารกระตุนภูมิแพในอากาศชวงที่คุณกําลังทาน

อาหารพิเศษบางอยาง คุณเลยหลงเขาใจวาเกิดลมพิษเพราะแพอาหาร

Page 36: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

19

3) เมื่อคุณเกิดอาการแพไมวาจะมีสาเหตุมาจากอาหารฝุนละอองเกสรดอกไมหรือฝุนไร

ในหองนอนมันสามารถกออาการเหมือนกันคือหายใจลําบากจามผื่นลมพิษคนสวนใหญจะเพงเล็ง

สารแปลกปลอมในอากาศมากกวาจะคิดถึงสารแพอาหารและนอกจากนี้การทดสอบทางผิวหนัง

ซึ่งเปนที่นิยมในปจจุบันจะใหผลดีกับการสารกระตุนในอากาศแตมักไมไดผลกับอาหาร

ทั้งนี้การทดสอบการแพอาหารที่ไดผลดีที่สุดในปจจุบันคือคนไขตองคอยสังเกตสม่ําเสมอ

วากอนจะมีอาการภูมิแพนั้นตนกินอะไรบางจดไวทุกครั้งและหาดูวาอาหารชนิดใดที่นาสงสัยวาจะ

เปนตัวกระตุนภูมิแพจัดเมนูอาหารใหมงดอาหารที่สงสัยทุกชนิดเปนเวลา 3 สัปดาหหากอาการแพ

หายไปจึงคอยใสรายการอาหารนั้นกลับคืนมาแลวสังเกตวาอาหารใดบางที่ทําใหเกิดภูมิแพทุกครั้ง

หลักสําคัญคือตองสังเกตทุกสิ่งที่ตกลงสูกระเพาะไมวาจะเปนอาหารเครื่องดื่มยาและสังเกตภาวะ

แวดลอมสภาพจิตใจความเครียดขณะทานอาหารดวยดวยความพยายามของคุณเอง คุณอาจพบ

สารกระตุนภูมิแพอาหารไดดวยตนเอง

นอกจากนั้นคําแนะนําพื้นฐานสําหรับโรคภูมิแพจากอาหารกรณีที่พบวาสารกระตุนภูมิแพ

มีอยูในอาหารคําแนะนําพื้นฐานเพื่อชวยใหคุณดํารงชีวิตอยูไดโดยปกติสุข คือการหลีกเลี่ยงเปนวิธี

ที่ตรงไปตรงมาไดผลดีกรณีที่คุณแพสารไมมากชนิดแตในทางปฏิบัติจริงๆ กลับทําไดยาก

ยกตัวอยาง เชน คุณแพไขแดง คุณตองงดไขแดงซึ่งอาจปรุงเปนอาหารเห็นชัดเจนจําพวกไขเจียว

ไขดาวไขลวกหรือแฝงตัวมาในขาวผัดราดหนาขนมปงเคกทองหยิบสังขยาบะหมี่ ฯลฯ การ

หมุนเวียนในกรณีที่คุณแพอาหารบางชนิดที่ไมรูแนชัด คุณอาจไดรับประโยชนจากวิธีการทาน

อาหารหมุนเวียนสลับกันไมซ้ําซาก ในแงโภชนาการเราควรทานอาหารหลากหลายการดูแลรักษา

ผูปวยโรคภูมิแพที่ไดผลดีคงตองอาศัยความรวมมือระหวางแพทย ผูดูแลตัวผูปวยและผูปกครอง

โดยแพทยมีหนาที่ใหความรูความเขาใจเรื่องโรควาตองใชเวลาในการดูแลรักษานานใหความรู

ความเขาใจเรื่องยาที่ใชเรื่องการปองกัน โดยดูแลสภาพแวดลอมภายในบานใหปราศจากสารกอ

ภูมิแพสวนผูปวยก็ตองเขาใจเรื่องโรคยาที่จําเปนตองใชพยายามหลีกเลี่ยงจากสารกอภูมิแพ

2.1.9 การรักษาภูมิแพแบบฉบับการรักษาภูมิแพแบบฉบับ ในปจจุบันนี้ จะประกอบดวย การใชยาระงับปฏิกิริยาภูมิแพ

เชน ไซรเทค คลาริทีน เทลฟาส การใชยาปองกันปฏิกิริยาการอักเสบซึ่งเกิดขึ้นหลังจาก

เกิดปฏิกิริยาภูมิแพ เชน ซิงกูแลร ฯลฯ ซึ่งตางก็เปนการรักษาที่ปลายเหตุ และตองใชยาไปยาวนาน

นอกจากนี้ก็มีการหาสารที่กอใหเกิดปฏิกิริยาภูมิแพ เพื่อที่จะหลีกเลี่ยงสิ่งที่แพ ไปจนถึง การฉีดวัคซีน

ที่ทําจากสารกอภูมิแพเจือจางซึ่งกินเวลานาน เสียคาใชจายมากไดผลราว 30% เทานั้นสุดทายหาก

Page 37: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

20

อะไรๆ ก็เอาไมอยูจริง ๆ ก็ตองพึ่งสเตียรอยด หรือยากดภูมิคุมกันอื่นๆ ซึ่งมีทั้งแบบกิน แบบฉีด

แบบทา แบบสูดพน ขึ้นชื่อวาสเตียรอยดแลว ก็หนีไมพนผลขางเคียง เมื่อตองใชไปนานนาน9

2.1.10 การรักษาภูมิแพแบบผสมผสานผูบริโภคเองคงเคยไดยินวา คนเปนภูมิแพมีอาการดีขึ้น เมื่อไปกินอาหารเสริมบางอยาง

หรือเลิกกินอาหารบางอยาง เชน น้ํามันจมูกขาว น้ํามันโอเมกา เปนตน ความจริงแลวเปนเพราะ

น้ํามันเหลานั้นมีสารยับยั้งขบวนการอักเสบ จึงมีผลทําใหภูมิแพบางคนดีขึ้น บางคนกินเห็ด

หลินจือแลวดีขึ้น เนื่องจากเห็ดหลินจือมีสารสเตอรอลธรรมชาติอยู หากมองในแงฤทธิทางยา ก็ไม

ตางอะไรกับการกินยา เพียงแตวาเปนอาหารเสริม จึงอาจมีผลขางเคียงต่ํากวาในเรื่องการแพ

อาหาร ปจจุบันพบวามีภูมิคุมกันกอการแพอาหารชนิดเชื่องชา delay type Food allergy IgG

คือเมื่อกอนนี้ การแพอาหารจะเปนเรื่องของภูมิคุมกันชนิด IgE ซึ่งเราสามารถตรวจไดจากเลือด

ตอมาในยุคนี้เราสามารถตรวจการแพอาหารที่ไมไดเปนทันที และผูปวยมักจะไมรูวาตนเองแพ

อาหารชนิดนั้น แตจะมีอาการของโรคภูมิแพอยูตลอดเวลา เชน ปวดศีรษะ คัดจมูก เปนผื่นผิวหนัง

ชนิดเรื้อรัง ฯลฯ เมื่อตรวจเลือดพบการแพชนิดนี้ แลวงดอาหารประเภทนั้นไป ก็สามารถหยุด

อาการแพไดสนิท โดยไมตองรับประทานยาแกแพอีกตอไป การตรวจเลือดชนิดนี้ เขาจะมีชุดตรวจ

สําหรับอาหารคนเอเชียโดยเฉพาะ ซึ่งจะตรวจภูมิคุมกันตออาหารที่อาจจะแพไดนับรอยรายการ

แมวาจะยังไมสามารถตรวจไดในประเทศ แตอาจไปขอตรวจจากที่ซึ่งสงเลือดไปตางประเทศ เชนที่

Vitalife, Add-life หรือ AbsoluteHealth เปนตน

2.2 แนวคิดหลักการใหความคุมครองผูบริโภคตามกฎหมายแมประเทศไทยจะใหเสรีภาพในการประกอบกิจการแตถาใหมีเสรีภาพโดยไมมีขอจํากัดก็

อาจกอใหเกิดผลเสียหายไดดังนั้นจึงตองมีการจํากัดเสรีภาพดังกลาวกฎหมายที่สําคัญที่จํากัด

เสรีภาพในการประกอบกิจการไดแกพระราชบัญญัติการแขงขันทางการคา พ .ศ.254210และ

พระราชบัญญัติวาดวยราคาสินคาและบริการ พ .ศ.2542 นอกจากนี้ยังมีกฎหมายคุมครอง

ผูบริโภคซึ่งมีวัตถุประสงคจะชวยกําหนดมาตรฐานสินคาเพื่อมิใหผูผลิตเอาเปรียบผูซื้อโดยขาย

ของไมมีคุณภาพใหกฎหมายไทยในปจจุบันจึงมีทั้งมิติในการรับรองเสรีภาพในการประกอบกิจการ

และมิติในการคุมครองผูบริโภคดวยซึ่งเกี่ยวกับเรื่องมาตรการทางกฎหมายในการคุมครองผูบริโภค

9นายแพทย ฉัตรชัย ศรีบัณฑิต,(สืบคนเมื่ อวันที่ 15 เมษายน 2557) ,จาก, http://absolute-

health.org/thai/article-th-028.htm.10วิชัย ธัญญพาณิชย,ปญหาการชดใชเยียวยาความเสียหายแกผูบริโภคตามพระราชบัญญัติ

คุมครองผูบริโภค พ.ศ.2522, (บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย,ป 2539),หนา 20.

Page 38: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

21

ตามกฎหมายรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2540 หมวด 3 สิทธิและเสรีภาพของ

ชนชาวไทยมาตรา 57 บัญญัติวา “สิทธิของบุคคลซึ่งเปนผูบริโภคยอมไดรับความคุมครองทั้งนี้

ตามที่กฎหมายบัญญัติตองบัญญัติใหมีองคกรอิสระซึ่งประกอบดวยตัวแทนผูบริโภคทําหนาที่ให

ความเห็นในการตรากฎหมายกฎและขอบังคับและใหความเห็นในการกําหนดมาตรการตางๆเพื่อ

คุมครองผูบริโภค”11และหมวด 5แนวนโยบายพื้นฐานแหงรัฐมาตรา 87 บัญญัติวารัฐตองสนับสนุน

ระบบเศรษฐกิจแบบเสรีโดยอาศัยกลไกตลาดกํากับดูแลใหมีการแขงขันอยางเปนธรรมคุมครอง

ผูบริโภคและปองกันการผูกขาดตัดตอนทั้งทางตรงและทางออมรวมทั้งยกเลิกและละเวนการตรา

กฎหมายและกฎเกณฑที่ควบคุมธุรกิจที่ไมสอดคลองกับความจําเปนทางเศรษฐกิจและตองไม

ประกอบกิจการแขงขันกับเอกชนเวนแตมีความจําเปนเพื่อประโยชนในการรักษาความมั่นคงของ

รัฐรักษาผลประโยชนสวนรวมหรือการจัดใหมีการสาธารณูปโภค12สวนกฎหมายรัฐธรรมนูญแหง

ราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550 มาตรา 61 ก็บัญญัติถึงสิทธิของผูบริโภคไววาสิทธิของบุคคลซึ่งเปน

ผูบริโภคยอมไดรับความคุมครองในการไดรับขอมูลที่เปนความจริงและมีสิทธิรองเรียนเพื่อใหไดรับ

การแกไขเยียวยาความเสียหายรวมทั้งมีสิทธิรวมตัวกันเพื่อพิทักษสิทธิของผูบริโภคใหมีองคการ

เพื่อการคุมครองผูบริโภคที่เปนอิสระจากหนวยงานของรัฐซึ่งประกอบดวยตัวแทนผูบริโภคทํา

หนาที่ใหความเห็นเพื่อประกอบการพิจารณาของหนวยงานของรัฐในการตราและการบังคับใช

กฎหมายและกฎและใหความเห็นในการกําหนดมาตรการตาง ๆ เพื่อคุมครองผูบริโภครวมทั้ง

ตรวจสอบและรายงานการกระทําหรือละเลยการกระทําอันเปนการคุมครองผูบริโภคทั้งนี้ใหรัฐ

สนับสนุนงบประมาณในการดําเนินการขององคการอิสระดังกลาวดวย13

ดังที่ไดกลาวมาขางตนนี้จะเห็นไดวา รัฐใหความสําคัญกับสิทธิของประชาชนซึ่งเปน

ผูบริโภคซึ่งครอบคลุมถึงเรื่องที่เกี่ยวกับการศึกษาและวิจัยครั้งนี้เชนกัน กลาวคือหากประชาชนซึ่ง

เปนผูบริโภคมีความพึงพอใจในการที่จะเลือกใชบริการเคเบิลทีวีก็ถือเปนสิทธิสวนบุคคลอันพึงจะ

เลือกตัดสินใจไดอีก ทั้งยังมีกฎหมายคอยใหความคุมครองในกรณีที่ผูบริโภคถูกผูประกอบธุรกิจ

เอารัดเอาเปรียบอีกดวย นอกจากนี้เมื่อผูบริโภคมีทางเลือกในการตัดสินใจเพิ่มมากขึ้นวาจะเลือก

ดูฟรีทีวีหรือเคเบิลทีวีก็ยอมจะเกิดการแขงขันโดยเสรีอยางเปนธรรมเพื่อพัฒนาคุณภาพในการ

ใหบริการของผูประกอบการธุรกิจสถานีโทรทัศนตางๆ ทั้งในสวนของสถานีโทรทัศนฟรีทีวีหรือ

11รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2540, มาตรา 57.12รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2540, มาตรา 87.13รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2550, มาตรา 61.

Page 39: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

22

เคเบิลทีวีเพื่อเปนการดึงดูดกลุมลูกคาใหกับตนเองสุดทายประโยชนก็ยอมจะตกอยูกับประชาชน

ผูบริโภคที่จะไดรับบริการที่ดีมีคุณภาพอีกดวย

2.2.1 แนวคิดทฤษฎีและที่มาของกฎหมายคุมครองผูบริโภคสมัยเมื่อการคาและเศรษฐกิจของโลภยังอยูในลักษณะจํากัดเฉพาะวงแคบๆ ในทองถิ่น

หนึ่งหรือในเมืองหนึ่งนั้น สภาพของสินคาและบริการยังไมมีความสลับซับซอนมากนัก เพราะ

กระบวนการผลิตยังเปนแบบงายๆ ตลาดยังเปนลักษณะแลกเปลี่ยนสินคาซึ่งกันและกัน (Barter)

ไมมีความจําเปนที่รับจักตองจัดหาเครื่องมือหรือมาตรการทางกฎหมายเปนพิเศษ เพื่อคุมครอง

ผูบริโภคใหไดรับความปลอดภัยและเปนธรรม ทั้งนี้เพราะอิทธิพลของแนวคิดในระบบการปกครอง

แบบประชาธิปไตยตั้งอยูบนความอิสระและเสรีภาพของบุคคลในการดํารงชีวิตไดเทาเทียมกัน

ความเทาเทียมหรือความเสมอภาคตามหลักตามหลักประชาธิปไตยนั้น ยังผลใหระบบเศรษฐกิจ

แบบเสรี (Laissez-Faire) เกิดขึ้นดวย โดยสมมุติที่วามนุษยทุกคนมีความสามารถในการตัดสินใจ

ในการเลือกบริโภคสินคาหรือบริการเทากัน รัฐจะไมเขาแทรกแซงเสรีภาพในการตกลงของเอกชน

หลักฐานกฎหมายที่เกี่ยวดวยการคาหลักหนึ่งจึงเกิดขึ้นนั่นก็คือ ในการซื้อขายนั้น ผูซื้อตองระวัง

กลาวคือ หากมีความเสียหายใดๆ ในทรัพยที่ซื้อขายกันนั้น ความเสียหายตกเปนของผูซื้อเอง หลัก

นี้เรียกกันตามภาษาโรมันวา Caveat Emptor หรือ Let the buyer beware14

ในสมัยปจจุบันเมื่อโลกเจริญมากขึ้นทั้งในดานวิทยาศาสตรและอุตสาหกรรม ทําใหระบบ

เศรษฐกิจ การคาขายหรือบริการตางๆ เปลี่ยนแปลงไปมีกระบวนการผลิตที่สลับซับซอนมากขึ้น

การผลิตสินคาใชวัตถุดิบในการผลิตที่ทันสมัยเกินกวาความรูธรรมดาของผูใชหรือผูบริโภคจะตาม

ไดทันผูผลิตตางก็หาวิถีทางทุกวิถีทางที่จะลดคาใชจายในการผลิตและเพิ่มผลกําไรใหมากที่สุด

เทาที่จะทําได ในบางกรณีการขยายกําลังการผลิตทําใหความละเอียดรอบคอบและคุณภาพสินคา

หยอนลง ประกอบกับการขยายตัวแหงการคาพาณิชยกวางออกไปจากระดับหมูบาน เมือง ไปสู

ระดับระหวางประเทศ ทําใหสินคาในตลาดมีการแพรกระจายและเพิ่มประเภทหรือชนิดมากยิ่งขึ้น

กวาแตกอน หลักที่เคยถือวาผูซื้อจะตองระวังจึงขาดความยุติธรรมในแงที่วา ผูซื้อในฐานะผูบริโภค

ไมอาจปรับตัวใหทันกับความเจริญทางเทคโนโลยีตางๆ ได ความระมัดระวังในระดับธรรมดาไม

อาจชวยใหผูซื้อหรือผูบริโภคไดรับผลตอบแทนคุมคากับเงินที่เสียไป ซายยังอาจทําใหเกิดอันตราย

14ผูซื้อตองระวัง (Caveat Emptor) เปนหลักกฎหมายโรมัน กลาวคือ ผูขายอาจไมตองรับผิดในบาง

กรณี ถาผูซื้อไดลวงรูความชํารุดบกพรองหรือควรจะรูหากใชความระมัดระวังบางตามสมควร ดูรายละเอียดใน

ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยของไทยมาตรา 472-474 ซึ่งไมไดบัญญัติโดยถือหลักนี้เสียทีเดียว แตมี

ขอยกเวนเฉพาะบาง*กรณีเทานั้น

Page 40: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

23

จากการบริโภคสินคาที่ซื้อมาไดโดยคาดไมถึงดวย ทําใหประเทศตางๆ หันมาพิจารณาถึงสิทธิของ

ผูบริโภคในอันที่จะไดรับความคุมครองปกปกษรักษาผลประโยชนเปนการเฉพาะนอกเหนือจาก

สิทธิที่จะไดรับคาเสียหายตามสัญญา หรือสิทธิฟองเรียกคาเสียหายในคดีลมละเมิดตามกฎหมาย

เดิม ดั้งนั้นประเทศตางๆ ในทวียุโรป อเมริกา และออสเตรเลียจึงไดมีการออกกฎหมายคุมครอง

ผูบริโภค ซึ้งเปลี่ยนแปลงหลักกฎหมายที่เคยมีอยูเดิมทั้งในแงความรับผิดในทางสัญญาหรือ

ละเมิดใหเอื้ออํานวยตอการเยี่ยวยาชดใชความเสียหายที่เกิดจากการบริโภคใหมากขึ้น ทั้งนี้โดย

เนนทั้งดานการควบคุมกํากับกิจกรรมทางการผลิตโดยรัฐเพื่อปองกันความเสียหายและการ

ฟองรองดําเนินคดีเพื่อผูบริโภค (ในบางประเทศ)15

2.2.2 หลักการคุมครองผูบริโภคในตางประเทศ16

กอนยุคสังคมอุตสาหกรรมสินคาตางๆ ผลิตขึ้นโดยวิธีการทางธรรมชาติตอมาสังคม

พัฒนามีการแบงงานกันทํา (Division of Labor) ผูมีฝมือดีกลายเปนผูผลิตเพื่อขายแกผูอื่นแตทุก

คนรูวาสิ่งใดทําขึ้นโดยกรรมวิธีใดในขณะนั้นความรูของผูประกอบธุรกิจและผูบริโภคมีความเทา

เทียมกันจะแตกตางแตฝมือเทานั้น แตตอมาการที่สภาพสังคมและวิทยาการเปลี่ยนแปลงไปเปน

ผลใหหลักทางรัฐศาสตรเศรษฐศาสตรสังคมศาสตรและกฎหมายเปลี่ยนแปลงตามไปดวยการ

พาณิชยของโลกตะวันตกในระหวางศตวรรษที่ 16 ถึง 17 ทําใหประเทศทางยุโรปมีความร่ํารวย

และคิดหาวิทยาการใหมๆ แตเนื่องจากกษัตริยใชอิทธิพลในการสนับสนุนบุคคลเพียงบางกลุมใน

การทําการคาทําใหบุคคลหลายฝายไมพอใจระบบปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชยแนวคิด

ทางปรัชญาการปกครองแบบปจเจกชนนิยม (Individualism) เริ่มปรากฏชัดในศตวรรษที่ 17 เนน

ความเปนอิสระของบุคคลและใหประชาชนทุกคนมีสิทธิมีเสียงในการปกครองการปฏิวัติ

อุตสาหกรรม (ค.ศ.2760) ทําใหมีเครื่องจักรไอน้ํามาใชในการทํางานทําใหการผลิตตาง ๆ สามารถ

ทําไดมากขึ้นหลายเทาตัวผูประกอบธุรกิจมีพลังเพิ่มขึ้นและมีการแขงขันมากยิ่งขึ้นเพื่อความมั่นคง

ของตนการตลาดไดขยายตัวโตกวาเดิมเปนอันมากความสําเร็จนี้เปนผลมาจากการใหแตละคนมี

สวนในการแขงขันทางการคาทําใหระบบเศรษฐกิจเสรี (Laissez-Faire) ไดรับความนิยมอดัม

สมิทธ (Adam Smith ค.ศ.1723-1790) นักเศรษฐศาสตรชาวอังกฤษไดเสนอทฤษฎีการแขงขันเสรี

อยางชัดเจนในหนังสือ The Wealth of Nation (ค.ศ.1776) ขอชี้นําทางปรัชญาปจเจกชนนิยมและ

15สุษม ศุภนิตย. คําอธิบายกฎหมายคุมครองผูบริโภค,พิมพครั้งที่ 8 กรุงเทพฯ : สํานักพิมพแหง

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย,(2556),หนา 1-3. 16สุภัทรแสงประดับ. ปญหากฎหมายในการพิจารณาคดีคุมครองผูบริโภคในประเทศไทย,(นิติศา

สตรมหาบัณฑิตสาขากฎหมายธุรกิจบัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยศรีปทุม ,2551), หนา 8-10.

Page 41: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

24

สภาพเศรษฐกิจและสังคมเชนนี้ไดผลักดันใหเกิดการเปลี่ยนแปลงระบบการปกครองจากระบบ

กษัตริยมาเปนระบบประชาธิปไตยการประกาศอิสรภาพในสหรัฐอเมริกา (ค.ศ.1776) ทําใหหลาย

ประเทศมุงมั่นจะเปนสาธารณรัฐจนเกิดการปฏิวัติในฝรั่งเศส (ค.ศ.1789) และเปลี่ยนแปลงการ

ปกครองในประเทศตางๆ ทางโลกเกาตอเนื่องกันไปในชวงนั้นแนวคิดปจเจกชนนิยมและระบบ

เศรษฐกิจเสรีจึงเปนหลักสําคัญที่ยึดถือปฏิบัติซึ่งสอดคลองกับสภาพทางเศรษฐกิจและการ

ปกครองที่สงผลดีกวาเดิมอยางเห็นไดชัดในขณะนั้นสิ่งเหลานี้สงผลตอมายังหลักกฎหมายที่

พัฒนาในระหวางศตวรรษที ่19 ถึง 20

ในระหวางศตวรรษที่ 19 ถึง 20 หลักกฎหมายในสังคมพัฒนาแลวยอมรับใหบุคคลมี

เสรีภาพในการทําสัญญา (Freedom of Contract) อันเปนไปตามหลักปจเจกชนนิยมที่เห็นวาทุก

คนมีอิสระที่จะทําการใดเพื่อตนเองและทุกคนความเสมอภาคกันในฐานะและความรูดังนั้นทุกคน

จึงมีหนาที่ตองปกปองประโยชนของตนเองในกฎหมายซื้อขายจึงมีหลักวา “ผูซื้อตองระวัง

(Caveat Emptor หรือ Let The Buyer Beware)”17กลาวคือผูซื้อตองระวังตรวจดูสินคาขณะรับ

มอบใหดีกอนหากภายหลังสินคานั้นเสียหายชํารุดบกพรอง ผูซื้อจะเรียกรองจากผูขายไมไดเหตุที่

เปนเชนนี้เพราะในขณะนั้นสภาพเศรษฐกิจในยุโรปและไทยในการจัดทําประมวลกฎหมายความ

แตกตางทางเศรษฐกิจและความรูยังไมเดนชัดนักจึงเทากับวาผูบริโภคและผูประกอบธุรกิจใน

ขณะนั้นมีฐานะและความรูความสามารถเทากัน

ในระยะตอมาสภาพทางเศรษฐกิจและวิทยาการไดพัฒนาไปอีกระดับระบบทุนนิยม

ดั้งเดิม (Classic Capitalism) เริ่มปรากฏขอบกพรองการปลอยใหแขงขันกันโดยไมมีการควบคุม

นั้นกอใหเกิดการแขงขันเกินควรกิจการเล็กๆ ถูกบีบบังคับใหแพและเลิกไปจนมีแนวโนมที่ใหเกิด

กิจการที่ผูกขาด (Monopoly) และอาจมีการตั้งราคาเอาเปรียบผูบริโภคไดในที่สุดแนวคิดดาน

สวัสดิการสังคม (Social Welfare) จึงเริ่มไดรับความนิยมมากขึ้น และเห็นวารัฐสมควรเขามามี

บทบาทมากขึ้นในการดูแลคุมครองประชาชนตั้งแตหลังสงครามโลกครั้งที่ 1 จึงเริ่มมีการออก

กฎหมายมาควบคุมใหการแขงขันเปนไปอยางเปนธรรม (Fair Competition) ตามกรอบแนวคิดทุน

นิยมแบบใหม (Modern Capitalism) ในชวงนี้จะมีการเปลี่ยนแปลงทางตลาดอยางเห็นไดชัดการ

ประกอบธุรกิจเริ่มเนนการรวมตัวเปนหางหุนสวนและบริษัททําใหผูประกอบธุรกิจมีความรูทางดาน

วิทยาการเพิ่มมากขึ้นตามลําดับมีการวิจัยและพัฒนาสินคา (R&D) มีการใชวัสดุสังเคราะหแทน

วัสดุธรรมชาติมากขึ้นจนปจจุบันพบวาสินคาตาง ๆ มีความสลับซับซอนตามวิทยาการสมัยใหม

17ชัยวัฒน วงศวัฒนศานต. กฎหมายคุมครองผูบริโภค. (กรุงเทพมหานคร : วิญูชน), 2543,

หนา 14.

Page 42: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

25

หลายสิ่งเปนความลับทางการคาแมแตผูประกอบธุรกิจรายใหญก็มีความรูไมเทาทันสวนผู

ประกอบธุรกิจประเภทขายสงและขายปลีกก็มีความรูลดหลั่น18

ทั้งนี้การพัฒนากฎหมายคุมครองผูบริโภคในประเทศที่ใชระบบกฎหมายจารีตประเพณี

(Common Law System) และประเทศที่ใชระบบกฎหมายลายลักษณะอักษร (Civil Law System)

อาจกลาวไดวาความเปนมาหรือวิวัฒนาการในดานกฎหมายและทฤษฎีเกี่ยวกับการคุมครอง

ผูบริโภคในตางประเทศ (โดยเฉพาะประเทศที่มีระบบกฎหมายจารีตประเพณี) นั้นเริ่มตนจากคดีที่

เรียกรองในทางละเมิดใหมีการชดใชคาสินไหมทดแทนเพื่อความเสียหายอันเกิดจากการใชสินคา

หรือผลิตภัณฑซึ่งมีความชํารุดบกพรองและจําเลย (ผูผลิต) มีหนาที่ปองกันความเสียหายเพราะอยู

ในฐานะที่จะควบคุมตรวจสอบไดดีที่สุดเพื่อมิใหสินคานั้นกออันตรายแกผูใช

แตเดิมหลักความรับผิดในกฎหมายลักษณะละเมิดในระบบกฎหมายจารีตประเพณี

จําเลยตองมีหนาที่ตอโจทกหนาที่อาจเกิดจากความผูกพัน โดยชอบดวยกฎหมาย เชนมีหนาที่ตาม

สัญญาในขณะที่ความรับผิดตามสัญญาในระบบกฎหมายจารีตประเพณีโจทกตองมีฐานะเปน

คูสัญญาจึงจะมีสิทธิเรียกรองคาเสียหายไดศตวรรษที1่9 ในคดีระหวาง Winterbottom กับ Wright

(1842) ศาลพิพากษาวาความเสียหายที่เกิดจากรถลากของกรมไปรษณียหักลงในขณะที่โจทก

บังคับรถอยูโจทกไมมีสิทธิเรียกรองจากจําเลยซึ่งเปนคูสัญญาตามสัญญาซื้อขายและซอมบํารุงกับ

กรมไปรษณียไดแมจําเลยจะมิไดทําตามสัญญาซอมบํารุงแตโจทกหาใชคูสัญญากับจําเลยจึงไมมี

อํานาจตามกฎหมายที่จะเรียกใหจําเลยรับผิดเพราะจําเลยประมาทเลินเลอ 19คดีนี้ศาลถือเปน

แนวทางมาโดยตลอดวาผูเสียหายจากการใชผลิตภัณฑตองมีความสัมพันธทางสัญญา (Privity of

Contract) จึงจะเปนโจทกฟองผูผลิตหรือผูขายใหรับผิดในความเสียหายอันเกิดจากผลิตภัณฑได

จนในปลายศตวรรษที ่19 เริ่มมีแนวคําพิพากษาไปในทางคุมครองผูเสียหายมากขึ้นในคดีระหวาง

Thomas กับ Winchester (1852) เมื่อจําเลยซึ่งเปนผูขายกลิ่นสังเคราะหปดฉลากผิดโดยปดฉลาก

ขวดสารพิษวาเปนกลิ่นสังเคราะหเมื่อจําเลยขายขวดที่ปดฉลากผิดใหแกผูขายยาโจทกซื้อจาก

ผูขายยาไปใชเกิดอาการแพอยางรุนแรงโจทกฟองใหจําเลยรับผิดศาลพิพากษาวาจําเลยตองรับผิด

18สุษม ศุภนิตย,คําอธิบายกฎหมายกฎหมายความรับผิดในผลิตภัณฑ, (พิมพครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ

: วิญูชน. 2549, หนา 23. 19สุษม ศุภนิตย. เรื่องเดียวกัน. หนา 23-25.

Page 43: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

26

ในความเสียหายที่ตนประมาทเลินเลอกอใหเกิดภยันตรายรายแรงตอชีวิตมนุษยแมจําเลยจะไมมี

Privity of Contract กับโจทกก็ตาม20

ในที่สุดคดีที่เปนที่ยอมรับกันวาหลัก Privity Rule ไมมีความสําคัญอีกตอไปหรือสินคาใน

คดีระหวาง Macpherson กับ Buick Motor Co. (1916) ศาลอุทธรณแหงนครนิวยอรกวินิจฉัยวา

จําเลยตองรับผิดในความเสียหายอันเกิดจากความชํารุดบกพรองเปนเหตุใหโจทกไดรับอันตราย

แมวาโจทกมิไดมีความสัมพันธตามสัญญากับจําเลยก็ตามไมเฉพาะแตกรณีทรัพยอันตรายโดย

สภาพเทานั้นแตความรับผิดเชนนี้หมายรวมถึงทรัพย ซึ่งสามารถทําใหชีวิตและรางกายอาจเปน

อันตรายไดถาหากมีการประมาทเลินเลอในการผลิตของผูผลิตและทรัพยนั้นเปนที่คาดหมายไดวา

ยอมมีการบริโภคไดกวางขางไมวาจะโดยผูซื้อเองหรือผูอื่นนอกจากผูซื้อศาลเห็นวาผูผลิตมีหนาที่

ตองผลิตขึ้นดวยความระมัดระวังแตหลักในคดี Thomas กับ Winchester จํากัดอยูแคเฉพาะ

สินคาหรือผลิตภัณฑที่เปนพิษหรือวัตถุระเบิดเทานั้นซึ่งหลักในคดี Macpherson กับ Buick Motor

Co. ขยายใหครอบคลุมถึงผลิตภัณฑหรือสินคาที่จําหนายโดยอาจคาดหมายไดวาอาจเกิด

อันตรายตอชีวิตรางกายของผูใดก็ไดนอกเหนือจากผูซื้อหากมีความประมาทเกิดขึ้นเปนหนาที่ของ

ผูผลิตตองผลิตดวยความระมัดระวังหนาที่ดังกลาวไมจําเปนตองอาศัยความผูกพันตามสัญญา

หากแตเกิดจากกฎหมาย21

ตั้งแต ค.ศ.1916 เปนตนมาในแงความรับผิดชอบเหนือจากหนาที่ตามสัญญานับเปน

จุดเริ่มตนแหงการตื่นตัวในเรื่องความรับผิดของผูผลิตหรือผูขายซึ่งแตกตางจากหลักกฎหมายเดิม

ที่ใหผูซื้อรับผิดชอบในการระมัดระวัง (Caveat Emptor) ในการซื้อสินคานอกจากนั้นยังกอใหเกิด

การพัฒนาปรับปรุงเพิ่มเติมกฎหมายลายลักษณอักษรอีกหลายฉบับเปนตนวาบัญญัติใหผูขายรับ

ผิดตอผูเสียหายที่มิใชผูซื้อโดยไมตองอาศัยหลักนิติสัมพันธ (Privity Rule) เชน Uniform Commercial

Code วาดวยซื้อขายของสหรัฐอเมริกาเปนตน22

ในป ค.ศ.1932 ในคดีของประเทศอังกฤษคดีระหวาง Donoghue กับ Stevenson ซึ่งคํา

พิพากษาในคดีนี้ถือเปนบรรทัดฐานแหงการพัฒนาแนวคิดในเรื่องการคุมครองผูบริโภคในตลาด

โดยโจทกฟองใหจําเลยซึ่งเปนบริษัทผลิตน้ําขิง (Ginger-Beer) รับผิดในกรณีที่มีซากหอย (Snail)

เนาเปอยอยูในขวดน้ําขิงที่โจทกซื้อจากรานคาเพื่อบริโภคเปนเหตุใหโจทกเกิดอาการคลื่นเหียน

20สุษม ศุภนิตย. คําอธิบายกฎหมายคุมครองผูบริโภค. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพแหงจุฬาลงกรณ

มหาวิทยาลัย, 2548, หนา 13-18.21ชัยวัฒน วงศวัฒนศานต. กฎหมายคุมครองผูบริโภค. กรุงเทพฯ : วิญูชน2543, หนา 11-12. 22เรื่องเดียวกันหนา 20.

Page 44: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

27

อาเจียนและปวยศาลสูงของอังกฤษตัดสินโดยเสียงสวนใหญวาจําเลยตองรับผิดแมไมมีนิติ

สัมพันธใดๆ กับโจทกก็ตามเพราะเปนหนาที่โดยทั่วไปของจําเลยในอันที่จะตองดูแลรับผิดชอบตอ

ผูบริโภคสินคา (Ultimate Consumer) ซึ่งไดรับความเสียหายจากการบริโภคสินคาที่จําเลยเปนผูผลิต

โดยภาพรวมแลว ระบบการคุมครองผูบริโภคในประเทศสหรัฐอเมริกานั้น กฎหมายของ

สหพันธรัฐ (Federal Law) มีบทบาทมากในการควบคุมสภาวะตลาดใหมีการแขงขันที่แทจริงและ

เปนธรรม ตลาดของสหรัฐอเมริกาเปนตลาดมหึมา คูแขงในตลาดมีมากหลายรายการ ซึ่งในการ

ดูแลใหสภาวะตลาดเปนปกติเปนไปตามกลไกลของตลาดตามธรรมชาติ ทําใหผูบริโภคไดรับการ

คุมครองโดยอัตโนมัติ องคกรของรัฐทําหนาที่กํากับดูแล ติดตาม และออกกฎเกณฑ บังคับใช และ

เปนโจทยและจําเลยในศาล หากมีการโตแยงมติหรือคําวินิจฉัยของคณะกรรมาธิการ ทั้งนี้ เพื่อ

ปองกันมิใหเกิดการกระทําที่กระทบถึงตลาดการแขงขัน และผูบริโภค แตระบบการฟองรองคดีเพื่อ

เรียกคาเสียหายนั้นเปนเรื่องของผูบริโภคจะใชสิทธิของตนโดยผานหนวยงานภาครัฐโดยอาศัย

หลักกฎหมายลักษณะละเมินตามแนว Common Law หรือระบบกฎหมายที่พัฒนาการขึ้น เชน

Product Liabillity และการฟองคดีเปนกลุมเพื่อประหยัดเวลา คาใชจาย เมื่อความเสียหายเปน

อยางเดียวกันและเกิดจากเหตุเดียวกันที่เรียกวา Class Action ซึ่งมีอยูในระบบของสหรัฐอเมริกา

Food Safety Modernization Act มีชื่อเรียกสั้นๆ วา Food Safety Bill ถูกจัดทําขึ้นเพื่อเปนการ

แกไขเพิ่มเติมกฎหมาย Federal Food Drug and Cosmetic Act ในสวนที่เกี่ยวของกับความ

ปลอดภัยของอุปทานอาหารของสหรัฐอเมริกา23

กฎหมาย Food Safety Bill ไดรับการพิจารณาอยางรวดเร็วมากโดยถูกเสนอเพื่อพิจารณา

เปนครั้งแรกเมื่อวันที ่3 มีนาคม 2009 และสภาสูงของสหรัฐฯลงมติยอมรับรางกฎหมายนี้เมื่อวันที่

19 ธันวาคม 2010 คาดวาประธานาธิบดีโอบามาจะลงนามในรางกฎหมายเพื่อใหกลายเปน

กฎหมายสมบูรณภายในตนป 2011

ระบบการปกครองของสหรัฐอเมริกาเปนแบบสหพันธรัฐ ดังนั้น ระบบการคุมครอง

ผูบริโภคโดยใชมาตรการทางกฎหมายจึงมีทั้งในระดับสหพันธรัฐและระดับมลรัฐ หรือการปกครอง

ทองถิ่นกฎหมายคุมครองผูบริโภคระดับมลรัฐยอมมีรายละเอียดในเรื่องที่เกี่ยวกับการคุมครอง

ผูบริโภคในมลรัฐนั้น ๆ เปนการเฉพาะแตกฎหมายที่เกี่ยวกับการคุมครองผูบริโภคที่ใชเพื่อผูบริโภค

23สุษม ศุภนิตย. (2545). รางพระราชบัญญัติกฎหมายคุมครองผูบริโภคพ.ศ. .... : กรณีศึกษา

กฎหมายคุมครองผูบริโภคกรณีศึกษากฎหมายคุมครองผูบริโภคของประเทศญี่ปุนสหรัฐอเมริกาและสหราชอาณาจักรอังกฤษ. สถาบันพระปกเลาเอกสารเพื่อประกอบการพิจารณากฎหมายของสมาชิกรัฐสภา

เลมที่ 7. สํานักวิจัยและพัฒนาสถาบันพระปกเกลา, กรุงเทพฯ : โรงพิมพเดือนตุลา. หนา 70-72.

Page 45: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

28

ทุกคนในประเทศนั้นจะมีลักษณะกวางกวา เราจะไมพบกฎหมายระดับสหพันธรัฐที่มีชื่อวา

“Federal Consumer Protection Act”แตจะพบวามีกฎหมายที่กํากับดูแลกิจการพาณิชยของ

ประเทศเพื่อใหเกิดความเปนธรรม ชื่อ The Federal Trade Act และกฎหมายเกี่ยวกับความ

ปลอดภัยในผลิตภัณฑ ชื่อ The Consumer Product Safety Act รวมทั้ง The Federal Food,

Drug and Cosmetic Act เปนตน กฎหมายเหลานี้ลวนเปนกฎหมายคุมครองผูบริโภคในดานอื่นๆ

ที่ใชบังคับทั่วประเทศ เชน The Fair Packaging and Labeling Act The Fair Debt Collection

Practices Act The Consumer Leasing Act Federal Truth in Lending Law Federal Cool-Off

Rule ซึ่งบังคับใชกับการทําธุรกิจแบบขายตรง เปนตน

นอกจากนี้ในระบบกฎหมายจารีตประเพณีสหรัฐอเมริกาคอนขางจะพัฒนากฎหมายดาน

นี้ไปไกลที่สุดกลาวคือ มีทั้งการบัญญัติกฎหมายของสหพันธรัฐเพื่อใชบังคับทั่วประเทศและการ

บัญญัติเพิ่มเติมแกไขกฎหมายของมลรัฐเกี่ยวกับหลักเกณฑและมาตรการในการคุมครองผูบริโภค

ยกตัวอยางกฎมายสหพันธรัฐเชน The Consumer Product Safety Act 1972 หรือ The Uniform

Commercial Code ในสวนที่เกี่ยวกับการซื้อขาย (Sale) หรือกฎหมายลักษณะละเมิด The

Restatement of Torts Section 402 (A) The Maguson Moss Warranty FTC Improvement

Act 1975 หรือกฎหมายของมลรัฐ Kansas ในอเมริกาเชน The Kansas Consumer Protection

Act 1975 เหลานี้เปนตน24หรือในอังกฤษก็มีการปรับปรุงกฎหมาย The Supply of Goods

(Implied Terms) Act 1973 แกไขกฎหมายลักษณะซื้อขาย The Sale of Goods Act 1893 หรือ

การคุมครองผูบริโภคในดานการตกลงทําสัญญา Unfair Contract Terms Act. 1977 เปนตนสวน

ในประเทศที่ใชระบบประมวลกฎหมาย (Civil Law System) วิวัฒนาการในดานนี้ก็มีอยูเชนกันใน

สหพันธสาธารณรัฐเยอรมนีและสาธารณรัฐฝรั่งเศสซึ่งเปนแนวคิดและทฤษฎีที่เปนที่มาของการ

24ประธานาธิบดีจอหน เอฟ เคเนดี้ ไดประกาศ Consumer”s Bill of Rights ขึ้นโดยมีวัตถุประสงคจะ

ยกระดับการใหความคูครองสิทธิของผูบริโภคใหสูงขึ้น โดย

1) ที่จะเลือกซื้อสินคาตาง ๆ ในราคาที่เปนธรรม

2) สิทธิที่จะไดรับขาวสาร

3) สิทธิจะไดรับความปลอดภัยจากการบริโภคสินคา

4) สิทธิที่จะไดรับการรับรูจากรัฐบาลในการเรียกรอง โดยเฉพาะความปลอดภัยในการบริโภคสินคาที่

จะตองไมจํากัดประเภทสินคาที่ผูบริโภคจะไดรับความคุมครองแตจะเปนการที่กฎหมายสามารถใหความ

คุมครองเปนไปในลักษณะทั่วไป จนกระทั่งในป ค.ศ.1963 ไดมีการนําหลักความรับผิดชอบโดยเครงครัดมาใชใน

Page 46: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

29

บัญญัติกฎหมายเพื่อคุมครองผูบริโภคประกอบดวยการขยายหลักความรับผิดในทางสัญญาให

กวางออกไปไมถือหลักคูกรณี

___________________24 กรณีความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินคาไมปลอดภัยเปนครั้งแรก ในคดี Green man กับ Yuba Power

Product. Inc. ซึ่งเปนคดีที่เกี่ยวของกับทรัพยที่เดินดวยเครื่องจักรกล ซึ่งแสดงใหเห็นวาศาลมุงหมายที่จะให

ความคุมครองผูบริโภคเปนสําคัญเนื่องจากเปนความเสียหายที่เกิดขึ้นจากทรัพยที่ เดินดวยเครื่องจักรกลที่มี

ความสลับซับซอนของเทคโนโลยีในการผลิตสินคาที่เพิ่มมากขึ้น การใชหลักความรับผิดทางสัญญาหรือละเมิด

ไมอาจเยียวยาความเสียหายไดอยางเพียงพอ เพราะขอจํากัดการพิสูจนถึงความเสียหายที่เกิดจากความจงใจ

หรือประมาทเลินเลอของจําเลยในคดีเหลานี้ และดวยผลของคําพิพากษาในคดี Green man กับ Yaba Pawer

Prods.. Inc. ทําให The American Law Institute นําหลักความรับผิดชอบโดยเครงครัดมาบัญญัติรับรองไวเปน

กฎหมายลายลักษณอักษรใน The Restatement Second of Torts 1975 โดยแกไขกฎหมายแพงลักษณะ

ละเมิด (Restatement of Torts) ซึ่งกําหนดใหผูขายมีความรับผิดชอบในความเสียหายอันเกิดจากผลิตภัณฑ

โดยไมกําหนดวาผู เสียหายตองเปนผูซื้อทําใหผูเสียหายมีโอกาสในการเรียกคาเสียหายไดมากขึ้น โดยไม

จําเปนตองอาศัยความผูกพันตามสัญญาโดยหลักเกณฑในมาตรา 402A ของ The Restatement Second of

Torts ที่กําหนดวาอนุมาตรา (1) ผูใดขายผลิตภัณฑที่อยูสภาพบกพรองอันกอใหเกิดอันตรายโดยไมสมควรแก

รางกายของผูใชหรือผูบริโภค หรือทรัพยสินของเขา ตองรับผิดชอบตออันตรายที่เกิดขึ้นตอผูนั้น ถา

ก. ผูขายอยูในธุรกิจการขายนั้น เชน เปนผูดูแล

ข. เปนที่คาดหมายไดวาผลิตภัณฑนั้นถึงมือผูใชหรือผูบริโภค โดยไมมีการเปลี่ยนสภาพที่สําคัญไปจาก

เดิมขณะที่ขาย

อนุมาตรา (2) ใหใชบทบัญญัติในอนุมาตรา (1) บังคับได แมวา

ก. ผูขายจะไดใชความระมัดระวังอยางที่สุดในการตระเตรียมและขายผลิตภัณฑของเขาและ

ข. ผูใชหรือผูบริโภคผลิตภัณฑนั้น ไมไดเปนผูซื้อหรือมีสัญญาใด ๆ ที่เกี่ยวกับผลิตภัณฑนั้นกับผูขาย

โดยมาตรา 402 A นี้ กําหนดใหผูขายสินคาที่อยูในสภาพที่ไมปลอดภัยในประการที่อาจกอใหเกิดอันตรายอันไม

สมควรแกรางกายหรือทรัพยสินของผูใชหรือผูบริโภคและสินคาดังกลาว ไดกอใหเกิดอันตรายเชนวานั้นแกผูใช

หรือผูบริโภค ถาผูขายเปนผูประกอบธุรกิจในการขายสินคา เชนนั้น และสินคาดังกลาวไดถึงมือผูใชหรือผูบริโภค

โดยไมมีการเปลี่ยนแปลงสภาพของสินคาในสาระสําคัญไปจากสภาพที่ขาย ผูขายตองรับผิดตอผูเสียหายเพื่อ

ความเสียหายที่เกิดขึ้นนั้น แมวาจะไดใชความระมัดระวังในการตระเตรียมและขายสินคาแลว และผูใชหรือ

ผูบริโภคที่ไดรับความเสียหายไมไดมีนิติสัมพันธทางสัญญากับผูขาย ตามบทบัญญัตินี้ถือวาผูที่มีสวนรวมใน

กระบวนการผลิตและจําหนายสินคาจะตองรับผิดทั้งหมดตั้งแตผูผลิตจนถึงผูขายปลีก ซึ่งหลักความรับผิดโดย

เครงครัดที่ใชแกความรับผิดที่เกิดขึ้นจากสินคาไมปลอดภัยภายใตกฎหมายสหรัฐอเมริกานี้เรียกวา“Chain of

Distribution Liability”เพราะบุคคลใดก็ตามที่มีสวนเกี่ยวของกับสินคาที่ไมปลอดภัยจําตองอยูภายใตหลักความ

รับผิดทั้งหมดทุกคนแมวาจะไมไดผลิตหรือมีสวนเกี่ยวของกับสินคามากนอยเพียงใดก็ตาม

Page 47: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

30

2.2.3 หลักการคุมครองผูบริโภคในประเทศไทยในการคุมครองผูบริโภคยอมมีความสัมพันธกับคําวา “สิทธิมนุษยชน” ซึ่งเปนคําที่เกิดขึ้น

ใหมหลังสงครามโลกครั้งที่สองและเปนแนวความคิดที่มีวิวัฒนาการมาจากอุดมคติเกาแกของ

ชาวตะวันตก แตแนวคิดสิทธิมนุษยชนนั้นมีมานาน ตั้งแตสมัยกรีซโบราณโดยแตละยุคแตละสมัย

มีการใชคําอื่นที่มีความหมายใกลเคียงกับคําวาสิทธิมนุษยชนแตกตางกันออกไปคําเหลานั้นขึ้นอยู

กับพื้นฐานทางความคิดที่ใชในการสนับสนุนความชอบธรรมในการกลาวอางหรือเรียกรองสิทธิ

ของผูบริโภค เชน กฎหมายตามธรรมชาติ (Natural Law) สิทธิธรรมชาติ (Natural Rights) สิทธิ

การคุมครองของประชาชนและหลักนิติธรรมถึงแมวาจะมีพื้นฐานการเรียกรองที่ตางกันแตแกน

เนื้อหาไมไดแตกตางกันจากความคิดในเรื่องกฎหมายธรรมชาติและสิทธิธรรมชาติไดวิวัฒนาการ

มาสูการคุมครองผูบริโภคตามสังคมไทยเองและไดเริ่มคํานึงถึงสิทธิของผูบริโภคเปนครั้งแรกในรัช

สมัยของพระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ 7) โดยไดมีการออกมาตรการแนวทาง

ตามกฎหมายเพื่อปองกันความเสียหายที่เกิดจากการบริโภคหางนมในป พ.ศ.2470 ซึ่งถือไดวา

กฎหมายฉบับนี้เปนหลักฐานทางประวัติศาสตรชิ้นสําคัญเกี่ยวกับการคุมครองสิทธิผูบริโภคของ

ไทยและที่สําคัญยิ่งไปกวานั้นประเทศไทยเองไดใหความสําคัญเกี่ยวกับการคุมครองสิทธิผูบริโภค

มานานมากกวา 20 ปกอนจะสอดรับในหลักการปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชนดังกลาวทั้งนี้

เพราะพลเมืองของไทยรวมถึงนานาประเทศทั่วโลกไดเริ่มมีความเขาใจอยางแจมชัดและตระหนัก

เกี่ยวกับความไมปลอดภัยของผลิตภัณฑอาหารที่มีผลกระทบตอสุขภาพของผูบริโภคในชวงตน

____________________________24นอกจากนี้ในเนื้อหาตามมาตรา 402B ที่กําหนดวา“ผูใดทําธุรกิจขายสังหาริมทรัพย โดยมีการ

โฆษณาประกาศหรือกระทําการในลักษณะดังกลาวตอสาธารณะชน โดยแสดงขอความเกี่ยวกับลักษณะหรือ

คุณภาพของสินคาที่ขายผิดไปจากความจริง จะตองรับผิดตออันตรายที่เกิดกับผูบริโภคสินคานั้น ซึ่งเนื่องจาก

การหลงเชื่อขอความในโฆษณานั้น โดยสุจริต แมวาไมมีการหลอกลวง หรือประมาทเลินเลอ และผูบริโภคสินคา

นั้นไมไดเปนผูซื้อหรือมีสัญญาใดๆ ที่เกี่ยวกับสินคานั้นกับผูขาย”

อนึ่ง โดยสอดคลองกับคําอธิบายของหลักกฎหมายสหรัฐอเมริกาที่วางหลักทั่วไปไววากรณีความ

เสียหายที่เกี่ยวของกับการแพอยูในคําเตือนเมื่อมีบุคคลจํานวนมากเกิดอาการแพ โดยโจทกจะตองแสดงวาการ

แพไมใชเฉพาะโจทกเทานั้นที่เกิดอาการแพ การใชคําเตือนยอมเปนหนาที่ของผูประกอบการที่มีหนาที่ระบุคํา

เตือนใหปรากฏอยางชัดเจนเพื่อใหผูบริโภคสามารถหลีกเลี่ยงได

ดังนั้น จะเห็นไดวา ในระบบกฎหมายหมายของสหรัฐอเมริกาผูเสียหายจากกรณีการบริโภคสินคาหรือ

บริการการใชผลิตภัณฑที่ไมปลอดภัย จึงมีสิทธิที่จะฟองเรียกคาเสียหายเปนคดีแพงทั้งทางสัญญาและทางคดี

ละเมิดได แตจะมีความแตกตางกันในประเด็นความสามารถในการเปนโจทกสิทธิเรียกคาเสียหายและอายุความ

Page 48: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

31

ของคริสตศตวรรษที่ 20 (Institute of Food Research, 2004) การคุมครองผูบริโภค ในปจจุบันนี้

ไดมีการเอาจริงเอาจังเปนอยางมากขึ้นทั้งหนวยงานของภาครัฐ รวมมีองคกรตางๆ และกระแส

รวมตัวของผูบริโภคเกิดขึ้นมาเพื่อรับผิดชอบผูบริโภคไมวาจะเปน สํานักงานคณะกรรมการ

คุมครองผูบริโภค หรือมูลนิธิเพื่อผูบริโภคการเกิดหนวยงานเพื่อคุมครองผูบริโภคในประเทศไทย

นั้น ตองยอนไปเกลาถึงองคการผูบริโภคระหวางประเทศองคการนี้เปนองคการอิสระ ไมได

เกี่ยวของกับ

การเมือง จัดตั้งโดยสมาคม ผูบริโภค ของประเทศตางๆ รวมตัวกันมีสํานักงานใหญ อยูที่กรุงเฮก

ประเทศเนเธอรแลนด เจาหนาที่องคการนี้ก็จะเดินทางไปยังประเทศตางๆ เพื่อหาสมาชิก และในป

พ.ศ.2512 ก็ไดมีเจาหนาที่ขององคการนี้เดินทางเขามาในประเทศไทยเพื่อชักจูงองคการเอกชน

ของไทยใหมีการจัดตั้งสมาคมผูบริโภคขึ้น แตในครั้งแรกก็ตองมวนเสื่อกลับไปมือเปลา เพราะตอน

นั้นทั้งองคการเอกชนของไทยยังไมมีความพรอม ลวงเลยจนถึงครั้งที่ 3 สหพันธองคการผูบริโภค

ระหวางประเทศก็ไดเดินทางมาอีกในป พ.ศ.2519 ในสมัยของ คึกฤทธิ์ ปราโมช เปนนายกรัฐมนตรี

ครั้งนั้นไดมีการจัดตั้งคณะกรรมการคุมครองผูบริโภคขึ้นคณะหนึ่ง โดยมีรองนายกรัฐมนตรี พลตรี

ประมาณ อดิเรกสาร เปนประธานกรรมการ แตไมนานก็ตองปดฉากลงไปพรอมๆ กับรัฐบาลยุคนั้น

ตอมาในป พ.ศ.2522 ที่มีพลเอกเกรียงศักด์ิ ชมะนันทน เปนนายกรัฐมนตรี รัฐบาลในยุคนี้

ไดเล็งเห็นความสําคัญและความจําเปนของการคุมครองผูบริโภค จึงไดมีการจัดตั้งคณะกรรมการ

คุมครองผูบริโภคขึ้นโดยมีรองนายกรัฐมนตรีนายสมภพ โหตระกิตย เปนประธานกรรมการการ

ปฏิบัติงาน โดยรัฐบาลไดนํารางขึ้นบังคมทูล และไดมีพระบรมราชโองการโปรดเกลาโปรด

กระหมอมใหตราเปนพระราชบัญญัติ ทรงลงพระปรมาภิไธยในวันที่ 30 เมษายน พ.ศ.2522 และ

ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับพิเศษเลมที่ 96 ตอนที่ 72 วันที่ 4 พฤษภาคม 2522 มีผลการใช

บังคับ ตั้งแตวันที่ 5 พฤษภาคม 2522 เปนตนมา25

อยางไรก็ตามสังคมไทยก็ยังไมไดมีการวางหลักปรัชญาสิทธิผูบริโภคไวอยางชัดเจน

แนวคิดเกี่ยวกับสิทธิผูบริโภคไดเริ่มเดนชัดขึ้นเมื่อมีการจัดตั้ง“กรรมการศึกษาและสงเสริม

ผูบริโภค” ขึ้นเพื่อศึกษาปญหาตางๆ ของผูบริโภคในป พ.ศ.2514 (ค.ศ.1971) และยกรางกฎหมาย

คุมครองผูบริโภคขึ้นจนกระทั่งตราเปนพระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภค พ.ศ.2522 (ค.ศ.1979) ใน

ปจจุบันสิทธิผูบริโภคไดรับความสําคัญมากขึ้นโดยไดกําหนดไวในรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักร

ไทยพุทธศักราช 2540 และยังเปนรัฐธรรมนูญฉบับแรกที่ใหความสําคัญตอการคุมครองผูบริโภค

25สุษม ศุภนิตย. คําอธิบายกฎหมายคุมครองผูบริโภค,พิมพครั้งที่ 8กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพ

แหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2556, หนา 25.

Page 49: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

32

โดยบัญญัติถึงสิทธิของผูบริโภคไวโดยกําหนดหลักเกณฑของสิทธิบุคคลซึ่งเปนผูบริโภคยอมไดรับ

ความคุมครองทั้งนี้ตามที่กฎหมายบัญญัติและปรากฏ ตามตามพระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภค

(ฉบับที่ 2) พ.ศ.2541 ซึ่งเปนฉบับแกไขเพิ่มเติมไดระบุสิทธิของผูบริโภคที่จะไดรับความคุมครอง

ตามกฎหมายไวดวยสิทธิผูบริโภคยังไดถูกใหความสําคัญอีกครั้งโดยไดรับการบัญญัติสาระ

เกี่ยวกับสิทธิผูบริโภคลงในรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550 ซึ่งเปนรัฐธรรมนูญฉบับ

ใหมลาสุดของประเทศไทยไวอยางชัดเจนวา“สิทธิของบุคคลซึ่งเปนผูบริโภคยอมไดรับความ

คุมครองในการไดรับขอมูลที่เปนความจริงและมีสิทธิรองเรียนเพื่อใหไดรับการแกไขเยียวยาความ

เสียหายรวมทั้งมีสิทธิรวมตัวกันเพื่อพิทักษสิทธิของผูบริโภคทั้งนี้ปรากฏตามรัฐธรรมนูญแหง

ราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2550

ซึ่งความหมายของผูบริโภคในมาตรา 3 พระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภค พ.ศ. 2522 และ

ฉบับแกไขเพิ่มเติม พ.ศ.2541 บัญญัติ ไววา ผูบริโภค หมายถึง ผูซื้อสินคาหรือไดรับบริการจากผู

ประกอบธุรกิจ หรือผูซึ่งไดรับการเสนอหรือการชักชวนจากผูประกอบธุรกิจเพื่อใหซื้อสินคาหรือรับ

บริการและหมายความรวมถึงผูใชสินคาหรือผูไดรับบริการจากผูประกอบธุรกิจโดยชอบ แมมิได

เปนผูเสียคาตอบแทนก็ตามและในมาตราเดียวกันนี้ ไดใหนิยามของ ผูประกอบธุรกิจวาผูขาย

ผูผลิตเพื่อขายผูสั่งหรือนําเขามาในราชอาณาจักรเพื่อขาย หรือผูซื้อเพื่อขายตอซึ่งสินคาหรือผู

ใหบริการ และหมายความรวมถึงผูประกอบกิจการโฆษณาดวยทําใหเห็นวาตัวกฎหมายคุมครอง

ผูบริโภคเปนกฎหมายที่ใหความคุมครองแกประโยชนของผูบริโภคตามตัวกฎหมาย ที่มีสวน

คุมครองประโยชนของผูบริโภคในสวนที่เกี่ยวเนื่องกับผูประกอบธุรกิจสงผลกระทบตอผูบริโภคเปน

กฎหมายคุมครองผูบริโภคทั้งสิ้น ดังนั้นกฎหมายคุมครองผูบริโภคจึงมีหลายเรื่องหลายฉบับไม

เพียงแตการคุมครองตามพระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภคเพียงฉบับเดียวเปนผลใหเกิดแนวคิด

ทฤษฎีและที่มาของกฎหมายคุมครองผูบริโภคนั้นเอง

แตกอนในอดีตสภาพสินคาและบริการยังไมมีปญหาในการและไมซับซอนมากเทาใด

นักการผลิตยังเปนแบบงายๆ ตามทองตลาดยังคงมีลักษณะแลกเปลี่ยนสินคาซึ่งกันและกัน แบบ

ธรรมดาไมมีความจําเปนที่รัฐจะตองบัญญัติกฎหมายไวเพื่อรองรับเปนเครื่องมือเพื่อใหเกิดความ

ปลอดภัยและเปนธรรมกับผูบริโภคอุปโภค ทั้งนี้เพราะอิทธิพลของแนวคิดในการปกครองแบบ

ประชาธิปไตยที่ใหความมีอิสระ เสรีภาพของผูบริโภคในตัวบุคคลดํารงชีวิตไดเทาเทียมกันมีความ

เสมอภาคตามหลักประชาธิปไตย ยังผลใหระบบเศรษฐกิจแบบเสรี (Liberalism) โดยใหประชาชน

ทุกคนมีความสามารถในการตัดสินใจเลือกบริโภคสินคาหรือบริการเทากัน รัฐจะไมเขามา

Page 50: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

33

แทรกแซง26 หลักกฎหมายที่เกี่ยวดวยการคาหลักหนึ่งจึงเกิดขึ้น คือ ในการซื้อขายนั้น “ผูซื้อตอง

ระวัง” คือ หากมีความเสียหายใดๆ ในทรัพยที่ซื้อขายกันนั้น ความเสียหายนั้นตกเปนของผูซื้อเอง

หลักนี้ภาษาโรมันเรียกวา Caveat Emptor หรือ “Let the buyer beware”

สมัยปจจุบันโลกเจริญมากขึ้นทั้งวิทยาศาสตร เทคโนโลยี อุตสาหกรรม ทําใหระบบ

เศรษฐกิจ การคาขายและการบริการมีความซับซอนมากขึ้น การผลิตสินคาใชวัตถุดิบในการผลิตที่

ทันสมัยเกินกวาความรูธรรมดาของผูใชหรือผูบริโภคจะตามทัน ผูผลิตหาวิถีทางในการลดตนทุน

การผลิตจนบางครั้งทําใหคุณภาพสินคาลดลง ตลอดจนการขยายตัวของเศรษฐกิจ สินคาก็

แพรกระจายไปดวย อีกทั้งยังเพิ่มชนิด ประเภทมากกวาแตกอน ทําใหประเทศตางๆ หันมา

พิจารณาถึงสิทธิผูบริโภคในอันที่จะไดรับความคุมครองและรักษาผลประโยชนเปนการเฉพาะ

นอกจากสิทธิที่จะไดรับคาเสียหายตามสัญญา หรือ สิทธิฟองเรียกคาเสียหายในคดีละเมิดตาม

กฎหมายเดิม ทั้งประเทศในยุโรป อเมริกาและออสเตรเลีย จึงไดมีการออกกฎหมายคุมครอง

ผูบริโภค ซึ่งเปลี่ยนแปลงหลักกฎหมายที่มีอยูเดิมทั้งในแงความรับผิดในทางสัญญาหรือละเมิดให

เอื้อตอการเยียวยาชดใชความเสียหายที่เกิดจากการบริโภคใหมากขึ้น ทั้งนี้โดยเนนทั้งดานควบคุม

กํากับกิจกรรมทางการผลิตโดยรัฐเพื่อปองกันความเสียหายและการฟองรองดําเนินคดีเพื่อ

ผูบริโภค (ในบางประเทศ)

กฎหมายคุมครองผูบริโภคในประเทศไทย (ตั้งแตสมัยรัตนโกสินทรตอนปลาย-กอนป

พ.ศ.2522) ไดมีการบัญญัติกฎหมายที่เกี่ยวของกับการคุมครองผูบริโภคอันเกิดจากการใชการ

บริการอุปโภค บริโภคสินคาอาทิ เชน อาหาร ยารักษาโรค และการรับการบริการดานอื่นๆ สิทธิ

ผูบริโภคที่หนวยงานของรัฐใหความสําคัญเปนครั้งแรกเมื่อมีพระราชบัญญัติ หางน้ํานม พ.ศ.2470

ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ 2470 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระ

ปรมินทรมหาประชาธิปกพระปกเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 7 แหงกรุงรัตนโกสินทร ตอมาเมื่อ

ประเทศไดพัฒนามากขึ้น ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย ที่ประชาชนไดนํามาใชเพื่อเยียวยา

ชดใชความเสียหายตอผูถูกละเมิดมาเปนเวลาพอสมควรแลว รัฐไดออกกฎหมายอีกหลายฉบับ

เปนการเฉพาะเพื่อคงไวซึ่งความปลอดภัยของประชาชนและปองกันความเสียหายเนื่องจากการ

บริโภค เชน พระราชบัญญัติสาธารณสุข พ.ศ.2484 พระราชบัญญัติควบคุมอาหาร พ.ศ.2584

(พระราชบัญญัติหางน้ํานม พ.ศ.2470 เดิม) พระราชบัญญัติควบคุมคุณภาพอาหาร พ.ศ. 2507

พระราชบัญญัติควบคุมการขายยา พ.ศ. 2479 พระราชบัญญัติเครื่องสําอาง พ.ศ.2517ในระยะตอมามี

26สํานักงานคณะกรรมการคุมครองผูบริโภค. สคบ.กับการคุมครองผูบริโภค.พิมพครั้งที่ 11.

กรุงเทพมหานคร : หางหุนสวนจํากัดอรุณการพิมพ, 2550,หนา 2-5.

Page 51: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

34

การพัฒนาประเทศมากขึ้นสภาพความเปนอยูของประชาชนชาวไทยเริ่มเปลี่ยนแปลงจากสังคม

ชนบทไปสูสังคมเมืองมากขึ้นแมวาไทยจะเริ่มใชประมวลกฎหมายที่มีแบบอยางจากอารยประเทศ

เชน ประมวลกฎหมายอาญาหรือประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย ซึ่งการพยายามใหมีกฎหมาย

รับรองคุมครองสิทธิของผูบริโภคเริ่มเดนชัดขึ้น เมื่อสภาสตรีแหงประเทศไทยไดตระหนักถึงความ

จําเปนการแกปญหาเกี่ยวกับการบริโภคเพื่อใหเกิดความเปนธรรมปลอดภัยและประหยัดในชั้นตน

มีการจัดตั้งกรรมการศึกษาและสงเสริมผูบริโภคขึ้นศึกษาปญหาตางๆ ของผูบริโภค

ในระยะตอมารัฐบาลสมัย ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ปราโมชไดจัดตั้งคณะกรรมการคุมครองผูบริโภค

ขึ้นคณะหนึ่ง แตก็ยังไมแสดงผลในรูปธรรมก็สลายตัวไปตามวิถีทางการเมืองเมื่อเปลี่ยนรัฐบาลมา

สูสมัยนายธานินทร กรัยวิเชียร ไดมอบไดใหกระทรวงพาณิชยรับเรื่องนี้ไปดําเนินการแตก็ยังอยูใน

ระหวางดําเนินการ ตอมามีการเปลี่ยนแปลงรัฐบาลมาเปนรัฐบาลสมัยพลเอกเกรียงศักดิ์ ชมะนันท

ไดเล็งเห็นความสําคัญในเรื่องการคุมครองผูบริโภคถึงขนาดดําริใหมีการรางกฎหมายคุมครอง

ผูบริ โภคเพื่อใหมีคณะกรรมการซึ่งจัดตั้งขึ้นภายใตความรับผิดชอบของนายกรัฐมนตรีได

ปฏิบัติการตามกฎหมายอยางมีประสิทธิภาพมากขึ้นคณะอนุกรรมการยกรางกฎหมายคุมครอง

ผูบริโภคไดดําเนินการยกรางเสนอรัฐบาลนําเสนอตอรัฐสภาผานการพิจารณาจนกระทั่งตราขึ้น

เปนพระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภคเมื่อวันที่ 30 เมษายน 2522 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา

ฉบับพิเศษเลมที่ 96 ตอนที่ 72 วันที่ 4 พฤษภาคม 2522 มีผลบังคับใชเปนกฎหมายวันที่ 5

พฤษภาคม 2522 ตอมาไดมีการแกไขพระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภค พ.ศ.2522 โดยพระราช

บัญญัติคุมครองผูบริโภค (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2541 และไดประกาศในราชกิจจานุเบกษาเลมที่115

ตอนที ่15 ก เมื่อวันที่ 24 มีนาคม 2541 มีผลบังคับใชเปนกฎหมายวันที่ 25 มีนาคม 2541 เปนตน

2.2.4 สิทธิขั้นพื้นฐานของผูบริโภคเมื่อสินคาไมปลอดภัยการกําหนดสิทธิขั้นพื้นฐานของผูบริโภคไดบัญญัติไวในกฎหมายสูงสุดของประเทศ คือ

กฎหมายรัฐธรรมนูญที่กฎหมายสามารถใหรัฐออกกฎหมายมาเพื่อจํากัดสิทธิในการประกอบ

กิจการของผูประกอบธุรกิจในฐานะที่เราเปนผูบริโภค เรามีสิทธิ์ที่จะเลือกซื้อสินคาหรือใชบริการที่

ดีและมีคุณภาพจากผูประกอบการ และเพื่อใหไดมาซึ่งสินคาหรือบริการที่มีคุณภาพ ผูบริโภคควร

คิดพิจารณาในเรื่องของขาวสารขอมูลที่มีมากับตัวสินคา ไมหลงเชื่อคําโฆษณาเกินจริง และเลือก

ดูวาสินคาที่จะเลือกใชนั้นมีความจําเปนหรือไมอยางไร แลวรวมกลุมกันระหวางผูบริโภคดวย

กันเอง เพื่อเปนกลุมพลังตอรองทางการคา และเปนหนทางรักษาซึ่งสิทธิ์ ของผูบริโภคจาก

ผูประกอบการเพื่อประโยชนในการคุมครองผูบริโภคและปองกันหรือขจัดความไมเปนธรรมโดยรัฐ

Page 52: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

35

ไดออกกฎหมายที่เปนบทจํากัดสิทธิตามที่รัฐธรรมนูญใหอํานาจไวที่สําคัญคือพระราชบัญญัติ

คุมครองผูบริโภค พ.ศ.2522 และพระราชบัญญัติขอสัญญาที่ไมเปนธรรม พ.ศ.2540 รวมไปถึงการ

กําหนดอยูในหมวด 3 สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทยมาตรา 50 รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักร

ไทยพุธศักราช 2550 อาทิเชน

2.2.5 สิทธิขั้นพื้นฐานรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2540รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2540 ถือเปนกฎหมายสูงสุดที่กําหนดสิทธิ

ขั้นพื้นฐานของผูบริโภคและใหความคุมครองเต็มรูปแบบและสรางหลักประกันความเปนธรรมมาก

ยิ่งขึ้นโดยรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2540 เปนรัฐธรรมนูญฉบับแรกที่ใหความ

สําคัญของการคุมครองผูบริโภคโดยบัญญัติถึงสิทธิของผูบริโภคไวดังนี้

(1)27กําหนดใหบุคคลยอมมีเสรีภาพในการประกอบกิจการหรือประกอบอาชีพและการ

แขงขันโดยเสรีอยางเปนธรรมโดยการจํากัดเสรีภาพดังกลาวจะกระทํามิไดเวนแตโดยอาศัยอํานาจ

ตามบทบัญญัติแหงกฎหมายเฉพาะเพื่อประโยชนในการรักษาความมั่นคงของรัฐหรือเศรษฐกิจ

ของประเทศการคุมครองประชาชนในดานสาธารณูปโภคการรักษาความสงบเรียบรอยหรือ

ศีลธรรมอันดีของประชาชนการจัดระเบียบการประกอบอาชีพการคุมครองผูบริโภคการผังเมืองการ

รักษาทรัพยากรธรรมชาติหรือสิ่งแวดลอมสวัสดิภาพของประชาชนหรือเพื่อปองกันการผูกขาดหรือ

ขจัดความไมเปนธรรมในการแขงขันดังนั้นรัฐจึงสามารถออกกฎหมายจํากัดสิทธิผูประกอบธุรกิจ

หรือการแขงขันที่จะทําใหผูบริโภคไมไดรับความเปนธรรมและสิทธิของบุคคลซึ่งเปนผูบริโภค

ยอมจะไดรับความคุมครองทั้งนี้ตามที่กฎหมายบัญญัติโดยมีกฎหมายฉบับแรกที่คุมครองผูบริโภค

ออกตามรัฐธรรมนูญฉบับนี้คือพระราชบัญญัติขอสัญญาที่ไมเปนธรรมพ .ศ.2540 เหตุที่ออก

กฎหมายฉบับนี้เพราะเนื่องจากสภาพความเปนจริงทางเศรษฐกิจและสังคมมิไดเปดโอกาสใหมี

ทางเลือกอื่นที่เหมาะสมเพียงพอสําหรับคนสวนใหญซึ่งเปนผูบริโภคบรรดาผูประกอบธุรกิจการคา

หรือวิชาชีพที่มีอํานาจตอรองทางเศรษฐกิจที่เหนือกวาคนทั่วไปจึงอยูในฐานะที่ไดเปรียบในการทํา

สัญญาอยางยิ่งและสิ่งที่ปรากฏใหเห็นในระบบเศรษฐกิจแบบเสรีนิยมก็คือประชาชนไมมีความ

27มาตรา50“บุคคลยอมมีเสรีภาพในการประกอบกิจการหรือประกอบอาชีพและการแขงขันโดยเสรี

อยางเปนธรรม การจํากัดเสรีภาพตามวรรคหนึ่งจะกระทํามิไดเวนแตโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหง

กฎหมายเฉพาะเพื่อประโยชนในการรักษาความมั่นคงของรัฐหรือเศรษฐกิจของประเทศการคุมครองประชาชน

ในดานสาธารณูปโภคการรักษาความสงบเรียบรอยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชนการจัดระเบียบการประกอบ

อาชีพการคุมครองผูบริโภคการผังเมืองการรักษาทรัพยากรธรรมชาติหรือสิ่งแวดลอมสวัสดิภาพของประชาชน

หรือเพื่อปองกันการผูกขาดหรือขจัดความไมเปนธรรมในการแขงขัน”

Page 53: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

36

เสมอภาคการที่คูสัญญาฝายหนึ่งซึ่งมีอํานาจตอรองเหนือกวาหรือไดเปรียบกวาไดอาศัยขอ

ไดเปรียบนี้กําหนดเงื่อนไขในรางสัญญาทําใหไมเปนธรรมตอผูบริโภค

(2) รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2540 กําหนดใหมีองคการอิสระเพื่อ

คุมครองผูบริโภคซึ่งประกอบดวยตัวแทนผูบริโภคทําหนาที่ใหความเห็นในการตรากฎหมายกฎ

และขอบังคับและใหความเห็นในการกําหนดมาตรการตางๆ เพื่อคุมครองผูบริโภคอีกดวย28

2.2.6 สิทธิขั้นพื้นฐานรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2550 รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 255029เปนรัฐธรรมนูญฉบับที่สองที่ให

ความสําคัญของการคุมครองผูบริโภคโดยบัญญัติถึงสิทธิของผูบริโภคไวดังนี้

(1) กฎหมายกําหนดใหบุคคลยอมมีเสรีภาพในการประกอบกิจการหรือประกอบอาชีพ

และการแขงขันโดยเสรีอยางเปนธรรมและอาจถูกจํากัดสิทธิดังกลาวไดโดยอาศัยอํานาจตาม

บทบัญญัติแหงกฎหมายเฉพาะเพื่อประโยชนในการรักษาความมั่นคงของรัฐหรือเศรษฐกิจของ

ประเทศการคุมครองประชาชนในดานสาธารณูปโภคการรักษาความสงบเรียบรอยหรือศีลธรรมอัน

28มาตรา57“สิทธิของบุคคลซึ่งเปนผูบริโภคยอมไดรับความคุมครองทั้งนี้ตามที่กฎหมายบัญญัติ

กฎหมายตามวรรคหนึ่งตองบัญญัติใหมีองคการอิสระซึ่งประกอบดวยตัวแทนผูบริโภคทําหนาที่ใหความเห็นใน

การตรากฎหมายกฎและขอบังคับและใหความเห็นในการกําหนดมาตรการตางๆเพื่อคุมครองผูบริโภค”29รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2550 ฉบับดังกลาวไดถูกยกเลิกเมื่อวันที่ 22

พฤษภาคม 2557 โดยคณะรักษาความสงบแหงชาติ (คสช.)โดยมีการประกาศใชรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักร

ไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557โดยมีบทบัญญัติในมาตรา 4 “ภายใตบังคับบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญนี้

ศักดิ์ศรีความเปนมนุษย สิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาค บรรดาที่ชนชาวไทยเคยไดรับการคุมครองตาม

ประเพณีการปกครองประเทศไทย ในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุขและตาม

พันธกรณีระหวางประเทศที่ประเทศไทยมีอยูแลว ยอมไดรับการคุมครองตามรัฐธรรมนูญนี้”ทั้งนี้ บทบัญญัติ

ดังกลาวไดบัญญัติใหความคุมครองรวมไปถึงการใหความคุมครองผูบริโภคจากการบริโภคสินคาที่อาจจะ

กอใหเกิดการภูมิแพดังกลาวดวย ซึ่งตรงตามบทบัญญัติรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550

วาดวยการคุมครองผูบริโภคเชนมาตรา 51 บุคคลยอมมีสิทธิเสมอกันในการรับบริการทางสาธารณสุขที่

เหมาะสมและไดมาตรฐาน และผูยากไรมีสิทธิไดรับการรักษาพยาบาลจากสถานบริการสาธารณสุขของรัฐโดย

ไมเสียคาใชจาย

บุคคลยอมมีสิทธิไดรับการบริการสาธารณสุขจากรัฐซึ่งตองเปนไปอยางทั่วถึงและมีประสิทธิภาพ

บุคคลยอมมีสิทธิไดรับการปองกันโรคและขจัดโรคติดตออันตรายจากรัฐอยางเหมาะสมโดยไมเสีย

คาใชจายและทันตอเหตุการณ

Page 54: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

37

ดีของประชาชนการจัดระเบียบการประกอบอาชีพการคุมครองผูบริโภคการผังเมืองการรักษา

ทรัพยากรธรรมชาติหรือสิ่งแวดลอมสวัสดิภาพของประชาชนหรือเพื่อปองกันการผูกขาดหรือขจัด

_____________________________29 มาตรา 61 สิทธิของบุคคลซึ่งเปนผูบริโภคยอมไดรับความคุมครองในการไดรับขอมูลที่เปนความจริง

และมีสิทธิรองเรียนเพื่อใหไดรับการแกไขเยียวยาความเสียหาย รวมทั้งมีสิทธิรวมตัวกันเพื่อพิทักษสิทธิของ

ผูบริโภค

ใหมีองคการเพื่อการคุมครองผูบริโภคที่เปนอิสระจากหนวยงานของรัฐ ซึ่งประกอบดวยตัวแทน

ผูบริโภค ทําหนาที่ใหความเห็นเพื่อประกอบการพิจารณาของหนวยงานของรัฐในการตราและการบังคับใช

กฎหมายและกฎ และใหความเห็นในการกําหนดมาตรการตาง ๆ เพื่อคุมครองผูบริโภค รวมทั้งตรวจสอบและ

รายงานการกระทําหรือละเลยการกระทําอันเปนการคุมครองผูบริโภค ทั้งนี้ ใหรัฐสนับสนุนงบประมาณในการ

ดําเนินการของ องคการอิสระดังกลาวดวย

Page 55: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

38

ความไมเปนธรรมในการแขงขันซึ่งมีลักษณะจํากัดสิทธิเชนเดียวกับรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักร

ไทยพุทธศักราช 2540 30

(2) กําหนดใหสิทธิของบุคคลซึ่งเปนผูบริโภคยอมไดรับความคุมครองในการไดรับขอมูลที่

เปนความจริงและมีสิทธิรองเรียนเพื่อใหไดรับการแกไขเยียวยาความเสียหายรวมทั้งมีสิทธิรวมตัว

กันเพื่อพิทักษสิทธิของผูบริโภคโดยใหมีองคการเพื่อการคุมครองผูบริโภคที่เปนอิสระจาก

หนวยงานของรัฐซึ่งประกอบดวยตัวแทนผูบริโภคทําหนาที่ใหความเห็นเพื่อประกอบการพิจารณา

ของหนวยงานของรัฐในการตราและการบังคับใชกฎหมายและกฎและใหความเห็นในการกําหนด

มาตรการตางๆ เพื่อคุมครองผูบริโภครวมทั้งตรวจสอบและรายงานการกระทําหรือละเลยการ

กระทําอันเปนการคุมครองผูบริโภคทั้งนี้ใหรัฐสนับสนุนงบประมาณในการดําเนินการขององคการ

อิสระดังกลาวดวยจะเห็นไดชัดเจนเลยวารัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2550

กําหนดสิทธิการไดรับชดใชเยียวยาของผูบริโภคการจัดตั้งองคกรอิสระและมีสิทธิไดรับการจัดสรร

งบประมาณจากรัฐชัดเจนกวาที่ผานมาเนื่องจากเห็นปญหาการขาดบทบาทภาคประชาชนที่จะ

เขามามีสวนรวมในการคุมครองผูบริโภคกฎหมายรัฐธรรมนูญฉบับปจจุบันจึงใหความสําคัญเรื่อง

เหลานี้เปนพิเศษ31

จะเห็นไดวา รัฐธรรมนูญไดกําหนดเรื่องสิทธิผูบริโภคดวย ในมาตรา 61 และมีการกําหนด

สิทธิผูบริโภคเฉพาะเรื่องไวหลายเรื่อง ซึ่งสิทธิผูบริโภคเฉพาะเรื่องที่มีความสําคัญมากในปจจุบัน

30มาตรา 43 “บุคคลยอมมีเสรีภาพในการประกอบกิจการหรือประกอบอาชีพและการแขงขันโดยเสรี

อยางเปนธรรม

การจํากัดเสรีภาพตามวรรคหนึ่งจะกระทํามิไดเวนแตโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมาย

เฉพาะเพื่อประโยชนในการรักษาความมั่นคงของรัฐหรือเศรษฐกิจของประเทศการคุมครองประชาชนในดาน

สาธารณูปโภคการรักษาความสงบเรียบรอยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชนการจัดระเบียบการประกอบอาชีพ

การคุมครองผูบริโภคการผังเมืองการรักษาทรัพยากรธรรมชาติหรือสิ่งแวดลอมสวัสดิภาพของประชาชนหรือเพื่อ

ปองกันการผูกขาดหรือขจัดความไมเปนธรรมในการแขงขัน”31มาตรา 61 “สิทธิของบุคคลซึ่งเปนผูบริโภคยอมไดรับความคุมครองในการไดรับขอมูลที่เปนความจริง

และมีสิทธิรองเรียนเพื่อใหไดรับการแกไขเยียวยาความเสียหายรวมทั้งมีสิทธิรวมตัวกันเพื่อพิทักษสิทธิของ

ผูบริโภค ใหมีองคการเพื่อการคุมครองผูบริโภคที่เปนอิสระจากหนวยงานของรัฐซึ่งประกอบดวยตัวแทนผูบริโภค

ทําหนาที่ใหความเห็นเพื่อประกอบการพิจารณาของหนวยงานของรัฐในการตราและการบังคับใชกฎหมายและ

กฎและใหความเห็นในการกําหนดมาตรการตางๆเพื่อคุมครองผูบริโภครวมทั้งตรวจสอบและรายงานการกระทํา

หรือละเลยการกระทําอันเปนการคุมครองผูบริโภคทั้งนี้ใหรัฐสนับสนุนงบประมาณในการดําเนินการขององคการ

อิสระดังกลาวดวย”

Page 56: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

39

เนื่องจากเปนเทคโนโลยีที่ใชกันอยางแพรหลาย คือ สิทธิผูบริโภคในกิจการโทรคมนาคม เชน

โทรศัพทมือถือ โทรศัพทบาน โทรศัพทสาธารณะ อินเตอรเน็ต เปนตน ตัวอยางหนึ่งของสิทธิ

ผูบริโภคในกิจการโทรคมนาคม คือ สิทธิตามมาตรฐานความปลอดภัยของสถานีวิทยุคมนาคม

หรือเรียกงายๆ วา เสาสัญญาณโทรศัพท ซึ่งไดกําหนดมาตรการเพื่อสิทธิผูบริโภค ดังนี้

1) เพื่อประโยชนในการคุมครองความปลอดภัยของประชาชน ผูใหบริการตองทําความ

เขาใจกับประชาชนที่อาศัยอยูในบริเวณที่จะติดตั้งสถานีวิทยุคมนาคม และบริเวณใกลเคียง

2) บริษัทตองติดปายเครื่องหมายการคา เบอรโทรศัพทของผูรับผิดชอบไวบริเวณที่ตั้งเสา

สัญญาณ

3) บริษัทตองติดปายเตือน หรือมีวิธีบรรเทาผลกระทบ เพื่อปองกันไมใหประชาชนเขาถึง

บริเวณนั้นโดยงายเปนตน

2.2.7 สิทธิขั้นพื้นฐานตามพระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภคพ.ศ.2522 พระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภคพุทธศักราช 2522 ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดย (ฉบับที่ 2) พ.ศ.

2541 ไดบัญญัติสิทธิของผูบริโภคที่จะไดรับความคุมครองตามกฎหมาย5 ประการตามมาตรา 4

ผูบริโภคมีสิทธิไดรับความคุมครองดังตอไปนี้โดยมีรายละเอียดดังนี้

1) สิทธิที่จะไดรับขาวสาร (Right to be Informed) รวมทั้งคําพรรณนาคุณภาพที่ถูกตอง

และเพียงพอเกี่ยวกับสินคาหรือบริการไดแกสิทธิที่จะไดรับการโฆษณาหรือการแสดงฉลากตาม

ความเปนจริงและปราศจากพิษภัยแกผูบริโภครวมตลอดถึงสิทธิที่จะไดรับทราบขอมูลเกี่ยวกับ

สินคาหรือบริการอยางถูกตองและเพียงพอที่จะไมหลงผิดในการซื้อสินคาหรือรับบริการโดยไมเปน

ธรรม

2) สิทธิที่จะมีอิสระในการเลือกหาสินคาหรือบริการ (Right to Choose) ไดแกสิทธิที่จะ

เลือกซื้อสินคาหรือรับบริการโดยความสมัครใจของผูบริโภคและปราศจากการชักจูงใจอันไมเปน

ธรรม

3) สิทธิที่จะไดรับความปลอดภัยจากการใชสินคาหรือบริการ (Right to Safety) ไดแกสิทธิ

ที่จะไดรับสินคาหรือบริการที่ปลอดภัยมีสภาพและคุณภาพไดมาตรฐานเหมาะสม

4) สิทธิที่จะไดรับความเปนธรรมในการทําสัญญา (Right to Fair Contract) ไดแกสิทธิที่

จะไดรับขอสัญญาโดยไมถูกเอารัดเอาเปรียบจากผูประกอบธุรกิจ

5) สิทธิที่จะไดรับการพิจารณาและชดเชยความเสียหาย ไดแก สิทธิที่จะไดรับการคุมครอง

และชดใชคาเสียหาย เมื่อมีการละเมิดสิทธิของผูบริโภคตามขอ 1,2,3 และ 4 ดังกลาว สําหรับการ

คุมครองของผูบริโภคอยางจริงจัง คงตองยกใหรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช

Page 57: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

40

2540 ซึ่งนับเปนรัฐธรรมนูญฉบับแรกที่ใหความสําคัญของการคุมครองผูบริโภคทั้งในสวนการให

สิทธิเสรีภาพในการใหความคุมครองแกผูบริโภคอันเกิดความเสียหายในภาวะปจจุบัน โดยใหสิทธิ

ของบุคคลซึ่งเปนผูบริโภคยอมไดรับความคุมครองทั้งน้ีตามที่กฎหมายไดกําหนดไวนั้น

สําหรับสิทธิที่จะไดรับการพิจารณาและชดเชยความเสียหายขางตนหากพิจารณาตาม

พระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภค พ.ศ.2522 แลวจะเห็นวาในพระราชบัญญัติจะกําหนดแตเพียง

หลักเกณฑและวิธีการลงโทษผูประกอบธุรกิจหรือคุมครองผูบริโภคดานการโฆษณาดานฉลากดาน

สัญญา และโดยประการอื่นซึ่งกําหนดคณะกรรมการเฉพาะดานดังกลาว32มาทําการคุมดูแล

ผูบริโภคที่ถูกผูประกอบธุรกิจเอารัดเอาเปรียบและกําหนดเพียงแตบทลงโทษแกผูประกอบธุรกิจ

เทานั้นตามพระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภค พ.ศ.2522 มาตรา 45 ถึงมาตรา 62 โดยไมปรากฏ

หลักเกณฑการเยียวยาคาเสียหายใหแกผูบริโภคไวแตประการใดเพียงแตกําหนดใหสิทธิไวขางตน

ทั้งที่เรื่องดังกลาวเปนเรื่องที่สําคัญยิ่งและผูบริโภคที่ไดรับความเสียหายจากกรณีดังกลาวตอง

ไดรับการชดใชเยียวยาโดยเร็วโดยเฉพาะกรณีความเสียหายที่เปนคนหมูมากหรือจํานวนมากใน

กรณีเดียวกันหลักการในเรื่องนี้เมื่อพระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภค พ.ศ.2522 ไมไดกําหนดไวก็

ตองเปนไปตามหลักความรับผิดทางละเมิดทั่วไปตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยที่มี

กระบวนการชดใชเยียวยาตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความที่ลาชาอยูเชนเดิมเนื่องจาก

จํานวนคดีที่มีอยูในศาลยุติธรรมจํานวนมากทั้งคดีที่มีการฟองรองขึ้นใหมและคดีคางในแตละป

จากสินคาที่ไมปลอดภัยไวโดยตรงทําใหผูบริโภคนอกจากจะเสียเงินแลวยังตองทนทุกข

ทรมานจากอันตรายและความเสียหายที่เกิดขึ้นจึงเปนที่มาของพระราชบัญญัติความรับผิดตอ

ความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินคาที่ไมปลอดภัย เพื่อกําหนดใหผูประกอบการซึ่งก็ คือผูขายสินคา

ผูผลิตผูวาจางใหผลิตหรือผูนําเขาสินคาตองรับผิดชอบตอความเสียหายที่เกิดขึ้นจากการที่

ผูบริโภคใชสินคาที่ไมปลอดภัยดังนั้นเพื่อใหทราบสิทธิและขอเรียกรองของผูบริโภคจึงควรศึกษา

32มาตรา 14“ใหมีคณะกรรมการเฉพาะเรื่อง ดังตอไปนี้

(1) คณะกรรมการวาดวยการโฆษณา

(2) คณะกรรมการวาดวยฉลาก

(3) คณะกรรมการวาดวยสัญญา

คณะกรรมการเฉพาะเรื่อง ประกอบดวยกรรมการผูทรงคุณวุฒิในเรื่องที่เกี่ยวของตามที่คณะกรรมการ

แตงตั้งขึ้น มีจํานวนไมนอยกวาเจ็ดคนแตไมเกินสิบสามคนกรรมการเฉพาะเรื่อง อยูในตําแหนงคราวละสองป

และใหนํามาตรา 11 วรรคสอง และมาตรา 12 มาใชบังคับโดยอนุโลม

คณะกรรมการเฉพาะเรื่อง มีอํานาจและหนาที่ตามที่กําหนดไวในพระราชบัญญัตินี้และตามที่

คณะกรรมการมอบหมาย”

Page 58: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

41

รายละเอียดของพระราชบัญญัติฉบับนี้ ความรับผิดตอสินคาที่ไมปลอดภัยผูประกอบการทุกคน

ตองรวมกันรับผิดตอผูเสียหายในความเสียหายที่เกิดจากสินคาที่ไมปลอดภัยไมวาความเสียหาย

นั้นจะเกิดจากการกระทําโดยจงใจหรือประมาทเลินเลอของผูประกอบการเวนเสียแตวาสินคานั้น

ไมไดเปนสินคาที่ไมปลอดภัย หรือผูเสียหายรูอยูกอนแลววาสินคานั้นเปนสินคาที่ไมปลอดภัยหรือ

ความเสียหายเกิดจากการใชหรือการเก็บรักษาสินคาไมถูกตองตามวิธี ซึ่งผูประกอบการไดให

รายละเอียดและขอมูลเกี่ยวกับสินคาไวอยางถูกตองชัดเจนแลวผูประกอบการจึงไมตองรับผิด

ผูผลิตตามคําสั่งผูวาจางไมตองรับผิดหากพิสูจนไดวาความไมปลอดภัยของสินคาเกิดจากการ

ออกแบบหรือการทําตามคําสั่งของผูวาจางใหผลิตซึ่งผูผลิตไมไดคาดเห็นและไมควรจะไดคาดเห็น

ของความไมปลอดภัยผูผลิตสวนประกอบของสินคาไมตองรับผิดหากพิสูจนไดวาความไม

ปลอดภัยของสินคาเกิดจากการออกแบบหรือการกําหนดวิธีใชวิธีเก็บรักษาคําเตือนหรือการให

ขอมูลเกี่ยวกับสินคาของผูผลิตดวยเชนกันอนึ่งขอตกลงระหวางผูบริโภคและผูประกอบการหรือ

ประกาศของผูประกอบการที่กําหนดไวลวงหนาเพื่อยกเวนความรับผิดหรือจํากัดความรับผิดนั้นไมสามารถ

นํามากลาวอางเพื่อปฏิเสธความผิด

2.2.8 แนวคิดความเสียหายที่เกิดจากการบริโภคอาหารจากการเปลี่ยนแปลงของสภาพสังคม เศรษฐกิจ การเมือง วัฒนธรรมและความ

เจริญกาวหนาทางเทคโนโลยี ขอมูลขาวสารที่ทันสมัย ทําใหประชาชนในปจจุบันมีการปรับเปลี่ยน

วิถีชีวิตของตนเองและบุคคลภายในครอบครัว แตละครอบครัวจะตองตอสูกับชีวิตและความ

เปนอยูภายในครอบครัวใหมีความเปนอยูที่ดี แตบางครอบครัวอาจขาดการดูแลเอาใจใสตนเอง

และบุคคลภายในครอบครัว เพราะเนื่องจากตองออกหางาน ทํางานแขงกับเวลา เพื่อหาเงินมา

เลี้ยงบุคคลภายในครอบครัว ทําใหไมมีเวลาในการดูแลสุขภาพตนเอง ทําใหตนเองมีพฤติกรรม

การบริโภคอาหารที่ไมถูกตอง เชน การบริโภคอาหารสําเร็จรูป การบริโภคอาหารไมครบ 5 หมู

บริโภคอาหารมากเกินไปและไมรับประทานอาหารเปนเวลา ทําใหเกิดการเจ็บปวยดวยโรคตางๆ ที่

สามารถปองกันได เชน โรคกระเพาะอาหาร โรคขาดสารอาหาร โรคอวน โรคภาวะโภชนาการเกิน

โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง เปนตน

อาหารที่สะอาด ปราศจากเชื้อโรค และไมมีสารเคมีปนเปอน นั้นเปนสิ่งตองการของ

ผูบริโภคทุกคน ถึงแมระบบการบริโภคศึกษาของคนไทยไดมีการพัฒนากาวหนาอยางรวดเร็ว ใน

ยุคใหมซึ่งเปนยุคของสารสนเทศไรพรมแดน ทําใหการเขาถึงขอมูล ขาวสาร ตลอดจนความรูเพื่อ

ความปลอดภัยในการบริโภคอาหาร มีความสะดวก รวดเร็ว ทันเหตุการณ และมีความถูกตอง

นาเชื่อถือมากขึ้น แตสิ่งที่ยังคงเปนปญหาที่ยังคงตองมีการปรับปรุง พัฒนา คือ พฤติกรรมการ

Page 59: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

42

บริโภคที่ยังไมถูกตอง เชน ขาดการเอาใจใส วิถีชีวิตที่รีบเรง การพึ่งพาอาหารนอกบานมากขึ้น เชน

อาหารพรอมปรุง อาหารพรอมบริโภค บรรจุในภาชนะตาง ๆ เชน กระปอง ถุงพลาสติก กลองโฟม

การซื้ออาหารที่ผลิตจากโรงงานที่วางจําหนายในรานคาจึงควรพิจารณาดูฉลากอาหารทุกครั้ง

บอยครั้งที่ผูบริโภคตองเสี่ยงกับโรคอาหารเปนพิษ เกิดจากกระบวนการเตรียม การปรุง การเก็บ

รักษาไมถูกสุขลักษณะ ของผูประกอบการ รานคา รถเร แผงลอย หรือตามบาทวิถี มีโอกาสการ

ปนเปอนสิ่งที่เปนอันตราย Hazards ทั้งนี้ตามพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ.2522“อาหาร” หมายถึง

ของกินหรือเครื่องค้ําจุนชีวิต ซึ่งไดแก

1) วัตถุทุกชนิดที่คนกิน ดื่ม อม หรือนําเขาสูรางกายไมวาดวยวิธีใดๆ หรือในรูปลักษณะ

ใดๆ แตไมรวมถึงยา หรือวัตถุออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท หรือยาเสพติดใหโทษตามกฎหมายวา

ดวยการนั้น

2) วัตถุที่มุงหมายสําหรับใชหรือใชเปนสวนผสมในการผลิตอาหาร รวมถึงวัตถุเจือปน

อาหาร สี และเครื่องปรุงแตงกลิ่นรส

2.2.9 แนวคิดการเยียวยาคาเสียหายของผูบริโภคพรบ.ความรับผิดตอความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินคาที่ไมปลอดภัย พ.ศ.2551 เปนผลมา

จากการคุมครองผูบริโภค ตามการคุมครองผูบริโภคตามมาตรา 4 กฎหมายฉบับดงกลาวไดให

ความหมายของคําวา“ผูเสียหาย”หมายความวาผูไดรับความเสียหายอันเกิดจากสินคาที่ไม

ปลอดภัยและ “ความเสียหาย” หมายความวาความเสียหายที่เกิดจากสินคาที่ไมปลอดภัยไมวาจะ

เปนความเสียหายตอชีวิตรางกายสุขภาพอนามัยจิตใจหรือทรัพยสินทั้งนี้ไมรวมถึงความเสียหาย

ตอตัวสินคาที่ไมปลอดภัยนั้น“ความเสียหายตอจิตใจ”หมายความวาความเจ็บปวดความทุกข

ทรมานความหวาดกลัวความวิตกกังวลความเศราโศกเสียใจความอับอายหรือความเสียหายตอ

จิตใจอยางอื่นที่มีลักษณะทํานองเดียวกัน” กลาวคือ ผูประกอบการจะมีความรับผิดในความ

เสียหายที่เกิดจากสินคา ที่ไมปลอดภัยโดยไมคํานึงถึง วาความเสียหายนั้นเกิดจากการกระทําโดย

จงใจหรือประมาทเลินเลอ ทําใหผูประกอบการตองรับผิดตอการพิสูจนความเสียหายที่เกิดขึ้นจาก

สินคานั้นพระราชบัญญัติฉบับนี้เปนกฎหมายที่ตราขึ้นมาเพื่อสรางความเปนธรรมหรือความเสมอ

ภาค ระหวางผูประกอบการและผูบริโภคซึ่งบังคับใชกับสินคาสังหาริมทรัพย ทุกชนิดที่ผลิตหรือ

นําเขาเพื่อขายรวมทั้งผลิตผลทางการเกษตร ที่ยังไมไดผานกระบวนการหรือสินคาเกษตรปฐมภูมิ

ดวยเพื่อกําหนดใหผูประกอบการซึ่งก็คือ ผูขายสินคา ผูผลิตผูวาจางใหผลิต หรือผูนําเขาสินคา

ตองรับผิดชอบตอความเสียหายที่เกิดขึ้นจากการที่ผูบริโภคใชสินคาที่ไมปลอดภัยเพื่อใหทราบ

สิทธิ และขอเรียกรอง ของผูบริโภคจึงควรศึกษารายละเอียดของพระราชบัญญัติฉบับนี้ ความรับ

Page 60: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

43

ผิดตอสินคาที่ไมปลอดภัย ผูประกอบการทุกคนตองรวมกันรับผิดตอผูเสียหายในความเสียหายที่

เกิดจากสินคาที่ไมปลอดภัย ไมวาความเสียหายนั้นจะเกิดจากการกระทําโดยจงใจหรือประมาท

เลินเลอของผูประกอบการเวนเสียแตวาสินคานั้นไมไดเปนสินคาที่ไมปลอดภัยหรือผูเสียหายรูอยู

กอนแลววาสินคานั้นเปนสินคาที่ไมปลอดภัยหรือความเสียหายเกิดจากการใชหรือการเก็บรักษา

สินคาไมถูกตองตามวิธีซึ่งผูประกอบการไดใหรายละเอียดและขอมูลเกี่ยวกับสินคาไวอยางถูกตอง

ชัดเจนแลวผูประกอบการจึงไมตองรับผิด ผูผลิตตามคําสั่งผูวาจางไมตองรับผิดหากพิสูจนไดวา

ความไมปลอดภัยของสินคาเกิดจากการออกแบบหรือการทําตามคําสั่งของผูวาจางใหผลิตซึ่ง

ผูผลิตไมไดคาดเห็น และไมควรจะไดคาดเห็นของความไมปลอดภัย33

ผูผลิตสวนประกอบของสินคาไมตองรับผิดหากพิสูจนไดวาความไมปลอดภัยของสินคา

เกิดจากการออกแบบหรือการกําหนดวิธีใช วิธีเก็บรักษาคําเตือนหรือการใหขอมูลเกี่ยวกับสินคา

ของผูผลิตดวยเชนกัน และขอตกลงระหวางผูบริโภคและผูประกอบการหรือประกาศของ

ผูประกอบการที่กําหนดไวลวงหนาเพื่อยกเวน ความรับผิดหรือจํากัดความรับผิดนั้นไมสามารถ

นํามากลาวอางเพื่อปฏิเสธความรับผิดชอบไดซึ่ง ผูเสียหาย และผูมีสิทธิฟองคดีแทนผูเสียหาย

ผูเสียหาย คือ ผูไดรับอันตราย จากการใชสินคาที่ไมปลอดภัยและมีสิทธิฟองเรียกรองคาเสียหายที่

เกิดขึ้นการฟองรองดังกลาวไมไดจํากัดอยูที่ตัวผูเสียหายเพียงคนเดียวเทานั้น เพราะพระราช

พระราชบัญญัติฉบับนี้ใหสิทธิในการฟองคดีแทนผูเสียหายแกคณะกรรมการคุมครองผูบริโภค

สมาคมและมูลนิธิซึ่งคณะกรรมการคุมครองผูบริโภค ใหการรับรอง ตามกฎหมายคุมครอง

ผูบริโภคในการฟองคดีเรียกคาเสียหายแทนผูเสียหายไดพรอมทั้งไดรับการยกเวนคาฤชาธรรม

เนียม

ในการเรียกรองคาเสียหายผูเสียหายเพียงพิสูจนวาตนไดรับความเสียหายจาก การใช

หรือการเก็บรักษาสินคาตามปกติธรรมดาไมตองพิสูจนถึงขั้นวาเปนความเสียหายที่เกิดจาก

ผูประกอบการผูใดซึ่งเปนการลดภาระการพิสูจน และอํานวยความสะดวกใหแกผูบริโภค

นอกจากนั้นยังสามารถที่จะดําเนินการ ในหลักกฎหมายการดําเนินคดีกับหนวยงานรัฐ

การฟองหนวยงานรัฐเปนคดีปกครองตอศาลปกครอง เปนผลจากการจัดตั้งศาลปกครองขึ้นตาม

พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ.2542 และพระราชบัญญัติ

ความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ.2539 ซึ่งกําหนดใหหนวยงานรัฐ ผูมีอํานาจหนาที่ในการ

ควบคุมตรวจสอบการดําเนินงานของแหลงกําเนิดมลพิษรวมถึงกิจการอื่นๆ ที่เกี่ยวของกับมลพิษ

33สํานักงานคณะกรรมการคุมครองผูบริโภค,กฎหมายเกี่ยวกับการคุมครองผูบริโภค. (สิบคนเมื่อวันที่

10 เมษายน 2557,จากhttp://www.ocpb.go.th/list_law.asp April 20 2011.

Page 61: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

44

และสิ่งแวดลอมจะมีความรับผิดหากหนวยงานรัฐนั้นโดยเจาหนาที่ผูมีอํานาจหนาที่ ละเวนไม

ปฏิบัติตามอํานาจหนาที่ ที่กฎหมายกําหนดไวหรือกระทําการโดยไมชอบดวยกฎหมายเชน

สํานักงานพลังงานปรมาณูเพื่อสันติมีอํานาจหนาที่ในการควบคุมดูแลการใชการเก็บรักษาและการ

จัดการสารกัมมันตภาพรังสีตามกฎหมาย วาดวยพลังงานปรมาณูเพื่อสันติหากทางสํานักงาน

พลังงานปรมาณูเพื่อสันติ ละเวนไมปฏิบัติตามกฎหมายและเปนเหตุใหเกิดความเสียหายขึ้นกรณี

เชนนี้หนวยงานรัฐก็ยอมมีหนาที่ตองรับผิดจากการกระทําของเจาหนาที่ แหงหนวยงานตน การ

ดําเนินคดีกับหนวยงานรัฐในกรณีคดีมลพิษนี้จะตองเปนกรณีที่หนวยงานรัฐนั้นมีอํานาจหนาที่

โดยตรงในการควบคุมดูแลกิจกรรมและการดําเนินการตางๆ ใหเปนไปตามที่กฎหมายกําหนด

มาตรฐานหรือระเบียบขั้นตอนเอาไวอํานาจลักษณะนี้กระจายออกไปตามหนวยงาน ตางๆ เชน

กรมควบคุมมลพิษกรมโรงงานอุตสาหกรรมสํานักงานพลังงานปรมาณู เพื่อสันติฯลฯ34

ในกรณีที่หนวยงานรัฐไดกระทําละเมิดโดยละเวนการปฏิบัติตามอํานาจหนาที่ที่กฎหมาย

กําหนดผูที่ตองรับผิดในผลของการกระทําละเมิดไดแกหนวยงานรัฐ ตนสังกัดของเจาหนาที่

ผูปฏิบัติงานโดยผูเสียหายสามารถฟองหนวยงานรัฐดังกลาวไดโดยตรงหรืออาจรองตอหนวยงาน

รัฐใหชดใชคาสินไหมทดแทนแกตนโดยไมดําเนินการฟองรองหนวยงานรัฐตอศาลก็ได

1) การฟองหนวยงานรัฐใหรับผิดชอบในความเสียหาย

เมื่อเจาหนาที่ละเวนการปฏิบัติหนาที่ตามกฎหมายหรือปฏิบัติหนาที่ลาชาเชนมีอํานาจ

ควบคุมดูแลการเก็บวัตถุอันตรายของผูที่ครอบครองวัตถุอันตรายหากเจาหนาที่รัฐละเวนไมกระทํา

ตามอํานาจที่กฎหมายกําหนดและตอมาไดเกิดความเสียหายอันเปนผลมาจากการละเลยของ

เจาหนาที่ผูเสียหายสามารถฟองหนวยงานของรัฐที่เจาหนาที่ผูทําละเมิดสังกัดอยูตอศาลปกครอง

ตามพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ มาตรา 5 บัญญัติวา “หนวยงานของรัฐ

ตองรับผิดตอผูเสียหายในผลแหงละเมิดที่เจาหนาที่ของตนไดทําในการปฏิบัติหนาที่ในกรณีนี้

ผูเสียหายอาจฟองหนวยงานของรัฐดังกลาวไดโดยตรงแตจะฟองเจาหนาที่ไมไดถาเปนการละเมิด

จากเจาหนาที่ ซึ่งไมสังกัดหนวยงานของรัฐแหงใดใหถือวากระทรวงการคลังเปนหนวยงานของรัฐที่

ตองรับผิดชอบตามวรรคหนึ่ง”

2) การรองขอตอหนวยงานรัฐใหชดใชความเสียหาย

34ศุภฤกษ ชลวีระวงศ. ความรับผิดตอความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินคาที่ไมปลอดภัยศึกษากรณี

ของผูใหแฟรนไชสที่ไมไดผลิตหรือขายหรือนําเขาสินคา. นิติศาสตรมหาบัณฑิต

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2550, หนา 20-25.

Page 62: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

45

หากผูเสียหายไมตองการฟองหนวยงานรัฐตอศาลปกครองผูเสียหายสามารถยื่นคํารองตอ

หนวยงานรัฐที่เจาหนาที่ผูปฏิบัติงานผูกระทําละเมิดสังกัดใหพิจารณาชดใชคาสินไหมทดแทนแก

ตนเองหนวยงานรัฐดังกลาวจะมีเวลาสําหรับการดําเนินการพิจารณา 180 วันเมื่อหนวยงานรัฐมี

คําสั่งเชนใดแลวหากผูเสียหายยังไมพอใจผูเสียหายยังมีสิทธิฟองรองดําเนินคดีตอศาลปกครอง

ตามมาตรา 11 บัญญัติวา “ในกรณีที่ผูเสียหายเห็นวาหนวยงานของรัฐตองรับผิด ตามมาตรา 5

ผูเสียหายจะยื่นคําขอตอหนวยงานของรัฐใหพิจารณาชดใชคาสินไหมทดแทนสําหรับความ

เสียหายที่เกิดแกตนก็ไดในการนี้หนวยงานของรัฐตองออกใบรับคําขอใหไวเปนหลักฐานและ

พิจารณา คําขอนั้นโดยไมชักชาเมื่อหนวยงานของรัฐมีคําสั่งเชนใดแลวหากผูเสียหายยังไมพอใจ

ในผลการวินิจฉัยของหนวยงานของรัฐก็ใหมีสิทธิรองทุกขตอคณะกรรมการวินิจฉัย รองทุกขตาม

กฎหมายวาดวยคณะกรรมการกฤษฎีกาไดภายในเกาสิบวันนับแตวันที่ตนไดรับแจงผลการ

วินิจฉัย” และมาตรา 14 แหงพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของ เจาหนาที่ไดบัญญัติวา

“เมื่อไดมีการจัดต้ังศาลปกครองขึ้นแลวสิทธิรองทุกขตอคณะกรรมการวินิจฉัยรองทุกข ตามมาตรา

11 ใหถือวาเปนสิทธิฟองคดีตอศาลปกครอง” แมวาในการดําเนินคดีกับหนวยงานรัฐในฐานความ

รับผิดทางละเมิด ของเจาหนาที่ จะเปนอีกชองทางหนึ่งที่เปดโอกาสใหผูเสียหายสามารถเรียกรอง

ใหเกิดการเยียวยาความเสียหาย อันเกิดขึ้นจากเหตุของมลพิษไดซึ่งหากพิจารณาตามขั้นตอนและ

กระบวนวิธีพิจารณาในศาลปกครอง ก็คลายกับวาการฟองรองเปนคดีปกครอง จะมีอุปสรรคและ

ความยุงยากนอยกวา ที่ตองเผชิญในการดําเนินคดีแพงตามกฎหมายลักษณะละเมิด ซึ่งการ

ดําเนินคดีในศาลปกครอง ก็มีประเด็นปญหาที่ควรไดรับ การพิจารณาเพื่อประโยชนของผูเสียหาย

2.2.9.1 สิทธิเรียกรองคาเสียหายหลักการสําคัญๆ ผูบริโภคที่ใชสินคาหรือบริการ จากผูผลิตสินคา และบริการ

ตางๆ นั่นเองหลังจากที่ผูบริโภคตองถูกเอารัดเอาเปรียบจากผูผลิตหรือเจาของสินคา และบริการมา

ตลอดระยะเวลาอยางยาวนาน ซึ่งมีความจําเปนในการแกปญหาเกี่ยวกับการบริโภคเพื่อใหเกิด

ความเปนธรรมปลอดภัยและประหยัดประชาชนจึงควรใชสิทธิในการบริโภคใหเต็มที่เชนเมื่อจะซื้อ

สินคาหรือใชบริการหากมีสิ่งใดที่ผิดหรือมีเจตนาใหผูซื้อเขาใจผิดจากความเปนจริง เมื่อผูบริโภค

ซักถามและพิจารณาแลวหากไมพอใจซื้อก็มีสิทธิที่จะไมซื้อหรือเลือกซื้อของรานอื่นไดผูขายหรือ

แมคาที่แสดงมารยาทไมเหมาะสมกลาวคําหยาบคายเมื่อผูบริโภคไมซื้อสินคาของตนหรือเมื่อถูก

ตอรองราคาหรือซักถามคุณภาพสินคาจึงเปนผูกระทําผิดกฎหมายเชนกัน ก็ถือวาทําผิดกฎหมาย

โดยผูบริโภคไดรับการคุมครอง อยางเต็มที่ ตามกระบวนการทางศาลสามารถเรียกรองเพื่อใหชดใช

คาสินไหมทดแทนอันกอใหเกิดความเสียหายแกผูบริโภคตามพระราชบัญญัติความรับผิดตอความ

Page 63: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

46

เสียหายที่เกิดขึ้นจากสินคาที่ไมปลอดภัย พ.ศ.2551 ตามมาตรา 11 “นอกจากคาสินไหมทดแทน

เพื่อละเมิดตามที่กําหนดไวในประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย ศาลมีอํานาจกําหนดคาสินไหม

ทดแทนเพื่อความเสียหายตามหลักเกณฑดังตอไปนี้ดวยเชน

1) คาเสียหายสําหรับความเสียหายตอจิตใจอันเปนผลเนื่องมาจากความเสียหาย

ตอรางกายสุขภาพหรืออนามัยของผูเสียหายและหากผูเสียหายถึงแกความตายสามีภริยาบุพการี

หรือผูสืบสันดานของบุคคลนั้นชอบที่จะไดรับคาเสียหายสําหรับความเสียหายตอจิตใจ

2) หากขอเท็จจริงปรากฏวาผูประกอบการไดผลิตนําเขาหรือขายสินคาโดยรูอยู

แลววาสินคานั้นเปนสินคาที่ไมปลอดภัยหรือมิไดรูเพราะความประมาทเลินเลออยางรายแรงหรือ

เมื่อรูวาสินคาไมปลอดภัยภายหลังจากการผลิตนําเขาหรือขายสินคานั้นแลวไมดําเนินการใดๆ

ตามสมควรเพื่อปองกันไมใหเกิดความเสียหายใหศาล มีอํานาจสั่งใหผูประกอบการจายคาสินไหม

ทดแทนเพื่อการลงโทษเพิ่มขึ้นจากจํานวน คาสินไหมทดแทนที่แทจริง ที่ศาลกําหนดไดตามที่ศาล

เห็นสมควรแตไมเกินสองเทาของคาสินไหมทดแทนที่แทจริงนั้นทั้งนี้โดยคํานึงถึงพฤติการณตางๆ

เชนความรายแรงของความเสียหายที่ผูเสียหายไดรับการที่ผูประกอบการรูถึงความไมปลอดภัย

ของสินคาระยะเวลาที่ผูประกอบการปกปดความไมปลอดภัยของสินคาการดําเนินการของ

ผูประกอบการเมื่อทราบวาสินคานั้นเปนสินคาที่ไมปลอดภัยผลประโยชนที่ผูประกอบการไดรับ

สถานะทางการเงินของผูประกอบการการที่ผูประกอบการไดบรรเทาความเสียหายที่เกิดขึ้น

ตลอดจนการที่ผูเสียหายมีสวนในการกอใหเกิดความเสียหายดวย”

นอกจากศาลจะสั่งใหผูประกอบการรับผิดชอบตอคาสินไหมทดแทนคาเสียหายที่เกิด

ขึ้นกับผูบริโภคตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยวาดวยเรื่องละเมิดแลวกฎหมายฉบับนี้ศาล

อาจจะกําหนดคาสินไหมทดแทนหรือคาเสียหายเพิ่มเติมใหมากขึ้นใหกับผูบริโภคที่เสียหายไดอีก

หากความเสียหายนั้นเปนความเสียหายตอจิตใจอันเปนผลเนื่องมาจากความเสียหายทางดาน

รางกายสุขภาพอนามัยโดยเฉพาะอยางยิ่งความเสียหายที่เกิดขึ้นกับจิตใจของผูบริโภคนั้น ไมวา

จะเปนความเจ็บปวดความทุกขทรมาน ความหวาดกลัว ความวิตกกังวล ความเศราโศกเสีย

ใจความอับอาย หรือความเสียหาย ตอจิตใจอยางอื่น ที่มีลักษณะทํานองเดียวกันความเสียหาย

ทางจิตใจนี้ ยังไมเคยมีกฎหมายฉบับใดในอดีตที่จะกําหนดความเสียหายประเภทนี้ไวตรงๆ

เทากับกฎหมายฉบับนี้เพราะผูบัญญัติกฎหมายในอดีตอาจจะยังไมแนใจวาจะใชมาตรวัดใดมา

กําหนดความเสียหายประเภทนี้ไดเพราะเปนเรื่องของมโนคติ หรือนามธรรม ที่ไมสามารถ จับตอง

ไดเมื่อกฎหมายฉบับนี้ไดกําหนดไวเปนลายลักษณอักษรก็เปนเหตุที่จะทําใหศาลตองเรงกําหนด

มาตรฐานความเสียหายทางจิตใจโดยพลันตอไปอีกไมนานเราคงจะไดขาวการตัดสินเรื่องของการ

Page 64: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

47

จายคาเสียหายหรือคาสินไหมทดแทนกรณีที่เกี่ยวกับคาเสียหายทางจิตใจจากการที่ใชสินคาที่ไม

ปลอดภัยเชน โดยเฉพาะการใชสารกําจัดศัตรูพืชที่กอใหเกิดความเสียหายตอ ผูบริโภค นั้นเอง35

แตทวาหากขอเท็จจริงปรากฏวา ผูประกอบการไดผลิต นําเขาหรือขายสินคาโดยรูอยูแลว

วาสินคานั้นเปนสินคาที่ไมปลอดภัยหรือมิไดรูเพราะความประมาทเลินเลออยางรายแรงหรือเมื่อรู

วาสินคาไมปลอดภัยภายหลังจากการผลิตนําเขา หรือขายสินคานั้นแลวแตไมดําเนินการใดๆ ตาม

สมควรเพื่อปองกันไมใหเกิดความเสียหาย แกผูบริโภคศาลอาจจะสั่งใหผูประกอบการจายคา

สินไหมทดแทน เพื่อการลงโทษเพิ่มขึ้นจากจํานวนคาสินไหมทดแทนที่แทจริงที่ศาลกําหนดได

ตามที่ศาลเห็นสมควรแตจะไมเกินสองเทาของคาสินไหมทดแทนที่แทจริงนั้น ทั้งนี้ศาลอาจจะ

พิจารณาถึงพฤติการณตางๆ เชน ความรายแรงของ ความเสียหาย ที่ผูเสียหายไดรับการที่ผู

ประกอบการรูถึงความไมปลอดภัยของสินคาระยะเวลาที่ผูประกอบการปกปด ความไมปลอดภัย

ของสินคาการดําเนินการของผูประกอบการ เมื่อทราบวาสินคานั้นเปนสินคาที่ไมปลอดภัย

ผลประโยชนที่ผูประกอบการไดรับสถานะทางการเงิน ของผูประกอบการการที่ผูประกอบการได

ชวยบรรเทาความเสียหายที่เกิดขึ้นกับผูบริโภคมากอนหรือไมเพียงใดตลอดจนอาจดูวาผูเสียหายมี

สวนในการกอใหเกิด ความเสียหายดวยหรือไม

2.2.9.2 ระยะเวลาการเรียกรองคาเสียหาย การพิจารณาถึงหลักกฎหมายในประเด็นความเสียหายและการเยียวยาความ

เสียหายในขอพิพาท อันเปนผลสืบเนื่องมาจากมลพิษ ที่มีผลกระทบตอบุคคลนับวาเปนประเด็นที่

มีความสําคัญอยางมากเนื่องจากลักษณะของความเสียหาย ในคดีมลพิษ มีลักษณะและผลบาง

ประการ ที่แตกตางไปจากความเสียหายในคดีละเมิดทั่วไป กลาวคือผลของความเสียหายจากคดี

ละเมิดทั่วไปมักปรากฏลักษณะหรือรองรอยของความเสียหายอยางชัดเจนดังตัวอยางการขับ

รถยนตชนผูอื่นการทํารายผูอื่น จนไดรับบาดเจ็บตองไปรักษาตัวกับแพทยฯลฯการพิจารณาถึง

ความเสียหาย จึงสามารถทําไดโดยไมลําบากแตสําหรับความเสียหายจากมลพิษ จะมีลักษณะ ที่

แตกตางออกไปกลาวคือแมวาสวนหนึ่งของมลพิษอาจกอใหเกิดความเสียหาย ที่ปรากฏขึ้นอยาง

ชัดเจนเชนการสัมผัสหรือไดรับสารเคมี ทําใหเกิดอันตรายแกรางกายหรือชีวิตโดยเฉียบพลันแตยัง

มีผลกระทบบางประการที่อาจปรากฏขึ้นแกผูที่ไดรับสารเคมีหรือวัตถุอันตรายแตยังไมถึงระดับซึ่ง

จะแสดงผลออกมาอยางชัดเจนหรืออาจตองใชระยะเวลาที่ยาวนานจึงจะปรากฏผลกระทบดาน

35สมชาย ปรีชาศิลปะกุล. โครงการทบทวนองคความรูระบบชดเชยความเสียหายที่เกิดขึ้นจาก

มลพิษจากสิ่งแวดลอม. สาขาวิชานิติศาสตรคณะสังคมศาสตรมหาวิทยาลัยเชียงใหมสํานักงานกองทุน

สนับสนุนการวิจัย (สกว.) และมูลนิธิสาธารณสุขแหงชาติ มสช. พ.ศ.2546, หนา 30-37.

Page 65: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

48

สุขภาพที่ชัดเจนดังเชนบุคคลที่ไดสัมผัสกับสารกัมมันตภาพรังสี ซึ่งอาจเปนสาเหตุใหเปน

โรคมะเร็งเพียงแตอาการของโรคยังไมปรากฏออกมาในเวลาปจจุบันซึ่งขึ้นอยูกับปริมาณรังสีที่

ไดรับความแข็งแรงของบุคคลผูสัมผัสกับรังสีและโรคมะเร็งอาจตองการระยะเวลาเพื่อฟกตัวฯลฯ

กรณีเชนนี้จึงเปนปญหาที่ยากตอการพิจารณาวาการกระทําของผูกอมลพิษ เปนสาเหตุ

ของความเสียหายในลักษณะใดบางเพราะนอกจากผลกระทบจากการสัมผัสหรือไดรับมลพิษเขาสู

รางกายจะไมมีความแนนอนชัดเจนแลวในระหวางที่ยังไมปรากฏโรคอันเปนผลโดยตรง จากการ

สัมผัสหรือรับมลพิษดังกลาวอาจสรางความวิตกกังวล ตอผูไดรับผลกระทบวาตนอาจเปนโรค

รายแรงในอนาคตเชนเกิดความหวาดกลัววาตนจะเปนโรคมะเร็งก็เปนสภาพการณที่สรางความ

ยุงยากใหเพิ่มมากขึ้นวาจะสามารถ นับเอาความรูสึกหวาดวิตกกังวลของผูไดรับผลกระทบเปน

ความเสียหายอยางหนึ่ง ไดหรือไมหรือควรถูกพิจารณาวาเปนผลที่ไกลจากเหตุและไมอาจนับเปน

ความเสียหายได ความยุงยากในการพิจารณาถึงลักษณะความเสียหายดังที่ยกตัวอยางขางตนมี

ผลสืบเนื่องตอมาถึงการเยียวยาความเสียหาย ที่ศาลจะกําหนดใหเพราะหากผลกระทบลักษณะ

ตาง ๆ ที่เกิดขึ้นกับผูไดสัมผัสมลพิษไมไดรับการพิจารณาวาเปนความเสียหายก็ไมจําเปน ที่จะตอง

มีการเยียวยาแตอยางใด ในการพิจารณาถึงความเสียหายและการเยียวยาความเสียหายแกผู

ไดรับผลกระทบจากมลพิษตามระบบกฎหมายไทยกฎหมายลักษณะละเมิดจะเปนกฎหมาย

พื้นฐานที่นํามาปรับใชกับกรณีดังกลาวทั้งในเรื่องภาระการพิสูจน ความเสียหายและการพิจารณา

ถึงการเยียวยาแมวาจะมีการประกาศใชบังคับพระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพ

สิ่งแวดลอมพุทธศักราช 2535 ที่ใหสิทธิในการเรียกรองทางแพง ตามมาตรา 96 “แหลงกําเนิด

มลพิษใดกอใหเกิดหรือเปนแหลงกําเนิดของการรั่วไหลหรือแพรกระจายของมลพิษอันเปนเหตุให

ผูอื่นไดรับอันตรายแกชีวิตรางกายหรือสุขภาพอนามัยหรือเปนเหตุใหทรัพยสินของผูอื่นหรือ ของรัฐ

เสียหายดวยประการใดๆ เจาของหรือผูครอบครองแหลงกําเนิดมลพิษนั้น มีหนาที่ตองรับผิดชดใช

คาสินไหมทดแทนหรือคาเสียหายเพื่อการนั้นไมวาการรั่วไหลหรือแพรกระจายของมลพิษนั้นจะ

เกิดจากการกระทําโดยจงใจหรือประมาทเลินเลอของเจาของหรือผูครอบครองแหลงกําเนิดมลพิษ

หรือไมก็ตามเวนแตในกรณีที่พิสูจนไดวามลพิษเชนวานั้นเกิดจาก

1) เหตุสุดวิสัยหรือการสงคราม

2) การกระทําตามคําสั่งของรัฐบาลหรือเจาพนักงานของรัฐ

3) การกระทําหรือละเวนการกระทําของผูที่ไดรับอันตรายหรือความเสียหายเองหรือของ

บุคคลอื่นซึ่งมีหนาที่รับผิดชอบโดยตรงหรือโดยออมในการรั่วไหลหรือการแพรกระจายของมลพิษ

นั้นคาสินไหมทดแทนหรือคาเสียหายซึ่งเจาของหรือ ผูครอบครองแหลงกําเนิดมลพิษ มีหนาที่ตอง

Page 66: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

49

รับผิดตามวรรคหนึ่งหมายความรวมถึงคาใชจายทั้งหมดที่ทางราชการ ตองรับภาระจายจริงในการ

ขจัดมลพิษที่เกิดขึ้นนั้นดวย

แตกฎหมายฉบับนี้ก็มิไดมีบทบัญญัติที่แตกตางไปจากกฎหมายลักษณะละเมิดใน

ประเด็นความเสียหายและการเยียวยา คงมีเพียงการนําหลักความรับผิดโดยเครงครัดมาบังคับใช

ที่ทําใหผูไดรับความเสียหายไมจําเปนตองพิสูจนถึงความจงใจหรือประมาทเลินเลอของผูกระทํา

ละเมิดเทานั้น36

ตามพระราชบัญญัติความรับผิดตอความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินคาที่ไมปลอดภัย พ.ศ.

2551 ไดกําหนดหลักการเกี่ยวกับอายุความในการใชสิทธิเรียกรองกรณีที่ความเสียหายเกิดขึ้นโดย

ผลของการสะสมอยูในรางกาย หรือตองใชเวลาในการแสดงอาการ นอกจาก การนําหลักความรับ

ผิดโดยเครงครัด (Strict liability) มาใชบังคับซึ่งแตกตางจากกระบวนการทางศาลแพง อาญาทั่วไป

กลาวคือเมื่อผูบริโภคเกิดความเสียหาย อันเนื่องมาจากการใชสินคาที่ไมปลอดภัยเกิดขึ้นมาตรา

12 “สิทธิเรียกรองคาเสียหายอันเกิดจากสินคาที่ไมปลอดภัยตามพระราชบัญญัตินี้ เปนอันขาด

อายุความเมื่อพนสามปนับแตวันที่ผูเสียหายรูถึงความเสียหายและรูตัวผูประกอบการที่ตองรับผิด

หรือเมื่อพนสิบปนับแตวันที่มีการขายสินคานั้น

ในกรณีที่ความเสียหายเกิดขึ้นตอชีวิตรางกายสุขภาพหรืออนามัยโดยผลของสารที่สะสม

อยูในรางกายของผูเสียหายหรือเปนกรณีที่ตองใชเวลาในการแสดงอาการผูเสียหายหรือผูมีสิทธิ

ฟองคดีแทนตามมาตรา 10 ตองใชสิทธิเรียกรองภายในสามปนับแตวันที่รูถึงความเสียหายและรูตัว

ผูประกอบการที่ตอง รับผิดแตไมเกินสิบปนับแตวันที่รูถึงความเสียหาย”

36ปญจพร โกศลกิติวงศ. ความรับผิดทางแพงของผูกอมลพิษในคดีสิ่งแวดลอม. บัณฑิตวิทยาลัย

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2541, หนา 50-55. (อางใน สมชายปรีชาศิลปะกุล,โครงการทบทวนองคความรูระบบชดเชยความเสียหายที่เกิดขึ้นจากมลพิษจากสิ่งแวดลอ.สาขาวิชานิติศาสตรคณะสังคมศาสตร

มหาวิทยาลัยเชียงใหมสํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) และมูลนิธิสาธารณสุขแหงชาติ มสช.

พ.ศ.2546 หนา 30-35.

Page 67: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

50

ดานอายุความที่ผูบริโภคจะใชสิทธิฟองรองไดนั้น ปกติการฟองรองเรียกคาเสียหายทาง

คดีแพงมักจะมีอายุความเพียง แค 1 ป37 ซึ่งในการดําเนินคดีเพื่อเรียกรองคาเสียหายจากผูกอ

มลพิษกฎหมายพื้นฐานที่ใชเปนหลักในการดําเนินคดีไดแกหลักละเมิดตามมาตรา 420 แหง

ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยซึ่งบัญญัติวา “ผูใดจงใจหรือประมาทเลินเลอทําตอบุคคลอื่น

โดยผิดกฎหมายใหเขาเสียหายถึงแกชีวิตก็ดี แกรางกายก็ดี เสรีภาพก็ดี ทรัพยสินหรือสิทธิอยาง

หนึ่งอยางใดก็ดี ทานวาผูนั้นทําละเมิดจําตองชดใชคาสินไหมทดแทนเพื่อการนั้น” กฎหมาย

ลักษณะละเมิดนี้มุงคุมครองบุคคลมิใหถูกลวงสิทธิผิดหนาที่จากการกระทํา ของบุคคลอื่นความ

รับผิดตามหลักละเมิดมีพื้นฐานอยูบนความผิดที่เกิดจากความชั่วรายในใจ (Liability based on

fault) ของผูกระทําไมวาจะกระทําโดยจงใจหรือประมาทเลินเลอก็ตาม ตามประมวลกฎหมายวิธี

พิจารณาความแพงไดกําหนดหลักในการนําสืบตอศาลไววา “ผูใดกลาวอางผูนั้นตองพิสูจน”

ดังนั้นการพิสูจนวาจําเลยมีความรับผิด ตามกฎหมายลักษณะละเมิดจึงมีประเด็นที่ผูเสียหายหรือ

โจทกตองนําสืบตอศาลหรือพิสูจนใหเปนที่ประจักษแกศาลคือ38

(1) จําเลยไดกระทําโดยจงใจหรือประมาทเลินเลอหรือไม

(2) การกระทําของจําเลยเปนเหตุใหเกิดความเสียหายแกโจทกหรือไม

(3) ความเสียหายที่โจทกไดรับมีมากเพียงใด

(4) โจทกควรไดรับคาเสียหายเพียงใด

หากโจทกไมสามารถพิสูจนใหศาลเห็นตามที่ตนกลาวอางขึ้นมา ก็จะอยูในฐานะของผูแพ

คดี ซึ่งนั้นก็หมายความวาไมสามารถเรียกรองคาเสียหายได

37ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยมาตรามาตรา448“สิทธิเรียกรองคาเสียหายอันเกิดแตมูลละเมิด

นั้นทานวาขาดอายุความเมื่อพนปหน่ึงนับแตวันที่ผูตองเสียหายรูถึงการละเมิดและรูตัวผูจะพึงตองใชคาสินไหม

ทดแทนหรือเมื่อพนสิบปนับแตวันทําละเมิด

แตถาเรียกรองคาเสียหายในมูลอันเปนความผิดมีโทษตามกฎหมายลักษณะอาญาและมีกําหนดอายุ

ความทางอาญายาวกวาที่กลาวมานั้นไซรทานใหเอาอายุความที่ยาวกวานั้นมาบังคับ”38สมชาย ปรีชาศิลปะกุล. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณโครงการทบทวนองคความรูระบบชดเชย

ความเสียหายที่ เกิดขึ้นจากมลพิษจากสิ่ งแวดลอม . สาขาวิชานิติศาสตรคณะสั งคมศาสต ร

มหาวิทยาลัยเชียงใหมสนับสนุนโดยเครือขายวิจัยสุขภาพสํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) และมูลนิธิ

สาธารณสุขแหงชาติ (มสช.) ธันวาคม 2546. หนา 23-26.

Page 68: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

51

ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพงมาตรา84/139กําหนดวา “คูความฝายใดกลาวอาง

ขอเท็จจริงเพื่อสนับสนุนคําคูความของตนใหคูความฝายน้ันมีภาระการพิสูจนขอเท็จจริงนั้น” คําวา

“ภาระการพิสูจน” จึงหมายถึงหนาที่ที่กฎหมายบังคับใหตองพิสูจนใหเห็นถึงความเท็จจริงของสิ่งที่

ตนไดอางขึ้นเปนประเด็นในคดีนั้นกลาวคือถาเปนฝายโจทกก็ตองสืบใหสมฟองถาเปนจําเลยก็

ตองสืบใหสมคําใหการซึ่งก็เปนไปตามหลักธรรมดาที่เมื่อคูความฝายใดอางขอเท็จจริงใดเพื่อ

ประโยชนของตนคูความฝายนั้นก็มีหนาที่ตองพิสูจนใหเห็นไดวาขอเท็จจริงเปนไปตามที่ตนอางนั้น

หากพิสูจนไมไดก็ตองแพคดีในประเด็นนั้น (He who assert a matter must prove it, but he who

denies it neednot disprove it. ei qui affirmat non ei qui negut incumbis probatio) ลักษณะ

สําคัญของภาระการพิสูจน คือจะเปนภาระที่เปนไปตามที่กฎหมายกําหนดคูความหรือศาลไมอาจ

ตกลงเปลี่ยนแปลงแกไขใหเปนอยางอื่นได40

แตพระราชบัญญัติความรับผิดชอบตอความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินคา ที่ไมปลอดภัย

พ.ศ.2551 มาตรา 12 ไดกําหนดอายุความไวถึง 3 ป นับแตวันที่ผูบริโภครูถึงความเสียหาย ที่เกิด

ขึ้นกับตนเองแตตองรูตัวผูประกอบการที่จะตองรับผิดชอบตอสินคานั้นดวย หรือภายใน 10 ปนับ

แตวันที่มีการขายสินคานั้น แตหากเปนความเสียหายที่เกิดขึ้นกับชีวิต รางกายหรือสุขภาพอนามัย

โดยผลของสารพิษที่สะสมอยูในรางกาย ของผูเสียหายหรือเปนกรณีที่ตองใชระยะเวลาในการ

แสดงอาการผูเสียหายหรือผูแทนสามารถใชสิทธิเรียกรองหรือฟองรองไดภายในระยะเวลา 3 ป

นับตั้งแตวันที่รูถึงความเสียหายตอตนเองและรูตัวผูประกอบการที่ตองรับผิด ทั้งนี้ตองไมเกิน 10 ป

นับแตวันที่รูถึงความเสียหาย ที่ปรากฏแกตนเอง ซึ่งทําใหเห็นวาในการฟองรองในระยะเวลา

ดังกลาวยอมมีระยะเวลาที่ยาวนานเชนกัน ทั้งนี้ก็เพื่อปรากฏผลความเสียหาย ที่จําเปนตองใช

ระยะเวลา ยาวนานในและการแสดงผลแหงความเสียหายที่เกิดขึ้นนั้นเอง ประเด็นที่นาพิจารณา

ประการหนึ่งก็คือจํานวนคาเสียหายที่ศาลจะกําหนดเพื่อเยียวยาความเสียหายอันมิใชตัวเงินการ

กําหนดคาเสียหายยังไมปรากฏหลักเกณฑที่ชัดเจนเพียงพอจึงทําใหจํานวนคาเสียหายอาจไมมี

39มาตรา 84/1 “คูความฝายใดกลาวอางขอเท็จจริงเพื่อสนับสนุนคําคูความของตนใหคูความ ฝายนั้นมี

ภาระการพิสูจนขอเท็จจริงนั้น แตถามีขอสันนิษฐานไวในกฎหมายหรือมีขอสันนิษฐานที่ควรจะเปน ซึ่งปรากฏ

จากสภาพปกติธรรมดาของเหตุการณเปนคุณแกคูความฝายใด คูความฝายนั้นตองพิสูจนเพียงวาตนไดปฏิบัติ

ตามเงื่อนไขแหงการท่ีตนจะไดรับประโยชน จากขอสันนิษฐานน้ันครบถวนแลว”40ประมูล สุวรรณศร. คําอธิบายกฎหมายลักษณะพยานหลักฐาน. พิมพครั้งที่ 8. กรุงเทพมหานคร

: โรงพิมพแสวงสุทธิการพิมพ, 2525, หนา 43.

Page 69: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

52

ความแนนอนและหากเทียบกับผลกระทบ ที่ผูเสียหายไดรับแลวอาจมองไดวา ยังหางไกลจาก

ความเสียหายเชนคําพิพากษาฎีกาที่ 75/2538 โจทกไดรับบาดเจ็บจากการละเลยของจําเลยเปน

เหตุใหไดรับบาดเจ็บที่ศีรษะลําคอหลังกระดูกสันหลังกดทับไขสันหลังทําใหขาทั้งสองเปนอัมพาต

ระบบประสาทไมสามารถควบคุมการขับถายเสียความสามารถสืบพันธตองทุพพลภาพตลอดชีวิต

โจทกเรียกคาเสียหาย 500,000 บาท ในเหตุที่ตองกลายเปนคนทุพพลภาพตลอดชีวิต และคาเสีย

หายเนื่องจากตองทนทุกขทรมานตลอดชีวิต เปนเงิน 300,000 บาทศาลกําหนดใหโจทกได

คาเสียหายจากการทุพพลภาพ 100,000 บาท และคาทนทุกขทรมานจากการทุพพลภาพตลอด

ชีวิต 50,000 บาท

คําพิพากษาศาลปกครองคดีแดงที ่1820/2545 (คดีโคบอลต-60) ผูฟองคดีก็ไดมีการเรียก

รองคาเสียหายอยางอื่นอันมิใชตัวเงินไปอันเปนความทุกขทรมาน จากผลกระทบที่ไดสัมผัสสาร

โคบอลตตัวอยางผูฟองคดีที ่9 ไดรับบาดแผลที่มือทั้ง 2 ขาง และไดรับการรักษาจากโรงพยาบาล

ราชวิถีเปนเวลาประมาณ 1 ปเศษ โดยถูกตัดนิ้วมือถึงระดับโคนนิ้วไปทั้งหมด 10 นิ้วไมสามารถใช

มือไดตามปกติสูญเสียความสามารถประกอบการงานสิ้นเชิง ทั้งในปจจุบันและอนาคตศาล

ปกครองเห็นวาผูฟองคดี ตองสูญเสียอวัยวะและเจ็บปวดทุกขทรมานเปนเวลานับปจึงกําหนดคา

สินไหมทดแทนเพื่อความเสียหายอยางอื่นอันมิใชตัวเงินเปนจํานวน 120,000 บาท

อยางไรก็ตามบางคดีศาลก็ไดกําหนดคาเสียหายไวในระดับที่สูงเมื่อเปรียบเทียบกับคดี

อื่นๆ เชนคําพิพากษาฎีกาที่ 5220/2539 โจทกเปนหญิงสาวหนาตาดีและบุคลิกภาพดี ถูกทํา

ละเมิดทําใหกลายเปนคนทุพพลภาพเปนอัมพาตถาวรตลอดชีวิตไมสามารถชวยเหลือตนเองไดไม

สามารถสมรสและมีบุตรรวมไปถึงสูญเสียความกาวหนาของการงานตามปกติศาลกําหนด

คาเสียหายในสวนคาทุกขทรมาน 450,000 บาทคาเสียหายจากการเสียโฉมเพราะมีแผลเปนกลาง

หนาผากและแผลเปนที่ปากมองเห็นไดในระยะ 10 เมตรศาลกําหนดให 180,000 บาท แมคา

สินไหมทดแทนจํานวนนี้จะดูมากแตหากคํานึงถึงอายุและระยะเวลาที่ผูเสียหายจะตองมีชีวิตอยู

ตอไปเงินจํานวนนี้เฉลี่ยออกมาเปน รายเดือนแลวก็จะเปนเงินจํานวนที่ไมมากเลย สําหรับความ

เสียหายในคดีมลพิษ ที่ยังไมปรากฏผลขึ้นแมจะไดรับสารพิษไปแลวนั้นกรณีเชนนี้สามารถกลาวได

วาเปนปญหาตั้งแตในระดับของการพิจารณาความเสียหายซึ่งยังไมมีบรรทัดฐานของการวินิจฉัยที่

ปรากฏชัดเจนวาไดมีการยอมรับเอาลักษณะของความเสี่ยงที่จะเกิดโรคหรือความเจ็บปวยใน

อนาคตมากําหนดเปนคาเสียหายดังนั้นในสวนความทุกขทรมานดานจิตใจจากการวิตกกังวลวา

อาจเกิดโรคภัยขึ้นในอนาคตก็ยังหางไกลจากการคํานวณเปนคาเสียหายที่มิใชตัวเงิน นั้นเอง

Page 70: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

53

2.2.10 บทบาทหนวยงานของรัฐกับการใหการคุมครองผูบริโภคหลักการคุมครองผูบริโภค แลวรัฐหรืหนวยงานของรัฐมีการจัดตั้งองคกรของรัฐขึ้นเพื่อ

คุมครองสิทธิของ ผูบริโภคโดยตรง เพราะกฎหมายอื่นๆ ไดบัญญัติขึ้นเพื่อควบคุมผูประกอบธุรกิจ

ซึ่งเปนการคุมครองผูบริโภคทางออมผูบริโภคไมสามารถใชสิทธิในการ ฟองรองผูประกอบธุรกิจ

ทางอาญาตอศาลไดสวนการดําเนินการทางแพงก็เปนภาระและเสียคาใชจายมากซึ่งผูบริโภคสวน

ใหญยังไมอยูในฐานะที่จะดําเนิน คดีดวยตนเองไดทั้งนี้วิธีดําเนินการตามพระราชบัญญัติคุมครอง

ผูบริโภค พ.ศ.2522 ไดบัญญัติใหมีองคกรของรัฐ มีอํานาจหนาที่ในการกํากับดูแลผูประกอบธุรกิจ

มิให ประกอบธุรกิจที่เปนการละเมิดสิทธิผูบริโภคและประสานการปฏิบัติงานของสวนราชการ

ตางๆ เพื่อใหความคุมครองผูบริโภครวมทั้งเปนหนวยงานที่ใหผูบริโภคไดใชสิทธิรองเรียน เพื่อ

ขอใหไดรับการพิจารณาและชดเชยความเสียหายเมื่อถูกผูประกอบธุรกิจละเมิดสิทธิองคกรของรัฐที่

จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภค พ.ศ.2522 เชน

2.2.10.1 สํานักงานคุมครองผูบริโภคสํานักงานคณะกรรมการคุมครองผูบริโภค (สคบ.) เปนสวนราชการระดับกรม

สังกัดสํานักนายกรัฐมนตรี จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภค พ.ศ.2522 เมื่อวันที่ 5

พฤษภาคม พ.ศ.2522 ปจจุบันมีสํานักงานตั้งอยูที่ ศูนยราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5

ธันวาคม 2550 อาคารบี ชั้น 5 ถนนแจงวัฒนะ แขวงทุงสองหอง เขตหลักสี่กรุงเทพในป พ.ศ.2512

สมาคมผูบริโภคของประเทศตางๆ ไดเขามาชักชวนใหมีการจัดตั้งสมาคมผูบริโภคขึ้นในประเทศ

ไทย แตไมประสบผลสําเร็จ จนกระทั่งในรัฐบาลของหมอมราชวงศคึกฤทธิ์ ปราโมช ไดมีการจัดตั้ง

“คณะกรรมการคุมครองผูบริ โภค” ขึ้นคณะหนึ่ ง โดยมีพลตรีประมาณ อดิเรกสาร รอง

นายกรัฐมนตรี เปนประธาน และยุติการดําเนินการในเวลาตอมาในรัฐบาลของพลเอกเกรียงศักดิ์

ชมะนันท ไดมีการจัดตั้งคณะกรรมการคุมครองผูบริโภคขึ้นอีกครั้ง โดยมอบหมายใหนายสมภพ

โหตะกิตย รองนายกรัฐมนตรี เปนประธานกรรมการ จนนําไปสูการรางพระราชบัญญัติเขาสูการ

พิจารณาของรัฐสภา ซึ่งไดมีพระบรมราชโองการโปรดเกลาฯ และประกาศในราชกิจจานุเบกษา

เมื่อวันที่ 4 พฤษภาคม พ.ศ.2522 เปนผลใหเกิด “คณะกรรมการคุมครองผูบริโภค”อยางเปน

ทางการตั้งแตวันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ.2522 เปนตนมาสํานักงานคณะกรรมการคุมครองผูบริโภค

จัดตั้งขึ้นตามพระราชกฤษฎีกาแบงสวนราชการสํานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี สํานักนายรัฐมนตรี

พ.ศ.2522 ตั้งแตวันที่ 2 กรกฎาคมพ.ศ.2522 จึงถือกําเนิด สคบ. ตั้งแตบัดนั้นเปนตนมา ทั้งนี้มี

อํานาจดังตอไปนี้ เชน การรับเรื่องราวรองทุกขจากผูบริโภค ที่ไดรับความเดือดรอนหรือเสียหายอัน

เนื่องมาจากการกระทําของผูประกอบธุรกิจเพื่อเสนอตอคณะกรรมการคุมครองผูบริโภคพิจารณา

Page 71: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

54

ดําเนินการตอไปผูบริโภคทุกทานที่ถูกเอารัดเอาเปรียบหรือไดรับอันตรายจากสินคาหรือบริการใด

สามารถรองเรียนมาที่ สํานักงานคณะกรรมการคุมครองผูบริโภค ทําเนียบรัฐบาล กทม.10300

โดยการเขียน จดหมาย สงตู ป.ณ.99 กรุงเทพฯ 10300 หรือมาดวยตนเอง หรือโทรศัพทสายดวน

รองทุกข โทร.1166 การรองเรียนหรือการชวยกันสอดสองและแจงมายังสํานักงานฯ นั้นเปนสิทธิที่

ผูบริโภคพึงกระทําไดนอกจากนั้นยังเปนการกระตุนเตือนใหผูประกอบธุรกิจไดสํานึกและบรรเทา

การเอารัดเอาเปรียบตอผูบริโภคไดบางและประการสําคัญก็คือ เปนการชวย ใหสํานักงานฯ ทราบ

ปญหาของผูบริโภคและดําเนินการชวยเหลือไดเต็มที่ซึ่งในการชวยเหลือผูบริโภคในดานนี้ สํานัก

งานฯ มีสายงานที่รับผิดชอบอยูโดยตรงคือ กองคุมครองผูบริโภคดานโฆษณา กองคุมครอง

ผูบริโภคดานฉลากและกองคุมครองผูบริโภคดานสัญญาโปรดระลึกอยูเสมอวาทานไมจําเปนตอง

อดทนตอความไมปลอดภัยหรือการเอารัดเอาเปรียบจากผูประกอบธุรกิจอีกตอไป ผูบริโภคทุกทาน

มีสิทธิที่จะไดรับความคุมครอง ติดตามและสอดสองพฤติกรรม พฤติการณของผูประกอบธุรกิจซึ่ง

กระทําการใดๆ อันมีลักษณะเปนการละเมิดสิทธิของผูบริโภค และจัดใหมี การทดสอบหรือพิสูจน

สินคาหรือบริการใดๆ ตามที่เห็นสมควรและจําเปน เพื่อคุมครองสิทธิของผูบริโภค ทั้งนี้เพราะใน

ปจจุบันมีการเสนอสินคาหรือบริการตางๆตอผูบริโภคเปนจํานวนมากและเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ โดยใช

วิธีการและเทคนิคใหมๆ ในทางการตลาดและทางการโฆษณาเพื่อสงเสริมการขายโดยทั่วไป

ผูบริโภคไมอาจทราบภาวะตลาดและขอเท็จจริงเกี่ยวกับคุณภาพและราคาของสินคาหรือบริการ

นั้นๆ ไดอยางถูกตอง สํานักงานฯ จึงตองมีบทบาทในการติดตามและสอดสอง พฤติการณของผู

ประกอบธุรกิจและดําเนินการทดสอบหรือพิสูจนในบางครั้ง เปนการชวยเหลือผูบริโภคใหไดรับ

ความเปนธรรมตามสมควร

สนับสนุนหรือทําการศึกษาและวิจัยปญหาเกี่ยวกับการคุมครองผูบริโภครวมกับ

สถาบันการศึกษาและหนวยงานอื่นเพื่อที่จะไดดําเนินการชวยเหลือ ผูบริโภคไดตรงกับปญหาและ

ความตองการตัวอยางในการดําเนินการในขอที่ผานมาไดแกการศึกษาขอมูลเกี่ยวกับการใชยา

ปราบศัตรูพืชและการสํารวจทัศนคติเกี่ยวกับการคุมครองผูบริโภคเปนตน

สงเสริมและสนับสนุนใหมีการศึกษาแกผูบริโภคเกี่ยวกับการคุมครองผูบริโภคในทุกระดับ

การศึกษาเกี่ยวกับความปลอดภัยและอันตรายที่อาจไดรับจากสินคาหรือบริการผูบริโภคควรจะได

เรียนรูและเขาใจปญหาตลอดจนวิธีการปองกันหรือหลีกเลี่ยงเพื่อที่จะไดสามารถคุมครองตนเอง

ในเบื้องตนกอนนอกเหนือจากความชวยเหลือจากรัฐบาลการสงเสริมและการสนับสนุนใหมี

การศึกษาแกผูบริโภคในทุกระดับจึงเปนหนาที่ที่สําคัญอันหนึ่งของสํานักงานฯ

Page 72: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

55

ดําเนินการเผยแพรวิชาการใหความรูและการศึกษาแกผูบริโภคเพื่อสรางนิสัยในการ

บริโภคที่เปนการสงเสริมพลานามัย ประหยัด และใชทรัพยากรของชาติใหเปนประโยชนมากที่สุด

โดยสํานักงานฯมีสายงานที่ทําหนาที่ รับผิดชอบงานดานนี้ โดยตรงคือ กองเผยแพรและ

ประชาสัมพันธดําเนินการเผยแพรความรู ทางวิชาการในดานตางๆ ที่เปนประโยชนตอผูบริโภคทั้ง

ทางหนังสือพิมพ วิทยุ โทรทัศน อยูเปนประจํา นอกจากนั้นยังมีเอกสาร บทความขาวสาร จาก

สํานักงานฯ แจกฟรีแกผูสนใจอีกดวยเปนการสงเสริมใหผูบริโภคมีความรูพื้นฐานในดานตางๆ

อยางกวางๆ ในการดําเนินชีวิตประจําวันการเผยแพรความรูของสํานักงานฯนั้นสวนใหญจะเสนอ

สารประโยชนดวยถอยคําและภาษาที่เขาใจงายแตแฝงความรูทางวิชาการไวประสานงานกับสวน

งานราชการหนวยงานอื่นของรัฐที่มีอํานาจหนาที่เกี่ยวกับการควบคุมสงเสริมหรือกําหนด

มาตรฐานของสินคาหรือบริการโดยเฉพาะอยางยิ่งสินคาประเภทอุปโภคบริโภค (สคบ.) มีสายงาน

รับผิดชอบในดานนี้คือ กองคุมครองผูบริโภคดานโฆษณากองคุมครองผูบริโภคดานฉลากและกอง

คุมครอง ผูบริโภคดานสัญญาทํางานประสานงานกับสวนราชการหรือหนวยงานอื่นในการคุมครอง

ผูบริโภคใหไดรับความปลอดภัยและเปนธรรมจากการซื้อสินคาหรือบริการดังนี้41

1) สินคาที่เปนอันตราย เชน อาหารผสมสียอมผา อาหารไมบริสุทธิ์

2) สินคาที่ ไมปลอดภัย เชน พืชผลไมซึ่ งมียาปองกันกําจัดศัตรูพืชตกคางอยูจะ

ประสานงานกับกระทรวงสาธารณสุข โดยเฉพาะอยางยิ่งสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา

ในการตรวจสอบขอเท็จจริงและดําเนินการตามที่เห็นสมควร

3) สินคาที่ไมไดคุณภาพมาตรฐาน เชน น้ํามันปลอมปน สินคาเลียนแบบสินคาที่ไมเปน

ธรรม เชน ขายสินคาเกินราคา สินคาที่มีปริมาณไมตรงตามมาตราชั่งตวง วัด จะประสานงานกับ

กรมการคาภายในกรมทะเบียนการคาและเจาหนาที่ตํารวจกองบังคับการสืบสวนสอบสวนคดี

เศรษฐกิจออกดําเนินการตรวจสอบจับกุมและดําเนินคดี

4) บริการที่เอาเปรียบผูบริโภคสินคาหรือบริการที่โฆษณาเปนเท็จหรือเกินความเปนจริง

สินคาที่แสดงฉลากหลอกลวงคณะกรรมการคุมครองผูบริโภคจะกําหนดมาตรการในการ

ดําเนินการเกี่ยวกับสินคาหรือบริการเหลานี้ดวยและสํานักงานฯก็มีหนาที่ติดตามสอดสอง

พฤติการณของผูประกอบธุรกิจ เหลานั้นอยูเสมอ

ปฏิบัติงานอื่นๆ ตามที่คณะกรรมการหรือคณะกรรมการเฉพาะเรื่องมอบหมายที่สําคัญ

และเปนประโยชนอยางยิ่งคือการแจงหรือโฆษณาขาวสารเกี่ยวกับสินคาหรือบริการที่อาจ

41พัฒนา ชูสอน. ปญหากฎหมายเกี่ยวกับมาตรการเยียวยาผูบริโภค ศึกษากรณีสัญญา

สําเร็จรูปที่ไมเปนธรรม. นิติศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคําแหง, 2543, หนา 19-22.

Page 73: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

56

กอใหเกิดความเสียหายหรือเสื่อมเสียแกสิทธิของผูบริโภคโดยอาจระบุชื่อสินคาหรือบริการหรือชื่อ

ของผูประกอบธุรกิจดวยก็ไดนอกจากนั้นยังมีการประสานงานเรงรัดพนักงานเจาหนาที่สวน

ราชการหรือ หนวยงานอื่นๆ ของรัฐ ใหปฏิบัติการตามอํานาจและหนาที่ที่กฎหมายกําหนด หรือ

กลาวงายๆ คือเปนตัวแทนของผูบริโภค คอยประสานงานเรงรัดใหหนวยงานซึ่งรับผิดชอบในเรื่อง

นั้นๆ ดําเนินการ เพื่อคุมครองประโยชนสุขของผูบริโภค ประการสุดทายที่สําคัญคือสํานักงานฯ ยัง

มีกองนิติการซึ่งรับผิดชอบในดานกฎหมายสามารถจะดําเนินการคดีเพงและคดีอาญาแกผูกระทํา

การละเมิดสิทธิของผูบริโภคในศาลตามที่คณะกรรมการมอบหมายและฟองเรียกทรัพยสินหรือ

คาเสียหายใหแกผูบริโภคที่รองขอไดดวย

2.2.10.2 สํานักงานคณะกรรมาการอาหารและยา สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา เปนสวนราชการระดับกรม ของประเทศ

ไทย สังกัดกระทรวงสาธารณสุข มีหนาที่ปกปองและคุมครองสุขภาพประชาชนจากการบริโภค

ผลิตภัณฑสุขภาพ โดยผลิตภัณฑสุขภาพเหลานั้นตองมีคุณภาพมาตรฐานและปลอดภัย มีการ

สงเสริมพฤติกรรมการบริโภคที่ถูกตองดวยขอมูลวิชาการที่มีหลักฐานเชื่อถือไดและมีความ

เหมาะสม เพื่อใหประชาชนไดบริโภคผลิตภัณฑสุขภาพที่ปลอดภัยและสมประโยชน

ทั้งนี้อํานาจหนาที่สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา มีอํานาจหนาที่ตามกฎหมาย

ดังนี้

(1) ดําเนินการตามกฎหมายวาดวยอาหาร กฎหมายวาดวยยา กฎหมายวาดวย

เครื่องสําอาง กฎหมายวาดวยวัตถุอันตราย กฎหมายวาดวยวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท

กฎหมายวาดวยยาเสพติดใหโทษ กฎหมายวาดวยเครื่องมือแพทย กฎหมายวาดวยการปองกัน

การใชสารระเหย และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวของ

(2) พัฒนาระบบและกลไก เพื่อใหมีการดําเนินการบังคับใชกฎหมายที่อยูในความ

รับผิดชอบ

(3) เฝาระวังกํากับและตรวจสอบคุณภาพมาตรฐานของผลิตภัณฑสถานประกอบการ

และการโฆษณา รวมทั้งผลอันไมพึงประสงคของผลิตภัณฑตลอดจนมีการติดตามหรือเฝาระวัง

ขอมูลขาวสารดานผลิตภัณฑสุขภาพจากภายในประเทศและภายนอกประเทศ

(4) ศึกษา วิเคราะห วิจัยและพัฒนาองคความรู เทคโนโลยี และระบบงานคุมครอง

ผูบริโภคดานผลิตภัณฑสุขภาพใหมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล

Page 74: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

57

(5) สงเสริมและพัฒนาผูบริโภคใหมีศักยภาพในการเลือกบริโภคผลิตภัณฑสุขภาพที่

ถูกตอง เหมาะสม ปลอดภัย และคุมคา รวมทั้งเพื่อใหผูบริโภคนั้นมีการรองเรียน เพื่อปกปองสิทธิ

ของตนได

(6) พัฒนาและสงเสริมการดําเนินงานคุมครองผูบริโภคดานผลิตภัณฑสุขภาพ โดยการมี

สวนรวมของภาครัฐ ภาคเอกชน ประชาชน และเครือขายประชาคมสุขภาพ

(7) ปฏิบัติการอื่นใดตามที่กฎหมายกําหนดให เปนอํานาจหนาที่ของสํานักงาน

คณะกรรมการอาหารและยาหรือตามที่กระทรวงหรือคณะรัฐมนตรีมอบหมาย

ทั้งนี้มีอํานาจหนาที่ที่กลาวมาขางตน สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาได

ดําเนินการใหเปนไปตามกฎหมายจํานวน 8 ฉบับ และอนุสัญญาและขอตกลงระหวางประเทศ อีก

จํานวน 4 ฉบับ ไดแก42

1) พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ.2522

2) พระราชบัญญัติยา พ.ศ.2510 และแกไขเพิ่มเติมฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2518) ฉบับที่ 3 (พ.ศ.

2522) ฉบับที่ 4 (พ.ศ.2528) และฉบับที่ 5 (พ.ศ.2530)

3) พระราชบัญญัติเครื่องสําอาง พ.ศ.2535

4) พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ.2535

5) พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท พ.ศ.2518 และแกไขเพิ่มเติม ฉบับ

ที่ 2 (พ.ศ.2528) ฉบับที่ 3 (พ.ศ.2535) และฉบับที่ 4 (พ.ศ.2543)

6) พระราชบัญญัติยาเสพติดใหโทษ พ.ศ.2522 และแกไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2528)

ฉบับที่ 3 (พ.ศ.2530) และฉบับที่ 4 (พ.ศ.2543)

7) พระราชบัญญัติเครื่องมือแพทย พ.ศ.2531

8) พระราชกําหนดปองกันการใชสารระเหย พ.ศ.2533 และแกไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 2 (พ.ศ.

2543)เปนตน

2.2.11 แนวคิดการลงโทษทางปกครอง

“โทษทางปกครอง” หมายถึง โทษที่กฎหมายกําหนดใหฝายปกครองลงแกผูกระทําการอัน

เปนการฝาฝนกฎหมาย กฎ ระเบียบ ขอบังคับ และคําสั่งทางปกครอง โดยมีวัตถุประสงคเพื่อให

บริการสาธารณะสามารถดําเนินการตอไปได โทษทางปกครองจึงมีลักษณะสําคัญ 3 ประการ ดังนี้

42สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา. สืบคนเมื่อวันที่ 10 เมษายน 2557.

จาก,http://www.fda.moph.go.th.

Page 75: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

58

(1) กฎหมายใหอํานาจแกฝายปกครองที่จะมีคําสั่งลงโทษผูกระทําการอันเปนการฝาฝน

กฎหมาย กฎ ระเบียบ ขอบังคับ และคําสั่งทางปกครองอยางชัดแจง ซึ่งฝายปกครองนี้นอกจาก

หมายถึงหนวยงานของรัฐแลว ยังหมายรวมถึงองคกรเอกชนที่ไดรับมอบหมายใหใชอํานาจมหาชน

ในการจัดทําบริการสาธารณะดวย เชน องคกรวิชาชีพ เปนตน43

(2) ฝายปกครองมีอํานาจสั่งลงโทษไดเองโดยไมตองฟองศาล

(3) การลงโทษทางปกครองมีวัตถุประสงคเพื่อใหบริการสาธารณะที่ฝายปกครองดูแล

รับผิดชอบสามารถดําเนินการตอไปได

โทษทางปกครองมีขอดีกวาโทษทางอาญาหลายประการดังนี้

(1) โทษทางปกครองมีกระบวนการขั้นตอนที่เรียบงาย รวดเร็วกวากระบวนการลงโทษทาง

อาญาที่ตองใชเวลาในการพิจารณาพิพากษาคดียาวนาน อีกทั้งโทษทางปกครองยังมีผลใชบังคับ

ทันที เวนแตจะมีการสั่งทุเลาการบังคับตามคําสั่งทางปกครอง

(2) โทษทางปกครองมีความเหมาะสมสําหรับการปราบปรามการกระทําความผิดที่

แพรหลายในวงกวาง (dé linquance de masse) เชน การกระทําผิดเกี่ยวกับภาษีอากร การกระทํา

ผิดกฎจราจร เปนตน เนื่องจากการฟองคดีจํานวนมากจะเปนภาระตอศาล ทําใหศาลตองใชเวลา

ในการพิจารณาพิพากษาลงโทษผูกระทําผิดลาชาเกินสมควร ซึ่งจะมีผลทําใหการปองกันและ

ปราบปรามการกระทําผิดไมบรรลุวัตถุประสงคในที่สุด

(3) โทษทางปกครองไมกอผลรายทางสังคมแกผูถูกลงโทษ เนื่องจากโทษทางปกครองไมมี

ลักษณะเปนการประณามใหเสื่อมเสียชื่อเสียงเกียรติยศ หรือทําใหเสียประวัติ ดังที่เกิดขึ้นกับผูถูก

ลงโทษทางอาญา

(4) เจาหนาที่หรือคณะกรรมการที่มีอํานาจลงโทษทางปกครองจะมีประสบการณ ความ

เชี่ยวชาญ และความรู เกี่ยวกับสภาพปญหาในเรื่องที่จะลงโทษอยางแทจริง ทําใหสามารถ

พิจารณาเลือกใชโทษทางปกครองใหเหมาะสมไดสัดสวนกับการกระทําผิดในแตละกรณี

ทั้งนี้ การใชอํานาจทางปกครองของหนวยงานของรับหรือเจาหนาที่ตามพระราชบัญญัติ

คุมครองผูบริโภค พ.ศ.2522 จะใชวิธีการใชโทษทางปกครองไดขอสรุปวา ทาง กรณีที่อาหารชนิด

ใดอาจะจะทําใหเกิดอันตรายตอผูบริโภคพระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภค (ฉบับที่3) พ.ศ.2556

ทั้งนี้เริ่มจากหนวยงานภาครัฐที่มีหนาที่กํากับดูแลรองขอ หรือโดยคําสั่งจากหนวยงานของรัฐซึ่งใช

43วรเจตน ภาคีรัตน. ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับกฎหมายปกครอง :หลักการพื้นฐานของ

กฎหมายปกครองและการกระทําทางปกครอง. 2549, หนา18-20.

Page 76: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

59

อํานาจตามกฎหมาย ซึ่งการเรียกคืนนี้อาจเปนการเปลี่ยนเปนผลิตภัณฑใหม หรือนําผลิตภัณฑ

เดิมไปซอมแซม หรือนําผลิตภัณฑที่มีความชํารุดบกพรองหรือไมปลอดภัยออกไป โดยที่ไม

จําเปนตองมีการทําลายผลิตภัณฑที่มีการเรียกคืนเสมอไป หากสามารถเปลี่ยนแปลงผลิตภัณฑได

เพื่อใหเปนไปตามขอกําหนดตามกฎหมาย ขอกําหนดดานสุขภาพและความปลอดภัย“การเรียก

คืนสินคากลุมอาหาร ผานการใชอํานาจรัฐในประเทศไทยเทาที่ทราบยังไมปรากฏ เนื่องจากตาม

พระราชบัญญัติ อาหาร พ.ศ.2522 มิไดมีการกําหนดใหสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา

(อย.) มีอํานาจในการสั่งเรียกเก็บคืนสินคาออกจากชั้นวางหากพบวาเปนอาหารที่มีปญหาโดย

กําหนดอํานาจไวแคใหเจาหนาที่มีอํานาจในการยึดหรืออายัดอาหารหรือภาชนะบรรจุที่เก็บมาโดย

พนักงานเจาหนาที่เมื่อไดทําการตรวจพิสูจนเปนที่แนนอน วาเปนอาหารไมบริสุทธิ์อาหารปลอม,

อาหารผิดมาตรฐาน,หรือเปนภาชนะบรรจุที่อาจกอใหเกิดอันตรายตอสุขภาพหรือนามัยของ

ประชาชนหรือมีลักษณะไมถูกตองตามคุณภาพหรือมาตรฐานที่รัฐมนตรีประกาศกําหนดตาม

มาตรา 6(6) และไดกําหนดใหเลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยาหรือผูซึ่งเลขาธิการ

คณะกรรมการอาหารและยามอบหมายโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการอาหารอาจสั่งทําลาย

หรือปฏิบัติการอยางหนึ่งอยางใดตามที่เห็นสมควรได ตามมาตรา 44

อยางไรก็ตามปจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงทางกฎหมาย ทําใหการเรียกคืนสินคาไดถูก

ระบุไวในพระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภค (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2556 ซึ่งประกาศ เมื่อวันที่ 18 มีนาคม

2556 โดย ไดมีการแกไขเพิ่มเติมในสาระสําคัญเกี่ยวกับการเรียกคืนและทําลายสินคาโดยมีการ

กําหนดใหผูประกอบธุรกิจจัดเก็บสินคาที่ยังไมไดจําหนายแกผูบริโภคกลับคืนหรือเรียกคืนสินคา

จากผูบริโภค (มาตรา 36 วรรคสอง (1) ใหผูประกอบธุรกิจทําลายสินคานั้น (มาตรา 36 วรรคสอง

(5) ใหผูประกอบธุรกิจปดประกาศ แจงหรือโฆษณาขาวสารเกี่ยวกับอันตรายของสินคานั้นให

ผูบริโภคทราบ หรือการดําเนินการที่เกี่ยวของ (มาตรา 36 วรรคสอง (6) พรอมใหผูประกอบธุรกิจ

รับผิดชอบคาใชจายของผูบริโภคและคาใชจายในการดําเนินการตามวรรคสอง (มาตรา 36 วรรค

สาม) ทั้งนี้ หลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขในการดําเนินการตามมาตรา 36 วรรคสอง มาตรา 36

วรรค สาม ใหเปนไปตามประกาศของคณะกรรมการคุมครองผูบริโภคโดยประกาศในราชกิจจา

นุเบกษา นอกจากนี้หากมีมาตรการใดเกี่ยวกับสินคาตามมาตรานี้ก็ใหประกาศในราชกิจจา

นุเบกษาเชนเดียวกัน” “จะเห็นวายังมีโอกาสที่จะมีการปรับแก พระราชบัญญัติอาหาร พุทธศักราช

2522 ใหมีการใหอํานาจแก อย. เชนเดียวกับที่เกิดขึ้นกับ สคบ.เพื่อใหเกิดการแกไขเชิงระบบอัน

นํามาซึ่งการหลีกเลี่ยงปญหาที่คลายกันซึ่งอาจจะเกิดขึ้นกับผลิตภัณฑ อื่นในภายหลังไดเพื่อ

ยกระดับอาหารที่จําหนายอยูในทองตลาดใหเปนสินคาที่ปลอดภัยและมีคุณภาพ หากฝาฝนมีโทษ

Page 77: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

60

ปรับไมเกิน 50,000 บาท 44หรือเปนอาหารไมบริสุทธิ์ ตามมาตรา 26(1) คือ”มาตรา 26 อาหารที่มี

ลักษณะดังตอไปนี้ใหถือวาเปนอาหารไมบริสุทธิ์(1) อาหารที่มีสิ่งที่นาจะเปนอันตรายแกสุขภาพ

เจือปนอยูดวย”ผูฝาฝน มีโทษจําคุกไมเกิน 2 ป หรือปรับไมเกิน 20,000 บาท45 หรือทั้งจําทั้งปรับ

ทั้งนี้ตามกฎหมายอาหาร และสถานที่ผลิตขาวบรรจุถุงดังกลาวจะถูกสั่งใหงดผลิต และผลิตภัณฑ

จะเรียกคืนเพื่ออายัดไวพิจารณาดําเนินการ ตามกฎหมายหรือดําเนินการทําลายตอไป46

2.2.12 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการลงโทษทางอาญาโทษ เปน มาตรการบังคับทางอาญา (Kriminalsanktion) ดั้งเดิมที่สุด และจบบัดนี้ยังไมมี

สิ่งอื่นมาทดแทนโทษ อยางไรก็ตาม ในตางประเทศนั้น ไดมีแนวโนมในการพัฒนาในเรื่องโทษ

ดั้งเดิมไปในทิศทางที่ใชมาตรการอยางอื่นมาทดแทนโทษดั้งเดิม ดังกลาวคือ กฎเกณฑขอบังคับ

หรือกฎหมาย โดยเฉพาะอยางยิ่งกฎหมายอาญา เพราะกฎหมายอาญาเปนกฎหมายที่มี

วัตถุประสงคที่จะไมใหมีการกระทําที่ถือวาเปนการกระทําความผิดขึ้น เมื่อมีการฝาฝนกฎหมาย

ผูฝาฝนก็จะไดรับการลงโทษ โทษจึงเปนเครื่องมือในการขมขูเพื่อมิใหบุคคลทําการละเมิดตอ

กฎหมาย47 ผูเขียนจะอธิบายถึงทฤษฎีการลงโทษ ดังน้ีคือ

ศาสตราจารย Herbert L. Packer แหงมหาวิทยาลัยแสตมฟอรด ไดวิเคราะหความคิด

ของนักปรัชญาในอดีตจํานวนมาก และกลาวถึงความหมายของการลงโทษวาหมายถึงการใช

กฎหมายทําใหผูที่ตองรับโทษตองประสบความลําบากหรือเหตุการณรูปแบบอื่นๆ ซึ่งเปนที่ยอมรับ

โดยทั่วไปวาเปนสภาวะที่ไมพึงปรารถนา ทั้งนี้เพื่อเปนไปตามผลแหงการกระทําความผิดซึ่งได

กําหนดใหเปนความผิดโดยกฎหมาย48 นอกจากนี้ศาสตราจารย Herbert L. Packer ไดเสนอ

หลักเกณฑในการกําหนดโทษอาญาไว คือ เปนกรณีที่คนสวนใหญในสังคมเห็นวาการกระทํานั้น

คุกคาม เปนอันตรายรายแรงตอการอยูรวมกันของคนในสังคม โดยมีลักษณะเปนอาชญากรรม

รายแรงที่มีผลกระทบตอความปลอดภัยของบุคคลและสังคม เชน การฆาผูอื่น การขมขืน การใช

กําลังประทุษราย โดยการลงโทษทางอาญาตองทําใหการกระทําผิดนั้นลดนอยลงแตไมทําให

44มาตรา 60 ผูใดฝาฝนมาตรา25 (3) ตองระวางโทษปรับไมเกินหาหมื่นบาท45มาตรา58 ผูใดฝาฝนมาตรา 25 (1) ตองระวางโทษจําคุกไมเกินสองปหรือปรับไมเกินสองหมื่นบาท

หรือทั้งจําทั้งปรับ46พระราชบัญญัติอาหาร พุทธศักราช 2522 หมวด 8 บทกําหนดโทษ 47-75.47คณิต ณ นคร. กฎหมายอาญาภาคทั่วไป. พิมพครั้งที่ 4. สํานักพิมพวิญูชน, กรกฎาคม 2554,

หนา 425.48คณิต ณ นคร.เรื่องเดียวกัน, หนา 427.

Page 78: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

61

พฤติกรรมที่พึงประสงคของสังคมลดนอยลง โดยหากกําหนดเปนความผิดอาญาแลวจะสามารถ

บังคับใชกฎหมายอยางเสมอภาคและเทาเทียมกัน ทั้งนี้ตองคํานึงถึงประสิทธิภาพในการสืบหา

และจับกุมผูกระทําความผิดเปนสําคัญ กลาวคือ กระบวนการยุติธรรมทางอาญาตองมี

ประสิทธิภาพในการพิสูจนความผิดและลงโทษผูกระทําความผิด โดยไมกอใหเกิดภาระแกการ

ดําเนินกระบวนการจนเกินขอบเขตทั้งดานคุณภาพและปริมาณ ทายที่สุดไมมีทางเลือกอื่นใดที่

เหมาะสมกวาการลงโทษทางอาญา49

ลักษณะสําคัญของโทษนั้น โดยท่ัวไปมีอยู 3 ประการ50 ดังนี้

1. โทษตองเปนไปตามกฎหมาย หมายความวา การลงโทษผูใดจะตองมีกฎหมายบัญญัติ

วาการกระทํานั้นเปนความผิดและกําหนดโทษไวและโทษที่จะลงแกผูนั้นจะตองมีวิธีการและ

จํานวนโทษเปนไปตามที่กฎหมายกําหนด หลักนี้เปนหลักประกันสิทธิเสรีภาพของประชาชนอันมา

จากภาษิตในภาษาละตินที่วา “Nulla Poena Sine Lege” หรือที่ภาษาไทยแปลวา “ไมมีโทษ ถาไม

มีกฎหมาย” ซึ่งหลักการนี้มีบัญญัติรับรองไวในประมวลกฎหมายอาญามาตรา 2 วรรคแรกที่วา

“บุคคลจะตองรับโทษในทางอาญาตอเมื่อไดกระทําการอันกฎหมายที่ใชในขณะกระทํานั้นบัญญัติ

เปนความผิดและกําหนดโทษไว และโทษที่จะลงแกผูกระทําความผิดนั้นตองเปนโทษที่บัญญัติไว

ในกฎหมาย”

2. โทษตองเปนไปโดยเสมอภาค หมายความวา การลงโทษบุคคลผูกระทําความผิดใน

ฐานใดฐานหนึ่งจะตองกระทําโดยไมเลือกปฏิบัติไมวาผูนั้นจะมีความแตกตางกันในฐานะ

สภาพแวดลอมหรือปจจัยอื่นๆ เมื่อกระทําความผิดฐานเดียวกันจะตองไดรับโทษในอัตราเดียวกัน

อยางไรก็ตาม โทษตองเปนไปโดยเสมอภาคนี้ไมจําเปนตองถึงขนาดที่วาทุกคนที่กระทําความผิด

ฐานเดียวกัน ตองรับโทษจํานวนเทากับเพราะเปนดุลพินิจของศาลที่จะกําหนดโทษคํานึง

พฤติการณ หรือความรายแรงแหงความผิดเปนรายคดีไป

3. โทษเปนเรื่องเฉพาะตัว หมายความวา โทษนั้นเปนเรื่องที่จะกระทําตอตัวผูกระทําผิด

โดยตรงเทานั้น จะไมมีการตกทอดไปยังทายาทดังเชนสิทธิและหนาที่อันเกี่ยวดวยทรัพยสินตาม

กฎหมายมรดก ดังนี้ เมือผูกระทําผิดถึงแกความตาย โทษจึงเปนอันระงับไปตามประมวลกฎหมาย

อาญา มาตรา 38

49สหธน รัตนไพจิตร. ความประสงคของการลงโทษอาญา. วิทยานิพนธปริญญานิติศาสตร มหาบัณฑิต

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร 2527, หนา 38-4250จิตติ ติงศภัทิย. กฎหมายอาญา ภาค 1. กรุงเทพมหานคร: สํานักอบรมศึกษา กฎหมายแหงเนติ

บัณฑิตยสภา, 2525, หนา.876-886.

Page 79: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

62

การลงโทษเปนเครื่องมือสงเสริมประสิทธิภาพของกฎหมาย เมื่อกฎหมายประกาศใช

บังคับยอมหมายความวา กฎหมายเหลานั้นจะตองไดรับวิธีการบังคับใชหรือมีอํานาจบังคับ

เนื่องจากกฎหมายเดิมมีขึ้นเพื่อสนองประโยชนและความตองการของประชาชนจึงไมอาจยอมใหมี

การเลือกเคารพกฎหมายหรือใหบุคคลใชดุลพินิจในการปฏิบัติตามกฎหมายได โดยหลักทั่วไป

บุคคลทุกคนตองอยูภายใตกฎหมาย แตมิไดหมายความวากฎหมายคืออํานาจบังคับ กฎหมายจะ

มีคุณคาใชบังคับไดก็ตอเมื่อเปนกฎหมายที่ตราขึ้นใชบังคับโดยชอบดวยกฎเกณฑเทานั้น การ

ลงโทษจึงมิใชสาระสําคัญของกฎหมาย แตเปนสวนประกอบที่ชวยใหกฎหมายไดรับการปฏิบัติ

ตามอยางถูกตองสมบูรณยิ่งขึ้นเทานั้น มีหนาที่ค้ําจุนและสนับสนุนใหกฎหมายไดรับการยอมรับ

นับถือและปฏิบัติจนบรรลุผลเปนปจจัยที่มุงหวังผลในทางจิตใจของสมาชิกในสังคม เพื่อใหเกิด

ความเกรงกลัว และปฏิบัติตามบัญญัติของกฎหมาย เมื่อมีผูใหญปฏิบัติตามกฎหมาย ก็จะมีการ

ลงโทษอาญา ซึ่งอาจเปนการบังคับตอบุคคล ทรัพยสิน ชื่อเสียง และเกียรติยศ51

อยางไรก็ดี เปนที่ทราบวาในรัฐสมัยใหม (Modern State) รัฐเปนผูลงโทษผูกระทํา

ความผิด ซึ่งสามารถแบงทฤษฎีการลงโทษออกเปน 2 ทฤษฎีใหม คือ ทฤษฎีทดแทน (Retributive

Theory) ที่มุงพิจารณาถึงสิ่งที่ผูกระทําผิดตองชดใชตอสิ่งที่ตนไดกระทําไปแลวในอดีต และทฤษฎี

อรรถประโยชน (Utilitarian Theory) ที่มุงพิจารณาวิธีการปองกันมิใหเกิดการกระทําผิดขึ้นอีกใน

อนาคต ดังมีรายละเอียดดังนี้คือ52

(ก) ทฤษฎีทดแทน (Retributive Theory)

การลงโทษเพื่อการทดแทนเปนวัตถุประสงคการลงโทษที่เกาแกที่สุดอยางหนึ่งและมีความ

แพรหลาย มั่นคงกวาวัตถุประสงคอยางอื่นตลอดมาจนกระทั่งปจจุบัน เหตุผลในการทดแทนสวน

ใหญขึ้นอยูกับความรูสึกที่จะแกแคนของผูที่ถูกประทุษราย ปฏิกิริยาในการแกแคนเปนสิ่งที่มีอยูใน

มนุษยเชนเดียวกับสัตวอื่นมาตั้งแตดึกดําบรรพ53โดยถือวาเปนการชดใชความผิดอยางหนึ่ง54

ความประสงคนี้มีแนวคิดมาจากการที่เชื่อวาบุคคลทั่วไปมีเจตจํานงอิสระ (free will) ในการ

ตัดสินใจกระทําการใดๆ ดังน้ัน จึงตองรับผิดชอบตอการกระทํานั้นๆ ของตนเมื่อทําผิดแลวก็ตองรับ

โทษใหสาสมแกความผิด ดังนั้น ถาถือความคิดนี้อยางเครงครัดแลว การลงโทษดวยความประสงค

51ถนัด คอมมันตร. ปรัชญากฎหมาย. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2518, หนา.27-28.52ณรงค ใจหาญ. กฎหมายอาญาวาดวยโทษและวิธีการเพื่อความปลอดภัย.พิมพครั้งที่ 1.

กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพวิญูชน, 2543, หนา. 20-21.53อุทิศ แสนโกศิก. กฎหมายอาญา ภาค 1. กรุงเทพมหานคร: เรือนแกวการพิมพ2525, หนา.19.54สหธน รัตนไพจิตร. เร่ืองเดียวกัน, หนา 33-34

Page 80: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

63

นี้จึงไมพิจารณาวาจะมีประโยชนในอนาคตไมวาจะเปนสวนรวมหรือสวนตัวของผูกระทําอยาไร

หรือไม และหากจะเกิดประโยชนดังกลาวขึ้นจริง ก็เปนเพียงผลพลอยไดจากการลงโทษเทานั้น

และถาจะไมเกิดประโยชนใดๆ เลย ก็ไมเปนปญหาเพราะผูกระทําไดรับลงโทษอันเนื่องมาจากการ

กระทําความผิดของตนแลว55โดยการลงโทษที่ชอบธรรมจะตองประกอบไปดวย 3 ประการคือ

ประการแรก การลงโทษจะตองกระทําเพื่อแกไขความเสียหายที่ผูกระทํากอขึ้นเพื่อทดแทน

ความรูสึกของผูเสียหายที่สูญเสียไปเนื่องจากกระทําความผิด (Vindication) หมายถึงความถูก

ตองของการลงโทษจะตองกระทําไปเพื่อทดแทนหรือแกแคนใหผูเสียหายจากการที่ผูกระทําผิดได

ทําใหเกิดความเสียหายขึ้น ทําใหผูเสียหายพอใจและคิดวายุติธรรมแลว การละเลยเรื่องความรูสึก

ของผูเสียหายที่ตองการแกแคนแกผูกระทําผิดนั้นเปนสิ่งที่ไมถูกตองเพราะจะทําใหผูเสียหายหรือ

ญาติพี่นองรูสึกเสื่อมศรัทธาที่มีตอรัฐวาไมอาจเยียวยาความเสียหายได การลงโทษโดยคํานึง

ความพอใจของผูเสียหายนี้จะทําใหผูเสียหายยอมรับวาการลงโทษโดยรัฐเปนความชอบธรรมและ

ยอมรับวาการแกแคนผูกระทําผิดไมใชหนาที่ของเอกชนแตเปนหนาที่ของรัฐโดยแท

ประการที่สอง การลงโทษจะตองกระทําเพื่อใหเกิดความเปนธรรม (Fairness) มีหลักการ

วาการจะใหกฎหมายมีผลคุมครองผลประโยชนสุขแกสวนรวม คนทุกคนจะตองเคารพและปฏิบัติ

ตามกฎหมาย การที่ผูกระทําฝาฝนกฎหมายอาญาแตละครั้งเทากับวาผูกระทําผิดเอาเปรียบบุคคล

อื่นที่เชื่อกฎหมาย ดังนั้น การลงโทษผูกระทําผิดจึงเปนการที่ทําใหผูกระทําผิดและบุคคลที่เชื่อฟง

กฎหมายตระหนักวา บุคคลที่จะละเมิดกฎหมายจะตองถูกดําเนินคดีและผูทีไดเปรียบจากการฝา

ฝนกฎหมายจะตองถูกลงโทษ การลงโทษแกผูกระทําผิดจึงควรมีความรุนแรงเทากับความ

ไดเปรียบที่ผูกระทําไดรับจากการฝาฝนกฎหมายนั้น โดยถือวาผูกระทําผิดไดจายหนี้กันเกิดจาก

การทําผิดใหแกบุคคลที่เชื่อฟงกฎหมายซึ่งเปนสมาชิกในสังคมนั้น56

ประการสุดทาย การลงโทษจะตองไดสัดส วนกับความร ายแรงของความผิด

(Proportionality of Punishment) ทฤษฎีนี้เห็นวาโทษที่ผูกระทําผิดควรจะไดรับจะตองเทากับ

ความเสียหายที่เขาไดกระทําผิดนั้น แตอาจมีขอยกเวน คือ กรณีที่การลงโทษสูงกวาความเสียหาย

ที่ผูกระทํากอขึ้นนั้นสามารถกระทําไดในกรณีของการลงโทษจําคุกตลอดชีวิตแกผูกระทําผิดที่เปน

อันตรายตอสังคม ทั้งนี้เพื่อปกปองสังคมใหปลอดภัยยิ่งขึ้น ในทางตรงกันขาม การลงโทษอาจต่ํา

55ทวีเกียรติ มีนะกนิษฐ. คําอธิบายกฎหมายอาญาภาคทั่วไป. พิมพครั้งที่ 13. กรุงเทพมหานคร :

สํานักพิมพวิญูชน, 2554, หนา 209.56ณัฐฐวัฒน สุทธิโยธิน. “ทฤษฎีอาชญาวิทยา.” ในเอกสารการสอนชุดวิชา กฎหมายอาญาและอาชญา

วิทยาชั้นสูง หนวยที่ 5. สาขาวิชานิติศาสตร นนทบุรี:มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, หนา 3-5.

Page 81: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

64

กวาสัดสวนแหงความผิด ในกรณีที่ผูกระทําผิดไมมีโอกาสที่จะกระทําผิดนั้นอีก ดังนั้น ผูกระทํา

ความผิดจะไดรับการลดโทษหรือการรอการลงโทษและใหอยูภายใตเงื่อนไขการคุมประพฤติ57 โดย

หลักการพิจารณาในเรื่องสัดสวนของโทษจะตองพิจารณาถึงสภาพและความหนักเบาของ

ความผิดซึ่งประกอบดวยความรายแรงของความเสียหายในทางการกระทําและผลตอสังคมอันเกิด

จากการกระทําผิดนั้น

(ข) ทฤษฎีอรรถประโยชน (Utilitarian Theory)

แนวความคิดของทฤษฎีนี้มีรากฐานตั้งแตยุคกรีก และพัฒนาเรื่อยมากระทั่งปจจุบันโดย

มองลักษณะของสังคมและกฎหมายอาญาวา มนุษยมีลักษณะพยายามแสวงหาความพอใจ

หลีกเลี่ยงความเจ็บปวด มิไดมุงลงโทษในสิ่งที่ไดกระทําผิดไปแลวในอดีต เปนการปฏิเสธการ

ลงโทษแบบทดแทน แตเปนการลงโทษเพื่อปองกันการที่ผูนั้นหรือบุคคลอื่นจะกระทําผิดขึ้นอีกบน

พื้นฐานของความมีมนุษยธรรม ผูกระทําผิดจะตองไดรับการเยียวยารักษา เพื่อใหมีชีวิตอยูใน

สังคมไดอยางมีความสุข การลงโทษที่มีความชอบธรรมก็คือการลงโทษเพื่อปองกันมิใหความผิด

เกิดขึ้นอีกในอนาคต ทั้งนี้เพื่อเตือนใหผูกระทําผิดและผูอื่นตระหนักถึงผลของการฝาฝนกฎหมาย

เพื่อลดอาชญากรรม ซึ่งสามารถแบงวัตถุประสงคการลงโทษเปน 3 วัตถุประสงคดวยกัน ดังนี้คือ

1) การขมขูยับยั้ง (Deterrence) ตามทฤษฎีขมขูยับยั้ง (Deterrence Theory) อธิบายวา

วัตถุประสงคของกฎหมายและระบบยุติธรรมมีไวเพื่อขมขู (Threat) มิใหกระทําผิด โดยอยูบน

พื้นฐานความเชื่อที่วา การที่บุคคลจะตัดสินใจกระทําความผิดจะตองมีการชั่งน้ําหนักระหวางผลดี

ที่ไดมาจากการกระทําความผิดและผลเสียที่ไดจากการกระทําความผิดนั่นคือ บทลงโทษ เมื่อ

พิจารณาแลวเห็นวาประโยชนที่ไดจากการกระทําผิดสูงกวาการถูกจับกุม การถูกดําเนินคดี หรือ

การไดรับบทลงโทษ ก็จะเลือกกระทําความผิด ดังนั้น วิธีการหนึ่งที่จะทําใหบุคคลไมตัดสินใจ

กระทําความผิดคือ การเพิ่มบทลงโทษ เพื่อใหผูที่คิดจะกระทําความผิดเล็งเห็นแลววาผลประโยชน

ที่ไดจากกากระทําความผิดไมคุมคา และลมเลิกที่จะกระทําความผิดนั้น เพราะมนุษยที่คิดอยางมี

เหตุมีผลยอมหลีกเลี่ยงความเจ็บปวด แตมุงที่จะแสวงหาความพอใจและความสุข58 ซึ่งในทาง

ทฤษฎี แบงลักษณะของการขมขูยับยั้งออกเปน 2 ลักษณะคือ

ลักษณะแรกคือ การขมขูยับยั้งทั่วไป (General Deterrence) กฎหมายที่ดี มีประสิทธิภาพ

ที่สามารถควบคุมมิใหเกิดการกระทําความผิดไดนั้นจะตองมีการลงโทษที่แนนอนเขมงวดและ

รวดเร็ว เนื่องจากโทษเปนเครื่องมือที่ใชในการขมขูใหคนกลัว และไมกลากระทําความผิด

57ณัฐฐวัฒน สุทธิโยธิน. เรื่องเดียวกัน, หนา.22.58ณัฐฐวัฒน สุทธิโยธิน. เรื่องเดียวกัน, หนา 28-29.

Page 82: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

65

นอกจากนี้เมื่อผูกระทําความผิดถูกจับกุมมาดําเนินคดีก็จะเกิดความละอาย ซึ่งเมื่อผูอื่นพบเห็นก็

จะไมกลากระทําความผิด เพราะหากตนกระทําเชนนั้นบางก็อาจประสบสิ่งที่ไมพึงปรารถนาเชนวา

นี้ เชน เมื่อบุคคลไดไปฆาผูอื่นจนเปนเหตุใหผูเสียหายถึงแกความตาย และถูกจับกุมดําเนินคดี

เมื่อสังคมรับรูก็ยอมตองประณามการกระทําเชนวานี้ ผูกระทําความผิดก็เกิดความละอาย และ

เมื่อศาลพิจารณาพิพากษา อาจถูกพิพากษาลงโทษจําคุกเปนเวลาหลายปจําคุกตลอดชีวิต หรือ

แมกระทั่งถูกประหารชีวิตก็เปนได เมื่อผูอื่นพบเห็นผลลัพธเชนวานี้ก็ยอมทําใหเกิดความกลัวที่จะ

ไดรับโทษ และไมกลากระทําความผิด อันเปนลักษณะของการขมขูยับยั้งทั่วไป

สวนอีกลักษณะหนึ่งคือ การขมขูเฉพาะราย (Specific Deterrence) โดยการขมขูเฉพาะ

รายนี้จะเกิดขึ้นกับผูกระทําความผิดโดยตรง เพื่อใหผูกระทําความผิดเกิดความเข็ดหลาบ

หวาดกลัว ไมใหกระทําความผิดซ้ําอีก เพราะไมอยากทนกับสภาพที่เคยไดรับมากอนในอดีต เชน

เมื่อผูกระทําความผิดฐานฆาผูอื่นโดยเจตนา และไดรับบทลงโทษจําคุกเปนเวลาหลายป ทําให

ไดรับความลําบากในระหวางที่รับโทษอยู เกิดความละอาย สํานึกผิดและไมกลากระทําความผิด

อีกเชน

(1) เพื่อเปนการขมขูตัวผูกระทําความผิดนั้นเองใหเกิดความเข็ดหลาบ ไมกลากระทํา

ความผิดซ้ําขึ้นอีก

(2) เพื่อเปนตัวอยางใหคนทั่วไปเห็นวาเมื่อกระทําผิดแลวจะตองไดรับโทษเพื่อคนทั่วไปที่

ไดทราบจะไดเกรงกลัว ไมกลากระทําผิดขึ้นบาง59 ซึ่งการบังคับโทษที่ดีจะตองมีลักษณะ 4

ประการ คือ

1. การลงโทษจะตองมีความแนนอน (Certainty) หมายความวา จะตองลงโทษแกบุคคล

ทุกคนที่ฝาฝนกฎหมาย ดังนั้นบุคคลที่ทําผิดจะตองถูกฟองและลงโทษตามกฎหมาย

2. การลงโทษจะตองมีความรุนแรง (Severity) หมายความวา ความรายแรงของโทษที่จะ

ลงแกผูกระทําความผิดจะตองรายแรงพอที่จะยับยั้งความตองการในการทําผิด

3. การลงโทษจะตองกระทําโดยฉับไว (Celerity) หมายความวา กระบวนการพิจารณา

และลงโทษนั้นจะตองกระทําไปโดยรวดเร็ว มิใชรอไวเปนเวลานานจนคนทั่วไปลืม

4. การลงโทษจะตองกระทําโดยเปดเผยตอสาธารณะชน (Publicity) หมายความวา การ

ลงโทษจะตองกระทําใหสาธารณะชนเห็นหรือรับทราบเพื่อใหเห็นผลรายจากการกระทําความผิด

59เกียรติขจร วัจนะสวัสดิ์. คําอธิบายกฎหมายอาญา ภาค 1. พิมพครั้งที่ 9. หางหุนสวนจํากัดจิรัชการ

พิมพ, 2549, หนา 846.

Page 83: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

66

2) การปรับปรุงแกไข (Reformation)60พื้นฐานของแนวความคิดคือ การที่บุคคลกระทํา

ความผิดเกิดขึ้นจากการที่จิตใจของผูนั้นเห็นวาสิ่งที่เขากระทําเปนสิ่งที่ถูกตองจึงกระทําลงไปโดย

ไมรูวาการกระทํานั้นฝาฝนปทัสถานของสังคม เนื่องจากสภาพแวดลอมของผูนั้นหรือสภาพจิตใจที่

มีความเห็นที่ผิดไป ดังนั้นหากผูกระทําผิดไดรับการแกไขหรือเยียวยาจิตใจใหมีคานิยมและ

ทัศนคติที่ถูกตองตรงกับปทัสถานของสังคมก็จะทําใหผูนั้นหลีกเลี่ยงไมกระทําผิดอีกตอไป โดย

ไมไดมุงหมายจะใหมีผลถึงบุคคลอื่นดวย ผลของการลงโทษในลักษณะนี้จึงคลายคลึงกับการขมขู

โดยเฉพาะตัวผูกระทําผิด เพราะมีความประสงคมิใหบุคคลนั้นกระทําผิดขึ้นอีก แตตางกันตรงที่

การสรางแรงจูงใจในการกระทําความผิด กลาวคือ การขมขูใชการลงโทษที่รุนแรงเปนวิธีทําใหผูนั้น

กลัว แตการแกไขฟนฟูจิตใจผูกระทําผิด ใชโทษเปนเครื่องมือทําใหจิตใจของผูนั้นยอมรับวาการ

กระทําผิดเปนสิ่งที่ไมถูกตอง และตัดสินใจเลือกปฏิบัติตามกฎหมายแทน61

วิธีการลงโทษที่ทําใหเกิดผลดีเปนการแกไขหรือฟนฟูจิตใจผูกระทําผิดอาจกระทําไดหลาย

วิธีขึ้นอยูกับลักษณะและพื้นฐานของจิตใจของผูกระทําผิด จึงกอใหเกิดหลักการลงโทษผูกระทํา

ความผิดตามลักษณะเฉพาะตัว (Individualization) ขึ้น ซึ่งเปนการลงโทษและแกไขฟนฟูผูกระทํา

ผิดเปนรายบุคคล โดยมุงเนนไปเพื่อบําบัดรักษา (Treatment) แทนการลงโทษใหไดรับความ

เจ็บปวด (Pain) ทั้งนี้เห็นวาโทษจําคุกเปนโทษที่ทําใหคุณลักษณะประจําตัวของความเปนคน

เสื่อมลง เนื่องจากถูกคุมขับในเรือนจํา ทําใหฐาน ชื่อเสียงเสื่อมลงในสายตาผูอื่น ทําใหไดรับการ

ปฏิเสธเขาทํางานหรือเขาสังคม ทําใหเสียโอกาสที่จะประกอบอาชีพโดยสุจริตตอไป การที่มิได

แยกตัวบุคคลที่กระทําผิดติดนิสัยกับบุคคลซึ่งเพิ่งตองโทษจําคุกเปนครั้งแรกกอใหเกิดการ

ถายทอดพฤติกรรมของการกออาชญากรรม จากหลักการลงโทษผูกระทําความผิดตามลักษณะ

เฉพาะตัวทําใหเกิดวิธีการในการปฏิบัติกับผูตองโทษ เชน การแยกประเภทนักโทษเพื่อแกไขให

เหมาะสมกับลักษณะของนักโทษแตละราย หลีกเลี่ยงโทษจําคุกระยะสั้น ใชวิธีการปลดปลอยผู

ตองโทษซึ่งไดรับการแกไขกอนครบกําหนดและกําหนดวิธีการแกไขปรับปรุงตองโทษและอยูใน

เรือนจํา เชน ฝกหัด อาชีพ อบรมทางการศึกษา และศีลธรรมหรือทําใหการรักษาพยาบาล เพื่อ

แกไขจิตใจผูนั้นใหมีทัศนคติที่สอดคลองกับสังคมเมื่อออกจากเรือนจํา

3) การตัดไมใหมีโอกาสกระทําผิดอีก (Incapacitation)62ทฤษฎีนี้พิจารณาวาการลงโทษ

ทําใหบุคคลนั้นหมดความสามารถในการกระทําผิด สังคมจึงปลอดภัยจากการกระทําความผิดซึ่ง

60เรื่องเดียวกัน. หนา 33.61เรื่องเดียวกัน. หนา 31.62เรื่องเดียวกัน. หนา 40.

Page 84: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

67

เกิดจากบุคคลผูตองโทษนั้น ทั้งนี้แมวาผูตองโทษจะเกรงกลัวโทษหรือจะไดรับการฟนฟูจิตใจให

กลับตัวเปนคนดีจากการรับโทษหรือไมก็ไมสําคัญ แตใหพิจารณาวาในระหวางที่ผูตองโทษไดรับ

โทษอยูจะถูกตัดความสามารถในการกระทําผิดอีก ความมุงหมายของแนวคิดนี้จึงคลายกับการ

ลงโทษเพื่อขมขูหรือเพื่อแกไขฟนฟูกระทําผิดแตตางกันตรงที่แนวความคิดนี้มุงปองกันการกระทํา

ผิดซ้ํา โดยวิธีการทําใหหมดโอกาสในการกระทําผิด63ทั้งนี้การลงโทษเปนการใหสังคมปลอดภัย

ทั้งนี้หมายความวาการลงโทษเปนการทําใหสังคมพนจากภยันตรายอันจะพึงบังเกิดจากการ

กระทําความผิดของผูกระทําความผิดซ้ําอีกในเวลาภายหนา64จึงกลาวไดวาวิธีการลงโทษตาม

แนวความคิดนี้จะตองเปนวิธีที่ทําใหผูนั้นหมดโอกาสกระทําผิดตลอดไป เชน การประหารชีวิตหรือ

การจําคุกมีกําหนดเวลาจนกวาจะแนใจวาผูนั้นไมเปนอันตรายแกสังคมอีกเปนตน

2.2.13 แนวคิดและหลักภาระการพิสูจนหลักความรับผิดสําคัญในพระราชบัญญัติความรับผิดตอความเสียหายที่เกิดขึ้นจาก

สินคาที่ไมปลอดภัย คือ หลักความรับผิดโดยเครงครัด (strict liability) ไมใชหลักความรับผิด

เด็ดขาด (absolute liability) โดยภายใตหลักความรับผิดโดยเด็ดขาดนั้น หากมีความเสียหาย

เกิดขึ้น ผูประกอบการตองรับผิดทันที โดยผูเสียหายไมตองมีหนาที่นําสืบสิ่งใดๆ แตอยางไรก็ตาม

เมื่อพระราชบัญญัตินี้ไมไดถือหลักความรับผิดโดยเด็ดขาด หากแตถือหลักความรับผิดโดย

เครงครัด เพื่อใหความเปนธรรมแกผูประกอบการดวย มาตรา 6 นี้ จึงไดกําหนดหนาที่หรือภาระ

การพิสูจนใหแกผูเสียหายบางประการ ซึ่งผู เสียหายตองพิสูจนใหไดตามที่กฎหมายกําหนด

ผูประกอบการจึงจะมีความรับผิดภาระการพิสูจนของผูเสียหายหรือผูฟองคดีแทนผูเสียหายในการ

เรียกรองคาเสียหายจากผูประกอบการนั้น มีภาระการพิสูจนที่สําคัญ 2 ประการ ไดแก

ประการแรก ตองพิสูจนวาผูเสียหายไดรับความเสียหายจากสินคาของผูประกอบการ

และ

ประการที่สอง การใชหรือการเก็บรักษาสินคานั้นเปนไปตามปกติธรรมดา

โดยเมื่อมีการพิสูจนไดครบถวนทั้ง 2 ประการขางตนแลว พระราชบัญญัตินี้ถือวา

ผูประกอบการตองรับผิด โดยผูเสียหายไมตองมีภาระหนาที่ในการนําสืบถึงความจงใจหรือ

ประมาทเลินเลอของผูประกอบการเหมือนดังเชนการฟองรองคดีละเมิดตามประมวลกฎหมายแพง

63เรื่องเดียวกัน. หนา 34. 64หยุด แสงอุทัย. กฎหมายอาญาภาค1. โดยทวีเกียรติ มีนะกนิษฐ บรรณาธิการ ฉบับพิมพครั้งที่ 19.

กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2547, หนา 253.

Page 85: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

68

และพาณิชย อนึ่ง ผูประกอบการจะไมตองรับผิด ก็แตกรณีที่ผูประกอบการสามารถพิสูจนใหเห็น

วาตนมีเหตุที่จะหลุดพนไมตองรับผิดในความเสียหายอยางไร โปรดดูมาตรา 7 และ 8 ประกอบ

อยางไรก็ดี มีขอสังเกตวา ภาระการพิสูจนของผูเสียหายในที่นี้ ไมรวมถึงการพิสูจนวา

สินคาที่กอใหเกิดความเสียหายนั้นเปนสินคาที่ไมปลอดภัย ทั้งนี้ เพราะโดยภาพของความรับรูใน

เรื่องที่วาสินคานั้นปลอดภัยหรือไมปลอดภัย อยูในความรับรูของผูประกอบการแตเพียงฝายเดียว

ดังนั้น กฎหมายจึงไดกําหนดใหเปนภาระหนาที่ของผูประกอบการที่จะนําสืบเพื่อใหตัวเองพน

ความรับผิดในประเด็นที่วาสินคานั้นมิไดเปนสินคาที่ไมปลอดภัย

1. การพิสูจนวาผูเสียหายไดรับความเสียหายจากสินคาของผูประกอบการการพิสูจนวาผูเสียหายไดรับความเสียหายจากสินคาของผูประกอบการ มีความชัดเจนอยู

ในตัววา เปาหมายของการนําสืบของผูเสียหายที่นําพยานหลักฐานตางๆ มาแสดงตอศาล ตองทํา

ใหศาลเชื่อวา ความเสียหายที่ผูเสียหายไดรับเกิดขึ้นจากสินคาของผูประกอบการ (causation)

สําหรับปญหาวาจะใชพยานหลักฐานใดในการพิสูจนวาผูเสียหายไดรับความเสียหายจาก

สินคาของผูเสียหายจากสินคาของผูประกอบการนั้น ยอมเปนไปตามประมวลกฎหมายวิธี

พิจารณาความแพง ในสวนที่เกี่ยวกับพยานหลักฐาน กลาวคือ สามารถใชทั้งพยานบุคคล พยาน

เอกสารพยานวัตถุ และอื่น ๆ65

ตัวอยางเชน

นาย ก. ไดรับความเสียหายจากการใชรถยนตยี่หอหนึ่งซึ่งมีปญหาเกี่ยวกับพวงมาลัย

เพาเวอรทําใหไมสามารถควบคุมรถยนตได โดยในระหวางนาย ก. ขับรถยนตเดินทางไป

ตางจังหวัด รถยนตสูญเสียการควบคุม จนเปนเหตุใหพุงชนเสาไฟฟา รถยนตไดรับความเสียหาย

และ นาย ก. ไดรับบาดเจ็บ ตองรักษาตัวในโรงพยาบาลในการที่นาย ก. จะฟองรองเรียกให

ผูประกอบการรถยนตคันดังกลาวรับผิดในความเสียหายที่เกิดขึ้น นาย ก. ตองนําสืบใหศาลเห็นวา

ความเสียหายที่นาย ก. ไดรับ เกิดขึ้นจากการที่นาย ก. ขับรถยนตอันเปนสิคาของผูประกอบการ

แลวประสบอุบัติเหตุชนเสาไฟฟา โดยนาย ก. สามารถอางตนเปนพยานในคดีได นําสืบพยาน

เอกสารที่เปนใบเสร็จคารักษาพยาบาล ความเห็นทางการแพทย ตลอดจนหากจําเปนก็สามารถนํา

แพทยที่รักษามาเบิกความเปนพยานเพื่อใหเห็นถึงความเสียหายที่ นาย ก. ไดรับได

ในเรื่องการนําสืบวาผูเสียหายไดรับความเสียหายจากสินคาของผูประกอบการ มีประเด็น

ที่นาพิจารณา ดังตอไปนี้

65 โปรดดูประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา 84 – 105 ประกอบ

Page 86: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

69

(1) การพิสูจนวาสินคาที่กอใหเกิดความเสียหายเปนสินคาที่ผลิต ขาย หรือนําเขา โดย

ผูประกอบการนั้น

(2) ผูเสียหายไมตองนําสืบวาสินคาเปนสินคาที่ไมปลอดภัย

(3) การพิสูจนความสัมพันธระหวางการกระทําและผล (causation)

1.1 การพิสูจนวาสินคาที่กอใหเกิดความเสียหายเปนสินคาของผูประกอบการในการนําสืบเพื่อพิสูจนวาผูเสียหายไดรับความเสียหายจากสินคาของผูประกอบการ

ขั้นตอนแรกเริ่มของการนําสืบ ผู เสียหายตองนําสืบเพื่อระบุหรือแสดงใหเห็นวา “สินคา” ที่

กอใหเกิดความเสียหายนั้นเปนสินคาของผูประกอบการ คําวา “สินคาของผูประกอบการ” ในที่นี้

หมายถึง “ผูประกอบการ” ตามคํานิยามศัพทในพระราชบัญญัติความรับผิดตอความเสียหายที่

เกิดขึ้นจากสินคาที่ไมปลอดภัย พ.ศ.2551 กลาวคือ ผูเสียหายตองนําสืบแสดงใหเห็นวา สินคาที่

กอใหเกิดความเสียหายนั้น (1) ผลิต วาจางใหผลิต หรือ (2) นําเขาหรือ (3) ขายในกรณีที่ไม

สามารถระบุตัวผูผลิต ผูวาจางใหผลิตหรือผูนําเขาได หรือ (4) ใชชื่อ ชื่อทางการคา เครื่องหมาย

การคา เครื่องหมาย ขอความหรือแสดงดวยวิธีใดๆ อันมีลักษณะที่จะทําใหเกิดความเขาใจไดวา

เปนผูผลิต ผูวาจางใหผลิตหรือผูนําเขาโดยจําเลยที่ผูเสียหายเปนโจทกฟองเรียกคาสินไหมทดแทน

ซึ่งเรียกไดวาขั้นตอนนี้เปนการระบุตัวจําเลยใหชัดเจน

โดยปกติหากสินคาที่กอใหเกิดความเสียหายนั้นมีความชัดเจนวาใครเปนผูประกอบการ

เชน รถยนตที่กอใหเกิดความเสียหายนั้น ผลิตโดยผูประกอบการรายใด เปนตน เชนนี้จะไมมีความ

ยุงยากในการนําสืบเพื่อระบุตัวจําเลย แตปญหาจะเกิดขึ้นในกรณีที่สินคาที่กอใหเกิดความ

เสียหายนั้นเปนสินคาที่ใชทั่วไปในชีวิตประจําวัน และผูเสียหายก็เลือกใชสินคาประเภทเดียวกัน

นั้นจากหลากหลายผูผลิต เชน ความเสียหายเกิดขึ้นจากสินคาจําพวกน้ํายาลางหองนํา ซึ่ง

ผูเสียหายมีไวใชจํานวนหลากหลายยี่หอ เปนตน เชนนี้ ผูเสียหายมีหนาที่ในการนําสืบใหเห็นวา

ความเสียหาย

Page 87: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

70

ที่ไดรับนั้นเกิดขึ้นจากสินคาของผูประกอบการรายใด66 ดังนั้น หากผูเสียหายไมสามารถนําสืบระบุ

ไดชัดวาใครเปนผูประกอบการสําหรับสินคาที่กอใหเกิดความเสียหายนั้นๆ เชนนี้ผูเสียหายก็ไมอาจ

เรียกรองใหผูประกอบการรับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนได

1.2 ผูเสียหายไมตองนําสืบวาสินคาเปนสินคาที่ไมปลอดภัยประเด็นปญหาวา “สินคานั้นเปนสินคาที่ไมปลอดภัย” หรือไมพระราชบัญญัติความรับผิด

ตอความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินคาที่ไมปลอดภัย พ.ศ.2551 ไดกําหนดใหเปนภาระการพิสูจน

ของฝายผูประกอบการ เพราะเรื่องนี้อยูในความรับรูของผูประกอบการแตเพียงฝายเดียว ทําใหคดี

ฟองรองเกี่ยวกับความรับผิดในความเสียหายที่เกิดขึ้นในสินคาที่ไมปลอดภัยของประเทศไทยนั้น

ภาระการพิสูจนของฝายผูเสียหายนอยกวาคดีประเภทเดียวกันในตางประเทศ เชน ในประเทศ

สหรัฐอเมริกานั้น โดยสภาพของการพิสูจนวาความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินคาของผูประกอบการ

66 มีขอสังเกตวาเมื่อพิจารณาพระราชบัญญัติความรับผิดตอความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินคาที่ไม

ปลอดภัย พ.ศ.2551 ในมาตรา 5 ความตอนทายที่วา “ไมตองพิสูจนวาความเสียหายเกิดจากการกระทําของ

ผูประกอบการผูใด” อาจทําใหเกิดการเขาใจคลาดเคลื่อนไดวา ในการฟองคดีนั้นไมตองพิสูจนวา สินคาที่

กอใหเกิดความเสียหายเปน “สินคาของผูประกอบการ” ใดผู เขียนเห็นวาถอยคําดังกลาวในตัวบทนั้น

หมายความวา เมื่อมีการนําสืบเพื่อระบุตัวผูประกอบการที่จะเปนจําเลย เชน นําสืบไปแลววาสินคาที่กอใหเกิด

ความเสียหายนั้นเปนสินคาที่มี “ผูประกอบการ” ตามบทนิยามที่จะตองเกิดความเสียหายนั้นเปนสินคาที่มี

“ผูประกอบการ” ตามบทนิยามที่จะตองรวมรับผิดชอบหลายคน เชน ประกอบไปดวยผูผลิต ผูนําเขา ผูซึ่งใชชื่อ

ทางการคา เครื่องหมายการคา เครื่องหมาย ขอความหรือแสดงดวยวิธีใดๆ อันมีลักษณะที่จะทําใหเกิดความ

เขาใจไดวาเปนผูผลิต ผูวาจางใหผลิตหรือผูนําเขา เปนตน เชนนี้บุคคลเหลานี้จะเปนจําเลยรวมในคดี ซึ่งตองรับ

ผิดรวมกันในความเสียหายที่เกิดขึ้น ตามมาตรา 5 ดังนั้น เมื่อผูประกอบการตองรับผิดรวมกันเชนนี้แลว มาตรา

6 จึงกําหนดความไวตอนทายวา “แตไมตองพิสูจนวาความเสียหายเกิดจากการกระทําของผูประกอบการผูใด”

เพราะผูประกอบการทั้งหลายที่เปนจําเลยตองรับผิดรวมกันตอผูเสียหายนั่นเอง ผูเสียหายจึงไมตองนําสืบวา

ความเสียหายที่เกิดขึ้นนั้นเกิดจากการกระทําของผูประกอบการผูใดที่เปนจําเลยรวมนั้น ดังนั้น การนําสืบใน

ลําดับแรกเริ่มที่วา สินคาที่กอใหเกิดความเสียหายนั้นเปน “สินคาของผูประกอบการ” ใด เพื่อระบุผูประกอบการ

ที่จะตกเปนจําเลย จึงยังคงตองเปนหนาที่นําสืบของผูเสียหายที่เปนโจทกอยู มิไดหมายความวา เมื่อผูเสียหาย

ไดรับความเสียหายจากน้ํายาลางหองน้ําแลว ผูเสียหายไมตองนําสืบวาเปนน้ํายาลางหองน้ําที่มีบุคคลใดเปน

ผูประกอบการ หากแตสามารถฟองผูผลิตน้ํายาลางหองน้ําทุกรายใหเปนจําเลยรวมรับผิด หรือฟองผูผลิตรายใด

รายหนึ่งเปนจําเลยไดเลยทันที

Page 88: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

71

คือ ตองพิสูจนใหเห็นวาสินคาของผูประกอบการนั้น เปน “สินคาที่ไมปลอดภัย”67 ดวย เพราะหาก

สินคานั้นเปนสินคาที่ปลอดภัย ก็ยอมไมมีความรับผิดของผูประกอบการเกิดขึ้นภายใตหลักความ

รับผิดโดยเครงครัด การพิสูจนวาสินคานั้นเปนสินคาที่ไมปลอดภัย ในประเทศสหรัฐอเมริกาปกติ

ตองใชพยานผูเชี่ยวชาญนําสืบชวยแสดงใหเห็นขอเท็จจริงนี้

อยางไรก็ดี แมประเทศไทยฝายผูเสียหายจะไมตองนําพยานผูเชี่ยวชาญมานําสืบถึง

ประเด็นที่วา สินคานั้นเปนสินคาที่ไมปลอดภัยหรือไม หากแตพยานผูเชี่ยวชาญ (expert of

testimony) ในทางดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีก็จะมีสวนสําคัญในการสืบในคดี เพื่ออธิบาย

ความเกี่ยวของสัมพันธกันในเรื่องทางวิทยาศาสตรหรือวิศวกรรมของความปลอดภัยในสินคาและ

อุบัติเหตุที่เกิดขึ้นเพื่อใหศาลเห็นขอเท็จจริงดังกลาว เชน สืบใหเห็นวา สินคานั้นมีการผลิตอยางไร

สินคานั้นมีการทํางานอยางไร สินคานั้นจะไมทํางานเปนปกติไดอยางไร สินคานั้นอาจกอใหเกิด

อุบัติเหตุไดอยางไร และที่สําคัญคือ สืบใหเห็นวา สินคานั้นสามารถที่จะผลิตหรือกระทําการ

อยางไรเพื่อหลีกเลี่ยงไมใหเกิดอุบัติเหตุเชนนั้น เปนตน เหลานี้เปนความเกี่ยวของเชื่อมโยงในคดี

67ธนาวัฒน สังขทอง.(2542). “การเรียกคืนสินค้ําที่อาจเปนอันตรายตอผูบริโภค”.วิทยานิพนธนิติ

ศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.หนา 8.การที่กฎหมายในสหรัฐอเมริกาใหผูเสียหายที่เปนโจทก

ฟองเรียกคาเสียหายจากผูประกอบการอันเนื่องมาจากการไดรับความเสียหายจากสินคาที่ไมปลอดภัยของ

ผูประกอบการ มีหนาที่ในการนําสืบที่สําคัญประการแรกของโจทก คือ การสืบวาสินคานั้นเปนสินคาที่ไม

ปลอดภัยเนื่องดวยสาเหตุความบกพรอง (defect) ทําใหมีการพัฒนาหลักกฎหมายในเรื่องนี้ และในการศึกษา

กฎหมายความรับผิดในสินคาที่ไมปลอดภัยของสหรัฐอเมริกาจะใหความสําคัญเรื่องนี้คอนขางมาก ดังสังเกตได

จากตํารากฎหมายความรับผิดในผลิตภัณฑนั้นจะอธิบายเรื่องนี้ไวคอนขางมาก เชน ตําราของ Prof. Owen ให

พื้นที่ในการอธิบายเรื่องนี้ราวรอยละ 22 ของเนื้อหาทั้งหมดที่มีจํานวน 1,469 หนา มีการศึกษากันตามประเภท

ของความไมปลอดภัยของสินคา คือ สินคาที่ไมปลอดภัยจากการผลิต สินคาที่ไมปลอดภัยจากการออกแบบ

สินคาที่ไมปลอดภัยจากการเตือน อนึ่ง การที่กฎหมายในสหรัฐอเมริกากําหนดไวเชนนี้ ทําใหมีคาใชจายในการ

สืบพยานเพื่อพิสูจนความไมปลอดภัยของสินคาที่ตกเปนภาระของฝายผูเสียหายคอนขางมาก จึงนับวาผูราง

กฎหมายของประเทศไทยนั้น ไดพิจารณาในเรื่องนี้แลวบัญญัติกฎหมายที่เปนคุณแกผูเสียหายที่จะลดภาระคา

ใชจายและลดภาระการนําสืบพยานเพื่อพิสูจนความไมปลอดภัยของสินคาที่ตกเปนภาระของฝายผูเสียหาย

คอนขางมาก จึงนับวาผูรางกฎหมายของประเทศไทยนั้น ไดพิจารณาในเรื่องนี้ แลวบัญญัติกฎหมายที่เปนคุณ

แกผูเสียหายที่จะลดภาระคาใชจายและลดภาระการนําสืบ

Page 89: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

72

ฟองรองเรียกคาเสียหายตามกฎหมายความรับผิดในสินคาที่ไมปลอดภัย อันเปนความจําเปนที่

ตองใชองคความรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีเขามาประกอบการสืบพยาน68

พยานผูเชี่ยวชาญนี้จะมีความสําคัญในคดีฟองรองเรียกคาเสียหายอีกดวย เพราะศาลจะ

เปนผูตัดสินในขอเท็จจริงที่วา สินคาที่ไมปลอดภัยนั้นกอใหเกิดความเสียหายแกผูเสียหายหรือไม

ผูพิพากษานั้นไมอาจรูขอเท็จจริงเหลานี้ไดเอง จําตองใชพยานผูเชี่ยวชาญเขามาสืบเพื่อชวยให

เกิดความเขาใจแกศาล69 อยางไรก็ดี แมในบางกรณีความไมปลอดภัยของสินคาปรากฏชัดในกรณี

ความบกพรองที่เกิดขึ้นในการผลิต ซึ่งอาจไมจําตองใชพยานผูเชี่ยวชาญ แตพยานผูเชี่ยวชาญ จะ

ยังคงมีความจําเปนเพื่อพิสูจนถึงความจงใจหรือประมาทเลินเลอของผูผลิตอันจะสัมพันธกับการ

กําหนดความเสียหายของศาล

ในกรณีที่ความไมปลอดภัยของสินคาเกิดจากการเตือนที่บกพรอง (warning defects) แม

จะดูเปนการงายที่จะแสดงใหเห็นวา สินคานั้นมีคําเตือนหรือคูมือการใชที่บกพรองไมปลอดภัย

อยางไรไดงาย แตพยานผูเชี่ยวชาญจะชวยทําใหการพิสูจนเชนนี้มีความชัดเจนมากขึ้น โดยพยาน

ผูเชี่ยวชาญจะชวยแสดงใหเห็นวา การสื่อสารดังที่ปรากฏในคําเตือนหรือคูมือการใชนั้นเปนการ

สื่อสารที่มีขอมูลที่ไมครบถวน กอใหเกิดความอันตรายหรือความไมปลอดภัยอยางไรความสําคัญ

ของพยานผูเชี่ยวชาญจะทวีมากขึ้น หากมีการฟองรองบนพื้นฐานของสินคาที่ไมปลอดภัยจาก

ความบกพรองในการออกแบบ (design defects) ซึ่งสําหรับประเทศไทย ผูเขียนเห็นวาการนําสืบ

เชนนี้จะเปนประโยชนในประเด็นเกี่ยวกับการพิจารณาคาสินไหมทดแทน โดยเฉพาะหาก

ผูเสียหายนําสืบใหเห็นไดถึงการรูถึงความไมปลอดภัยของสินคาหรือมิไดรูเพราะความประมาท

เลินเลออยางรายแรง ก็ยอมทําใหเกิดขอเท็จจริงที่จะทําใหศาลกําหนดคาสินไหมทดแทนเพื่อการ

ลงโทษใหแกผูเสียหายตามพระราชบัญญัติความรับผิดตอความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินคาที่ไม

ปลอดภัยมาตรา 11 (2) ได

อนึ่ง ไมวาจะเปนการฟองรองใหรับผิดเพราะเหตุที่เกิดความเสียหายจากสินคาที่ไมปลอด

ภัยที่เกิดความไมปลอดภัยจากการผลิต การออกแบบ หรือการเตือนที่บกพรอง พยานผูเชี่ยวชาญ

จะมีความสําคัญในการแสดงใหศาลเห็นวา มีความสัมพันธระหวางความเสียหายที่เกิดขึ้นกับ

68พงษเดช วาณิชกิตติกูล. คําอธิบายพระราชบัญญัติความรับผิดตอความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินคาที่

ไมปลอดภัย พ.ศ.2551 หนา 51.69ศักดา ธนิตกุล. คําอธิบายและคําพิพากษาเปรียบเทียบกฎหมายความรับผิดตอความเสียหายที่

เกิดขึ้นจากสินคาที่ไมปลอดภัย. พิมพครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพวิญูชน, 2552, หนา 15-20.

Page 90: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

73

สินคาที่ไมปลอดภัยนั้น (causation) กลาวคือพยานผูเชี่ยวชาญจะชวยทําใหศาลเห็นวาความ

เสียหายที่เกิดขึ้นกับผูเสียหายนั้นเกิดขึ้นจากสินคาที่ไมปลอดภัยนั้น70

ปญหาที่มักจะเกิดขึ้นในการแสวงหาพยานผูเชี่ยวชาญมาเบิกความเปนพยานในศาลใน

คดีฟองรองเรียกคาเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินคาที่ไมปลอดภัย คือ บรรดาผูเชี่ยวชาญตางๆ ที่

เกี่ยวของกับสินคาแตละชนิดนั้น โดยทั่วไปก็จะถูกจางใหเปนลูกจางของผูประกอบการสินคาตางๆ

ซึ่งยอมแนนอนวาไมเหมาะที่จะนํามาเปนพยานของฝายผูเสียหายที่จะนําสืบเปนพยานฝายตน แต

อยางไรก็ตาม มีแหลงที่ทนายความสามารถแสวงหาพยานผูเชี่ยวชาญมาเปนพยานฝายโจทกได ที่

สําคัญมี 2 แหลง ไดแก ผูเชี่ยวชาญที่ทํางานในสถาบันการศึกษาตางๆ หรือผูเชี่ยวชาญที่ทํางานใน

บริษัทที่ใหคําปรึกษา

1.3.3 การที่ผูเสียหายมีสวนในการประมาทกอใหเกิดความเสียหายนั้นดวย1.3.3.1 หลักการมีสวนในการประมาทกอใหเกิดความเสียหายของผูเสียหาย

ในเรื่องการพิสูจนความสัมพันธระหวางการกระทําและผล ตามพระราชบัญญัติ

ความรับผิดตอความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินคาที่ไมปลอดภัย พ.ศ.2551 มาตรา 6 นี้ มีขอนา

พิจารณาวา ในกรณีที่ผูเสียหายมีสวนในการประมาทกอใหเกิดความเสียหายนั้น จะถือวามี

ความสัมพันธระหวางการกระทําและผลที่จะเรียกรองใหผูประกอบการไดรับความเสียหายหรือไม

โดยเฉพาะเมื่อความเสียหายนั้นเกิดขึ้นจากทั้งเพราะความประมาทของผูเสียหายและเกิดจาก

สินคาที่ไมปลอดภัยนั้น เกิดจากความบกพรองของสินคาที่ไมปลอดภัย นอกจากนั้น หากความ

เสียหายที่เกิดขึ้นจากการใชสินคานั้น เกิดจากความประมาทเลิกเลอของผูเสียหายโดยแท เชนนี้

ก็นาคิดวาจะใหผูประกอบการรับผิดไดหรือไมจะถือวาความไมปลอดภัยของสินคาของ

ผูประกอบการเปนเหตุใหเกิดความเสียหายนั้น หรือความเสียหายนั้นเกิดจากความประมาทของ

ผูเสียหายที่ไมมีสวนเกี่ยวของกับสินคาที่ไมปลอดภัยนั้น

ในเรื่องนี้จะเห็นวา พระราชบัญญัติความรับผิดตอความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินคาที่ไม

ปลอดภัย พ.ศ.2551 ไมไดบัญญัติไวอยางชัดเจน แตในกฎหมายตางประเทศ เชน ประเทศ

สหรัฐอเมริกา จะมีหลักการในการพิจารณาประเด็นปญหานี้ โดยมีหลักวา การมีสวนในการ

70ศักดา ธนิตกุล. คําอธิบายและคําพิพากษาเปรียบเทียบกฎหมายความรับผิดตอความเสียหายที่

เกิดขึ้นจากสินคาที่ไมปลอดภัย. พิมพครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพวิญูชน, 2553, หนา 32.

Page 91: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

74

ประมาทเลินเลอของผูเสียหายในความเสียหายท่ีเกิดขึ้น71 จะไมเปนขอตอสูของผูประกอบการที่จะ

ทําใหหลุดพนความรับผิดเมื่อความประมาทเชนนั้นประกอบดวยแตเพียงการที่ไมสามารถเห็นถึง

ความไมปลอดภัยของสินคา (บกพรอง defect) แตอยางไรก็ตาม หากผูเสียหายเห็นถึงความไม

ปลอดภัยของสินคาและระมัดระวังถึงอันตรายที่อาจเกิดขึ้นได แตยังคงใชสินคานั้นอยางไม

สมเหตุสมผลจนทําใหเกิดความเสียหายขึ้น เชนนี้ผูเสียหายจะเรียกรองคาเสียหายไมได เหตุที่มี

การหามไมใหนําขอตอสูเรื่องที่แตเพียงผูเสียหายมีสวนประมาทเลินเลอมาเปนขอตอสูของ

ผูประกอบการเพื่อใหผูประกอบการหลุดพนความรับผิด ก็เพราะผูบริโภคโดยทั่วไป ยอมคาดหมาย

วาสินคาที่มีการนําออกขายสูทองตลอดนั้น เปนสินคาที่มีความปลอดภัย ดังนั้น หากยอมรับให

สามารถอางเหตุดังกลาวเปนขอตอสูของผูประกอบการเพื่อใหหลุดพนความรับผิดไปไดยอม

กระทบตอความคาดหมายโดยทั่วไปถึงความปลอดภัยในสินคา อนึ่ง ในกรณีที่ผูเสียหายมีสวน

ประมาทอยางสําคัญที่กอใหเกิดความเสียหายนั้น (contributory negligence (การมีสวนประมาท

เลินเลอเกินกึ่ง) ศาลบางศาลในสหรัฐอเมริกาถือเปนเหตุที่ทําใหผูเสียหายฟองเรียกคาเสียหายจาก

ผูผลิตไมได72 นอกจากนั้น ในบางมลรัฐของสหรัฐอเมริกามีการตรากฎหมายของมลรัฐ กําหนดให

ในกรณีที่ผูเสียหายมีสวนผิดหรือประมาทรอยละ 50 หรือเกินกวานั้น เชนรอยละ 60 เปนความผิด

ของผูเสียหาย ผูเสียหายจะไมไดรับการชดใชคาสินไหมทดแทน73

อนึ่ง เมื่อพิจารณาหลักการขางตนนี้ในประเทศสหรัฐอเมริกาแลว จะเห็นวานาจะ

สอดคลองกับนิยามความหมายของคําวา “สินคาที่ไมปลอดภัย” ตามพระราชบัญญัติความรับผิด

ตอความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินคาที่ไมปลอดภัย พ.ศ.2551 ที่ถือเรื่องความ “คาดหมายได” ของ

บุคคลทั่วไปประกอบการพิจารณาถึงสินคาที่ไมปลอดภัย เพราะหากความสัมพันธระหวางการ

กระทําและผลในเรื่องความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินคาที่ไมปลอดภัย เพราะหากความสัมพันธ

ระหวางการกระทําและผลในเรื่องความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินคาที่ไมปลอดภัย จะถูกตัดออกไป

(ถือวาไมมีความสัมพันธระหวางการกระทําและผล) แตดวยเหตุเพียงที่ผูเสียหายมีสวนประมาท

เลินเลอในการกอใหเกิดความเสียหายนั้น ในขณะที่ความไมปลอดภัยของสินคานั้นก็ยังมีสวนใน

71 การมีสวนในการประมาทเลินเลอของผูเสียหายในความเสียหายที่เกิดขึ้น หรือ comparative

negligence นั้น บางครั้งเรียกกันในอีกหลายชื่อ เชน comparative fault, comparative responsibility or

apportionment (การมีสวนประมาทหรือมีสวนผิดของผูเสียหายที่ไมถึงครึ่ง)72ศักดา ธนิตกุล. เร่ืองเดียวกัน, หนา 43.73มานิตยจุมปา. คําอธิบายกฎหมายความรับผิดตอความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินคาที่ไมปลอดภัย.

กรุงเทพฯ : สํานักพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2554, หนา30.

Page 92: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

75

การกอใหเกิดความเสียหายดังกลาวดวย ความคาดหมายของบุคคลทั่วไปในความปลอดภัยของ

สินคาที่นําออกวางขายทั่วไป ยอมจะไดรับการกระทบกระเทือนได74 แตอยางไรก็ตาม หากความ

เสียหายที่เกิดขึ้นนั้น เกิดจากความประมาทเลินเลอของผูเสียหายโดยแท (ในสวนสําคัญที่

กอใหเกิดความเสียหาย) ยอมจะถือวา ความเสียหายนั้นเกิดขึ้นจากสินคาที่ไมปลอดภัยไมได ซึ่ง

หากผูประกอบการตอสู หรือนําพยานหลักฐานแสดงใหเห็นไดวา ผูเสียหายนั้นเปนผูประมาท และ

เปนความประมาทของผูเสียหายอยางสําคัญ ยอมทําใหเห็นไดวาความเสียหายไมไดเกิดขึ้นจาก

สินคาของผูประกอบการตามมาตรา 6 แหงพระราชบัญญัติความรับผิดตอความเสียหายที่เกิดขึ้น

จากสินคาที่ไมปลอดภัย พ.ศ.2551 ซึ่งทําใหผูเสียหายไมอาจเรียกใหผูประกอบการรับผิดได เพราะ

ไมมีความสัมพันธระหวางความเสียหายที่เกิดขึ้นกับสินคาของผูประกอบการ กลาวอีกนัยหนึ่ง คือ

จะถือวาผูเสียหายไดรับความเสียหายจากสินคาของผูประกอบการไมไดในกรณีนี้

2. การพิสูจนวาการใชหรือการเก็บรักษาสินคานั้นเปนไปตามปกติธรรมดาภาระการพิสูจนประการที่สองของผูเสียหาย คือ ตองพิสูจนใหศาลเห็นวา ผูเสียหายไดใช

สินคานั้นไปตามปกติธรรมดา หรือการเก็บรักษาสินคานั้นเปนไปตามปกติธรรมดา

ตัวอยางเชน

(1) นาย ก. ไดรับความเสียหายจากการใชรถยนตยี่หอหนึ่งซึ่งมีปญหาเกี่ยวกับพวงมาลัย

เพาเวอรทําใหไมสามารถควบคุมรถยนตได โดยในระหวางที่นาย ก. ขับรถยนตเดินทางไป

ตางจังหวัดรถยนตสูญเสียการควบคุม จนเปนเหตุทําใหพุงชนเสาไฟฟา รถยนตไดรับความ

เสียหาย และนาย ก. ไดรับบาดเจ็บ ตองรักษาตัวในโรงพยาบาล ในการที่นาย ก. จะฟองรองเรียก

ใหผูประกอบการรถยนตคันดังกลาวรับผิดในความเสียหายที่เกิดขึ้น นาย ก. ตองนําสืบใหศาลเห็น

วา รถยนตซึ่งโดยปกติก็ใชในการขับทั่วไป และนาย ก. ก็ไดใชขับตามปกติทั่วไป ซึ่งภาระการ

พิสูจนเชนนี้จะเห็นวา สําหรับผูเสียหาย ไมมีอะไรซับซอน แตจะเปนประเด็นสําคัญขึ้นมาทันทีหาก

ฝายผูประกอบการชัดตอสูขึ้นสูวา ผูเสียหายไมไดใชสินคาตามปกติธรรมดา เชน ผูประกอบการ

74 มีขอสังเกตวา แมวาจะเห็นวาลําพังแตการมีสวนประมาทของผูเสียหาย ในขณะเดียวกันกับที่ความ

เสียหายนั้นก็มีสวนเกิดขึ้นเพราะความไมปลอดภัยของสินคาดวย จะไมเปนเหตุที่จะตัดความสัมพันธระหวาง

การกระทําและผล อันจะเปนเหตุทําใหไมสามารถฟองเรียกคาเสียหายไดก็ตาม (ผูประกอบการยังคงตองรับผิด

ในความเสียหายแมผูเสียหายจะมีสวนประมาทดวย) แตการมีสวนประมาทของผูเสียหายจะมีผลตอการกําหนด

คาเสียหายโดยเฉพาะคาเสียหายเพื่อการลงโทษ ตามพระราชบัญญัติความรับผิดตอความเสียหายที่เกิดขึ้นจาก

สินคาที่ไมปลอดภัย พ.ศ.2551 มาตรา 11 (2) ได

Page 93: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

76

กลาวอางวา นาย ก. ใชรถยนตซึ่งผลิตสําหรับการใชขับทั่วไป มาขับแขงกันในทางสาธารณะ เชนนี้

ประเด็นในการใชสินคาตามปกติธรรมดาจะมีความสําคัญขึ้นมาทันที

(2) นาย ข. ซื้ออาหารกระปองชนิดหนึ่งมารับประทาน ซึ่งฉลากของอาหารกระปองชนิดนี้

ระบุวาเมื่อเปดแลวหากทานไมหมดจะตองเก็บไวในที่มีความเย็นต่ํากวา 20 องศา นาย ข. เปด

อาหารกระปองรับประทานจนหมด แลวเกิดอาการทองเสียอยางรุนแรงจนตองเขารักษาตัวใน

โรงพยาบาล ในกรณีนี้ หากนาย ข. จะฟองรองเรียกคาเสียหายจากผูประกอบการ นาย ข. ตอง

พิสูจนใหศาลเห็นวา นาย ข. เก็บอาหารชนิดนั้นตามคําเตือนในฉลาก เพราะรับประทานครั้งเดียว

หมด โดยหากนาย ข. มีนาย ค. ซึ่งเปนเพื่อนที่มาทานขาวที่บานพรอมกับนาย ข. แตไมไดทาน

อาหารกระปองชนิดดังกลาว เชนนี้ นาย ข. ก็ยอมนํานาย ค. มาเบิกความตอศาลเพื่อพิสูจนวา

นาย ข. ซื้ออาหารกระปองมาแลวเปดอาหารกระปองรับประทานหมดในครั้งเดียว นอกจากนั้น

หากวันที่เกิดเหตุเปนวันที่นาย ข. เพิ่งซื้ออาหารกระปองชนิดนั้นมาจากหางสรรพสินคา เชนนี้นาย

ข. ก็อาจนําสลิป หรือใบเสร็จที่จายเงินเปนคาอาหารกระปองมาแสดงตอศาลเพื่อยืนยันวา อาหาร

กระปองนี้ซื้อมาและรับประทานทันทีไมใชกรณีที่เปดแลวทานไมหมด แลวนําไปเก็บไวในที่ที่

อุณหภูมิสูงกวา 30 องศาเซลเซียส อันเปนการเก็บอาหารที่ไมเปนไปตามปกติธรรมดาของสินคา

3. เหตุที่ทําใหผูประกอบการหลุดพนไมตองรับผิดตอความเสียหายอันเกิดจากสินคาที่ไมปลอดภัย

มาตรา 7 ผูประกอบการไมตองรับผิดตอความเสียหายอันเกิดจากสินคาที่ไมปลอดภัยหาก

พิสูจนไดวา

(1) สินคานั้นมิไดเปนสินคาที่ไมปลอดภัย

(2) ผูเสียหายไดรูอยูแลววาสินคานั้นเปนสินคาที่ไมปลอดภัย หรือ

(3) ความเสียหายเกิดขึ้นจากการใชหรือการเก็บรักษาสินคาไมถูกตองตามวิธีใช วิธีเก็บ

รักษา คําเตือน หรือขอมูลเกี่ยวกับสินคาที่ผูประกอบการไดกําหนดไวอยางถูกตองและชัดเจนตาม

สมควรแลว

บันทึกสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาแสดงถึงเจตนารมณของบทบัญญัติมาตรานี้ไววา

“หลักกฎหมายตางประเทศ”Directive 1985 แหงสหภาพยุโรป กําหนดเหตุหลุดพนความรับผิดของผูผลิต หรือบุคคลที่

อยูในฐานะเสมือนเปนผูผลิตไว 6 ประการ ไดแก

ผูผลิตมิไดนําสินคาออกวางจําหนาย

Page 94: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

77

วา “ขาย” ตามรางมาตรา 4 อยูแลว”75

ในชั้นการพิจารณาของสภานิติบัญญัติแหงชาติ ไมไดมีการแกไขเพิ่มเติมบทบัญญัติ

มาตรานี้

หลักการพื้นฐานของพระราชบัญญัตินี้ในการกําหนดความรับผิดของผูประกอบการ คือ

การกําหนดความรับผิดโดยเครงครัด (strict liability) มิใชถึงระดับความรับผิดโดยเด็ดขาด

(absolute liability) ดังนั้น พระราชบัญญัตินี้จึงไดเปดโอกาสใหฝายผูประกอบการนําสืบเพื่อให

หลุดพนความรับผิดได แมวาผูเสียหายจะนําสืบครบถวนตามมาตรา 6 แลวก็ตาม โดยเหตุที่หาก

นําสืบไดจริงแลวผูประกอบการนําสืบเพื่อใหหลุดพนความรับผิดได แมวาผูเสียหายจะนําสืบ

ครบถวนตามมาตรา 6 แลวก็ตาม โดยเหตุที่หากนําสืบไดจริงแลวผูประกอบการไมตองรับผิดใน

ความเสียหายมี 3 เหตุ ไดแก

(1) สินคานั้นมิไดเปนสินคาที่ไมปลอดภัย

(2) ผูเสียหายไดรูอยูแลววาสินคานั้นเปนสินคาที่ไมปลอดภัย หรือ

(3) ความเสียหายเกิดขึ้นจากการใชหรือการเก็บรักษาสินคาไมถูกตองตามวิธีใช วิธีเก็บ

รักษา คําเตือน หรือขอมูลเกี่ยวกับสินคาที่ผูประกอบการไดกําหนดไวอยางถูกตองและชัดเจนตาม

สมควรแลว

มีขอสังเกตวา มีเหตุสําคัญอีก 3 เหตุที่ในกฎหมายตางประเทศบางครั้งมีการกําหนดให

เปนเหตุยกเวนความรับผิดของผูประกอบการได แตพระราชบัญญัตินี้ไมไดกําหนดไว ไดแก

(1) ความบกพรองที่กอใหเกิดความเสียหายนั้น มิไดปรากฏอยูในขณะที่ผูผลิตนําสินคา

ออกวางจําหนาย หรือความบกพรองนั้นไดเกิดขึ้นภายหลังจากนั้น

(2) เหตุหลุดพนความรับผิดกรณีที่สินคานั้นไดผลิตตามขอกําหนดหรือมาตรฐานที่

หนวยงานของรัฐตรวจสอบควบคุมหรือมาตรฐานตางประเทศหรือระหวางประเทศที่หนวยงานของ

รัฐใหการรับรอง

(3) สถานะความรูทางวิทยาศาสตร และทางเทคนิคในขณะที่ผูผลิตนําสินคาออกวาง

จําหนายไมอาจทําใหตรวจพบความบกพรองของสินคาที่มีอยูไดเชน

75 สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา. บันทึกสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาประกอบราง

พระราชบัญญัติความรับผิดตอความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินคาที่ไมปลอดภัย พ.ศ. ... เรื่องเสร็จที่

525/2550 หนา 13-15.

Page 95: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

78

1. สินคานั้นมิไดเปนสินคาที่ไมปลอดภัยการนําสืบของผูประกอบการเพื่อใหตนเองหลุดพนความรับผิดในเรื่องที่วา สินคานั้นมิได

สินคาที่ไมปลอดภัย คิดในทางกลับกัน คือ พิสูจนใหเห็นวาสินคานั้นมีความปลอดภัย ดังนั้น การ

จะพิสูจนวาสินคาใดมิไดเปนสินคาไมปลอดภัย ก็คือการพิสูจนเพื่อให “สินคา” ที่กอใหเกิดความ

เสียหายนั้น ไมใช “สินคาที่ไมปลอดภัย” ตามคํานิยามศัพทที่มีการกําหนดไวในพระราชบัญญัตินี้

ในเมื่อมีการกําหนดนิยามศัพทไววา

“สินคาที่ไมปลอดภัย” หมายความวา สินคาที่กอหรืออาจกอใหเกิดความเสียหายขึ้นไดไม

วาจะเปนเพราะเหตุจากความบกพรองในการผลิตหรือการออกแบบ หรือไมไดกําหนดวิธีใช วิธีเก็บ

รักษา คําเตือน หรือขอมูลเกี่ยวกับสินคา หรือกําหนดไวแตไมถูกตองหรือไมชัดเจนตามสมควร

ทั้งนี้ โดยคํานึงถึงสภาพของสินคารวมทั้งลักษณะการใชงานและการเก็บรักษาตามปกติธรรมดา

ของสินคาอันพึงคาดหมายได”

ดังนั้น การพิสูจนวาสินคานั้นมิไดเปนสินคาที่ไมปลอดภัย คือ การพิสูจนวา

(1) สินคานั้นไมอาจกอใหเกิดความเสียหายขึ้นได เพราะสินคานั้นไมมีความบกพรองใน

การผลิต ซึ่งก็ตองนําพยานหลักฐานมาแสดงตอศาลวา มีพยานใดสนับสนุนขอกลาวอางนี้บาง

(2) สินคานั้นไมอาจกอใหเกิดความเสียหายขึ้นได เพราะสินคานั้นไมมีความบกพรองใน

การออกแบบ ซึ่งก็ตองนําพยานหลักฐานมาแสดงตอศาลวา มีพยานใดสนับสนุนขอกลาวอางนี้

บาง

(3) สินคานั้นไมอาจกอใหเกิดความเสียหายขึ้นได เพราะไดมีการกําหนดวิธีใช วิธีเก็บ

รักษา คําเตือน หรือขอมูลเกี่ยวกับสินคาไวถูกตองและชัดเจนตามสมควรแลว

ทั้งนี้ โดยคํานึงถึงสภาพของสินคา รวมทั้งลักษณะการใชงานและการเก็บรักษาตามปกติ

ธรรมดาของสินคาอันพึงคาดหมายได ซึ่งเปนการใชเกณฑความคาดหมายไดของผูบริโภคทั่วไป

(consumer expectations test)มาพิจารณา76

2. ผูเสียหายไดรูอยูแลววาสินคานั้นเปนสินคาที่ไมปลอดภัยการนําสืบของผูประกอบการเพื่อใหหลุดพนความรับผิดในเหตุประการที่สอง คือ

ผูเสียหายไดรูอยูแลววาสินคานั้นเปนสินคาที่ไมปลอดภัย คือ รูวาสินคานั้นอาจกอใหเกิดความ

เสียหายขึ้นได ไมวาจะเปนเพราะเหตุความบกพรองในการผลิตหรือการออกแบบหรือรูวาสินคานั้น

ไมไดกําหนดวิธีใช วิธีเก็บรักษา คําเรือน หรือขอมูลเกี่ยวกับสินคา หรือกําหนดไวแตไมถูกตอง

76มานิตยจุมปา. คําอธิบายกฎหมายความ รับผิดตอความเสียหายทีเ่กิดขึ้นจากสินคาที่ไมปลอดภัย

กรุงเทพมหานคร,( สํานักพิมพ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2554,หนา 238.

Page 96: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

79

หรือไมชัดเจนตามสมควร ซึ่งหากผูเสียหายรูถึงสิ่งดังกลาวขางตน ผูประกอบการก็ยอมหลุดพน

ความรับผิด

ขอยกเวนประการนี้ เปนขอยกเวนที่กวาง ซึ่งในบางครั้งจะไมเปนการคุมครองผูบริโภคที่

เหมาะสมเพียงพอ ตัวอยางเชน นาย ก. ซื้อรถยนตจากบริษัทผูขาย เมื่อนํามาใชปรากฏวาศูนย

ถวงลอมีปญหา ลอไมดี เบรกไมดี จึงติดตอขอคืนรถกับบริษัท เมื่อทําเรื่องขอคืนรถไปแลว แต

บริษัทแจงวาตองใชระยะเวลาในการดําเนินการระยะหนึ่งกอนจะไดรถคันใหม หากนาย ก. ไมมีรถ

คันอื่นในการใชเดินทาง ทําใหตองใชรถคันดังกลาวอยูตอไป แลวตอมาเกิดอุบัติเหตุเพราะศูนย

ถวงลอมีปญหา เชนนี้ หากมีการฟองรองภายใตพระราชบัญญัติความรับผิดตอความเสียหายที่

เกิดขึ้นจากสินคาที่ไมปลอดภัย ผูประกอบการพิสูจนไดวา ผูเสียหายไดรูอยูแลววาสินคานั้นเปน

สินคาที่ไมปลอดภัย แตยังคงใชสินคานั้นอยู ซึ่งตรงตามขอยกเวนที่กําหนดไวในกฎหมาย ซึ่งเมื่อ

พิจารณาแลวจะเห็นวา นาย ก. มีความจําเปนอันสมควรที่จะตองใชรถ เพราะไมมีรถคันอื่นที่ใช

แทนจึงหากมีโอกาสแกไขกฎหมายนี้ ควรกําหนดขอยกเวนในเรื่องที่ผูเสียหายรูอยูแลววาสินคานั้น

เปนสินคาที่ไมปลอดภัยใหแคบลงโดยกําหนดวา ผูเสียหายรูอยางชัดเจนแลววาสินคานั้นเปน

สินคาที่ไมปลอดภัยแลวยังเสี่ยงภัยไปรับภัยพิบัตินั้นอยางปราศจากเหตุอันสมควร ซึ่งหมายความ

วา หากมีเหตุผลสมควร ผูประกอบการก็ไมอาจอางขอยกเวนประการนี้เพื่อใหหลุดพนความรับ

ผิด77 ซึ่งขอเสนอเชนนี้มีใชอยูในกฎหมายของประเทศสหรัฐอเมริกา78

ตัวอยางคดีในประเทศสหรัฐอเมริกาที่มีประเด็นตัดสินเกี่ยวกับผูเสียหายไดรูอยูแลววาสินคานั้นเปนสินคาที่ไมปลอดภัยอันเปนขอยกเวนความรับผิดของผูประกอบการ เชน

คดี Belling v. Hough’s Pool, Ltd,79

ขอเท็จจริงโดยยอ Belling โจทกนําคดีมาฟองรองเนื่องจากไดรับบาดเจ็บเมื่อไดกระโดด

ลงไปในสระวายน้ําจากระดับพื้นดิน ซึ่งสระน้ําผลิตโดย Haugh’s Pools, Ltd. จําเลย โดยโจทก

77 จรัญ ภักดีธนากุล, (การอภิปราย), ใน คณะอนุกรรมาธิการศึกษาและติดตามการคุมครองผูบรโิภค

,ในคณะกรรมาธิการการสาธารณสุข วุฒิสภาและโครงการคุมครองผูบริโภคดานสุขภาพ (คคส.) จุฬาลงกรณ

มหาวิทยาลัย, พระราชบัญญัติความรับผิดตอความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินคาท่ีไมปลอดภัย พ.ศ. ... ผลดีตอการคุมครองผูบริโภค กรุงเทพฯ: อุษาการพิมพ, 2548, หนา 29.

78วันชัย ไพบูลยอภิบาล. มาตรการทางกฎหมายเชิงหองกันในการคุมครองผูบริโภค : กรณีความรับผิด

ในผลิตภัณฑ, นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช2555 หนา 15.79วันชัย ไพบูลยอภิบาล.เร่ืองเดียวกัน,หนา 67.

Page 97: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

80

เห็นวา จําเลยไมไดจัดใหมีคําเตือนที่เพียงพอถึงอันตรายซึ่งมีอยูเปนปกติเมื่อมีการกระโดดลงไปยัง

สระพิสูจนไดวา “ผูเสียหายไดรูอยูแลววาสินคานั้นเปนสินคาที่ไมปลอดภัย”

3.ความเสียหายเกิดขึ้นจากการใชหรือการเก็บรักษาสินคาไมถูกตองตามวิธีใชวิธีเก็บรักษา คําเตือน หรือขอมูลเกี่ยวกับสินคาที่ผูประกอบการไดกําหนดไวอยางถูกตองและชัดเจนตามสมควรแลว

เหตุที่จะทําใหผูประกอบการไมตองรับผิดตอความเสียหายอันเกิดจากสินคาที่ไมปลอดภัย

ในประการที่สาม คือ ผูประกอบการตองพิสูจนใหเห็นวา ความเสียหายเกิดขึ้นจากการใชหรือการ

เก็บรักษาสินคาไมถูกตองตามวิธี ใช วิธี เก็บรักษา คําเตือน หรือขอมูลเกี่ยวกับสินคาที่

ผูประกอบการไดกําหนดไวอยางถูกตองและชัดเจนตามสมควรแลว

ตัวอยางเชน

นายขาวซื้อตูเย็นยี่หอหนึ่งมา 1 เครื่อง เมื่อใชไปไดเพียง 1 เดือน ปรากฏวาตูเย็นระเบิด

เสียงดังเหมือนเสียงหมอแปลงไฟฟาระเบิด ทําใหทรัพยสินในบานของนายขาวไดรับความเสียหาย

และนายขาวไดรับบาดเจ็บจากการระเบิดตองเขารักษาตัวในโรงพยาบาลจากนายขาวฟองรอง

เรียกใหผูประกอบการที่ผลิตตูเย็นตองรับผิดชอบในความรับผิดได เชน พิสูจนใหเห็นวา นายขาว

เก็บเบียรไวในตูเย็นและเปดตูเย็นบอยครั้ง ทําใหเกิดการสั่นในตูเย็นจนทําใหเบียรที่เก็บในตูเย็น

เกิดแรดันจนทําใหเกิดการระเบิดขึ้น ซึ่งมีคําเตือนในคูมือการใชตูเย็นแลววา “หามนําวัสดุที่คิดได

งาย วัสดุอันตราย สารเคมี หรือกาซไวไฟใกลเครื่องหรือในเครื่อง” ในที่นี้นายขาวฝาฝนคําเตือน

เพราะเก็บเบียรที่มีแอลกฮอลอันทําใหเกิดอันตรายไดไวในเครื่อง จนทําใหเกิดการระเบิด หากหลัก

วิทยาศาสตร และมาตรฐานความปลอดภัยของการใชตู เย็นเปนไปตามคํากลาวอางของ

ผูประกอบการ เชนนี้ผูประกอบการก็ยอมหลุดพนความรับผิดในความเสียหายนี้ได

ความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินคานั้น บอยครั้งเกิดขึ้นจากการที่ผูบริโภคหรือผูเสียหายนั้น

ใชสินคาไมถูกตอง (misconduct) มากยิ่งกวาเกิดขึ้นจากความไมปลอดภัยของสินคา80 ขอยกเวน

ในเรื่องความเสียหายที่เกิดขึ้นจากการใชสินคาที่ไมถูกตอง มีเหตุผลมาจากหลักการที่วา สินคา

นั้นๆ ไดรับการออกแบบมาเพื่อใหรองรับการใชงานในรูปแบบใดรูปแบบหนึ่งหรือหลายรูปแบบ

ตามสภาพของสินคานั้น ทั้งนี้ ยอมไมมีสินคาใดที่จะกอใหเกิดความปลอดภัยในการใชในทุก ๆ

80อนันต จันทรโอภากร. กฎหมายวาดวยความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากสินคาที่ขาดความ

ปลอดภัย. กรุงเทพฯ:วิญูชน, 2547, หนา 157

Page 98: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

81

วัตถุประสงคที่ใชหรือวิธีการที่ใช81 ดังนั้น ผูประกอบการจะตองรับผิดในความเสียหายที่เกิดขึ้นจาก

สินคานั้น ก็ตอเมื่อเปนความเสียหายที่อาจคาดเห็นไดอยางสมเหตุสมผล (reasonably

foreseeable) แตไมตองรับผิดในความเสียหายจากการใชสินคาที่ไมอาจคาดเห็นได82 ความทอน

หนึ่งในคําพิพากษาของศาลในสหรัฐอเมริกาที่แสดงใหเห็นถึงกรณีที่ผูเสียหายใชสินคาที่ไมถูกตอง

แลวจะมาเรียกรองใหผูผลิตรับผิดไมได คือ ศาลไดกลาวไววา “เราไมสามารถที่จะกําหนดใหผูผลิต

มีดจักตองรับผิดเมื่อมีดนั้นถูกนําไปใชเปนไมจิ้มฟนแลวผูใชเรียกรองคาสินไหมทดแทนจากผูผลิต

เพราะเหตุที่ถูกคมมีดบาดได83

ตัวอยางคดีในประเทศสหรัฐอเมริกาที่มีประเด็นตัดสินเกี่ยวกับการใชหรือการเก็บรักษาสินคาไมถูกตองตามวิธีเก็บรักษา คําเตือน หรือขอมูลเกี่ยวกับสินคาที่ผูประกอบการไดกําหนดไวอยางถูกตองและชัดเจนตามสมควรแลว เชนคดี Venezia v. Miller Brewing Co.84

ขอเท็จจริงโดยยอ Venezia เปนเด็กชายอายุ 8 ขวบ พบขวดเบียรที่ผลิตโดย Miller ถูก

ทิ้งไว จึงทําใหแตกเปนชิ้นเล็กๆ โดยทุบกับเสาโทรศัพท Venezia ไดรับบาดเจ็บจากเศษขวดแกวที่

กระเด็นเขาตาจึงไดเปนโจทกยื่นฟอง Miller เปนจําเลยบนฐานของการรับประกันและการประมาท

เลินเลอ โดยระบุในฟองวา Miller จําเลยตองระมัดระวังอันตรายซึ่งมีอยูโดยปกติวิสัยในเศษแผน

บางๆ ของขวด และตองออกแบบใหมีความปลอดภัยอันสามารถดานทานกับการใชที่ไมถูกตอง

โดยเด็กได ซึ่งเปนสิ่งที่สามารถคาดเห็นลวงหนาได ศาลชั้นตนยกฟองโจทก โจทกยื่นอุทธรณเปน

ตน

81สมหวัง กาอิ่นแกว. ปญหาทางกฎหมายเกี่ยวกับการพิจารณาสินคาที่ ไมปลอดภัยตาม

พระราชบัญญัติความรับผิดตอความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินคาที่ไมปลอดภัย พ.ศ. 2551 นนทบุรี :

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. 2555, หนา110.82สมหวัง กาอิ่นแกว. เรื่องเดียวกัน หนา 143.83สมหวัง กาอิ่นแกว. เรื่องเดียวกัน หนา 145.84Venezia v. Miller Brewing Cohttp://openjurist.org/626/f2d/188/venezia-v-miller-brewing-

company.

Page 99: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

82

2.2.14 แนวความคิดเกี่ยวกับการละเมิดทฤษฎีในการกําหนดความรับผิดในทางละเมิดตามกฎหมายไทยที่ใชในการ

กําหนดความรับผิดทางละเมิดที่ปรากฏในกฎหมายของประเทศตางๆ ที่สําคัญมี 2 ทฤษฎีไดแก

ทฤษฎีความผิด (Fault theory) และทฤษฎีความรับผิดเด็ดขาดหรือความ

รับผิดโดยเครงครัด (Strict liability) เมื่อเปรียบเทียบกฎหมายอาญากับกฎหมายแพง

ผูตองหาจะตองรับผิดทางอาญาหรือไมนั้น อยูในกฎเกณฑที่วา “เมื่อไมมีกฎหมายยอมไมมีการ

ลงโทษ”(Null poena sine lege) โดยในเรื่องความรับผิดทางละเมิดจะนําหลัก “เมื่อไมมีกฎหมาย

ยอมไมมีการลงโทษ” ที่วานี้มาใชบังคับไมไดเพราะไมใชปญหาที่จะหาคนมาลงโทษ หากแตเปน

ปญหาเพียงหาคนมาชดใชคาสินไหมทดแทนเพื่อความเสียหายเทานั้น85ในการกําหนดความรับผิด

ทางละเมิดตามกฎหมายไทยปรากฏวากฎหมายไทยไดกําหนดความรับผิดไวตามทฤษฎีทั้งสอง

ดวย แตโดยทั่วไปความรับผิดทางละเมิดตามกฎหมายไทย โดย เฉพาะตามประมวลกฎหมายแพง

และพาณิชยมาตรา 420 ซึ่งถือวาเปนแมบทหลักของความรับผิดทางละเมิด ซึ่งเปนการกําหนด

ความรับผิดทางละเมิดตามทฤษฎีความผิด โดยทฤษฎีทั้งสองที่เกี่ยวกับความรับผิดทางละเมิด

ที่วานี้มีรายละเอียดดังน้ี

1) ทฤษฎีความผิด (Fault Theory)

ความรับผิดทางละเมิดตามทฤษฎีความผิดจะประกอบไปดวยองคประกอบสวนที่

เปนการกระทํา และองคประกอบทางจิตใจซึ่งหมายถึง จงใจหรือความประมาทเลินเลอโดยผูเปน

โจทกในคดีละเมิดตองพิสูจนเหตุในการฟองคดีตามองคประกอบของความรับผิดวา มีการกระทํา

หรือไม โดยฝาฝนหนาที่หรือไม โดยผิดกฎหมายหรือไม การกระทํานั้นจงใจหรือประมาทเลินเลอ

หรือไม และความเสียหายเปนผลมาจากความผิดของผูกระทํานั้นหรือไม86หรือกลาวอีกนัยหนึ่ง

ทฤษฎีความผิดคือ ทฤษฎีที่ตองมีองคประกอบเรื่องจงใจหรือประมาทเลินเลอ ที่เปนสวนหนึ่งของ

ความผิด และมีความสัมพันธระหวางความผิดและความเสียหายที่เกิดแกผูไดรับความเสียหาย จึง

จะเปนละเมิดได87 โดยสรุปหลักความรับผิดทางละเมิดตามทฤษฎีความผิดที่วานี้ ตองมี

85 จิ๊ด เศรษฐบุตร. หลักกฎหมายแพง ลักษณะละเมิด.พิมพครั้งที่4,กรุงเทพมหานคร : บริษัทโรงพิมพ

เดือนตุลาจํากัด, 2545, หนา 144.86สายสุดา นิงสานนท. ความรับผิดเด็ดขาดในกฎหมายลักษณะละเมิด. บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ

มหาวิทยาลัย, 2525, หนา 41.87ไพจิตร ปุญญพันธุ. คําอธิบายประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย ลักษณะละเมิด พระราชบัญญัติ

ทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ.2539 กฎหมายลักษณะละเมิดขอสันนิษฐานความผิดทางกฎหมาย. หนา 11.

Page 100: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

83

องคประกอบเรื่องความผิด ในการกระทําใหเกิดความเสียหาย และมีความสัมพันธระหวางเหตุ

และผล โดยมีละเอียดที่สําคัญดังน้ี

(1) ความผิด (Fault)คําวา “ความผิด” ในที่นี้ไมใชการกระทํา แตเปนสภาพทางจิตใจ

(State of mind) หรือทัศนคติของผูกระทําละเมิด หรือเปนสภาพของการละเลยหรือเบี่ยงเบน

มาตรฐานภายในจิตใจที่เกิดจากการกระทํา หรืองดเวนกระทําตามหนาที่ที่จะตองปองกันความ

เสียหายที่จะเกิดขึ้น หรือที่นาถูกตําหนิซึ่งการกระทําหรืองดเวนกระทําความผิดดังกลาวเปนการ

กระทําอันมิชอบดวยกฎหมาย หรือไมมีสิทธิหรือฝาฝนปทัสฐานแหงกฎหมาย โดยจงใจหรือความ

ประมาทเลินเลอ และกอใหเกิดความเสียหายแกผูอื่น ซึ่งจงใจหรือประมาทเลินเลอเปนสวนหนึ่ง

ของความผิดดวย หรือกลาวอีกนัยหนึ่งความผิดเปนสภาพทางจิตใจของผูกระทําที่เปนเรื่องของ

ความรูสึกผิดชอบชั่วดีหรือความสามารถในการใชวิจารณญาณวาการกระทําของตนจะกอใหเกิด

ความเสียหายแกบุคคลอื่นไดหรือไม ถากระทําทั้งๆ ที่รูวาการกระทําของตนจะกอใหเกิดความ

เสียหายแกบุคคลอื่น หรือละเลยไมใชวิจารณญาณหรือความสามารถของตน เพื่อพิจารณา

เสียกอนวา บุคคลอื่นจะไดรับความเสียหายจากการกระทําของตนแลว สังคมก็จะถือวาการกระทํา

อันนั้นนาตําหนิหรือเปนความผิด ซึ่งผูกระทําความผิดจะตองรับผิดชอบในความเสียหายที่เกิดขึ้น

แกบุคคลอื่น อันเปนผลเนื่องมาจากการกระทําเชนนั้น88

(2) ความสัมพันธระหวางเหตุและผล (Causation) คือ ความสัมพันธระหวางความผิด

ที่เกิดจากการกระทําของผูกระทําละเมิดกับความเสียหายที่เกิดกับผูไดรับความเสียหาย89ที่

ผูกระทํานั้นจะตองรับผิดชดเชยหรือชดใชเยียวยาความเสียหายใหแกผูไดรับความเสียหายใน

กฎหมายอังกฤษและสหรัฐอเมริกาซึ่งเปนประเทศที่ใชระบบคอมมอนลอวไดกําหนดความรับผิด

ทางละเมิดที่ความรับผิดอยูบนพื้นฐานของความผิด ตามทฤษฎีความผิดไวเชนเดียวกัน

ภาระหนาที่การ พิสูจนในประเด็นนี้จะตกอยูแกโจทก ซึ่งเปนผูไดรับความเสียหายที่ตองพิสูจนเหตุ

ในการฟองคดีวาการกระทําของจําเลยเปนผลโดยตรง ที่กอใหเกิดความเสียหาย หรือที่เรียกกัน

88อนันตจันทรโอภากร. โครงสรางพื้นฐานกฎหมายลักษณะละเมิด 60 ป,ดร.ปรีดีเกษมทรัพย,รวบรวม

บทความเกษียณอายุราชการ. กรุงเทพฯ : พีเค พริ้นติ้ง เฮาส, 2531, หนา 98.89 สุษม ศุภนิตย.คําอธิบายกฎหมาย ความรับผิดในผลิตภัณฑ, กรุงเทพมหานคร : บริษัทสํานักพิมพ

วิญูชน จํากัด, 2544, หนา 37.

Page 101: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

84

โดยทั่วไปวา “เหตุใกลชิดกับความรับผิดทางละเมิด” (Proximate Cause)90หรือ “เหตุที่ตามมา

อยางกระชั้นชิดและตอเนื่องซึ่งกอใหเกิดผลเสียหาย”91สําหรับศาลเยอรมันที่ปรากฏตามประมวล

กฎหมายแพงเยอรมันมาตรา 823 วรรคแรก ซึ่งมีบทบัญญัติลักษณะเชนเดียวกับประมวล

กฎหมายแพงและพาณิชยมาตรา 420 ตามกฎหมายไทยไดกําหนดหลักเกณฑความสัมพันธ

ระหวางเหตุและผลที่วานี้เหมือนกับกฎหมายอังกฤษและสหรัฐอเมริกา92

(3) ความเสียหาย (Injury) เปนความเสียหายทั่วไปที่เกิดตอสิทธิที่มีตามกฎหมาย ซึ่ง

สิทธิที่วานี้จะตองมีกฎหมายรับรองและคุมครองความเสียหายที่ไดรับความคุมครองตามกฎหมาย

ละเมิดของประเทศอังกฤษและสหรัฐอเมริกา ไดแกความเสียหายที่เกิดจากการทํารายรางกาย

(Battery) การขูเข็ญประทุษราย (Assault) ความเสียหายทางจิตใจ (Nervous shock หรือ

Emotionaldistress)93เปนตน สวนความเสียหายที่ไดรับความคุมครองตามประมวลกฎหมายแพง

เยอรมัน94และประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยของไทย95ไดแกความเสียหายตอชีวิต รางกาย

อนามัย เสรีภาพหรือสิทธิใด ๆ ในลักษณะเดียวกัน ทั้งนี้ความเสียหายเหลานี้จะตองเปนความ

เสียหายที่มีจริงแนนอน และใกลชิดตอการกระทําของผูกระทําละเมิด หรือเปนความเสียหายที่ไม

ไกลเกินเหตุ(Remoteness)96อาจเปนความเสียหายที่คํานวณเปนตัวเงินไดหรือความเสียหาย

90พรเพชร วิชิตชลชัย. เอกสารการสอนชุดวิชาระบบกฎหมายไทยและตางประเทศ. หนวยที่ 8-15.

พิมพครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพบริษัทวิคตอรกรุงเทพ,โรงพิมพบริษัทเพาเวอรพอยท จํากัด, 2528,

หนา 804.91ธง ลีพึ่งธรรม. พจนานุกรม ศัพทและสํานวนกฎหมาย (Dictionary of Legal Terms and

Expressions) กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพนิติบรรณการ, 2526, หนา 282.92จิ๊ด เศรษฐบุตร. หลักกฎหมายแพง ลักษณะละเมิด. พิมพครั้งที่4. กรุงเทพฯ : บริษัทโรงพิมพ เดือน

ตุลา จํากัด, 2545, หนา 144.93สุษม ศุภนิตย. คําอธิบายกฎหมาย ความรับผิดในผลิตภัณฑ. กรุงเทพฯ : บริษัทสํานักพิมพวิูชน

จํากัด, 2544, หนา 37.94 Section 823 I BGB “A person who, willfully or negligently, without legal right injuries the

life, body, health,freedom, property or any other right of another is bound to compensate him for any

damage arising therefrom”95ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยมาตรา 420 “ผูไดจงใจหรือประมาทเลินเลอทําตอบุคคลอื่น โดย

ผิดกฎหมายใหเขาเสียหายถึงแกชีวิตก็ดีแกรางกายก็ดีอนามัยก็ดีเสรีภาพก็ดีทรัพยสินหรือสิทธิประโยชนอยาง

หนึ่งอยางใดก็ดีทานวาผูนั้นทําละเมิดจําตองใชคาสินไหมทดแทนเพื่อการนั้น”96อนันต จันทรโอภากร. โครงสรางพื้นฐานกฎหมายลักษณะละเมิด, 60 ป ดร.ปรีดีเกษมทรัพย,

รวบรวมบทความเกษียณอายุราชการ, หนา 106.

Page 102: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

85

อยางอื่นอันมิใชตัวเงิน ไมวาจะเปนความเสียหายที่มีอยูแลวในปจจุบัน หรือจะเกิดขึ้นในอนาคตก็

ได

2) ความรับผิดเด็ดขาดหรือหลักความรับผิดโดยเครงครัด Strict liability หรือ Absolute

liability หรือ No fault liability) การกําหนดความรับผิดทางละเมิด ตามกฎหมายของประเทศ

ตางๆ ไดเริ่มจากการกําหนดใหผูกระทําละเมิดตองรับผิดเมื่อมีความเสียหาย ซึ่งเปนแนวความคิด

เดิมที่เรียกวา ทฤษฎีรับภัย (Responsi- bility for risk)97 ตอมา ทฤษฎีในการกําหนดความรับผิด

ทางละเมิดนี้ไดเปลี่ยนเปนความรับผิดที่อยูบนพื้นฐานของความผิดตามทฤษฎีความผิดและ

เมื่อสภาพความเปนอยูของมนุษยไดเปลี่ยนแปลงไป หลักความรับผิดทางละเมิดที่ความผิดนั้นได

ขาดความเหมาะสมทฤษฎีเกี่ยวกับความรับผิดทางละเมิดก็กลับไปสูหลักเดิมที่ถือวาเมื่อมีความ

เสียหายยอมตองมีความรับผิดโดยไมตองอาศัยความผิดแตเรียกชื่อใหมวา“ความรับผิดเด็ดขาด”

ความรับผิดเด็ดขาดหรือชื่อเดิมเรียกวาทฤษฎีรับภัยที่วานี้มีตนกําเนิดมาจากกฎหมายฝรั่งเศส98

โดยนักนิติศาสตรคือทาน Saleilles เปนผูใหกําเนิดทฤษฎีรับภัยนี้ โดยทานไดอธิบายไววา

หลักเกณฑความรับผิดทางละเมิดคงมีองคประกอบอยูสองอยางเทานั้นคือ ความเสียหาย และ

ความสัมพันธแหงเหตุและผลระหวางการกระทําของผูกระทําละเมิดกับความเสียหาย กลาวอีกนัย

หนึ่งวา การจะหาผูกระทําละเมิดไดนั้น ก็คือการหาผูที่กอใหเกิดความเสียหาย เพราะผูกอ

คือผูกระทําละเมิดกลาวคือผูใดกระทําผูนั้นก็ตองรับภัยแหงการกระทํานั้นไปดวย99ความรับผิด

เด็ดขาดหรือทฤษฎีรับภัยนี้ถือหลักโดยใหสันนิษฐานไวกอนวา บุคคลอาจตองรับผิดทางละเมิดแม

ไมไดกระทําโดยจงใจหรือประมาทเลินเลอ ที่วาเด็ดขาดนั้น ก็คือไมตองคํานึงถึงองคประกอบ

ภายในจิตใจหรือสภาพทางจิตใจ ความรับผิดเด็ดขาดหรือทฤษฎีรับภัยเปนทฤษฎีที่กําหนดวา

หลักเกณฑแหงความรับผิดทางละเมิดนั้นไมจําเปนที่ผูกระทําละเมิดจะตองมีความผิดดวย

เมื่อความเสียหายเกิดขึ้นและรูวาผูใดเปนผูกระทําหรือผูกอแลว ก็ควรถือวาผูนั้นเปนผูละเมิด ไมวา

การกระทําที่กอความเสียหายนั้นจะถูกหรือผิดกฎหมาย เพราะถือวามนุษยเราเมื่อไดกระทําการ

ใดๆ ขึ้นแลวยอมเปนการเสี่ยงภัยอยางหนึ่งคืออาจมีผลดีก็ไดหรือผลรายก็ไดผูกระทําก็จะตองรับ

ผลแหงการเสี่ยงภัยนั้น ถามีภัยคือความเสียหายเกิดขึ้น เขาก็จะตองรับเคราะหและตองรับความ

97วารีนาสกุล. คําอธิบายประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยวาดวย ละเมิด จัดการงานนอกสั่ง ลาภมิควร

ได.พิมพครั้ง ที่ 2. กรุงเทพฯ : มงคลการพิมพ, 2518, หนา 25.98ไพจิตร ปุญญพันธ.ุ คําอธิบายประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยลักษณะละเมิดพระราชบัญญัติ

ทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ. 2539 กฎหมายลักษณะละเมิดขอสันนิษฐานความผิดทางกฎหมาย, หนา 7-11.99จิ๊ดเศรษฐบุตร. หลักกฎหมายแพงลักษณะละเมิด. พิมพครั้งที่ 4. หนา 108.

Page 103: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

86

ความเสียหายนั้น โดยความเสียหายตองเปนภัยไปกับเขา100 แตอยางไรก็ตาม ความรับผิดทาง

ละเมิดที่วานี้จะถือวาเปนความรับผิดเด็ดขาดโดยสิ้นเชิงเสียเลยทีเดียวก็ไมไดเพราะจําเลย

ผูกระทําละเมิดอาจนําสืบแกตัวเพื่อหักลางขอสันนิษฐานในกฎหมายไดอีก101 หมายความวา

จําเลยมีสิทธินําพยานมาสืบหรือแสดงใหศาลเชื่อวา คดีของจําเลยมีพยานหลักฐานที่มีน้ําหนัก

นาเชื่อถือมากกวาพยานหลักฐานของโจทกไดการพัฒนากฎหมายที่เกี่ยวกับประกันภัยในประเทศ

อังกฤษและสหรัฐอเมริกา มีบทบาทสําคัญในการชวยแบงเบา และกระจายความรับผิดเปนอยาง

มากที่เกิดขึ้นได สงผลตอมาถึงการพัฒนากฎหมายลักษณะละเมิดที่ไมคํานึงถึงความผิด102

กฎหมายของประเทศตางๆ ไดรับอิทธิพลจากทฤษฎีความรับผิดเด็ดขาดหรือทฤษฎีรับภัยโดย

นําไปใช เพื่อกําหนดเหตุในการฟองคดีเปนกฎหมายในรูปของความรับผิดทางละเมิดในสินคาที่ไม

ปลอดภัย ซึ่งศาลสูงอังกฤษเคยพิพากษาไวในคดี Donoghue v. Stevenson วาจําเลยที่ผลิต

เครื่องดื่ม Ginger ale ตองรับผิดชอบตอผูบริโภคที่พบซากหอยทากตายอยูในขวดเพราะถือวา

จําเลยมีหนาที่ใชความระมัดระวัง ที่จะไมกอใหเกิดความเสียหายตอผูใด ที่บริโภคสินคาที่จําเลย

เปนผูผลิตและจําหนายในตลาดนั้น คําพิพากษาในคดีนี้ถือเปนบรรทัดฐานในเรื่องการคุมครอง

ผูบริโภคในตลาด103 สวนสหรัฐอเมริกาไดกําหนดหลักเกณฑที่เกี่ยวกับความรับผิดในสินคาที่ไม

ปลอดภัยหรือเรียกวา “Product Liability” ไวเชนกัน โดยไดเสนอไวในคําแถลงการณของนัก

นิติศาสตรที่เรียกวา “Restatement 2nd of Tort” (1965) แนวคําพิพากษาที่เปนบรรทัดฐานของ

ศาลที่เกี่ยวกับ “Product Liability” ที่วานี้ทําใหโจทกซึ่งเปนผูไดรับความเสียหายไดรับประโยชนใน

หลักการนําสืบและแสดงพยานหลักฐานตอศาล ตามภาษิตในกฎหมายของประเทศที่ใชระบบคอม

มอนลอวที่เรียกวา “The doctrine of res ipsa loquitur” หรือ “The thing speaks for itself”

100 เรื่องเดียวกัน, หนา 103-105.101สายสุดา นิงสานนท. ความรับผิดเด็ดขาดในกฎหมายลักษณะละเมิด. บัณฑิตวิทยาลัยจุฬาลงกรณ

มหาวิทยาลัย, 2525, บทคัดยอ, หนา ง.-จ.102พรเพชร วิชิตชลชัย. เอกสารการสอนชุดวิชาระบบกฎหมายไทยและตางประเทศ. หนวยที่ 8-15.

พิมพครั้งที่ 1. หนา 797. 103สุษม ศุภนิตย. คําอธิบายกฎหมายความรับผิดในผลิตภัณฑ. กรุงเทพมหานคร : บริษัทสํานักพิมพ

วิญูชน จํากัด, 2544),หนา 25.

Page 104: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

87

ปลอยใหความจริงแสดงตัวออกมา104 หมายความวาขอเท็จจริงที่ปรากฏอยูยอมแสดงอยูในตัววา

ฝายใดควรจะเปนฝายรับผิดทางละเมิด105กลาวคือ พฤติการณตางๆ ที่อยูในขณะเกิดความ

เสียหายนั้น ไมมีใครนอกจากผูกระทําละเมิดใหเกิดความเสียหายเทานั้น ที่จะตองเปนผูรับผิดชอบ

และการที่เกิดเหตุเชนนั้นขึ้นก็ไมมีทางสันนิษฐานเปนอยางอื่นได นอกจากตองสันนิษฐานวาเปน

เพราะความประมาทของผูกระทํานั้น106โดยโจทกตองพิสูจนความเสียหาย 2 ประการคือ ความ

เสียหายตามปกติจะไมเกิดขึ้นโดยปราศจากความประมาทเลินเลอของจําเลย และจําเลยเปนผู

ควบคุมสิ่งที่กอใหเกิดความเสียหายนั้น107สําหรับกฎหมายของประเทศเยอรมันยังคงรับหลักเกณฑ

วาในเรื่องความรับผิดทางละเมิดตองมีความผิดอยูดวย108

104 หลัก “The doctrine of res ipsa loquitur” เปนหลักกฎหมายที่ใชในระบบคอมมอนลอวเปนการลด

ภาระการพิสูจนของผูบริโภคเพื่ออนุมานวา จําเลยประมาทเลินเลอ โดยที่โจทกไมตองนําพยานหลักฐานเพื่อ

พิสูจนโดยตรงถึงความประมาทเลินเลอของจําเลย ภาระการพิสูจนตกไปอยูกับจําเลยที่จะตองแสดงใหศาลเห็น

วาความเสียหายของโจทกนั้นไมไดเปนผลมาจากความประมาทเลินเลอของจําเลย โดยศาลอังกฤษและ

สหรัฐอเมริกาจะนําหลักนี้มาใชในกรณีตอไปนี้ (1) เหตุการณที่กอใหเกิดความเสียหายแกโจทกนั้นเปนชนิดที่โดย

ปกติแลวจะไมเกิดขึ้น หากไมมีการกระทําโดยประมาทเลินเลอของผูใดผูหนึ่ง ผูเสียหายไมจําเปนตองพิสูจนถึง

ความประมาทเลินเลอของจําเลยโดยตรง โดยผูไดรับความเสียหายที่เปนโจทกนั้นเพียง แตพิสูจนวา ความ

เสียหายที่โจทกไดรับนั้นเกิดขึ้นจากเหตุที่โดยปกติแลวจะไมเกิดขึ้นหากจําเลยไมประมาทเลินเลอ (2) เหตุการณ

ที่กอใหเกิดความเสียหายแกโจทกนั้นเปนเหตุการณที่อยูภายใตการควบคุมของจําเลยหรือตัวแทนโดยสิ้นเชิง

หรือ (3) ความเสียหายที่โจทกไดรับนั้นไมไดเกิดจากความสมัครใจของโจทกหรือโจทกมีสวนผิดอยูดวย อางใน

อนันต จันทรโอภากร, กฎหมายวาดวยความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากสินคาที่ขาดความปลอดภัย

(Product Liability) (กรุงเทพฯ : โรงพิมพเดือนตุลาจํากัด, 2547), หนา 83-84. และ A. James Barnes and

others, Law for Business, 7th ed. (Boston : Irwin McGraw-Hill, 2000), p.100.105สุษม ศุภนิตย. คําอธิบายกฎหมายความรับผิดในผลิตภัณฑ. หนา 25. และ สายสุดา นิงสานนท,

ความรับผิดเด็ดขาดในกฎหมายลักษณะละเมิด, บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2525, หนา 53.106บัญญัติสุชีวะ. “ประมาท”, บทบัณฑิต, เลม 21 ตอน 2 (เมษายน 2506) : 295.107ศนันทกรณ โสตถิพันธุ. คําอธิบายกฎหมายลักษณะละเมิด จัดการงานนอกสั่ง ลาภมิควรได. พิมพ

ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร : วิญูชน, 2552. หนา37.108 จิ๊ด เศรษฐบุตร. หลักกฎหมายแพงลักษณะละเมิด. พิมพครั้งที่ 4. หนา 114

Page 105: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

88

สวนกฎหมายไทย ความรับผิดเด็ดขาดหรือทฤษฎีรับภัยไมมีอิทธิพลโดยตรง109แตมีแนวทางแหง

ทฤษฎีรับภัยอยูบาง เชน ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยมาตรา 437 ซึ่งเปนความรับผิดของผู

ครอบ ครองหรือควบคุมยานพาหนะที่เดินดวยเครื่องจักรกล110 เปนตน นอกจากนี้ฝายนิติบัญญัติ

ไทยไดออกกฎหมายที่เกี่ยวกับความรับผิดในสินคาที่ไมปลอดภัย โดยใชทฤษฎีความรับผิด

เด็ดขาดหรือความรับผิดโดยเครงครัดหรือทฤษฎีรับภัยนี้เพื่อกําหนดใหผูกระทําละเมิดรับผิด

ในทางละเมิดเกี่ยวกับสินคาที่ไมปลอดภัย โดยผูไดรับความเสียหายไมตองพิสูจนความผิด111 ดวย

เหตุผลที่วาในปจจุบันไมวาจะผลิตสินคาภายในหรือนําเขามีกระบวนการผลิตที่ใชความรูทางดาน

วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีชั้นสูงขึ้นเปนลําดับ การที่ผูบริโภคจะตรวจพบวาสินคาไมปลอดภัย

กระทําไดยาก เมื่อผูบริโภคนําสินคาที่ไมปลอดภัยไปใชอาจกอใหเกิดอันตรายตอชีวิต รางกาย

สุขภาพ อนามัยหรือทรัพยสินของผูบริโภคหรือบุคคลอื่นได แตในปจจุบันการฟองคดีเพื่อเรียก

คาเสียหายมีความยุงยาก เนื่องจากภาระหนาที่ในการพิสูจนถึงการจงใจหรือความประมาท

เลินเลอในการกระทําผิดของผูผลิตหรือผูนําเขาตกเปนหนาที่ของผูไดรับความเสียหาย ตามหลัก

กฎหมายทั่วไป เพราะยังไมมีกฎหมายใหความคุมครองผูบริโภคที่ไดรับความเสียหายที่เกิดจาก

สินคามากอนโดยมีการกําหนดหนาที่ความรับผิดชอบในความเสียหายของผูผลิตหรือเกี่ยวของไว

โดยตรง โดยนําหลักความรับผิดโดยเครงครัดหรือความรับผิดเด็ดขาดมาใช อันจะมีผลให

ผูเสียหายไมตองพิสูจนถึงความไมปลอดภัยของสินคา ตลอดจนไดรับการชดใชคาเสียหายที่เปน

ธรรมและพอสมควร ปรากฏตามพระราชบัญญัติความรับผิดตอความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินคาที่

ไมปลอดภัยพุทธศักราช 2551

2.2.15 หลักเกณฑในการกําหนดความรับผิดทางละเมิดตามกฎหมายไทย หลักเกณฑในการกําหนดความรับผิดทางละเมิดตามกฎหมายไทย ที่จะกลาวในสวน

นี้จะจํากัดเฉพาะหลักเกณฑของการกําหนดความรับผิด ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย

มาตรา 420 ซึ่งถือเปนหลักทั่วไปของความรับผิดทางละเมิด อันเปนแมบทหลักตามกฎหมายไทย

เทานั้น โดยมาตรา 420 ดังกลาวไดบัญญัติวา “ผูใดจงใจหรือประมาทเลินเลอทําตอบุคคลอื่น โดย

109ไพจิตร ปุญญพันธุ. คําอธิบายประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย ลักษณะละเมิด พระราชบัญญัติ

ทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ.2539 กฎหมายลักษณะละเมิดขอสันนิษฐานความผิดทางกฎหมาย. จัดพิมพครั้ง

ที่ 10. หนา 11.110จิ๊ด เศรษฐบุตร. หลักกฎหมายแพงลักษณะละเมิด. พิมพครั้งที่ 4. หนา 114-115111ไพจิตร ปุญญพันธุ. คําอธิบายประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย ลักษณะละเมิด พระราชบัญญัติ

ทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ. 2539 กฎหมายลักษณะละเมิดขอสันนิษฐานความผิดทางกฎหมาย, หนา 10

Page 106: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

89

ผิดกฎหมายใหเขาเสียหายถึงแกชีวิตก็ดีแกรางกายก็ดี อนามัยก็ดี เสรีภาพก็ดี ทรัพยสิน หรือสิทธิ

อยางหนึ่งอยางใดก็ดี ทานวาผูนั้นทําละเมิดจําตองใชคาสินไหมทดแทนเพื่อการนั้น” หลักทั่วไป

ของความรับผิดทางละเมิดตามกฎหมายไทยตามมาตรา 420 จึงเปนความรับผิดทางละเมิดที่อยู

บน

พื้นฐานของความผิด ที่ผูไดรับความเสียหายตองพิสูจนเหตุในการฟองคดีตาม

หลักเกณฑความรับผิดทางละเมิด 2 ประการคือองคประกอบภายนอก หรือองคประกอบทางการ

กระทํา ไดแกการกระทําโดยผิดกฎหมายใหเขาเสียหายและองคประกอบทางจิตใจไดแกการ

กระทําโดยจงใจหรือประมาทเลินเลอ112 หลักเกณฑตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยมาตรา

420 ที่สําคัญมีดังนี้

1) องคประกอบทางการกระทํา

ผูใดไดกระทําหรืองดเวนกระทําหรือละเวนกระทํา โดยฝาฝนหนาที่โดยผิดกฎหมาย

อันจะกอใหเกิดความเสียหายแกผูอื่นแลว การกระทําหรืองดเวนกระทําหรือละเวนกระทําที่วานี้

ยอมเปนองคประกอบสวนหนึ่งของความรับผิดทางละเมิด (1) คําวา “ผูใด” ตามประมวลกฎหมาย

แพงและพาณิชยมาตรา 420 ไมใหบัญญัติใหความหมายคําวา“ผูใด” ไวแตมีนักวิชาการหลาย

ทานไดอธิบายไวทํานองเดียวกันวา “ผูกระทําละเมิดจะเปนบุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคลก็ไดบุคคล

ธรรมดาไมวาจะเปนผูเยาวคนวิกลจริต คนไรความสามารถ หรือเสมือนไรความสามารถผูถูกศาลมี

คําสั่งพิทักษทรัพยในคดีลมละลาย หรือบุคคลลมละลายยอมเปนผูกระทําละเมิดไดทั้งสิ้น หรือ

บุคคลที่ใชคนที่ไมรูขอเท็จจริงหรือพฤติการณแหงการกระทําความผิดก็ถือวาผูใชเปนผูทําละเมิด

โดยตรงโดยใชบุคคลอื่นเปนเครื่องมือ”113

2) การกระทํา (Action)

การกระทําที่วานี้จะเกี่ยวของกับการกระทํา (Action) การงดเวนกระทํา (Omission)

ion)และการละเวนกระทํา (Inaction) ซึ่งตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยไมไดบัญญัติให

ความหมายของการกระทําหรืองดเวนกระทําหรือละเวนกระทําไวแตประการใด ในเบื้องตน การ

กระทํา หมายความถึงการแสดงความรูสึกนึกคิดภายในใจของตนเองออกมาใหบุคคลทั่วไปทราบ

โดยการเคลื่อนไหวรางกายไมวาโดยทางกิริยาอาการหรือทางวาจาก็ได และผูแสดงนั้นไดรูสึก

112สายสุดา นิงสานนท. ความรับผิดเด็ดขาดในกฎหมายลักษณะละเมิด. บัณฑิตวิทยาลัยจุฬาลงกรณ

มหาวิทยาลัย, 2525, หนา 41.113สุษม ศุภนิตน. คําอธิบายประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยวาดวย ละเมิด.กรุงเทพมหานคร :

บริษัทสํานักพิมพวิญูชน จํากัด, 2546, หนา4-6.

Page 107: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

90

สํานึกในการเคลื่อนไหวของตน114 การงดเวนกระทํา (Omission) ถาผูงดเวนการกระทําไมมีหนาที่

อันใดที่จะตองกระทําการนั้นในทางแพงไมถือวาเปนละเมิด แตถาผูงดเวนมีหนาที่ตองกระทําการ

อยางใดอยางหนึ่งและงดเวนกระทําการนั้น ไดมีนักนิติศาสตรมีความเห็นวาการงดเวนกระทําใน

เมื่อบุคคลมีหนาที่ตองกระทําจนเกิดความเสียหายขึ้นแกผูอื่นถือวาการงดเวนนั้นเปนละเมิดเพราะ

ถือวาผูมีหนาที่นั้นมีหนาที่จะตองปองกันความเสียหายที่เกิดขึ้น1151การงดเวนนั้นเปนละเมิด

เพราะถือวาผูที่มีหนาที่ที่จะตองปองกันความเสียหายที่เกิดขึ้น หนาที่จะตองกระทํานั้นเดิมกําหนด

วาตองเปนหนาที่ตามกฎหมายเทานั้น แตตอมาไดมีนักนิติศาสตรหลายทานไมเห็นดวย และได

วิพากษวิจารณในทํานองโตแยง ในที่สุด ปรากฏความเห็นสวนใหญวาหนาที่นั้นไมจําเปนตองมี

กฎหมายบัญญัติไวกอนเสมอไป เพราะการละเมิดสิทธิของผูอื่นก็เปนการผิดกฎหมายแลวและถา

มีกฎหมายบัญญัติไวก็จะกลายเปนวาการกระทํานั้นๆ เปนการผิดกฎหมายมาแตตน เชน หนาที่ที่

เกิดจากตามกฎหมายบัญญัติไวโดยตรง หนาที่ตามวิชาชีพ หนาที่ตามระเบียบปฏิบัติงานที่ตนเอง

ตองปฏิบัติหรือมีระเบียบหรือคําสั่งใหปฏิบัติหนาที่ที่เกิดจากความสัมพันธตามสัญญา หรือหนาที่

ที่เกิดจากความสัมพันธตามพฤติการณ116สําหรับการละเวนการกระทํา (Inaction) ไดมีหลักเกณฑ

ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 59 วรรคทาย บัญญัติไววา “การกระทําใหหมายความรวมถึง

การใหเกิดผลอันหนึ่งอันใดขึ้น โดยงดเวนการที่จักตองกระทําเพื่อปองกันผลนั้นดวย” อาจนํามาใช

ในกรณีละเมิดได117การละเวนกระทําเปนการกระทําโดยไมเคลื่อนไหวรางกาย หรือบางทีเรียกวา

การไมกระทํา118ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยไมไดกลาวถึงเรื่องการละเวนกระทําไว แต

สําหรับในทางอาญานอกจากการกระทําเปนความผิดโดยงดเวนแลวยังมีความผิดอีกประการหนึ่ง

เกี่ยวกับที่ตนมีหนาที่แตละเวนเสียไมกระทําตามหนาที่นั้น เรียกวาการกระทําความผิดเพราะการ

ละเวนการกระทํา เชนความผิดตอเจาพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 154 มาตรา

114วารี นาสกุล. คําอธิบายประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยวาดวย ละเมิด จัดการงานนอกสั่ง ลาภมิ

ควรได. พิมพครั้ง 2. กรุงเทพมหานคร : มงคลการพิมพ, 2518, หนา 25.115เรื่องเดียวกัน, หนา 25-28.116 พจน ปุษปาคม. คําอธิบายประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยวาดวยละเมิด. กรุงเทพมหานคร :

โรงพิมพมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2515, หนา 15-22117วารี นาสกุล. คําอธิบายประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยวาดวยละเมิดจัดการงานนอกสั่งลาภมิ

ควรได. พิมพครั้งที ่2. หนา 26-27.118 เกียรติขจร วัจนะสวัสดิ์. คําอธิบายกฎหมายอาญา ภาค 1. พิมพครั้งที่ 1 กรุงเทพมหานคร :

สํานักพิมพ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2531, หนา 79.

Page 108: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

91

156 มาตรา 157 มาตรา 162และมาตรา 166119 เปนตน ความแตกตางระหวางการกระทําโดยงด

เวนและการกระทําโดยละเวนอยูตรงที่วา หนาที่ของการกระทําโดยงดเวน กระทํานั้นเปนหนาที่

โดยเฉพาะที่ตองทําเพื่อปองกันผล สวนหนาที่ของการกระทําโดยการละเวนนั้น เปนหนาที่

โดยทั่วไปที่ตองกระทําการอยางใดอยางหนึ่ง120 นอกจากนี้โดยทั่วไป การละเวนกระทํามี 2

ลักษณะคือการละเวนกระทําระหวางประกอบการ หมายความถึงการที่ผูกอความเสียหาย

ประกอบการอยางใดอยางหนึ่ง แตไดละเวนกระทําการสิ่งใดสิ่งหนึ่งซึ่งอยูในสวนแหงการ

ประกอบการนั้น เชน คนขับรถยนตชนคนตายเพราะไมหามลอ การไมหามลอเปนการละเวนใน

ระหวางที่เขาประกอบการคือการขับรถยนต เปนตน และการละเวนกระทําเฉยๆ ไดแกการที่บุคคล

ละเวนกระทําโดยเขาไมไดมีสวนในการประกอบการสิ่งหนึ่งสิ่งใดเลย เชน การยืนดูคนจมน้ํา เปน

ตน121

ดังนั้น เมื่อวิเคราะห การกระทําการงดเวนกระทํา และการละเวนกระทํา ในความรับ

ผิดทางละเมิดแลว ชี้ใหเห็นวาการกระทําเปนเหตุการณอันอยูภายใตบังคับของจิตใจมนุษยการงด

เวนกระทําหมายถึง เมื่อบุคคลใดหรือผูใดมีหนาที่จะตองกระทําเขาจะตองรับผิดในผลที่เกิดขึ้น

เพราะไมกระทําตามหนาที่นั้น และการละเวนกระทําหรือการไมกระทํา หมายความถึงกรณีที่

กฎหมายบัญญัติวา การไมกระทําในกรณีนั้นๆ เปนความผิด ซึ่งสรุปความความแตกตางระหวาง

การงดเวนกระทํากับการละเวนกระทําไดวา การกระทําโดยงดเวนนั้นเปนหนาที่โดยเฉพาะที่ตอง

ทําเพื่อปองกันผล สวนการกระทําโดยละเวนนั้นเปนหนาที่โดยทั่วไปที่จะตองกระทําการอยางใด

อยางหนึ่ง

2.2.15.1 องคประกอบการกระทําตอบุคคลอื่นโดยผิดกฎหมาย (Unlawful Conduct)

การกระทําตอบุคคลอื่น โดยผิดกฎหมายเปนองคประกอบการกระทํา ที่ผูกระทํา

ละเมิดไดกระทําที่มีองคประกอบความผิดโดยผิดกฎหมายอันทําใหผูอื่นเสียหาย ที่มีรายละเอียด

ดังนี้

119สุปน พูลพัฒน. คําอธิบายเรียงมาตราประมวลกฎหมาย. พิมพครั้งที่ 5. กรุงเทพมหานคร :

สํานักพิมพนิติบรรณการ, 2523, หนา 263.120เกียรติขจร วัจนะสวัสดิ์. คําอธิบายกฎหมายอาญา ภาค ., พิมพครั้งที่ 1.กรุงเทพมหานคร :

สํานักพิมพวิญูชน, 2554, หนา 80121จิ๊ด เศรษฐบุตร. หลักกฎหมายแพงลักษณะละเมิด. พิมพครั้งที่ 4. หนา 144-145.

Page 109: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

92

(1) กระทําตอบุคคลอื่น คําวา “บุคคลอื่น” ไมไดบัญญัติความหมายไวในประมวล

กฎหมายแพงและพาณิชย แตนักนิติศาสตรไดอธิบายคําวา “บุคคลอื่น” ไวในทํานองเดียวกันวา

หมายถึง บุคคลธรรมดาและนิติบุคคล การทําลายทรัพยสิ่งของหรือสัตวที่มีเจาของ ถือวาเปนการ

ทําตอบุคคลผูเปนเจาของ ไมวาจะเปนเด็กทารกผูเยาวคนพิการหรือคนวิกลจริต หรือแมแตนักโทษ

ประหารก็ถูกทําละเมิดไดทั้งสิ้น แตไมหมายถึงทารกที่อยูในครรภมารดา ตามประมวลกฎหมาย

แพงและพาณิชยมาตรา 15 วรรคสอง เพราะยังไมมีสภาพบุคคลการกระทําตอทารกในครรภ

มารดาไมเปนละเมิดตอทารกในครรภมารดา แตเปนการกระทําและละเมิดตอมารดาโดยตรง122

(2) โดยผิดกฎหมาย (Unlawful) สําหรับความรับผิดทางละเมิด การกระทําโดยผิด

กฎหมายนั้นไมจําตองมีกฎหมายบัญญัติไวโดยชัดแจงวา การกระทําอันนั้นเปนการกระทําผิด

กฎหมาย ดังเชนบัญญัติไวในประมวลกฎหมายอาญามาตรา 2123“โดยผิดกฎหมาย”ที่วานี้

หมายความวา การกระทําลงโดยไมมีอํานาจหรือไมมีสิทธิหรือทําโดยมิชอบดวยกฎหมายดังนั้นแม

จะไมมีกฎหมายบัญญัติไววาการกระทําเชนนั้นเปนความผิดถาผูกระทําไดทําตอบุคคลอื่นจนเขา

ไดรับความเสียหายโดยจงใจ หรือประมาทเลินเลอแลวการกระทําเชนนั้นก็เปนละเมิดไดทั้งสิ้น124

หรือการกระทําที่เปนการลวงสิทธิของผูอื่นทําใหเกิดความเสียหายแกผูอื่นและผูกระทําไมมีสิทธิที่

จะทําได หรือไมมีขอแกตัวตามกฎหมายไดทั้งไดกระทําการโดยปราศจากความยินยอมของ

ผูเสียหาย125 หรือเปนการประทุษรายตอสิทธิของผูอื่น โดยปราศจากอํานาจหรือเกินกวาอํานาจที่มี

อยูหมายความวาการละเมิดสิทธิของผูอื่นเปนผิดกฎหมายอยูในตัวโดยไมจําตองมีกฎหมาย

บัญญัติไววาการกระทําเชนนั้นผิดตอกฎหมาย เวนแตผูกระทําจะมีอํานาจกระทําเชนนั้นได126

122เพ็ง เพ็งนิติ. คําอธิบายประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยวาดวย ละเมิด และความรับผิดทาง

ละเมิดของเจาหนาที่. พิมพครั้งที่ 8. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพ : สํานักพิมพนิติบรรณาการ, 2556, หนา 50.123สุษม ศุภนิตย. คําอธิบายประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยลักษณะละเมิด, พิมพครั้ง 10.

กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพนิติบรรณาการ, 2546, หนา 15. และประมวลกฎหมายอาญามาตรา 2 วรรคแรก

“บุคคลจักตองรับโทษทางอาญาตอ เมื่อไดกระทําการอันกฎหมายที่ใชในขณะกระทํานั้นบัญญัติเปนความผิด

และกําหนดโทษไวและโทษ ท่ีจะลงแกผูกระทําความผิดนั้นตองเปนโทษที่บัญญัติไวในกฎหมาย”124ไพจิตร ปุญญพันธุ. คําอธิบายประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยลักษณะละเมิดความรับผิดทาง

ละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ.2539. พิมพครั้ง 10. กรุงเทพมหานคร :สํานักพิมพนิติบรรณาการ, 2556, หนา 23.125วารี นาสกุล. คําอธิบายประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยวาดวย ละเมิด จัดการงานนอกสั่ง ลาภมิ

ควรได. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร:บริษัท กรุงสยาม พับลิชชิ่ง จํากัด, 2556, หนา 68-69.126เพ็ง เพ็งนิติ, คําอธิบายประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยวาดวย ละเมิด และความรับผิดทาง

ละเมิดของเจาหนาที่. พิมพครั้งที่ 8. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพ : สํานักพิมพนิติบรรณาการ, 2556, หนา 37.

Page 110: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

93

2.2.15.2 องคประกอบจงใจหรือประมาทเลินเลอ (Intention หรือ Negligence)เปนการกระทําโดยการจงใจหรือประมาทเลินเลอเปนสภาพจิตใจของผูกระทําใน

เวลาที่ทําละเมิดจงใจหรือประมาทเลินเลอที่วานี้เปนสวนหนึ่งของความผิด ที่เกิดจากการกระทําที่

ผิดกฎหมายของผูกระทําละเมิดโดยการกระทําที่ผิดกฎหมายนี้จะตองกระทําโดยอาการสอง

ประการคือจงใจและประมาทเลินเลอ127 ความรับผิดในทางละเมิดตามมาตรา 420 ผูกระทํา

ละเมิดจะตองรับผิดตอเมื่อไดกระทําโดยจงใจหรือประมาทเลินเลอ โดยจงใจทางละเมิดที่วานี้ก็

นาจะเหมือนกับเจตนาทางอาญาการกระทําโดยจงใจในทางแพง ผูกระทํานอกจากรูสํานึกในการ

กระทํา แลวยังรูสํานึกถึงความเสียหายที่จะเกิดขึ้นจากการกระทํานั้นดวย128 การกระทําโดยจงใจ

ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยมาตรา 420 ไมจําตองเปนการกระทําที่มีเจตนาราย แต

เปนการกระทําไปโดยตั้งใจเปนเจาของอาการเคลื่อนไหวของตนเองก็เพียงพอแลว129สวนการ

กระทําโดยความประมาทเลินเลอนั้น คําพิพากษาของศาลไทยจึงมักจะอธิบายความหมายคําวา

ประมาทเลินเลอไปในทางที่วาเปนการกระทําโดยปราศจากความระมัดระวัง ซึ่งบุคคลในภาวะ

เชนนั้นจักตองมีตามวิสัยและพฤติการณซึ่งก็เปนหลักเกณฑที่ใชการทดสอบในเชิงวัตถุวิสัย

(Objective Test)130นอกจากนี้ การที่กฎหมายลักษณะละเมิดไทย มีรากฐานมาจากทฤษฎี

ความผิดกําหนดใหจําเลยในคดีละเมิดตองรับผิดสําหรับความเสียหายตอเมื่อจําเลยมีความผิด ซึ่ง

เกิดจากการกระทําที่ผิดกฎหมาย ที่จะตองกระทําโดยอาการสองประการคือโดยจงใจหรือประมาท

เลินเลอ131 โจทกจึงตองพิสูจนเหตุในการฟองคดี ที่จําเลยกระทําละเมิดเชนนั้นวา จําเลยไดกระทํา

127จิ๊ด เศรษฐบุตร. หลักกฎหมายแพงลักษณะละเมิด. พิมพครั้ง 4. หนา 121.128วารี นาสกุล. คําอธิบายประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยวาดวย ละเมิด จัดการงานนอกสั่ง ลาภมิ

ควรได. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร:บริษัท กรุงสยาม พับลิชชิ่ง จํากัด, 2556, หนา 41.129กลอม อิศรพันธ. หลักทั่วไปวาดวยความรับผิดทางละเมิดในลักษณะวิชากฎหมายแพงและพาณิชย

พิสดาร. วิทยานิพนธคณะนิติศาสตรหลักสูตรชั้นปริญญาโท ภาค 2 ทางนิติศาสตร, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร,

2496, หนา 48.130พรเพชร วิชิตชลชัย. เอกสารการสอนชุดวิชา ระบบกฎหมายไทยและตางประเทศ. หนวยที่ 8-15.

พิมพครั้งที่ 1. หนา 800.131จิ๊ด เศรษฐบุตร. หลักกฎหมายแพงลักษณะละเมิด. พิมพครั้ง 4. หนา 70.

Page 111: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

94

โดยจงใจหรือประมาทเลินเลอ โดยการกระทําที่วานี้เปนการกระทํา หรืองดเวนกระทํา โดยผิด

กฎหมาย ทําใหโจทกไดรับความเสียหาย132

2.2.15.3 องคประกอบความเสียหาย (Injury) องคประกอบสวนของความเสียหายเปนความเสียหายทั่วไป

ไดปรากฏอยูในประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยมาตรา 420 วา “.ทําใหเขาเสียหายถึง

แกชีวิตก็ดีแกรางกายก็ดีอนามัยก็ดีเสรีภาพก็ดีทรัพยสินหรือสิทธิอยางหนึ่งอยางใดก็ดี.” ดังนั้น

ความเสียหายที่ไดรับความคุมครองตามมาตรา 420 โดยชัดแจง คือ ชีวิต รางกายอนามัยและ

เสรีภาพ สวนคําวา “สิทธิอยางหนึ่งอยางใด” นั้น ความหมายไมชัดเจนจึงขึ้นอยูกับการวินิจฉัยคดี

ของศาลวาความเสียหายที่เกิดกับผูเสียหายนั้นควรไดรับความคุมครองหรือไม อยางไรก็ตาม แม

คําวา “อนามัย” จะเปนคําที่ชัดเจน แตในการใหความคุมครองความเสียหายทางจิตใจที่เกิดกับผู

ไดรับความเสียหายลําดับสองของศาลไทยและศาลเยอรมันกลับมีความแตกตางกัน โดยศาล

เยอรมันไดตีความคําวา “อนามัย” ใหครอบคลุมถึงความเสียหายทางจิตใจ ที่เกิดกับผูไดรับความ

เสียหายลําดับสองดวย แตศาลไทยยังปฏิเสธที่จะใหความคุมครอง และจากการศึกษา พบวา แม

จะมีผูทรงคุณวุฒิเห็นวา “ความเสียหายแกอนามัย” หมายถึง การที่ทําใหรางกายของผูอื่นเสื่อม

เสียสุขภาพไปซึ่งอาจเปนการบั่นทอนสุขภาพจิตก็ได133แตการใหความคุมครองตอ “อนามัย” ใน

ระบบกฎหมายไทยยังจํากัดอยูที่ความเสียหายตออนามัยของรางกายเทานั้น ดังปรากฏตัวอยาง

คําพิพากษาฎีกาดังนี้คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 1745/2535 ปญหาวาการกระทําของจําเลยเปนการ

กระทํากรรมเดียวหรือหลายกรรมตางกันเปนปญหาเกี่ยวกับความสงบเรียบรอย แมจําเลยจะมิได

ยกขึ้นวากันมาแลวในศาลอุทธรณก็ตาม จําเลยก็หยิบยกขึ้นในชั้นฎีกาได แมความผิดฐานผลิต

เพื่อจําหนายซึ่งอาหารผิดมาตรฐานตามฟองขอ ก. อันเปนความผิดตามพระราชบัญญัติอาหาร

พ.ศ. 2522 มาตรา25(3),60 และความผิดฐานผลิตเพื่อจําหนายซึ่งอาหารไมบริสุทธิ์ตามฟองขอ ข.

อันเปนความผิดตามมาตรา 25(1),58 จะเปนความผิดที่มีองคประกอบความผิดและบทลงโทษ

แตกตางกันก็ตาม เมื่อโจทกบรรยายฟองวาจําเลยผลิตเพื่อจําหนายซึ่งอาหารผิดมาตรฐานและ

132 Kosin Phimkitidej, “Product liability Law of Thailand: Analysis of Conundrums under

Current Related Laws and Relations with a Comparative U.S. Approach to the Same Problems Using

Contract and Tort Law” อางใน http://www.leda.law.havard.edu/leda/data/785/phimkitidej06.rtf (23

April 2008).133วารี นาสกุล. คําอธิบายประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยวาดวยละเมิดจัดการงานนอกสั่งลาภมิ

ควรได. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร:บริษัท กรุงสยาม พับลิชชิ่ง จํากัด, 2556, หนา 99.

Page 112: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

95

อาหารไมบริสุทธิ์ตามฟองทั้งสองขอดังกลาวในวันเดียวกันและอาหารที่ผลิตเพื่อจําหนายก็เปน

อาหารกระปองซึ่งภายในบรรจุปลาเกล็ดขาวทอดกรอบอยางเดียวกัน อีกทั้งไมปรากฏตามคําฟอง

วาจําเลยกระทําผิดตามฟองทั้งสองขอดังกลาวดวยเจตนาตางกันการกระทําของจําเลยจึงเปน

กรรมเดียวเปนความผิดตอกฎหมายหลายบทตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 90 หาใชเปน

ความผิดหลายกรรมตางกันตามมาตรา 91 ไม ปญหาวาการกระทําผิดของจําเลยเปนกรรมเดียว

หรือหลายกรรมตางกันรวมทั้งปญหาวาศาลลางทั้งสองลงโทษจําเลยสูงเกินสมควรนั้นรวมทั้ง

ปญหาวาศาลลางทั้งสองลงโทษจําเลยสูงเกินสมควรนั้นลวนเปนเหตุอยูในสวนลักษณะคดี ศาล

ฎีกามีอํานาจพิพากษาตลอดไปถึงจําเลยอื่นที่มิไดฎีกาดวยได ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา-

ความอาญา มาตรา 213 ประกอบมาตรา 225

คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 556/2530 นมขนหวานที่จําเลยผลิตขึ้นมีจุลินทรียหรือบักเตรี เกิน

กวาจํานวนตามประกาศของกระทรวงสาธารณสุข จึงเปนอาหารที่ผลิตขึ้น โดยไมถูกตองตาม

คุณภาพหรือมาตรฐาน สวนจะถึงขั้นเปนอาหารปลอมหรือไมตองเปนอาหารที่ทําใหเกิดโทษหรือ

เปนอันตราย จุลินทรียหรือบักเตรีนั้นมีทั้งชนิดที่ทําใหเกิดโทษและชนิดที่ไมเปนโทษ เมื่อโจทกไม

นําสืบใหเห็นวา การมีจุลินทรียหรือบักเตรีเกินจํานวนที่ระบุไวเปนโทษหรือเปนอันตรายนมขน

หวานดังกลาวจึงมิใชอาหารปลอมตามพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ.2522 มาตรา 25(2)

ประกอบดวยมาตรา 27(5)แตการมีจุลินทรียหรือบักเตรีเกินจํานวนดังกลาวเปนอาหารผิด

มาตรฐานตามมาตรา 25(3) ประกอบดวยมาตรา 28 ศาลจึงมีอํานาจลงโทษฐานนี้ไดตามประมวล

กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 192 เพราะเปนบทที่มีโทษเบากวาที่โจทกฟองนิติบุคคล

จะดําเนินงานหรือปฏิบัติงานตามวัตถุประสงคดวยตนเองไมไดตองกระทําโดยผูแทน จําเลยที่ 2

เปนกรรมการผูมีอํานาจของบริษัทจําเลยที่ 1 เปนผูรับผิดชอบในการดําเนินหรือปฏิบัติงานของ

จําเลยที่ 1 เมื่อจําเลยที่ 1 กระทําผิด ก็ไดชื่อวาเปนการกระทําของจําเลยที่ 2 ดวย134

ตามคําพิพากษาศาลฎีกาสองตัวอยางนี้เปนความเสียหายแกอนามัยซึ่งเปนความ

เสียหายในเชิงวัตถุที่เกิดจากผลของความเสียหายในทางรางกาย ที่ผูไดรับความเสียหายโดยตรง

ไดรับบาดเจ็บสาหัสหรือความทรมานตามลําดับจากการทําละเมิด นอกจากนี้ลักษณะของความ

เสียหายที่จะไดรับความคุมครองตามมาตรา 420 ยังตองเปนความเสียหายตามพฤตินัย หรือตาม

ความเปนจริง ที่โจทกไดรับจากการกระทําของจําเลย เปนความเสียหายที่แนนอนและไมไกลเกิน

134สุพจน กูมานะชัย. ประมวลคําพิพากษาและคําสั่งของศาลฎีกาวาดวยกฎหมายเกี่ยวกับอาหาร ยา

และคุมครองผูบริโภค พุทธศักราช 2530-2542,กรุงเทพมหานคร :สํานักพิมพนิติธรรม (มกราคม 2543): หนา

16-20.

Page 113: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

96

เหตุ135ความเสียหายอาจมีทั้งที่เปนตัวเงินและมิใชตัวเงิน136ดังนี้ (1) ความเสียหายที่เปนตัวเงิน

(Pecuniary loss) บทบัญญัติในประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยนอกจากที่เกี่ยวของกับการ

กําหนดความรับผิดที่เกิดจากการกระทําละเมิด อันเปนหลักความรับผิดทั่วไป ซึ่งเปนแมบทหลักที่

บัญญัติไวในมาตรา 420 แลว ยังมีบทบัญญัติที่เปนเรื่องความรับผิดในทางละเมิดที่เกี่ยวกับการ

เรียกคาสินไหมทดแทน เพื่อความเสียหายตางๆ ไวโดยเฉพาะดวย เชน ความรับผิดทางละเมิดตาม

ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยมาตรา 443137 มาตรา 444138และมาตรา 446139 เปนตน จาก

การศึกษามาตราตางๆ ดังกลาว พบวาความเสียหายที่ไดรับความคุมครองในระบบกฎหมายไทย

มีทั้งความเสียหายที่เปนตัวเงินและไมใชตัวเงิน โดยความเสียหายที่เปนตัวเงินที่สามารถเรียกรอง

ไดตามความรับผิดในทางละเมิดคือ ความเสียหายที่อาจกําหนดเปนตัวเงินไดที่เกิดจากการกระทํา

135กลอม อิศรพันธ. หลักทั่วไปวาดวยความรับผิดทางละเมิด ในลักษณะวิชากฎหมายแพงและพาณิชย

พิสดาร. วิทยานิพนธคณะนิติศาสตรหลักสูตรชั้นปริญญาโท ภาค 2 ทางนิติศาสตร, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

2496, หนา 128.136ไพจิตร ปุญญพันธุ, คําอธิบายประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยลักษณะละเมิด ความรับผิดทาง

ละเมิดของเจาหนาที่พ.ศ.2539, พิมพครั้ง 10. กรุงเทพมหานคร :สํานักพิมพนิติบรรณาการ, 2556, หนา 256.137มาตรา443 ในกรณีทําใหเขาถึงตายนั้นคาสินไหมทดแทนไดแกคาปลงศพรวมทั้งคาใชจายอันจําเปน

อยางอื่น ๆ อีกดวย

ถามิไดตายในทันทีคาสินไหมทดแทนไดแกคารักษาพยาบาลรวมทั้งคาเสียหายที่ตองขาดประโยชนทํา

มาหาไดเพราะไมสามารถประกอบการงานนั้นดวย

ถาวาเหตุที่ตายลงนั้นทําใหบุคคลหนึ่งคนใดตองขาดไรอุปการะตามกฎหมายไปดวยไซรทานวาบุคคล

คนนั้นชอบที่จะไดรับคาสินไหมทดแทนเพื่อการนั้น138มาตรา444 ในกรณีทําใหเสียหายแกรางกายหรืออนามัยนั้นผูตองเสียหายชอบที่จะไดชดใช

คาใชจายอันตนตองเสียไปและคาเสียหายเพ่ือการที่เสียความสามารถประกอบการงานสิ้นเชิงหรือแตบางสวน

ทั้งในเวลาปจจุบันนั้นและในเวลาอนาคตดวย

ถาในเวลาที่พิพากษาคดีเปนพนวิสัยจะหยั่งรูไดแนวาความเสียหายนั้นไดมีแทจริงเพียงใดศาลจะกลาว

ในคําพิพากษาวายังสงวนไวซึ่งสิทธิที่จะแกไขคําพิพากษานั้นอีกภายในระยะเวลาไมเกินสองปก็ได139มาตรา446 ในกรณีทําใหเขาเสียหายแกรางกายหรืออนามัยก็ดีในกรณีทําใหเขาเสียเสรีภาพก็ดีผู

ตองเสียหายจะเรียกรองเอาคาสินไหมทดแทนเพื่อความที่เสียหายอยางอื่นอันมิใชตัวเงินดวยอีกก็ไดสิทธิ

เรียกรองอันนี้ไมโอนกันไดและไมตกสืบไปถึงทายาทเวนแตสิทธินั้นจะไดรับสภาพกันไวโดยสัญญาหรือไดเริ่ม

ฟองคดีตามสิทธินั้นแลว

อนึ่งหญิงที่ตองเสียหายเพราะผูใดทําผิดอาญาเปนทุรศีลธรรมแกตนก็ยอมมีสิทธิเรียกรองทํานอง

เดียวกันนี้

Page 114: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

97

ละเมิดตอชีวิต รางกายอนามัย เสรีภาพหรือสิทธิอยางใดอยางหนึ่งตามมาตรา 420 เชน คายาที่มี

ใบเสร็จรับเงิน คาปลงศพ และคาขาดไรอุปการะเลี้ยงดู140คาจางนางพยาบาลเฝาไขคาจางรถ

แท็กซี่ไปโรงพยาบาล141 หรือคาเสียหายที่ตองขาดประโยชนทํามาหาได142 เปนตน

2.2.15.4 คาสินไหมทดแทนเพื่อความเสียหายอยางอื่นอันมิใชตัวเงิน (Non-pecuniary loss)

การใหความคุมครองสิทธิเพื่อความที่เสียหาย อันมิใชตัวเงินในกฎหมายละเมิด

ของไทยไดปรากฏอยูในประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยมาตรา 446 โดยกําหนดใหผูไดรับ

ความเสียหายสําดับหนึ่ง หรือผูไดรับความเสียหายโดยตรงสามารถเรียกคาสินไหมทดแทน เพื่อ

ชดเชยความที่เสียหายอันมิใชตัวเงินไดแตบัญญัติไวเฉพาะกรณีความเสียหาย อันมิใชตัวเงินที่เกิด

จากผลของความเสียหายตอรางกายอนามัย เสรีภาพ และความเสียหายที่เกิดจากการกระทํา

ความผิดอาญาอันเปนทุรศีลธรรมแกหญิง มิไดรวมถึงความเสียหายตอชีวิตที่ทําใหเขาตาย จึงไม

อาจเรียกคาสินไหมทดแทนเพื่อความเสียหายอยางอื่น อันมิใชตัวเงินไดตามประมวลกฎหมายแพง

และพาณิชยมาตรา 446 ดังปรากฏตามคําพิพากษาฎีกาที่ 789/2502 ที่สามีเรียกคาสินไหม

ทดแทนโดยระบุวา“คาเสียหายทางจิตใจ” เนื่องจากภริยาตายดังจะกลาวตอไปดวย ลักษณะของ

ความเสียหายที่มิใชตัวเงิน ความเจ็บปวดความทุกขทรมานระหวางเจ็บปวยเพราะถูกละเมิดคา

เสื่อมสุขภาพอนามัยคารางกายพิการเพราะเสียอวัยวะ เชน แขนขา หนาเสียโฉม เสนประสาท

เสื่อมเสียเสียงเปลี่ยนแปลงไป การเสื่อมเสียเสรีภาพเพราะถูกหนวงเหนี่ยวกักขังและความเสียหาย

อยางอื่นอันมิใชตัวเงิน ก็หาไดมีเฉพาะที่บัญญัติไวในมาตรา 446 เรื่องความเสียหายแกรางกาย

หรืออนามัยหรือเสรีภาพเทานั้นไม ความเสียหายแกสิทธิบางอยางซึ่งไมอาจคิดเปนเงินตัวเงินได

เชน ความเสียหายแกชื่อเสียง143เปนตน

140คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 634/2501คําพิพากษาศาลฎีกาที ่1666/2514 และคําพิพากษาศาลฎีกาที่

14/2517141คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 420/2516142คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 829/2509143 ประจักษ พุทธิสมบัต.ิ คําอธิบายประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยลักษณะละเมิด และจัดการงาน

นอกสั่ง. กรุงเทพมหานคร :สํานักพิมพนิติบรรณาการ , 2523, หนา 186.

Page 115: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

บทที่ 3

มาตรการทางกฎหมายในการบังคับใหมีขอความเตือนภัยจากโรคภูมิแพลงไวในฉลากอาหารสําเร็จรูปของผูบริโภค

โดยทั่วไป สินคาอาหารตองติดฉลากระบุสารกอภูมิแพ ซึ่งประเทศพัฒนาแลวจะมีความ

เขมงวดมากเปนพิเศษ ผูประกอบการไทยยังไมมีผลบังคับอยางชัดเจนในเรื่องการติดฉลากระบุสาร

กอภูมิแพที่ใชในอาหารอยางชัดเจน เพื่อปองกันอันตรายที่อาจเกิดขึ้นกับผูบริโภค และอาจทําให

สินคาไทยเสียความนาเชื่อถือและไมปลอดภัยทั้งของตางประเทศและของประเทศไทยเนื่องจาก

การบริโภคอาหารที่เกิดภูมิแพซึ่งเกี่ยวของกับ พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ.2522 พระราชบัญญัติ

คุมครองผูบริโภค พ.ศ. 2522 พระราชบัญญัติความรับผิดตอความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินคาที่ไม

ปลอดภัยพ.ศ.2551 จําเปนตองทําการศึกษากฎหมายอ่ืนที่เกี่ยวของ ดังตอไปนี้

3.1 มาตรการทางกฎหมายที่เกี่ยวของกับฉลากอาหารของประเทศไทยฉลากบนภาชนะบรรจุของผลิตภัณฑอาหารนั้นมีความสําคัญไมนอยไปกวาตัวผลิตภัณฑ

อาหาร เนื่องจากฉลากเปรียบเสมือนหนาตางของผลิตภัณฑภายใจภาชนะบรรจุ ฉลากยังเปน

ประโยชนกับทุกองคประกอบในหวงโซการผลิตอาหาร กลาวคือ ผูผลิตอาหารใชฉลากเปนเครื่องมือ

ในการสื่อสารขอมูลและโฆษณาผลิตภัณฑแกผูบริโภค และยังเปนสวนหนึ่งของการเพิ่มมูลคาของ

ผลิตภัณฑ และการแขงขันทางการคา หนวยงานภาครัฐ และผูมีสวนเกี่ยวของในการคุมครอง

ผูบริโภคอาหาร และการใหขอมูลความรูท่ีมีประโยชนแกประชาชน

3.1.1 รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550บทบัญญัติตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2550 ฉบับที่ไดถูก

ยกเลิกเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 คณะรักษาความสงบแหงชาติใหรัฐธรรมนูญนี้สิ้นสุดลง

Page 116: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

99

ยกเวนหมวด 2 พระมหากษัตริย1และสิ้นสุดลงทุกมาตราเมื่อมีการประกาศใชรัฐธรรมนูญแหง

ราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557

1 วันที่ 22 พ.ค. เมื่อเวลา 23.55 น. พ.อ.วินธัย สุวารี รองโฆษกกองทัพบก ไดแถลงประกาศคณะรักษา

ความสงบแหงชาติ (คสช.) ฉบับที1่0/2557 เรื่องใหอํานาจหนาที่ของนายกรัฐมนตรี เปนอํานาจหนาที่ของหัวหนา

คณะรักษาความสงบแหงชาติ (คสช.) โดยที่มีกฎหมายบางฉบับไดบัญญัติไวถึงอํานาจหนาที่ของนายกรัฐมนตรี

ในอันที่จะปฏิบัติตามกฎหมายไวและเพื่อประโยชนแหงการปฏิบัติตามกฎหมายดังกลาว หัวหนาคณะรักษาความ

สงบแหงชาติจึงมีคําสั่ง ดังตอไปนี้ ในระหวางที่ยังไมมีผูใดดํารงตําแหนงนายกรัฐมนตรี ใหบรรดาอํานาจหนาที่ที่

กฎหมายบัญญัติไววาเปนอํานาจหนาที่ของนายกรัฐมนตรีหรือคณะรัฐมนตรีใหเปนหนาที่ของหัวหนาคณะรักษา

ความสงบแหงชาติ หรือผูที่คณะรักษาความสงบแหงชาติมอบหมาย

จากนั้นเวลา 23.57 น. คณะรักษาความสงบแหงชาติ (คสช.) ไดออกประกาศฉบับที่ 11/2557เรื่องการ

สิ้นสุดของรัฐธรรมนูญแหงราชอณาจักรไทย เพื่อความสงบเรียบรอยในการปกครองประเทศจึงใหยกเลิกประกาศ

คณะรักษาความสงบแหงชาติ ฉบับที่ 5/2557 เรื่องการสิ้นสุดชั่วคราวของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย และ

ใหใชขอความตามประกาศฉบับนี้

1) รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2550 สิ้นสุดลงยกเวนหมวด 2

2) คณะรัฐมนตรีรักษาการสิ้นสุดลง

3) วุฒิสภายังคงปฏิบัติหนาที่ตามจํานวนสมาชิกวุฒิสภาที่มีอยู ณ วันที่ประกาศฉบับนี้มีผลบังคับใช

4) ศาลทั้งหลายคงมีอํานาจดําเนินการพิจารณาและพิพากษาอรรถคดีตามบทกฎหมายและประกาศคณะ

รักษาความสงบแหงชาติ

5) องคกรอิสระและองคกรอื่นๆ ตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2550 ยังคงปฏิบัติ

หนาที่ตอไป ประกาศ ณ วันที่ 22 พฤษภาคม 2557

Page 117: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

100

โดยคณะรักษาความสงบแหงชาติเปนผูรางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย (ฉบับ

ชั่วคราว) พุทธศักราช 25572

ทั้งรัฐธรรมนูญแหงราชอาญาจักรไทยพุทธศักราช 2550 มีการบทบัญญัติที่

เกี่ยวของกับการจัดการใหความคุมครองผูบริโภคสิทธิของบุคคล ซึ่งผูบริโภค จะตองไดรับการ

คุมครองในการไดรับขอมูลที่เปนความจริง และมีสิทธิรองเรียนเพื่อใหไดรับการแกไขเยียวยาความ

เสียหาย รวมทั้งมีสิทธิรวมตัวกันเพื่อพิทักษสิทธิผูบริโภคกับใหมีองคการเพื่อการคุมครองผูบริโภคที่

เปนอิสระจากหนวยงานของรัฐ ซึ่งประกอบดวย ตัวแทนผูบริโภค ทําหนาที่ใหความเห็นเพื่อ

ประกอบการพิจารณาของหนวยงานของรัฐในการตราและการบังคับใชกฎหมายและกฎ และให

ความเห็นในการกําหนดมาตรการตาง ๆ เพื่อคุมครองผูบริโภค รวมทั้งตรวจสอบและรายงานการ

กระทําหรือละเลยการกระทําอันเปนการคุมครองผูบริโภค ทั้งนี้ ใหรัฐสนับสนุนงบประมาณในการ

ดําเนินการขององคการอิสระใหการคุมครอง คุณภาพสิ่งแวดลอมหลายประการตั้งแตการรับรอง

สิทธิของประชาชนและชุมชนทองถิ่นในการจัดการการดูแลรักษาและการใชประโยชนใน

ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในทองถิ่นการใชยาปราบศัตรูพืชที่ไหลลงสูแหลงน้ําก็อาจทําให

2 รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557

หลักการใหความคุมครองผูบริโถคที่เกี่ยวของกับสิทธิตาง ๆ มีรายละเอียดดังตอไปนี้

มาตรา 1 ประเทศไทยเปนราชอาณาจักรอันหนึ่งอันเดียวจะแบงแยกมิได

มาตรา 2 ประเทศไทยมีการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข

ใหบทบัญญัติของหมวด 2 พระมหากษัตริย ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550

ซึ่งยังคงมีผลใชบังคับอยูตามประกาศคณะรักษาความสงบแหงชาติ ฉบับที่ 11/2557 ลงวันที่ 22 พฤษภาคม

พุทธศักราช 2557 ยังคงใชบังคับตอไปเปนสวนหนึ่งของรัฐธรรมนูญนี้ และภายใตบังคับมาตรา 43 วรรคหนึ่ง ที่ใด

ในบทบัญญัติดังกลาวอางถึงรัฐสภาหรือประธานรัฐสภา ใหหมายถึงสภานิติบัญญัติแหงชาติหรือประธานสภานิติ

บัญญัติแหงชาติตามรัฐธรรมนูญนี้ แลวแตกรณี

มาตรา 3 อํานาจอธิปไตยเปนของปวงชนชาวไทย พระมหากษัตริยผูทรงเปนประมุข ทรงใชอํานาจนั้น

ทางสภานิติบัญญัติแหงชาติ คณะรัฐมนตรี และศาล ตามบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญนี้

มาตรา 4 ภายใตบังคับบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญนี้ ศักดิ์ศรีความเปนมนุษย สิทธิ เสรีภาพ และความ

เสมอภาค บรรดาที่ชนชาวไทยเคยไดรับการคุมครองตามประเพณีการปกครองประเทศไทย ในระบอบ

ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุขและตามพันธกรณีระหวางประเทศที่ประเทศไทยมีอยูแลว

ยอมไดรับการคุมครองตามรัฐธรรมนูญนี้

มาตรา 5 เมื่อไมมีบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญนี้บังคับแกกรณีใด ใหกระทําการนั้นหรือวินิจฉัยกรณีนั้น

ไปตามประเพณีการปกครองประเทศไทยในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข แต

ประเพณีการปกครองดังกลาวตองไมขัดหรือแยงตอรัฐธรรมนูญนี้

Page 118: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

101

เกิดผลกระทบอยางมีนัยสําคัญตอสิ่งมีชีวิตในน้ํา สงผลเสียหายตอคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดลอมได

เชน

1) ผูบริโภคตองใชความระมัดระวังตามสมควรในการซื้อสินคาหรือรับบริการ เชน

ตรวจสอบฉลากแสดงราคาและปริมาณ ไมหลงเชื่อในคําโฆษณาคุณภาพสินคา

2) การเขาทําสัญญาผูกมัดการตามกฎหมาย โดยการลงมือชื่อ ตองตรวจสอบความชัดเจน

ของภาษาที่ใชตามสัญญาใหเขาใจรัดกุม หรือควรปรึกษาผูรูทางกฎหมายหากไมเขาใจ

3) ขอตกลงตางๆ ที่ตองการใหมีผลบังคับใชควรทําเปนหนังสือและลงลายมือชื่อผูประกอบ

ธุรกิจดวย

4) ผูบริโภคมีหนาที่เก็บหลักฐานไวเชนฉลากคําเตือนอาหารเพื่อประโยชนในการเรียกรอง

คาเสียหาย

5) เมื่อมีการละเมิดสิทธิของผูบริโภค ผูบริโภคควรดําเนินการเรียกรองตอหนวยงานที่

เกี่ยวของหรือตอคณะกรรมการคุมครองผูบริโภค

3.1.2 พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ.2522พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ.2522 มาตรา 4 วาดวยบทนิยามของฉลากอาหารวาคือ รูป รอย

ประดิษฐ เครื่องหมาย หรือขอความใดๆ ที่แสดงไวที่อาหาร ภาชนะบรรจุ หรือหีบหอของภาชนะที่

บรรจุอาหาร (รวมถึงแผนพับและฉลากคอขวด) โดยกําหนดใหอาหารทุกชนิดที่ผูผลิตไมไดเปน

ผูขายอาหารนั้นใหกับผูบริโภคโดยตรง ตองแสดงฉลากบนภาชนะบรรจุ ขอมูลที่แสดงบนฉลาก

อาหารนั้น สามารถจําแนกตามวัตถุประสงคไดเปน 4 กลุม ไดแก

1) ขอมูลดานความปลอดภัย ประกอบดวย วันที่ผลิต/หมดอายุ วิธีการเก็บรักษา วิธีปรุง

คําเตือนตาง ๆ (ในกรณีที่กฎหมายกําหนด)

2) ขอมูลดานความคุมคา ประกอบดวย ชื่อ/ประเภทของอาหาร สวนประกอบ ซึ่ง

เรียงลําดับตามปริมาณที่ใชจากมากไปนอย และปริมาณอาหาร (น้ําหนัก หรือปริมาตร) ในภาชนะ

บรรจุ

2 ในกรณีที่มีปญหาเกี่ยวกับการวินิจฉัยกรณีใดตามความในวรรคหนึ่งเกิดขึ้นในวงงานของสภานิติ

บัญญัติแหงชาติ ใหสภานิติบัญญัติแหงชาติเปนผูวินิจฉัยชี้ขาด หรือเมื่อมีกรณีที่เกิดขึ้นนอกวงงานของ สภานิติ

บัญญัติแหงชาติ คณะรักษาความสงบแหงชาติ คณะรัฐมนตรี ศาลฎีกา หรือศาลปกครองสูงสุดจะขอใหศาล

รัฐธรรมนูญวินิจฉัยชี้ขาดก็ได แตสําหรับศาลฎีกาและศาลปกครองสูงสุดใหกระทําไดเฉพาะ เมื่อมีมติของที่

ประชุมใหญศาลฎีกาหรือที่ประชุมใหญตุลาการในศาลปกครองสูงสุด และเฉพาะในสวนที่เกี่ยวกับการพิจารณา

พิพากษาคดีเปนตน

Page 119: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

102

3) ขอมูลเพื่อการโฆษณา ไดแก รูปภาพและขอความกลาวอางตางๆ

4) ขอมูลเพื่อแสดงความเชื่อมั่น ไดแก ยี่หออาหาร ชื่อและที่อยูผูผลิต ผูจําหนายหรือผู

นําเขา เครื่องหมาย อย.(ในกรณีที่กฎหมายกําหนด) และตราสัญลักษณตางๆ

ทั้งนี้โดยทั่วไปฉลากของสินคาที่ควบคุมฉลากจะตองมีลักษณะดังตอไปนี้3

1) ใชขอความที่ตรงตอความจริงและไมมีขอความที่อาจกอใหเกิดความเขาใจผิดใน

สาระสําคัญเกี่ยวกับสินคา

2) ตองระบุขอความดังตอไปนี้

(ก) ชื่อหรือเครื่องหมายการคาของผูผลิตหรือของผูนําเขาเพื่อขายแลวแตกรณี

(ข) สถานที่ผลิตหรือสถานที่ประกอบธุรกิจนําเขา แลวแตกรณี

(ค) ระบุขอความที่แสดงใหเขาใจไดวาสินคานั้นคืออะไร ในกรณีที่เปนสินคานําเขา

ใหระบุชื่อประเทศที่ผลิตดวย

3) ตองระบุขอความอันจําเปน ไดแก ราคา ปริมาณ วิธีใช ขอแนะนํา คําเตือน วัน เดือน ป

ที่หมดอายุในกรณีเปนสินคาที่หมดอายุได หรือกรณีอื่น เพื่อคุมครองสิทธิของผูบริโภค

(1) ใหผูประกอบธุรกิจซึ่ ง เปนผู ผลิตเพื่อขายหรือผูสั่ งหรือผูนํา เขามาใน

ราชอาณาจักร เพื่อขายซึ่งสินคาที่ควบคุมฉลาก แลวแตกรณี เปนผูจัดทําฉลากกอนขายและฉลาก

นั้นตองมีขอความดังกลาวขางตน

(2) การกําหนดขอความของฉลากตองไมเปนการบังคับใหผูประกอบธุรกิจตอง

เปดเผยความลับทางการผลิตเวนแตขอความดังกลาวจะเปนสิ่งจําเปนเกี่ยวกับสุขภาพอนามัยและ

ความปลอดภัยของผูบริโภคเปนตน

3.1.3 ระเบียบสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาวาดวยการดําเนินการเกี่ยวกับเลขสารบบอาหาร (ฉบับที่ 6)

เพื่อใหเกิดความคลองตัวและเปนการปรับลดขั้นตอนการยื่นขอแกไขรายละเอียดเกี่ยวกับ

อาหารในบางกรณีจึงมีความจําเปนตองปรับปรุงระเบียบสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาวา

ดวยการดําเนินการเกี่ยวกับเลขสารบบอาหารในสวนที่เกี่ยวของกับการขอแกไขรายการทะเบียน

ตํารับอาหารและรายละเอียดของฉลากอาหารที่ไดรับอนุญาตใชฉลากอาหารแลวโดยที่การแกไขไม

มีผลเกี่ยวของกับคุณประโยชนคุณภาพสรรพคุณมาตรฐานหรือความปลอดภัยของอาหารนั้นๆ

3 สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา. กองควบคุมอาหาร, หนังสือราชการ เรื่อง “การจําหนาย

อาหารที่ฉลากไมแสดงเลขสารบบอาหาร ” (โรเนียว) , 2546,หนา 10.

Page 120: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

103

ฉะนั้นอาศัยอํานาจตามความในมาตรา 32 แหงพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการ

แผนดินพ.ศ.2534 ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผนดิน (ฉบับที่5)

พ.ศ.2545 และมาตรา 36 แหงพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผนดิน พ.ศ.2534 ประกอบ

กับความในขอ 8 ของประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่194) พ.ศ.2543 เรื่องฉลากลงวันที่19

กันยายน 2543 ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดยประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 343) พ.ศ.2555 เรื่อง

ฉลาก (ฉบับที่3) สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาจึงออกระเบียบไวดังตอไปนี้

ขอ1ระเบียบนี้เรียกวา“ระเบียบสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาวาดวยการ

ดําเนินการเกี่ยวกับเลขสารบบอาหาร (ฉบับที่6)”ทั้งนี้กฎหมายดังกลาวบัญญัติเนื้อหาที่เกี่ยวของ

กับฉลากหรือขอความคําเตือนปรากฎอยูในขอ 8.4.21“การเปลี่ยนแปลงขอความในการแสดง

สวนประกอบที่ใชในผลิตภัณฑที่อาจกอใหเกิดภูมิแพเชนเพิ่ม / ตัด / แกไขขอความสารกอภูมิแพ :

ถั่วไข” เปนตน4

3.1.4 ประกาศกระทรวงสาธารณสุข(ฉบับที่367) พ.ศ.2557เรื่องการแสดงฉลากของอาหารในภาชนะบรรจุ

โดยเปนการสมควรปรับปรุงประกาศกระทรวงสาธารณสุขวาดวยเรื่องฉลากอาศัยอํานาจ

ตามความในมาตรา5วรรคหนึ่งและมาตรา6 (10) แหงพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ.2522 อันเปน

กฎหมายที่มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจํากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา 29 ประกอบกับมาตรา 33 มาตรา 41 มาตรา 43 และมาตรา 45 ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักร

ไทยพุทธศักราช 2550 บัญญัติใหกระทําไดโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมาย

รัฐมนตรีวาการกระทรวงสาธารณสุขออกประกาศไวดังตอไปนี้5

ขอ 2 ในประกาศฉบับนี้

“อาหารในภาชนะบรรจุ” หมายถึงอาหารที่มีภาชนะหุมหอเพื่อจําหนาย

“หมดอายุ” หมายความวาวันที่ซึ่งแสดงการสิ้นสุดของคุณภาพของอาหารภายใตเงื่อนไข

การเก็บรักษาที่ระบุไวและหลังจากวันที่ระบุไวนั้นอาหารนั้นวางจําหนายไมได

4 รวมพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ.2522 พรอมกฎกระทรวงและประกาศกระทรวงสาธารณะสุขฉบับที่

พ.ศ.2556-2557,(รวมรวมโดยสํานักอาหาร สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา มีนาคม 2557),หนา15.5 ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 367) พ.ศ.2557 ,เรื่อง การแสดงฉลากของอาหารในภาชนะ

บรรจ.ุสืบคนเมื่อวันที่ 25 กันยายน 2557,

จาก.http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2557/E/102/32.PDF.

Page 121: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

104

“ควรบริโภคกอน” หมายความวาวันที่ซึ่งแสดงการสิ้นสุดของชวงเวลาที่อาหารนั้นยังคง

คุณภาพดีภายใตเงื่อนไขการเก็บรักษาที่ระบุไวและหลังจากวันที่ระบุไวนั้นอาหารนั้นวางจําหนาย

ไมได

“แบงบรรจุ” หมายความวาการนําอาหารจากภาชนะบรรจุเดิมมาแบงบรรจุในภาชนะบรรจุ

ยอยซึ่งไมรวมการทําผสมปรุงแตงอาหารดังกลาว

“สารกอภูมิแพ” หมายถึงสารที่เขาสูรางกายแลวทําใหรางกายมีปฏิกิริยาผิดปรกติทั้งที่ตาม

ธรรมดาสารนั้นเมื่อเขาสูรางกายคนทั่วๆไปแลวจะไมมีอันตรายใดๆจะมีอันตรายก็เฉพาะในคนบาง

คนที่แพสารนั้นเทานั้นและใหหมายความรวมถึงสารที่กอภาวะภูมิไวเกิน

ขอ 3 ใหอาหารในภาชนะบรรจุตองแสดงฉลากยกเวนอาหารดังตอไปนี้

(1) อาหารที่ผูผลิตสามารถใหขอมูลเกี่ยวกับอาหารที่ผลิตแกผูบริโภคไดในขณะนั้นเชน

หาบเรแผงลอยเปนตน

(2) อาหารสดที่ไมผานกรรมวิธีใด ๆ หรืออาหารสดที่ผานกรรมวิธีการแกะชําแหละตัดแตง

หรือวิธีการอื่นใดเพื่อลดขนาดซึ่งอาจแชเย็นหรือไมแชเย็นและบรรจุในภาชนะที่สามารถมองเห็น

สภาพของอาหารสดนั้นไดทั้งนี้ไมรวมถึงอาหารแปรรูปในภาชนะบรรจุพรอมจําหนายตามประกาศ

กระทรวงสาธารณสุขวาดวยเรื่องวิธีการผลิตเครื่องมือเครื่องใชในการผลิตและการเก็บรักษาอาหาร

แปรรูปในภาชนะพรอมจําหนาย

(3) อาหารในภาชนะบรรจุที่ผลิตและจําหนายเพื่อบริการภายในรานอาหารภัตตาคาร

โรงแรมโรงเรียนสถาบันการศึกษาโรงพยาบาลสถานที่อื่นในลักษณะทํานองเดียวกันและรวมถึงการ

บริการจัดสงอาหารใหกับผูซื้อดวยอาหารตาม (1) (2) (3) หากไดมีการขอรับเลขสารบบอาหารตอง

ปฏิบัติตามประกาศฉบับนี้อาหารในภาชนะบรรจุที่ไดมีประกาศกระทรวงสาธารณสุขกําหนดการ

แสดงฉลากไวเปนการเฉพาะนอกจากตองปฏิบัติตามประกาศฉบับนั้น ๆ แลวยังตองปฏิบัติตามประกาศฉบับ

นี้ดวย

ขอ 4 การแสดงฉลากของอาหารในภาชนะบรรจุที่ผลิตเพื่อจําหนายนําเขาเพื่อจําหนายหรือ

ที่จําหนายตองแสดงขอความเปนภาษาไทยและอยางนอยจะตองมีขอความแสดงรายละเอียด

ดังตอไปนี้เวนแตสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาจะยกเวนใหไมตองระบุขอความหนึ่ง

ขอความใด

(1) ชื่ออาหาร

(2) เลขสารบบอาหาร

(3) ชื่อและที่ตั้งของผูผลิตหรือผูแบงบรรจุหรือผูนําเขาหรือสํานักงานใหญแลวแตกรณี

ดังตอไปนี้

Page 122: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

105

(3.1) อาหารที่ผลิตในประเทศใหแสดงชื่อและที่ตั้งของผูผลิตหรือผูแบงบรรจุหรือ

แสดงชื่อและที่ตั้งของสํานักงานใหญของผูผลิตหรือผูแบงบรรจุก็ไดโดยตองมีขอความดังตอไปนี้

กํากับไวดวย

(3.1.1) ขอความวา “ผูผลิต” หรือ “ผลิตโดย” สําหรับกรณีเปนผูผลิต

(3.1.2) ขอความวา “ผูแบงบรรจุ” หรือ “แบงบรรจุโดย” สําหรับกรณีเปนผู

แบงบรรจุ

(3.1.3) ขอความวา “สํานักงานใหญ” สําหรับกรณีเปนผูผลิตหรือผูแบง

บรรจุที่ประสงคจะแสดงชื่อและที่ตั้งของสํานักงานใหญ

(3.2) อาหารนําเขาจากตางประเทศใหแสดงชื่อและที่ตั้งของผูนําเขาโดยมี

ขอความวา“ผูนําเขา” หรือ “นําเขาโดย” กํากับและแสดงชื่อและประเทศของผูผลิตดวย

(4) ปริมาณของอาหารเปนระบบเมตริก

(4.1) อาหารที่มีลักษณะเปนของแข็งใหแสดงน้ําหนักสุทธิ

(4.2) อาหารที่มีลักษณะเปนของเหลวใหแสดงปริมาตรสุทธิ

(4.3) อาหารที่มีลักษณะครึ่งแข็งครึ่งเหลวหรือลักษณะอื่นอาจแสดงเปนน้ําหนัก

สุทธิหรือปริมาตรสุทธิก็ไดกรณีอาหารที่มีการกําหนดน้ําหนักเนื้ออาหารตามประกาศกระทรวง

สาธารณสุขใหแสดงปริมาณน้ําหนักเนื้ออาหารดวย

(5) สวนประกอบที่สําคัญเปนรอยละของน้ําหนักโดยประมาณเรียงตามลําดับปริมาณจาก

มากไปนอยเวนแต

(5.1) อาหารที่ฉลากมีพื้นที่ทั้งแผนนอยกวา35ตารางเซนติเมตรแตทั้งนี้จะตองมี

ขอความแสดงสวนประกอบที่สําคัญไวบนหีบหอของอาหารนั้นหรือ

(5.2) อาหารที่มีสวนประกอบเพียงอยางเดียวโดยไมนับรวมถึงวัตถุเจือปนอาหาร

หรือวัตถุแตงกลิ่นรสที่เปนสวนผสมหรือ

(5.3) อาหารชนิดแหงหรือชนิดผงหรือชนิดเขมขนที่ตองเจือจางหรือทําละลายกอน

บริโภคอาจเลือกแสดงสวนประกอบที่สําคัญของอาหารเปนรอยละของน้ําหนักโดยประมาณหรือ

เมื่อเจือจางหรือทําละลายตามวิธีปรุงเพื่อรับประทานตามที่แจงไวบนฉลากอยางใดอยางหนึ่งหรือ

แสดงทั้งสองอยางก็ได

(6) ขอความวา “ขอมูลสําหรับผูแพอาหาร : ม ี ….” กรณีมีการใชเปนสวนประกอบของ

อาหารหรือ “ขอมูลสําหรับผูแพอาหาร : อาจม.ี…” กรณีมีการปนเปอนในกระบวนการผลิตแลวแต

กรณี (ความที่เวนไวใหระบุประเภทหรือชนิดของสารกอภูมิแพหรือสารที่กอภาวะภูมิไวเกิน)โดย

ขนาดตัวอักษรตองปฏิบัติตามขอ14 (3) และสีของตัวอักษรตัดกับสีพื้นของฉลากขนาดตัวอักษร

Page 123: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

106

ตองไมเล็กกวาขนาดตัวอักษรที่แสดงสวนประกอบและแสดงไวที่ดานลางของการแสดง

สวนประกอบประเภทหรือชนิดของอาหารตามวรรคหนึ่งซึ่งเปนสารกอภูมิแพหรือสารที่กอภาวะภูมิ

ไวเกินไดแก

(6.1) ธัญพืชที่มีสวนประกอบของกลูเตนไดแกขาวสาลีไรนบารเลยโอตสเปลทหรือ

สายพันธุลูกผสมของธัญพืชดังกลาวและผลิตภัณฑจากธัญพืชที่มีสวนประกอบของกลูเตนดังกลาว

(6.2) สัตวน้ําที่มีเปลือกแข็งเชนปูกุงกั้งลอบเสตอรเปนตนและผลิตภัณฑจากสัตว

น้ําที่มีเปลือกแข็ง

(6.3) ไขและผลิตภัณฑจากไข

(6.4) ปลาและผลิตภัณฑจากปลา

(6.5) ถั่วลิสงถั่วเหลืองและผลิตภัณฑจากถั่วลิสงถั่วเหลือง

(6.6) นมและผลิตภัณฑจากนมรวมถึงแลคโตส

(6.7) ถั่วที่มีเปลือกแข็งและผลิตภัณฑจากถั่วที่มีเปลือกแข็งเชนอัลมอนตวอลนัทพี

แคนเปนตน

(6.8) ซัลไฟตที่มีปริมาณมากกวาหรือเทากับ 10 มิลลิกรัมตอกิโลกรัมทั้งนี้ความใน

(6) ไมรวมถึงอาหารที่มีสารกอภูมิแพหรือสารที่กอภาวะภูมิไวเกินเปนสวนประกอบที่สําคัญและมี

การแสดงชื่ออาหารที่ระบุชื่อสารกอภูมิแพหรือสารท่ีกอภาวะภูมิไวเกินไวชัดเจนแลวเชนน้ํานมโคสด

ถั่วลิสงอบกรอบเปนตน

3.1.5 ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 182 ) พ.ศ.2541เรื่องฉลากโภชนาการตามขอ 1-ขอ 6 ไดบัญญัติบทนิยามความหมายของฉลากอาหารที่มีการแสดงขอมูลคุณคา

ทางโภชนาการของผลิตภัณฑอาหารนั้น ๆ โดยระบุชนิดและปริมาณสารอาหารในกรอบขอมูล

โภชนาการตามรูปแบบเงื่อนไขที่กําหนด โดยอาจมีขอความกลาวอางทางโภชนาการ เชน

แคลเซียมสูง เสริมวิตามินซี ดวยหรือไมก็ได ขอมูลที่ตองระบุในกรอบขอมูลโภชนาการแบงเปน 3

กลุมใหญๆ ไดแก6

1) หนวยบริโภค ซึ่งหมายถึงปริมาณของผลิตภัณฑนั้น ๆ ที่ผูผลิตแนะนําใหบริโภคในแตละ

ครั้ง และจํานวนหนวยบริโภคในภาชนะบรรจุนั้น เชน จํานวนหนวยบริโภคตอซอง

2) ชนิด และปริมาณสารอาหารที่ไดรับจากการบริโภคในปริมาณหนึ่งหนวยบริโภค และ

เปรียบเทียบเปนอัตราสวนรอยละของปริมาณที่แนะนําตอวัน ทั้งนี้สารอาหรที่กําหนดใหแสดง

ขอมูลเปนสารอาหารที่มีความสําคัญตอสุขภาพของคนไทย ไดแก

6 ประกาศกระทรวงสาธารณสุข(ฉบับที ่182 ) พ.ศ.2541 เรื่องฉลากโภชนาการขอ1 และขอ 6.

Page 124: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

107

(1) พลังงาน ทั้งปริมาณพลังงานท้ังหมด และปริมาณพลังงานที่ไดจากไขมัน

(2) ปริมาณสารอาหารที่รายกายตองการในปริมาณมาก ไดแก คารโบไฮเดรต

ไขมันทั้งหมด และโปรตีน รวมถึงใยอาหาร7

(3) วิตามินและแรธาตุ โดยเฉพาะ วิตามินเอ วิตามินบี1 วิตามินบี2 แคลเซียม

และเหล็ก

(4) สารอาหารที่ตองระวังปริมาณการบริโภค ไดแก โคเลสเตอรอล โซเดียม ไขมัน

อิ่มตัว และน้ําตาล

(5) สารอาหารที่มีการเติมลงในอาหาร เชน ไอโอดีน สําหรับผลิตภัณฑเสริมไอโอดีน

(6) สารอาหารที่มีการกลาวอาง เชน ใยอาหาร สําหรับอาหารที่ระบุวามีใยอาหาร

สูง

(7) ปริมาณสารอาหารตางๆ ที่แนะนําใหบริโภคตอวันสําหรับคนไทย

ปจจุบันมีการบังคับใหมีการแสดงฉลากโภชนาการเฉพาะกับผลิตภัณฑอาหารบางชนิด

เทานั้น ไดแก

1) อาหารที่มีการกลาวอางคุณคาทางโภชนาการ

2) อาหารที่มีการใชคุณคาทางโภชนาการในการสงเสริมการขาย ทั้งนี้จะตองไมระบุในเชิง

สรรพคุณในการรักษาโรค

3) อาหารที่ระบุกลุมผูบริโภคในการสงเสริมการขาย

4) อาหารควบคุมเฉพาะและอาหารกําหนดคุณภาพมาตรฐาน ซึ่งตองยื่นขออนุญาตจาก

สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา

ทั้งนี้ฉลากโภชนาการ แบงเปน 2 ประเภทตามรูปแบบ และสารอาหารที่ระบุในกรอบขอมูล

โภชนาการ คือ8

1) ฉลากโภชนาการแบบเต็ม เปนฉลากที่แสดงชนิดและปริมาณสารอาหารที่สําคัญที่ควร

ทราบ 15 รายการดังตัวอยางสําหรับฉลากที่มีความสูงจํากัดสามารถแสดงฉลากโภชนาการเต็มรูป

ในลักษณะแบบแนวนอนหรือแบบขวางตามที่ประกาศกระทรวงสาธารณะสุขกําหนดไวในสวนของ

ผูบริโภคเนนการใหความรูแกประชาชนดานการเลือกซื้อและบริโภคอาหารที่ปลอดภัย ดานของ

7 กองพัฒนาศักยภาพผูบริโภค,สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา,ฉลากโภชนาการอานใหเปนเห็น

ประโยชน, (คูมือป 2551),หนา 10.8 อานใหรูดูใหเปนกับฉลากโภชนาการ ฉลากโภชนาการสําคัญไฉนของสํานักงานคณะกรรมการอาหาร

และยา กระทรวงสาธารณสุข,จาก.http://www.fda.moph.go.th).

Page 125: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

108

ผูผลิตนั้นในสวนของผูขายอาหารก็ตองควบคุมคุณภาพอาหาร หมายถึงลักษณะในดาน ตาง ของ

อาหารที่มีผลตอความตองการของผูผลิตหรือผูบริโภค และสอดคลองกับมาตรฐานที่กฎหมาย

โดยจะตองแสดงขอมูลทางโภชนาการของอาหารชนิดนั้น ๆ กํากับไว เพื่อใหผูบริโภคได

เลือกกินตามความเหมาะสม และความตองการทางสภาวะโภชนาการของตัวเองไดกําหนดเชนกัน

เริ่มตั้งแตกระบวนการผลิตสูตลาด จนถึงรานอาหารหรือแผงลอยจําหนายอาหาร เพื่อใหผูบริโภค

มั่นใจวาไดกินอาหารที่สะอาดปลอดภัย เชน

(1) การควบคุมคุณภาพ (Quality Control หรือ QC) หมายถึง กิจกรรมและกลวิธีการ

ปฏิบัติเพื่อสนองความตองการดานคุณภาพภายใน โดยการตรวจสอบ การวัด และการทดสอบที่มุง

จะควบคุมวัตถุดิบ กระบวนการ และการกําจัดสาเหตุของขอบกพรองที่เกิดขึ้นจากการดําเนินการ

ทั้งหมด เชน การสุมตัวอยางน้ําผลไมกระปองมาตรวจสอบรสชาติการควบคุมคุณภาพเนนการ

ตรวจสอบและแยกแยะของดีและของเสียออกจากกัน โดยระบุเปนรอยละของของเสียที่พบ

จากล็อตการผลิต เพื่อควบคุมมิใหของเสียมีมากเกินกวาที่กําหนดและในปจจุบันการควบคุม

คุณภาพมุงเนนที่ของเสียตองเปนศูนย (Zero Defect)

(2) การประกันคุณภาพ (Quality Assurance หรือ QA) หมายถึง การดําเนินการตาม

ระบบและแผนงานที่วางไวอยางเครงครัด เพื่อที่จะมั่นใจไดวาผลิตภัณฑหรือบริการมีคุณภาพ เชน

การดําเนินงานตามมาตรฐานคุณภาพสากล ISO 9000

(3) การบริหารคุณภาพ (Quality Management หรือ QM) หมายถึง การจัดการระบบ

คุณภาพโดยทุกคนที่เกี่ยวของทั้งภายในและภายนอกองคการรับผิดชอบตองานที่ตนเอง

กระทําอยางเต็มที่เพื่อใหสินคาและบริการเปนไปตามตองการของลูกคา เชน การใชระบบการ

บริหารคุณภาพสมบูรณแบบ (Total Quality Management หรือ TQM)โดยมีฉลากโภชนาการ เปน

สวนที่แสดงขอมูลโภชนาการของอาหารนั้นอยูในกรอบสี่เหลี่ยม ตัวอยางฉลากโภชนาการแบบเต็ม

เชน

ขอมูลโภชนาการหนึ่งหนวยบริโภค : …………………………..(................................)

จํานวนหนวยบริโภคตอ ……………………………………………

Page 126: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

109

ตัวอยางขอมูลฉลากโภชนาการเต็มรูปแบบมาตรฐาน9

2) ฉลากโภชนาการแบบยอ ใชในกรณีที่สารอาหารตั้งแต 8 รายการ จากจํานวนที่กําหนด

ไว 15 รายการนั้นมีปริมาณนอยมากจนถือวาเปนศูนย จึงไมมีความจําเปนที่ตองแสดงใหเต็ม

รูปแบบเชน

9 เสาวนีย จักรพิทักษ, หลักโภชนาการปจจุบัน, บริษัทสํานักพิมพไทยวัฒนาพานิช จํากัด 2528,หนา10.

คุณคาทางโภชนาการตอหนึ่งหนวยบริโภคพลังงานทั้งหมด ................กิโลแคลอรี่ (พลังงานจากไขมัน ............ กิโลแคลอรี่)

รอยละของปริมาณที่แนะนําตอวัน*ไขมันทั้งหมด ก %

ไขมันอิ่มตัว ก %

โคเลสเตอรอล มก %

โปรตีน ก %

คารโบไฮเดรตทั้งหมด ก %

ใยอาหาร ก %

น้ําตาล ก. %

โซเดียม มก. %

รอยละของปริมาณที่แนะนําตอวัน *

วิตามินเอ % วิตามินบี 1 %

วิตามินบี 2 % แคลเซียม %

เหล็ก %*รอยละของปริมาณสารอาหารที่แนะนําใหบริโภคตอวันสําหรับคนไทยอายุตั้งแต 6 ปขึ้นไป (Thai RDI) โดยคิดจากความตองการ

พลังงานวันละ 2,000 กิโลแคลอรี่

ความตองการพลังงานของแตละบุคคลแตกตางกัน ผูที่ตองการพลังงานวันละ 2,000 กิโลแคลอรี่ ควรไดรับ

สารอาหารตาง ๆ ดังนี้

ไขมันทั้งหมด นอยกวา 65 ก.

ไขมันอิ่มตัว นอยกวา 20 ก.

โคเลสเตอรอล นอยกวา 300 มก.

คารโบไฮเดรตทั้งหมด 300 ก.

ใยอาหาร 25 ก.

โซเดียม นอยกวา 2,400 มก.

พลังงาน (กิโลแคลอรี่) ตอกรมั : ไขมัน = 9: โปรตีน = 4 : คารโบไฮเดรต = 4

Page 127: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

110ขอมูลโภชนาการ

หนึ่งหนวยบริโภค : (........................)

จํานวนหนวยบริโภคตอ .......................................................

คุณคาทางโภชนาการตอหนึ่งหนวยบริโภคพลังงานทั้งหมด ......................... กิโลแคลอรี่

รอยละของปริมาณที่แนะนําตอวัน*

ไขมันทั้งหมด........................... ก...............................................................................................%

โปรตีน ..................................... ก..............................................................................................%

คารโบไฮเดรตทั้งหมด ............. ก..............................................................................................%

น้ําตาล ........................... ก…………………………………………………………………….%

โซเดียม ................................ มก............................................................................................ %

*รอยละของปริมาณสารอาหารที่แนะนําใหบริโภคตอวันสําหรับคนไทยอายุตั้งแต 6 ปขึ้นไป (Thai RDI) โดยคิดจากความตองการ

พลังงานวันละ 2,000 กิโลแคลอรี่

ตัวอยางฉลากโภชนาการแบบยอรูปแบบมาตรฐาน10

1) ประโยชนของฉลากโภชนาการ1) เลือกซื้ออาหารและเลือกบริโภคใหเหมาะสมกับความตองการหรือภาวะทาง

โภชนาการของตนได เชน ผูที่มีโคเลสเตอรอลสูง ก็ตองเลือกอาหารที่ระบุวามีโคเลสเตอรอลต่ํา หรือ

ผูที่เปนโรคไตก็เลือกอาหารมีโซเดียมต่ํา

2) เปรียบเทียบเลือกซื้อผลิตภัณฑอาหารชนิดเดียวกัน โดยเลือกที่มีคุณคาทาง

โภชนาการที่ดีกวาไดในอนาคต เมื่อผูบริโภคสนใจขอมูลโภชนาการของอาหาร ผูผลิต ก็จะแขงขัน

กันผลิตอาหารที่มีคุณคาทางโภชนาการสูงกวา แทนการแขงขันกันในเรื่องหีบหอ สี หรือสิ่งจูงใจ

ภายนอกอื่นๆซึ่ง ฉลากโภชนาการ มีขอมูลที่เปนประโยขนทําใหสามารถเลือกบริโภคอาหาร

สําเร็จรูป / กึ่งสําเร็จรูปที่มีปริมาณคุณคาสารอาหารตรงตามความตองการของรางกายไดอยาง

เหมาะสม ดังนั้น ผูบริโภคจึงไมควรละเลยหรือมองขามฉลากโภชนาการ การอานขอมูลโภชนาการ

บนฉลากผลิตภัณฑอาหารกอนตัดสินใจเลือกซื้อ จะทําใหซื้อผลิตภัณฑอาหารตามที่ตองการได

10 (คูมือ),กองพัฒนาศักยภาพผูบรโิภค, สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา,ฉลากโภชนาการ อาน

ใหเปน เห็นประโยชน,ป 2551.หนา 10.

Page 128: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

111

2) อาหารที่มีการกลาวอางหรือใชคุณคาทางโภชนาการเพื่อสงเสริมการขายตองแสดงฉลากโภชนาการ ดังตอไปนี้

1) อาหารที่มีการแสดงขอมูลชนิดสารอาหาร ปริมาณสารอาหาร หนาที่ของ

สารอาหาร เชน มีไขมัน รอยละ 0 เปอรเซ็นตมีแคลเซียมสูง เปนตน

2) อาหารที่มีการใชคุณคาทางอาหาร หรือทางโภชนาการในการสงเสริมการขาย

เชน เปนผลิตภัณฑเพื่อบํารุงสุขภาพ สดใส แข็งแรง แตหาม แสดงสรรพคุณในลักษณะปองกันหรือ

รักษาโรค เชนลดความอวน ปองกันมะเร็ง เปนตน

3) อาหารที่มุงจะใชในกลุมผูบริโภคเฉพาะกลุมเพื่อการสงเสริมการขาย เชน กลุม

วัยเรียน กลุมผูบริหาร กลุมผูสูงอายุ เปนตน

ทั้งนี้อาหารที่สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาประกาศประกาศกําหนดใหตองแสดง

ฉลากโภชนาการ เนื่องจากพิจารณาแลววาเปนอาหารที่กอใหเกิดความเขาใจผิดในดานคุณคา

คุณประโยชนทางโภชนาการอยางแพรหลายประโยชนของการแสดงฉลากโภชนาการ คือ เปนการ

ใหขอมูลความรูทางโภชนาการแกผูบริโภคในการเปรียบเทียบเพื่อตัดสินใจเลือกซื้อ และบริโภค

อาหารตามความเหมาะสมกับสภาพรางกายและสุขภาพ นอกจากนี้ยังสามารถใชเปนขอมูล

ประกอบการกลาวอางปริมาณสารอาหารในผลิตภัณฑดวย โดยผูที่มีปญหาสุขภาพ และผูปวยที่

ตองควบคุมการบริโภคอาหาร ควรใหความสนใจกับขอมูลโภชนาการของสารอาหารที่ตอง

ระมัดระวังในการเลือกซื้อ และบริโภคผลิตภัณฑอาหาร เชน ปริมาณไขมันทั้งหมด ไขมันอิ่มตัว

และโคเลสเตอรอลสําหรับผูมีปญหาไขมันในเลือดสูง และผูปวยโรคหัวใจและหลอดเลือด เปนตน

นอกจากนี้ผูบริโภคยังสามารถใชประโยชนจากฉลากโภชนาการในการประมาณปริมาณ ความ

เพียงพอและความเหมาะสมของสารอาหารที่ไดรับจากการบริโภคผลิตภัณฑอาหารนั้น ๆ ดวย

ทั้งนี้ในการบริโภคอาหารใหเหมาะสมกับความตองการของรางกายนั้น ตองไดรับ

สารอาหารครบถวนในปริมาณที่พอเหมาะ กลาวคือ พลังงานทั้งหมดไมเกิน 2000 กิโลแคลอรีตอวัน

สําหรับผูที่มีอายุ 6 ปขึ้นไป ไมเกิน 1,600 และ 2,400 กิโลแคลอรีตอวัน สําหรับเด็ก ผูสูงอายุ และผู

ที่มีกิจกรรมทางกายมากตามลําดับ โดยมีความตองการสารอาหารตาง ๆ ในแตละวันดังนี้ (อางอิง

จากความตองการพลังงาน 2,000กิโลแคลอรี่)11

11 สมาคมโภชนาการแหงประเทศไทย,สืบคนเมื่อวันที่ 10 เมษายน2558,จาก.

http://www.nutritionthailand.or.th/scripts/index.asp.

Page 129: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

112

คารโบไฮเดรต 300 กรัมตอวัน หรือคิดเปนรอยละ 55-65 ของปริมาณพลังงาน

ทั้งหมด

ไขมัน 65 กรัมตอวัน หรือคิดเปนรอยละ 20-30 ของปริมาณพลังงาน

ทั้งหมด

ไขมันอิ่มตัว 20 กรัมตอวัน

โปรตีน 50 กรัมตอวัน หรือคิดเปนรอยละ 15 ของปริมาณพลังงานทั้งหมด

โคเลสเตอรอล ไมเกิน 300 มิลลิกรัมตอวัน

น้ําตาล ไมเกิน 300 กรัมตอวัน

โซเดียม ไมเกิน 2400 มิลลิกรัมตอวัน

แคลเซียม 800 มิลลิกรัมตอวัน

เหล็ก 15 มิลลิกรัมตอวัน

วิตามินเอ 800 ไมโครกรัมอารอี

วิตามินบี 1.5 มิลลิกรัม

ไอโอดีน 150 ไมโครกรัม

นอกจากฉลากแลว การเลือกซื้อและบริโภคผลิตภัณฑอาหารใหปลอดภัย และไดคุณคา

ทางโภชนาการ ยังตองพิจารณาลักษณะอาหาร เชน สี และรองรอยการเสียจากจุลินทรีย สภาพ

ภาชนะบรรจุ ตองมีสภาพสมบูรณ ไมมีรอยฉีกขาด รั่วซึม บุบ บวม หรือบูบี้ รวมถึงสภาวะการเก็บ

รักษาซึ่งตองมีความเหมาะสมกับผลิตภัณฑ

ดังนั้นจากขอมูลทั้งหมดที่ไดกลาวมาจะเห็นไดวากฎหมายของไทยไดบัญญัติใหความ

คุมครองทางดานฉลากอาหารและฉลากโภชนาการมีประโยชนตอผูบริโภคโดยเนนฉลากอาหาร

หรือฉลากคําเตือนอาหารทั่วๆไปเทานั้นไมเนนการใหความคุมครองฉลากหรือคําเตือนฉลากที่ให

ความคุมครองอาหารที่กอใหเกิดภูมิแพอยางชัดเจนเทาใดนัก ในการเลือกซื้อผลิตภัณฑอาหารที่

ปลอดภัย และใหคุณคาทางโภชนาการที่เหมาะสมกับสภาวะสุขภาพของตนเอง ผูบริโภคเองเทานั้น

ที่ตองระมัดระวังและศึกษาขอมูลที่ ระบุฉลากคําเตือนของฉลากอาหารแตละชนิดในการ

เปรียบเทียบ และเลือกผลิตภัณฑที่มีคุณภาพ มีคุณคาทางโภชนาการ และความคุมคาที่ดีกวา กอน

ซื้ออาหารครั้งตอไป

3.1.6 บุคคลซึ่งเกี่ยวของกับการใหความคุมครองผูบริโภค สําหรับผูเกี่ยวของกับกับการใหความคุมครองผูบริโภคประกอบดวยบุคคลตางๆ

ดังนี้

Page 130: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

113

3.1.6.1 ผูผลิตอาหาร3.1.6.1.1 พระราชบัญญัติกฎหมายคุมครองผูบริโภคพ.ศ.2522 ประเทศไทยยังไมมีการบัญญัติกฎหมายความคุมครองผูบริโภคเกี่ยวกับ

ฉลากอาหารกอใหเกิดการภูมิแพอยางชัดเจนแตสามารถเทียบเคียงกับบทบัญญัติกฎหมายที่ให

ความคุมครองผูบริโภคตามพระราชบัญญัติกฎหมายคุมครองผูบริโภค พ.ศ.2522 มาตรา 3 “ผลิต

หมายความวาทําผสมปรุงประกอบประดิษฐหรือแปรสภาพและหมายความรวมถึงการเปลี่ยน

รูปการดัดแปลงการคัดเลือกหรือการแบงบรรจุ”ทั้งนี้ปรากฏตามพระราชบัญญัติกฎหมายคุมครอง

ผูบริโภค พ.ศ.2522 มาตรา 36 “ เมื่อมีเหตุอันควรสงสัยวาสินคาใดอาจเปนอันตรายแกผูบริโภค

คณะกรรมการอาจสั่งใหผูประกอบธุรกิจดําเนินการทดสอบหรือพิสูจนสินคานั้นไดถาผูประกอบ

ธุรกิจไมดําเนินการทดสอบหรือพิสูจนสินคาหรือดําเนินการลาชาโดยไมมีเหตุผลอันสมควร

คณะกรรมการจะจัดใหมีการพิสูจนโดยผูประกอบธุรกิจเปนผูเสียคาใชจายก็ไดถาผลจากการ

ทดสอบหรือพิสูจนปรากฏวาสินคานั้นอาจเปนอันตรายแกผูบริโภคและกรณีไมอาจปองกันอันตราย

ที่จะเกิดจากสินคานั้นได โดยการกําหนดฉลากตามมาตรา 30 หรือตามกฎหมายอื่นให

คณะกรรมการมีอํานาจสั่งหามขายสินคานั้นและถาเห็นสมควรจะสั่งใหผูประกอบธุรกิจ

เปลี่ยนแปลงสินคานั้นภายใตเงื่อนไขตามที่คณะกรรมการกําหนดก็ไดในกรณีที่สินคานั้นไมสามารถ

เปลี่ยนแปลงไดหรือเปนที่สงสัยวาผูประกอบธุรกิจจะเก็บสินคานั้นไวเพื่อขายตอไปคณะกรรมการมี

อํานาจสั่งใหผูประกอบธุรกิจทําลายหรือจะจัดใหมีการทําลายโดยผูประกอบธุรกิจเปนผูเสีย

คาใชจายก็ไดในกรณีจําเปนและเรงดวนถาคณะกรรมการมีเหตุที่นาเชื่อวาสินคาใดอาจเปน

อันตรายแกผูบริโภคใหคณะกรรมการมีอํานาจสั่งหามขายสินคานั้นเปนการชั่วคราวจนกวาจะไดมี

การทดสอบหรือพิสูจนสินคา การสั่งหามขายสินคาตามวรรคสองและวรรคสามใหประกาศในราช

กิจจานุเบกษา”ซึ่งรวมไปถึงพระราชบัญญัติความรับผิดตอความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินคาที่ไม

ปลอดภัย พ.ศ.2551มาตรา 412

12 “ผลิต” หมายความวา ทํา ผสม ปรุง แตง ประกอบ ประดิษฐ แปรสภาพ เปลี่ยนรูป ดัดแปลง คัดเลือก

แบงบรรจุ แชเยือกแข็ง หรือฉายรังสี รวมถึงการกระทําใด ๆ ที่มีลักษณะทํานองเดียวกัน

Page 131: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

114

3.1.6.1.2 พระราชบัญญัติ อาหาร พ.ศ.2522 นอกจากนี้ตามพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ.2522 มาตรา 3 “ผลิต”

หมายความวา ทําผสม ปรุงแตงและหมายความรวมถึงแบงบรรจุดวย” ตามมาตรา 26 อาหารที่มี

ลักษณะดังตอไปนี้ใหถือวาเปนอาหารไมบริสุทธิ์13

(1) อาหารที่มีสิ่งที่นาจะเปนอันตรายแกสุขภาพเจือปนอยูดวย

(2) อาหารที่มีสารหรือวัตถุเคมีเจือปนอยูในอัตราที่อาจเปนเหตุใหคุณภาพของอาหารนั้น

ลดลงเวนแตการเจือปนเปนการจําเปนตอกรรมวิธีผลิต การผลิตและไดรับอนุญาตจากพนักงาน

เจาหนาที่แลว

(3) อาหารที่ไดผลิตบรรจุ หรือเก็บรักษาไวโดยไมถูกสุขลักษณะ

(4) อาหารที่ผลิตจากสัตวที่เปนโรคอันอาจติดตอถึงคนได

(5) อาหารที่มีภาชนะบรรจุประกอบดวยวัตถุที่นาจะเปนอันตรายแกสุขภาพทั้งนี้อาหารที่มี

ลักษณะดังตอไปนี้ใหถือวาเปนอาหารปลอม

(1) อาหารที่ไดสับเปลี่ยนใชวัตถุอื่นแทนบางสวนหรือคัดแยกวัตถุที่มีคุณคาออก

เสียทั้งหมดหรือบางสวนและจําหนายเปนอาหารแทอยางนั้น หรือใชชื่ออาหารแทนั้น

(2) วัตถุหรืออาหารที่ผลิตขึ้นเทียมอาหารอยางหนึ่งอยางใดและจําหนายเปน

อาหารแทอยางนั้น

(3) อาหารที่ไดผสมหรือปรุงแตงดวยวิธีใด ๆ โดยประสงคจะปกปดซอนเรนความ

ชํารุดบกพรองหรือความดอยคุณภาพของอาหารนั้น

(4) อาหารที่มีฉลากเพื่อลวงหรือพยายามลวงผูซื้อใหเขาใจผิดในเรื่องคุณภาพ

ปริมาณ ประโยชนหรือลักษณะพิเศษอยางอื่น หรือในเรื่องสถานที่และประเทศที่ผลิต

(5) อาหารที่ผลิตขึ้นไมถูกตองตามคุณภาพหรือมาตรฐานที่รัฐมนตรีประกาศ

กําหนดตามมาตรา 6 (2) หรือ (3) ทั้งนี้มาตรา 6 เพื่อประโยชนแกการควบคุมอาหารใหรัฐมนตรีมี

อํานาจประกาศในราชกิจจานุเบกษา (2) กําหนดคุณภาพหรือมาตรฐานของอาหารควบคุมเฉพาะ

ตามชื่อประเภท ชนิด หรือลักษณะของอาหารนั้นๆ ที่ผลิตเพื่อจําหนาย นําเขาเพื่อจําหนายหรือที่

จําหนาย ตลอดจนหลักเกณฑ เงื่อนไข และวิธีการผลิตเพื่อจําหนายนําเขาเพื่อจําหนาย หรือ

จําหนาย (3) กําหนดคุณภาพหรือมาตรฐานของอาหารที่มิใชเปนอาหารตาม (1) และจะกําหนด

หลักเกณฑ เงื่อนไข และวิธีการผลิตเพื่อจําหนาย นําเขาเพื่อจําหนายหรือจําหนายดวยหรือไมก็ได

13 สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา,คูมืออาหารปลอดภัย. นนทบุร:ี กองควบคุมอาหาร,สํานักงาน

คณะกรรมการอาหารและยากระทรวงสาธารณสุข.พ.ศ.2545,หนา 15.

Page 132: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

115

โดยเมื่อดําเนินการถึงขนาดจากผลวิเคราะหปรากฏวาสวนประกอบที่เปนคุณคาทาง

อาหารขาดหรือเกินรอยละสามสิบจากเกณฑต่ําสุดหรือสูงสุดหรือแตกตางจากคุณภาพหรือ

มาตรฐานที่ระบุไวจนทําใหเกิดโทษหรืออันตราย (มาตรา27)

นอกจากนั้นอาหารที่มีลักษณะดังตอไปนี้ ใหถือวาเปนอาหารตามมาตรา 25 (4)

(1) ไมปลอดภัยในการบริโภค หรือ

(2) มีสรรพคุณไมเปนที่เชื่อถือหรือ

(3) มีคุณคาหรือคุณประโยชนตอรางกายในระดับที่ไมเหมาะสม (มาตรา 29)

เพื่อประโยชนแกการควบคุมอาหารใหถูกสุขลักษณะหรือใหปราศจากอันตรายแกผูบริโภคให

สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยามีอํานาจ

(1) ออกคําสั่งเปนหนังสือใหผูรับอนุญาตผลิตหรือนําเขาซึ่งอาหาร ดัดแปลงแกไขสถานที่

ผลิต หรือสถานที่เก็บอาหาร

(2) สั่งใหงดผลิตหรืองดนําเขาซึ่งอาหารที่ผลิตโดยไมไดรับอนุญาต หรืออาหารที่ปรากฏ

จากผลการตรวจพิสูจนวาเปนอาหารที่ไมควรแกการบริโภค

(3) ประกาศผลการตรวจพิสูจนอาหารใหประชาชนทราบในกรณีที่ปรากฏผลจากการตรวจ

พิสูจนวาอาหารรายใดเปนอาหารไมบริสุทธิ์ตามมาตรา 26 หรือเปนอาหารปลอมตามมาตรา 27

หรือเปนอาหารผิดมาตรฐานตามมาตรา 28 หรือเปนอาหารที่นาจะเปนอันตรายตอสุขภาพหรือ

อนามัยของประชาชนหรือภาชนะบรรจุรายใดประกอบดวยวัตถุที่อาจเปนอันตรายเมื่อใชบรรจุ

อาหารโดยใหระบุขอความดังตอไปนี้ดวย

(ก) ในกรณีที่ปรากฏตัวผูผลิตโดยแนชัดใหระบุชื่อผูผลิตพรอมทั้งชนิดและลักษณะของ

อาหารหรือภาชนะบรรจุนั้นและถาอาหารหรือภาชนะบรรจุดังกลาวมีชื่อทางการคาหรือลําดับครั้งที่

ผลิตหรือนําเขาก็ใหระบุชื่อทางการคาและลําดับครั้งที่ผลิตหรือนําเขานั้นดวยแลวแตกรณี

(ข) ในกรณีที่ไมปรากฏตัวผูผลิตโดยแนชัดแตปรากฏตัวผูจําหนายใหระบุชื่อผูจําหนายและ

สถานที่จําหนายพรอมทั้งชนิดและลักษณะของอาหารหรือภาชนะบรรจุนั้น (มาตรา 30)

การที่ผูผลิตอาหารที่กอใหเกิดการภูมิแพในทุกยี่หอมีความพยายามดําเนินการเพื่อใหมี

คุณภาพอยางเครงครัดตามมาตรฐานสากลตั้งแตวัตถุดิบที่ใชผลิตและผลิตภัณฑมีความ

หลากหลายและอาจมีปญหาดานความปลอดภัยดังนั้นเพื่อใหการควบคุมผลิตภัณฑมีความ

เหมาะสมและมีขอกําหนดสําหรับผลิตอาหารอาหารเปนการเฉพาะ กระทรวงสาธารณสุขโดย

สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา จึงออกประกาศกระทรวงสาธารณสุขกําหนดใหผลิตภัณฑ

เสริมอาหารเปนอาหารที่กําหนดคุณภาพหรือมาตรฐาน และฉลากตองไดรับอนุญาตจากสํานักงาน

Page 133: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

116

คณะกรรมการอาหารและยากอนนําไปใชโดยใหมีคุณภาพหรือมาตรฐานเชนเดิมใหเปนไปตาม

กฎระเบียบของประกาศคณะกรรมการวาดวยฉลากของสํานักงานคณะกรรมการคุมครองผูบริโภค (สคบ.)

สวนการผลิตตามความหมายทั่วไปมีความหมายแตกตางกันโดยสิ้นเชิง14ซึ่งเปนผลพวงที่

ไดจากการแปลงปจจัยการผลิตหรือที่เรียกวา ผลผลิต ตามความหมายขางตนอาจเปนไดทั้งสินคา

อันเปนสิ่งที่จับตองได เชน อาหาร เสื้อผา รองเทา รถยนต ฯลฯ หรืออาจจะเปนบริการ ซึ่งเปนสิ่งที่

จับตองไมได เชน การตัดผม การเสริมสวย การขนสง การสื่อสาร การธนาคาร ดังนั้นการผลิตตาม

ความหมายทางเศรษฐศาสตรจึงมิไดหมายเฉพาะแตกระบวนการในการกอใหเกิดตัวสินคาขึ้นมา

เทานั้น แตยังหมายถึงกิจกรรมอื่นที่เปนการกอผลผลิตในรูปบริการดวยเปนตน

3.1.6.2 ผูจําหนายอาหาร3.1.6.2.1 พระราชบัญญัติกฎหมายคุมครองผูบริโภค พ.ศ. 2522

การจับจายใชสอยเพื่อจัดหาสิ่งที่จําเปนสําหรับการดํารงชีวิต การรูจักซื้อสินคา

และรูจักการประมาณคาใชจาย เปนสิ่งที่ผูบริโภคอยางเราตองศึกษาเรียนรูเพื่อใหสามารถใช

จายเงินใหเหมาะสมกับรายได ทั้งนี้ในการเลือกซื้อสินคาก็ตองมีความรอบคอบและยึดหลักซื้อ

สินคาที่จําเปน ที่เปนปจจัยพื้นฐานในการดําเนินชีวิตคือปจจัย 4 นอกจากนี้ในการซื้อก็ควรเลือก

ซื้อสินคาที่มีประโยชน คุณภาพดี ราคาเหมาะสมและจะตองคิดประมาณรายไดและฐานะของเรา

ดวย ไมควรซื้อสินคาตามสมัยนิยม ตามคําโฆษณาหรือตามชักชวนของผูอื่น ทําใหเราดําเนินชีวิต

อยางสุขสบายหลักการขายหรือจําหนายเปนกิจกรรมทางธุรกิจที่ทุกคนไดพบเห็นในชีวิตประจําวัน

ในฐานะผูบริโภค หรือผูซื้อ เชน การซื้ออาหารรับประทานในโรงเรียน ซื้อขนมและน้ําดื่ม ตลอดจน

ใชบริการทางรถประจําทางจากบานมาโรงเรียน กิจกรรมดังกลาวลวนเปนสถานการณการซื้อ การ

ขาย ทั้งสิ้นความหมายของการขายซึ่งการขาย เปนศิลปะของการชักจูงใจใหคนอื่นคิดหรือกระทํา

ตามความคิดของนักขาย หรือ การขาย หมายถึง กระบวนการวิเคราะหความจําเปนและความ

ตองการของผูมุงหวัง และชวยใหคนพบความจําเปน ความตองการ ที่จะไดรับการตอบสนองดวย

ความพึงพอใจจากการซื้อสินคาและบริการที่นักขายนําเสนอ บทบาทของการขาย เปนการ

ใหบริการชักจูงใจ การติดตอสื่อสาร การแกไขปญหาหรือตอบสนองความตองการใหเกิดความพึง

พอใจและการใหการศึกษาแกผูบริโภคโดยไดอธิบายความหมายของผูจําหนายโดยปรากฏตาม

พระราชบัญญัติกฎหมายคุมครองผูบริโภคพ.ศ.2522 มาตรา 3 “ผูประกอบธุรกิจหมายความวา

14 การผลิต หมายถึง การนําเอาปจจัยการผลิตอันไดแก ที่ดิน ทุน แรงงาน และความสามารถในการ

ประกอบการมาผานกระบวนการอยางใดอยางหนึ่งภายใตเทคโนโลยีระดับหนึ่ง ผสมผสานกันเพื่อใหเกิดสินคา

และบริการเพื่อตอบสนองความตองการของมนุษยมากที่สุด

Page 134: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

117

ผูขายผูผลิตเพื่อขายผูสั่งหรือนําเขามาในราชอาณาจักรเพื่อขายหรือผูซื้อเพื่อขายตอซึ่งสินคาหรือผู

ใหบริการและหมายความรวมถึงผูประกอบกิจการโฆษณาดวย”

3.1.6.2.2 พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ.2522กฎหมายที่เกี่ยวของกับผูจําหนายยังปรากฏตาม พระราชบัญญัติอาหาร

พ.ศ.2522 มาตรา 4“จําหนาย”หมายความรวมถึง ขาย จาย แจก หรือแลกเปลี่ยน ทั้งนี้ เพื่อ

ประโยชนในทางการคา หรือการมีไวเพื่อจําหนายดวย” รวมไปความหมายของผูจําหนายตาม

พระราชบัญญัติความรับผิดตอความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินคาที่ไมปลอดภัย พ.ศ.255115ทั้งนี้

รวมถึงอาคารที่จัดไวเพื่อประกอบอาหาร หรือปรุงอาหารสําเร็จ และจําหนาย ใหผูซื้อสามารถ

บริโภคไดทันที ซึ่งครอบคลุมถึงภัตตาคาร สวนอาหาร หองอาหารในโรงแรม ศูนยอาหารเปนไปตาม

บทบัญญัติของกฎหมายที่กําหนดไวโดยมีขอใดขอหนึ่ง หรือ หลายขอรวมกัน ดังนี้

1) มีสถานที่ตั้งอยูบนพื้นที่ทางสาธารณะ

2) มีการขายเปนประจําในบริเวณที่แนนอน

3) มีการเตรียม ปรุง ประกอบจําหนายอาหาร ณ บริเวณที่ตั้งแผง

4) เปนการจําหนายอาหารพรอมบริโภค

5) แผงลอยหนาบริเวณโรงเรียน

3.1.6.3 ผูบริโภคอาหาร3.1.6.3.1 พระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภค พ.ศ.2522กฎหมายคุมครองผูบริโภคเปนกฎหมายที่เกี่ยวกับการดํารงชีวิตของคนใน

สังคม โดยทั่วไปจะเกี่ยวของกับการบริโภคสินคาและการใชบริการ เชน มนุษยตองบริโภคอาหาร

เครื่องดื่ม ตองใชบริการรถประจําทาง รถไฟฟา รวมทั้งบริการอื่น ๆเพื่ออํานวยความสะดวก เชน

การใชบัตรเครดิต โทรศัพทมือถือ เปนตน ดังนั้นการบริโภคหรือการใชบริการตาง ๆ จะตองได

มาตรฐานและมีคุณภาพครบถวนตามที่ผูผลิตไดโฆษณาแนะนําไว ดวยเหตุนี้ รัฐในฐานะผูคุมครอง

ดูแลประชาชน หากพบวาประชาชนไดรับความเดือดรอนจากการบริโภคสินคาและบริการจะตองรีบ

เขาไปแกไขเยียวยาและชดเชยความเสียหายใหกับประชาชนคําวาผูบริโภค ยังจํากัดตาม

บทบัญญัติตามพระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภค พ.ศ.2522 แกไขเพิ่มเติม พ.ศ.2541 มาตรา 3“

ผูบริโภค ” หมายความวาผูซื้อหรือผูไดรับบริการจากผูประกอบธุรกิจหรือผูซึ่งไดรับการเสนอหรือ

การชักชวนจากผูประกอบธุรกิจเพื่อใหซื้อสินคาหรือรับบริการและหมายความรวมถึงผูใชสินคาหรือ

ผูไดรับบริการจากผูประกอบธุรกิจโดยชอบแมมิไดเปนผูเสียคาตอบแทน ” ซึ่งก็ตามปญหาที่เกิดขึ้น

15 มาตรา 4 “ขาย” หมายความวา จําหนาย จาย แจก หรือแลกเปลี่ยนเพื่อประโยชนทางการคา และให

หมายความรวมถึงใหเชา ใหเชาซื้อ จัดหา ตลอดจนเสนอ ชักชวน หรือนําออกแสดงเพื่อการดังกลาว

Page 135: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

118

เหลานี้ยากที่จะระบุจํานวนออกมา เนื่องจากผูบริโภคที่มีอาการจากสารพิษที่เกิดจากการบริโภค

อาหารที่กอใหเกิดการภูมิแพไมมีใครไปโรงพยาบาลและสถานีอนามัยทองถิ่นก็ไมสามารถวินิจฉัย

การไดรับสารพิษไดอยางถูกตอง และการแสดงอาการในการสะสมดังกลาวตองใชระยะเวลา

ยาวนานหลายป

การคุมครองผูบริโภคตามกฎหมายผูบริโภคเอง สามารถขอความชวยเหลือจากหนวยงาน

อื่นเพื่อที่จะไดดําเนินการชวยเหลือ ผูบริโภคไดตรงกับปญหาและความตองการตัวอยางในการ

ดําเนินการในขอที่ผานมาไดแกการศึกษาขอมูลเกี่ยวกับการใชยาปราบศัตรูพืชและการสํารวจ

ทัศนคติเกี่ยวกับการคุมครองผูบริโภค เปนตน ตลอกจนในการทําการ สงเสริมและสนับสนุนใหมี

การศึกษาแกผูบริโภคเกี่ยวกับการคุมครองผูบริโภคในทุกระดับการศึกษาเกี่ยวกับความปลอดภัย

และอันตรายที่อาจไดรับจากสินคาหรือบริการผูบริโภคควรจะได เรียนรูและเขาใจปญหาตลอดจน

วิธีการปองกันหรือหลีกเลี่ยงเพื่อที่จะไดสามารถคุมครองตนเองในเบื้องตนกอนนอกเหนือจากความ

ชวยเหลือจากรัฐบาลการสงเสริมและการสนับสนุนใหมีการศึกษาแกผูบริโภคในทุกระดับจึงเปน

หนาที่ที่สําคัญ

3.1.6.3.2 พระราชบัญญัติความรับผิดตอความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินคาที่ไมปลอดภัย พ.ศ.2551

กฎหมายฉบับดังกลาวไมไดใหคําอธิบายความหมายของคําวา ผูบริโภค”

อยางชัดเจนแตหากผูบริโภครับประทานเขาไปก็อาจจะมีอันตรายตอสุขภาพและกอใหเกิดความ

เสียหาย16

16 พระราชบัญญัติความรับผิดตอความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินคาที่ไมปลอดภัย พ.ศ. 2551 ใหความ

คุมครองผูบริโภคในดานความรับผิดทางแพง เพื่อชวยใหผูบริโภคไดรับการเยียวยา หากไดรับความเสียหายจาก

สินคาที่ไมปลอดภัย โดยกําหนดตัวบุคคลที่ตองรับผิด ขอบเขตความรับผิด การอํานวยความสะดวกในการ

ดําเนินการฟองคดี คาเสียหายที่จะไดรับ อายุความที่ผูบริโภคไดรับความคุมครอง ประกอบกับวิธีพิจารณาคดีที่

เอื้อประโยชนแกผูบริโภคทั้งในดานความสะดวกประหยัด และรวดเร็วตามพระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดี

ผูบริโภค พ.ศ.2551 ยอมทําใหผูบริโภคมีความอุนใจและมีทางออกของปญหาที่แตเดิมมาผูบริโภค มักเลือกไมเอา

ความและถือวาเปนบาปเคราะหของตนเองแทนการเรียกรองใหไดมา ซึ่งสิทธิและการเยียวยาตอบแทนความ

เสียหายที่เกิดขึ้น การมีพระราชบัญญัติความรับผิดตอความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินคาที่ไมปลอดภัย พ.ศ.2551

ประกอบกับพระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีผูบริโภค พ.ศ.2551 จะทําใหผูบริโภคตระหนักถึงสิทธิและตอสูมาเพื่อ

สิทธิของตนเองเพิ่มมากขึ้น อยางไรก็ตาม การใหความสําคัญตอผูบริโภคที่เปนผูเ รียกรองเกินสิทธิที่ควรจะได รับ

และตอผูประกอบการที่จะมีวิวัฒนาการในการแกไขจุดบกพรองเพื่อปองกันความรับ ผิดจากกฎหมายนี้เชน การ

ระบุขอมูลตางๆ ในฉลากสินคารวมถึงคูมือสินคาเพื่อใชเปนขออางวาไดแจงแกผูบริโภค อยางถูกตองและชัดเจน

แลว

Page 136: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

119

จากตัวอยางขางตน ทานผูอานจะพบวาสินคาที่เราอุปโภคบริโภคในปจจุบันไมวาจะผลิต

ภายในประเทศหรือนําเขา มีกระบวนการผลิตที่ใชความรูทางดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีสูงขึ้น

เปนลําดับ การที่ผูบริโภคอยางเรา ๆ จะตรวจพบวาสินคาไมปลอดภัยกระทําไดยาก และเมื่อเรานํา

สินคาที่ไมปลอดภัยไปใชอาจกอใหเกิดอันตรายตอชีวิต รางกาย สุขภาพอนามัย จิตใจ หรือ

ทรัพยสินของผูบริโภคหรือบุคคลอื่นได ดวยเหตุนี้ ในหลาย ๆ ประเทศจึงมีการตรากฎหมายเฉพาะ

เพื่อคุมครองผูบริโภคจากสินคาที่ไมปลอดภัย โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหผูเสียหายสามารถฟอง

ผูผลิตสินคาที่ไมปลอดภัยนั้นไดโดยตรง และสรางระบบการตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐาน

เทคโนโลยีของผูผลิต ซึ่งในปจจุบันประเทศไทยก็มีกฎหมายลักษณะดังกลาวเชนกัน ไดแก

พระราชบัญญัติความรับผิดตอความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินคาที่ไมปลอดภัย พ.ศ. 2551

ตาม พ.ร.บ.ความรับผิดฯ กําหนดใหผูประกอบการทุกคนตองรวมกันรับผิดตอผูเสียหายใน

ความเสียหายที่เกิดจากสินคาที่ไมปลอดภัย และสินคานั้นไดมีการขาย ไมวาความเสียหายนั้นจะ

เกิดจากการกระทําโดยจงใจหรือประเลินเลอของผูประกอบการหรือไมก็ตาม ซึ่งการที่กฎหมาย

บัญญัติไวดังกลาวเปนประโยชนตอผูบริโภคอยางมาก เนื่องจากดวยความซับซอนของกระบวนการ

ผลิต ผูบริโภคไมมีโอกาสหรือมีโอกาสนอยมากที่จะทราบวาสินคาที่ตนเองใชนั้นมีความไม

ปลอดภัยอยางไร จากเหตุผลใด

ดังนั้นบุคคลที่เกี่ยวของกับการใหความคุมครองผูบริโภคไมวาจะเปนผูผลิต ผูจําหนาย และ

รวมไปถึงผูบริโภคอาหารจึงเปนสวนที่สําคัญที่จะผลักดันใหมีการควบคุมและคุมครองในเรื่องการ

บริโภคอาหารที่อาจกอใหเกิดภูมิแพทั้งนี้โดยใหความสําคัญในการบริโภคอาหารที่อาจจะกอใหเกิด

การภูฒิแพและเพิ่มหลักการแจงเติมในอาหารแตละชนิดเพื่อประโยชนแกผูบริโภค

3.1.7 หลักการคุมครองผูบริโภคการบังคับใหมีขอความเตือนภัยจากโรคภูมิแพลงไวในฉลากอาหารสําเร็จรูปของผูบริโภค

“ฉลากอาหาร” เปรียบเสมือนหนาตางของผลิตภัณฑที่ทําใหสามารถมองเห็นผลิตภัณฑ

ภายในภาชนะบรรจุได โดยเปนเครื่องมือของผูประกอบการในการสื่อสารขอมูลแกผูบริโภคและเปน

สวนหนึ่งในการเพิ่มมูลคาแกผลิตภัณฑ เปนเครื่องมือของหนวยงานรัฐในการติดตามตรวจสอบ

คุณภาพอาหารและใหขอมูลความรูที่เปนประโยชนแกประชาชนอยางไรก็ตาม ขอมูลจากการ

ดําเนินงานของมูลนิธิเพื่อผูบริโภคพบวา มีการละเมิดสิทธิผูบริโภคจากกรณีการแสดงฉลากอาหาร

ไมถูกตองอยูพอสมควร เชน การไมแสดงวันผลิต-วันหมดอายุ หรือแสดงแลวแตหาไมเจอ ไมแสดง

ชื่อผูผลิต-ผูจําหนาย การใชขอความกลาวอางคุณคาใหเขาใจผิดในสรรพคุณไปจากความเปน

อาหาร และการใชคําแสดงสวนประกอบที่ทําใหเขาใจผิดและขัดตอกฎหมาย

Page 137: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

120

3.1.7.1 หลักการคุมครองดานฉลากท่ัวไปตามพระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภค พ.ศ.2522

ตามหลักการคุมครองดานฉลากทั่วไปเปนไปตามพระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภค

พ.ศ.2522 สวนที่ 2 มีการบัญญัติกฎหมายวาดวยการคุมครองผูบริโภคในดานฉลากโดยมี

รายละเอียดดังตอไปนี้มาตรา 30 ใหสินคาที่ผลิตเพื่อขายโดยโรงงานตามกฎหมายวาดวยโรงงาน

และสินคาที่สั่งหรือนําเขามาในราชอาณาจักรเพื่อขายเปนสินคาที่ควบคุมฉลาก

ความในวรรคหนึ่งไมใชบังคับกับสินคาที่คณะกรรมการวาดวยฉลากกําหนดโดยประกาศ

ในราชกิจจานุเบกษา

ในกรณีที่ปรากฏวามีสินคาที่อาจกอใหเกิดอันตรายแกสุขภาพ รางกาย หรือจิตใจ เนื่องใน

การใชสินคาหรือโดยสภาพของสินคาน้ัน หรือมีสินคาที่ประชาชนทั่วไปใชเปนประจํา ซึ่งการกําหนด

ฉลากของสินคานั้นจะเปนประโยชนแกผูบริโภคในการที่จะทราบขอเท็จจริงในสาระสําคัญเกี่ยวกับ

สินคานั้น แตสินคาดังกลาวไมเปนสินคาที่ควบคุมฉลากตามวรรคหนึ่ง ใหคณะกรรมการวาดวย

ฉลากมีอํานาจกําหนดใหสินคานั้นเปนสินคาที่ควบคุมฉลากไดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา

เชน

1) ฉลากของสินคาที่ควบคุมฉลาก จะตองมีลักษณะดังตอไปนี้17

(1) ใชขอความที่ตรงตอความจริงและไมมีขอความที่อาจกอใหเกิดความเขาใจผิด

ในสาระสําคัญเกี่ยวกับสินคา18

(2) ตองระบุขอความดังตอไปนี้

(ก) ชื่อหรือเครื่องหมายการคาของผูผลิตหรือของผูนําเขาเพื่อขายแลวแต

กรณี

(ข) สถานที่ผลิตหรือสถานที่ประกอบธุรกิจนําเขา แลวแตกรณี

(ค) ระบุขอความที่แสดงใหเขาใจไดวาสินคานั้นคืออะไร ในกรณีที่ เปน

สินคานําเขาใหระบุชื่อประเทศที่ผลิตดวย

(3) ตองระบุขอความอันจําเปน ไดแก ราคา ปริมาณ วิธีใช ขอแนะนํา คําเตือน วัน

เดือน ปที่หมดอายุในกรณีเปนสินคาที่หมดอายุได หรือกรณีอื่น เพื่อคุมครองสิทธิของผูบริโภค ทั้งนี้

ตามหลักเกณฑและเงื่อนไขที่คณะกรรมการวาดวยฉลากกําหนดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา

17 พระราชบัญญัติคุมครองผูบรโิภค พ.ศ.2522 มาตรา 31.18 กฎหมายเกี่ยวกับการคุมครองผูบริโภค กฎหมายคุมครองผูบริโภค,สืบคนเมื่อวันที่ 20 กันยายน

2557,จาก,http://www.oknation.net/blog/print.php?id=893860.

Page 138: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

121

ใหผูประกอบธุรกิจซึ่งเปนผูผลิตเพื่อขายหรือผูสั่งหรือผูนําเขามาในราชอาณาจักร เพื่อขาย

ซึ่งสินคาที่ควบคุมฉลาก แลวแตกรณี เปนผูจัดทําฉลากกอนขายและฉลากนั้นตองมีขอความ

ดังกลาวในวรรคหนึ่ง ในการนี้ ขอความตามวรรคหนึ่ง (2) และ (3) ตองจัดทําตามหลักเกณฑและ

วิธีการที่คณะกรรมการวาดวยฉลากกําหนด โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา

2) การกําหนดขอความของฉลากตามมาตรา 30 ตองไมเปนการบังคับใหผูประกอบธุรกิจ

ตองเปดเผยความลับทางการผลิต เวนแตขอความดังกลาวจะเปนสิ่งจําเปนที่เกี่ยวกับสุขภาพ

อนามัยและความปลอดภัยของผูบริโภค19

3) เมื่อคณะกรรมการวาดวยฉลากเห็นวาฉลากใดไมเปนไปตามมาตรา 31 คณะกรรมการ

วาดวยฉลากมีอํานาจสั่งใหผูประกอบธุรกิจเลิกใชฉลากดังกลาวหรือดําเนินการแกไขฉลากนั้นให

ถูกตอง20

4) ผูประกอบธุรกิจผูใดสงสัยวาฉลากของตนจะเปนการฝาฝนหรือไมเปนไปตามมาตรา 31

ผูประกอบธุรกิจผูนั้นอาจขอใหคณะกรรมการวาดวยฉลากพิจารณาใหความเห็นในฉลากนั้นกอนได ใน

กรณีนี้ใหนํามาตรา 29 มาใชบังคับโดยอนุโลม21

5) เพื่อประโยชนในการควบคุมและการตรวจสอบการประกอบธุรกิจเกี่ยวกับสินคาที่

ควบคุมฉลาก รัฐมนตรีมีอํานาจประกาศในราชกิจจานุเบกษากําหนดใหผูประกอบธุรกิจในสินคา

ดังกลาวตองจัดทําและเก็บรักษาบัญชีเอกสารและหลักฐานเพื่อใหนักงานเจาหนาที่ทําการ

ตรวจสอบได22

วิธีจัดทําและเก็บรักษาบัญชี เอกสารและหลักฐานตามวรรคหนึ่งใหเปนไปตามที่กําหนดใน

กฎกระทรวงเปนตน

3.1.7.2 หลักการคุมครองดานฉลากอาหารที่กอใหเกิดภูมิแพ3 .1 .7 .2 .1 การคุมครองด านฉลากอาหารที่ กอให เกิดภูมิแพตาม

พระราชบัญญัติ อาหาร พ.ศ.2522

หลักการคุมครองฉลากอาหารที่กอใหเกิดภูมิแพนอกจากการใหความคุมครอง

ผูบริโภคที่เกี่ยวของกับอาหารที่กอใหเกิดถูมิแพตามหลักการใหการคุมครองโดยทั่วไปตาม

พระราชบัญญัติ อาหาร พ.ศ.2522 ไดกําหนดใหผูประกอบการที่ประสงคจะโฆษณาคุณประโยชน

19 พระราชบัญญัติคุมครองผูบรโิภค พ.ศ.2522 มาตรา 32.20 พระราชบัญญัติคุมครองผูบรโิภค พ.ศ.2522 มาตรา 33.21 พระราชบัญญัติคุมครองผูบรโิภค พ.ศ.2522 มาตรา 34.22 พระราชบัญญัติคุมครองผูบรโิภค พ.ศ.2522 มาตรา 35.

Page 139: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

122

ของผลิตภัณฑอาหารของตน จะตองขออนุญาตจากสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาทุกครั้ง

แตสําหรับการโฆษณาบนฉลากอาหารนั้นกลับไมมีการบังคับทางกฎหมายวาตองสงให อย.

ตรวจสอบแตอยางใดทําใหผูประกอบการบางสวนใชชองวางนี้ในการโฆษณาผลิตภัณฑของตนซึ่ง

บางครั้งก็เปนขอความที่เกินจริง โออวดสรรพคุณ ทําใหเขาใจผิดไปจากความเปนอาหาร อีกทั้งยัง

เปนการสิ้นเปลืองเนื้อที่บนฉลากทําใหตัวหนังสือในสวนอื่น ๆ ของฉลากที่มีความสําคัญมากกวา

เชน วันผลิต-วันหมดอายุ ตารางโภชนาการ มีขนาดเล็กทําใหไมนาอาน ดังนั้นหากมีการ

ควบคุมดูแลดานฉลากอาหารที่ดี โดยตัดเนื้อหาการโฆษณาที่ไมจําเปนเหลานี้ออกไปก็จะทําใหมี

เนื้อที่บนฉลากมากขึ้นเพียงพอที่จะทําใหฉลากอาหารนาอานและอานงายเปนตน

3.1.7.2.2 การคุมครองดานฉลากอาหารที่กอใหเกิดภูมิแพตามระเบียบสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาวาดวยการดําเนินการเกี่ยวกับเลขสารบบอาหาร(ฉบับที่ 6)

การคุมครองดานฉลากอาหารที่กอใหเกิดภูมิแพปจจุบันปรากฎเปนบทบัญญัติ

กฎหมายกําหนดการคุมครองเพื่อปกปองคุมครองผูบริโภคที่สวนใหญเสี่ยงตอการแพอาหารบาง

ชนิดโดยกระทรวงสาธารณสุขไดออกกฎหมายความปลอดภัยสินคาผูบริโภคกําหนดใหผูผลิตและผู

นําเขาอาหารตองติดแสดงฉลากระบุสวนประกอบของอาหารที่อาจกอใหเกิดอันตรายตอผูบริโภค

สามารถเทียบเคียงไดตามบทบัญญัติตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขตามระเบียบสํานักงาน

คณะกรรมการอาหารและยาวาดวยการดําเนินการเกี่ยวกับเลขสารบบอาหาร (ฉบับที่ 6) ขอที่

8.4.21 การเปลี่ยนแปลงขอความในการแสดงสวนประกอบที่ใชในผลิตภัณฑที่อาจกอใหเกิดภูมิแพ

เชนเพิ่ม/ตัด/แกไขขอความสารกอภูมิแพถั่วไขเปนตนเรื่องฉลากอาหารไดกําหนดใหอาหารทุกชนิด

ที่ผูผลิตไมไดเปนผูขายอาหารนั้นใหกับผูบริโภคโดยตรงตองแสดงฉลากบนภาชนะบรรจุ โดย

กําหนดใหแสดงขอมูลท่ีสามารถแบงกลุมตามวัตถุประสงคการแสดงไดเปน 4 กลุมไดแก

1) ขอมูลความปลอดภัย ประกอบดวย วันที่ผลิต/หมดอายุ วิธีการเก็บรักษา วิธีปรุง และคํา

เตือนตางๆ

2) ขอมูลความคุมคา ประกอบดวย ชื่อ/ประเภทของอาหาร สวนประกอบซึ่งเรียง

ลําดับตามปริมาณที่ใชจากมากไปนอย และปริมาณอาหาร (น้ําหนักหรือปริมาตร) ในภาชนะบรรจุ

3) ขอมูลเพื่อการโฆษณา ไดแก รูปภาพและขอความกลาวอางตาง ๆ และ

4) ขอมูลเพื่อแสดงความเชื่อมั่น ไดแก ยี่หออาหาร ชื่อและที่อยูของผูผลิต ผูจําหนายหรือผู

นําเขา เครื่องหมาย อย.และตราสัญลักษณตาง ๆ เปนตน

3.1.7.2.3 การคุมครองดานฉลากอาหารที่กอใหเกิดภูมิแพตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่367) พ.ศ.2557 เรื่องการแสดงฉลากของอาหารในภาชนะบรรจุ

Page 140: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

123

หลักการตาม ขอ 4 การแสดงฉลากของอาหารในภาชนะบรรจุที่ผลิตเพื่อจําหนาย

นําเขาเพื่อจําหนายหรือที่จําหนายตองแสดงขอความเปนภาษาไทยและอยางนอยจะตองมีขอความ

แสดงรายละเอียดดังตอไปนี้เวนแตสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาจะยกเวนใหไมตองระบุ

ขอความหนึ่งขอความใด(6) ขอความวา “ขอมูลสําหรับผูแพอาหาร : ม…ี.” กรณีมีการใชเปน

สวนประกอบของอาหารหรือ “ขอมูลสําหรับผูแพอาหาร : อาจมี….” กรณีมีการปนเปอนใน

กระบวนการผลิตแลวแตกรณ ี(ความที่เวนไวใหระบุประเภทหรือชนิดของสารกอภูมิแพหรือสารที่กอ

ภาวะภูมิไวเกิน)โดยขนาดตัวอักษรตองปฏิบัติตามขอ 14 (3) และสีของตัวอักษรตัดกับสีพื้นของ

ฉลากขนาดตัวอักษรตองไมเล็กกวาขนาดตัวอักษรที่แสดงสวนประกอบและแสดงไวที่ดานลางของ

การแสดงสวนประกอบประเภทหรือชนิดของอาหารตามวรรคหนึ่งซึ่งเปนสารกอภูมิแพหรือสารที่กอ

ภาวะภูมิไวเกินไดแก

(6.1) ธัญพืชที่มีสวนประกอบของกลูเตนไดแกขาวสาลีไรนบารเลยโอตสเปลทหรือ

สายพันธุลูกผสมของธัญพืชดังกลาวและผลิตภัณฑจากธัญพืชที่มีสวนประกอบของกลูเตนดังกลาว

(6.2) สัตวน้ําที่มีเปลือกแข็งเชนปูกุงกั้งลอบเสตอรเปนตนและผลิตภัณฑจากสัตว

น้ําที่มีเปลือกแข็ง

(6.3) ไขและผลิตภัณฑจากไข

(6.4) ปลาและผลิตภัณฑจากปลา

(6.5) ถั่วลิสงถั่วเหลืองและผลิตภัณฑจากถั่วลิสงถั่วเหลือง

(6.6) นมและผลิตภัณฑจากนมรวมถึงแลคโตส

(6.7) ถั่วที่มีเปลือกแข็งและผลิตภัณฑจากถั่วที่มีเปลือกแข็งเชนอัลมอนตวอลนัทพี

แคน

(6.8) ซัลไฟตที่มีปริมาณมากกวาหรือเทากับ10มิลลิกรัมตอกิโลกรัมทั้งนี้ความใน

(6) ไมรวมถึงอาหารที่มีสารกอภูมิแพหรือสารที่กอภาวะภูมิไวเกินเปนสวนประกอบที่สําคัญและมี

การแสดงชื่ออาหารที่ระบุชื่อสารกอภูมิแพหรือสารท่ีกอภาวะภูมิไวเกินไวชัดเจนแลวเชนน้ํานมโคสด

ถั่วลิสงอบกรอบเปนตน

ดังนั้นโดยจํานวนกฎหมายที่ออกมาบังคับเกี่ยวของกับฉลากไมมีความสัมพันธกับ

ระบบความปลอดภัยของอาหารอยางแทจริง เนื่องจากในประเทศไทยอาจเลือกที่จะกําหนด

กฎหมายที่เขียนอธิบายขอบเขตการบังคับใชไวในภาพรวม เพื่อเปดโอกาสใหหนวยงานที่

รับผิดชอบสามารถใชอํานาจภายใตกฎหมายไดอยางเปนอิสระและทันกับสถานการณ

ผูประกอบการรวมทั้งหนวยงานของรัฐที่เกี่ยวของจําเปนตองใหความคุมครองผูบริโภคโดยมีการให

คําจํากัดในบทนิยามของคําวาฉลากอาหารที่กอใหเกิดการภูมิแพอยางชัดเจนแตอยางใดเมื่อ

Page 141: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

124

พิจารณารูปแบบการปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวของกับอาหารของประเทศไทยแลวพบวา การ

เปลี่ยนแปลงกฎหมายในดานสาระเกิดขึ้นไมมีความตอเนื่อง ขณะที่สาระของกฎหมายเพื่อการ

บังคับจําเปนตองมีการปรับปรุงตามสาการณในปจจุบันที่ตองการปรับปรุงโครงสรางการบริหาร

และควบคุมอาหารที่กอใหเกิดการภูมิแพทั้งระบบ ซึ่งในการดําเนินการลักษณะนี้จะทําใหเกิด

ทิศทางในการยกระดับความปลอดภัยของอาหารอยางเปนรูปธรรมกฎหมายที่เกี่ยวของกับฉลาก

อาหารที่กอใหเกิดการภูมิแพเปนระดับสากลมมากขึ้น

3.1.8 หนวยงานที่มีหนาที่ควบคุมกํากับตรวจสอบและดูแลฉลากอาหารที่กอใหเกิดการภูมิแพ

3.1.8.1 สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาโดยหลักสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยามีหนาที่กําหนดคุณภาพหรือ

มาตรฐานของอาหารควบคุมเฉพาะตามชื่อประเภทชนิดหรือลักษณะของอาหารนั้นและกําหนด

หลักเกณฑเงื่อนไขและวิธีการผลิตเพื่อจําหนายนําเขาเพื่อการจําหนายหรือการจําหนายโดยมี

คณะกรรมการยามีอํานาจหนาที่กําหนดหลักเกณฑวิธีการและเงื่อนไขเกี่ยวกับการผลิตยาการขาย

ยาการนําเขาหรือสั่งยาเขามาในราชอาณาจักรการนํายามาเปนตัวอยางเพื่อการตรวจการ

ตรวจสอบสถานที่ผลิตยาสถานที่ขายยาและสถานที่เก็บยา

นอกจากนั้ นผลิตภัณฑสุ ขภาพที่ อยู ในการควบคุมกํ ากับของสํ านักงาน

คณะกรรมการอาหารและยานั้น ไมไดใชขอบังคับตาม พระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภค พ.ศ.2522

แตอยางได เนื่องจากมีขอกําหนดไวใน พระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภค พ.ศ.2522 (ฉบับที่ 2)

พ.ศ.2541 มาตรา 21 ไววา“ในกรณีที่กฎหมายวาดวยการใดไดบัญญัติเรื่องใดไวโดยเฉพาะแลว ให

บังคับกฎหมายตามบทบัญญัติแหงกฎหมายวาดวยการนั้น และใหนําบทบัญญัติในหมวดนี้ไปใชได

เทาที่ไมซ้ําหรือขัดกับบทบัญญัติดังกลาว” ซึ่งทําใหผลิตภัณฑสุขภาพเชนอาหารตางๆตาม

Page 142: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

125

พระราชบัญญัติ ดังตอไปนี้ใชขอกําหนดเกี่ยวกับฉลากตามประเภทของพระราชบัญญัติที่กําหนดไว

แทนสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา มีอํานาจหนาที่ตามกฎหมาย ดังนี้ตามพระราชบัญญัติ

อาหารและยา พ.ศ.252223

1) ดําเนินการตามกฎหมายวาดวยอาหาร กฎหมายวาดวยยา กฎหมายวาดวย

เครื่องสําอาง กฎหมายวาดวยวัตถุอันตราย กฎหมายวาดวยวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท

กฎหมายวาดวยยาเสพติดใหโทษ กฎหมายวาดวยเครื่องมือแพทย กฎหมายวาดวยการปองกันการ

ใชสารระเหย และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวของ

2) พัฒนาระบบและกลไก เพื่อใหมีการดําเนินการบังคับใชกฎหมายที่อยูในความ

รับผิดชอบ

3) เฝาระวังกํากับและตรวจสอบคุณภาพมาตรฐานของผลิตภัณฑสถาน

ประกอบการ และการโฆษณา รวมทั้งผลอันไมพึงประสงคของผลิตภัณฑตลอดจนมีการติดตาม

หรือเฝาระวังขอมูลขาวสารดานผลิตภัณฑสุขภาพจากภายในประเทศและภายนอกประเทศ

4) ศึกษา วิเคราะห วิจัยและพัฒนาองคความรู เทคโนโลยี และระบบงานคุมครอง

ผูบริโภคดานผลิตภัณฑสุขภาพใหมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล

23 มาตรา 7 ใหมีคณะกรรมการคณะหนึ่งเรียกวา “คณะกรรมการอาหาร” ประกอบดวยปลัดกระทรวง

สาธารณสุข เปนประธานกรรมการเลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา อธิบดีกรมอนามัยหรือผูแทน อธิบดี

กรมการแพทยหรือผูแทน อธิบดีกรมควบคุมโรค หรือผูแทน อธิบดีกรมวิทยาศาสตรการแพทยหรือผูแทน อธิบดี

กรมวิทยาศาสตรบริการหรือผูแทน อธิบดีกรมการคาภายในหรือผูแทน อธิบดีกรมศุลกากรหรือผูแทน ผูแทน

กระทรวงกลาโหม ผูแทนกระทรวงเกษตรและสหกรณ และผูแทนสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา เปนกรรมการ

โดยตําแหนง กับกรรมการผูทรงคุณวุฒิซึ่งรัฐมนตรีแตงตั้งอีกไมเกินเกาคน ในจํานวนนี้จะตองแตงตั้งจากผูแทน

ของผูประกอบธุรกิจเกี่ยวกับการผลิต นําเขาหรือจําหนายอาหารไมเกินสี่คน เปนกรรมการ

ใหรองเลขาธิการสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา เปนกรรมการและเลขานุการ และให

ผูอํานวยการกอง กองควบคุมอาหารเปนกรรมการและผูชวยเลขานุการ

มาตรา 8 ใหคณะกรรมการมีอํานาจหนาที่ใหคําแนะนํา ความเห็นแกรัฐมนตรีหรือผูอนุญาต แลวแต

กรณี ในเรื่องดังตอไปนี้

(1) การวินิจฉัยอุทธรณตามมาตรา 19

(3) การเพิกถอนทะเบียนตํารับอาหารตามมาตรา 39

(4) การปฏิบัติการตามมาตรา 44

(5) การพักใชใบอนุญาตหรือการเพิกถอนใบอนุญาตตามมาตรา 46

Page 143: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

126

5) สงเสริมและพัฒนาผูบริโภคใหมีศักยภาพในการเลือกบริโภคผลิตภัณฑสุขภาพที่

ถูกตอง เหมาะสม ปลอดภัย และคุมคา รวมทั้งเพื่อใหผูบริโภคนั้นมีการรองเรียน เพื่อปกปองสิทธิ

ของตนได

6) พัฒนาและสงเสริมการดําเนินงานคุมครองผูบริโภคดานผลิตภัณฑสุขภาพ โดย

การมีสวนรวมของภาครัฐ ภาคเอกชน ประชาชน และเครือขายประชาคมสุขภาพ

7) ปฏิบัติการอื่นใดตามที่กฎหมายกําหนดใหเปนอํานาจหนาที่ของสํานักงาน

คณะกรรมการอาหารและยาหรือตามที่กระทรวงหรือคณะรัฐมนตรีมอบหมายจากอํานาจหนาที่ที่

กลาวมาขางตน สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาไดดําเนินการใหเปนไปตามกฎหมาย

จํานวน 8 ฉบับ และอนุสัญญาและขอตกลงระหวางประเทศ อีกจํานวน 4 ฉบับ ไดแก

(1) พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522

(2) พระราชบัญญัติยา พ.ศ.2510 และแกไขเพิ่มเติมฉบับที่ 2 (พ.ศ.2518) ฉบับที่ 3 (พ.ศ.

2522) ฉบับที่ 4 (พ.ศ.2528) และฉบับที่ 5 (พ.ศ.2530)

(3) พระราชบัญญัติเครื่องสําอาง พ.ศ.2535

(4) พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ.2535

(5) พระราชบั ญญั ติ วั ตถุ ที่ ออกฤทธิ์ ต อจิ ตและประสาท พ.ศ. 2518 แก ไขเพิ่ มเติมฉบั บที่ 2

(6) พ.ศ.2528 ฉบับที่ 3 (พ.ศ.2535) และฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2543)

(7) พระราชบัญญัติยาเสพติดใหโทษ พ.ศ.2522 และแกไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2528)

ฉบับที่ 3 (พ.ศ.2530) และฉบับที่ 4 (พ.ศ.2543)

(8)พระราชบัญญัติเครื่องมือแพทย พ.ศ.2531

( 9) พระราชกําหนดปองกันการใชสารระเหย พ.ศ. 2533 แกไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 2

(พ.ศ.2543) และมีอนุสัญญาและขอตกลงระหวางประเทศ

(1)The Single Convention on Narcotic Drug 1961

(2)The Convention on Psychotropic Substance 1971

(3)The International Code of Marketing of Breast-milk Substitute 1981

(4)The United Nation Convention Against Illicit Traffic in Narcotic Drugs and

Psychotropic Substances 1988เปนตน

3.1.8.2 สํานักงานคุมครองผูบริโภคโดยหลักวิธีดําเนินการตามพระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภคพ.ศ.2522 ไดบัญญัติ

ใหมีองคกรของรัฐมีอํานาจหนาที่ในการกํากับดูแลผูประกอบธุรกิจมิใหประกอบธุรกิจที่เปนการ

ละเมิดสิทธิผูบริโภคและประสานการปฏิบัติงานของสวนราชการตางๆเพื่อใหความคุมครอง

Page 144: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

127

ผูบริโภครวมทั้งเปนหนวยงานที่ใหผูบริโภคไดใชสิทธิรองเรียนเพื่อขอใหไดรับการพิจารณาและ

ชดเชยความเสียหายเมื่อถูกผูประกอบธุรกิจละเมิดสิทธิ

องคกรของรัฐที่จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภค พ.ศ. 2522 ซึ่ง

แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภค (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2541 เพื่อคุมครองสิทธิของ

ผูบริโภคดังกลาวไดแก

1) คณะกรรมการคุมครองผูบริโภค (Consumer Protection Board)

2) คณะกรรมการเฉพาะเรื่องไดแก24

2.1 คณะกรรมการวาดวยการโฆษณา (The Committee On

Advertisement)

2.2 คณะกรรมการวาดวยฉลาก (The Committee On Labels)

2.3 คณะกรรมการวาดวยสัญญา (The Committee On Contracts)

3) คณะอนุกรรมการซึ่งคณะกรรมการคุมครองผูบริโภคและคณะกรรมการเฉพาะ

เรื่องแตงต้ังไดแก

3.1 คณะอนุกรรมการฝายกฎหมาย

3.2 คณะอนุกรรมการพิจารณากลั่นกรองเรื่องราวรองทุกขจากผูบริโภค

3.3 คณะอนุกรรมการฝายเผยแพรและประชาสัมพันธ

3.4 คณะอนุกรรมการสํารวจคุณภาพสินคาและปริมาณเพื่อการคุมครอง

สิทธิผูบริโภค

3.5 คณะอนุกรรมการติดตามสอดสองและวินิจฉัยการโฆษณา

4) สํานักงานคณะกรรมการคุมครองผูบริโภค (The Office Of The Consumer

Protection Board) เนื่องจากพระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภค พ.ศ.2522 และฉบับแกไขเพิ่มเติม

(ฉบับที่2) พ.ศ.2541 เปนกฎหมายที่มีผลบังคับใชทั่วราชอาณาจักรในแตละจังหวัดจะมีองคกรที่

แตงตั้ งโดยคณะกรรมการคุมครองผูบริ โภคเพื่อทําหนาที่ ในการคุมครองผูบริ โภคตาม

พระราชบัญญัติดังกลาวรวม 2 องคกร ไดแกคณะอนุกรรมการคุมครองผูบริโภคประจําจังหวัด (75

จังหวัด) และคณะอนุกรรมการผูมีอํานาจเปรียบเทียบความผิดที่เกิดขึ้นในจังหวัดอื่นนอกจาก

คณะกรรมการคุมครองผูบริโภคตามพระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภค

24 สํานักงานคณะกรรมการคุมครองผูบริโภค ,สืบคนเมื่อวันที่ 10 มกราคม 2558,

จาก, http://www.ocpb.go.th/main.php?filename=index.

Page 145: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

128

พ.ศ.2522 และแกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภค (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2541 ไดบัญญัติ

ใหการดําเนินการคุมครองผูบริโภคในรูปของคณะกรรมการประกอบดวย

1) นายกรัฐมนตรีเปนประธานกรรมการในทางปฏิบัติจะมอบหมายใหรัฐมนตรี

ประจําสํานักนายกรัฐมนตรีเปนประธาน

2) เลขาธิการนายกรัฐมนตรีเปนกรรมการ

3) ปลัดสํานักนายกรัฐมนตรีเปนกรรมการ

4) ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรมเปนกรรมการ

5) ปลัดกระทรวงพาณิชยเปนกรรมการ

6) ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณเปนกรรมการ

7) ปลัดกระทรวงมหาดไทยเปนกรรมการ

8) ปลัดกระทรวงคมนาคมเปนกรรมการ

9) เลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยาเปนกรรมการ

10) ผูทรงคุณวุฒิอีกไมเกิน 8 คนซึ่งคณะรัฐมนตรีแตงตั้งเปนกรรมการ

11) เลขาธิการคณะกรรมการคุมครองผูบริโภคเปนกรรมการและเลขานุการ

สําหรับอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการคุมครองผูบริโภคพระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภค

พ.ศ.2522 ที่บัญญัติใหอํานาจตามมาตรา 10 ใหคณะกรรมการคุม

ครองผูบริโภคมีอํานาจและหนาที่ดังตอไปนี้

(1) พิจารณาเรื่องราวรองทุกขจากผูบริโภคที่ไดรับความเดือดรอนหรือเสียหายอัน

เนื่องมาจากการกระทําของผูประกอบธุรกิจ

(2) ดําเนินการกับสินคาที่อาจเปนอันตรายแกผูบริโภคตามมาตรา 36

(3) แจงหรือโฆษณาขาวสารเกี่ยวกับสินคาหรือบริการที่อาจกอใหเกิดความ

เสียหายหรือเสื่อมเสียแกสิทธิของผูบริโภคในกรณีนี้อาจระบุชื่อสินคาหรือบริการหรือชื่อของผู

ประกอบธุรกิจดวยก็ได

(4) ใหคําปรึกษาและแนะนําแกคณะกรรมการเฉพาะเรื่องและพิจารณาวินิจฉัย

การอุทธรณคําสั่งของคณะกรรมการเฉพาะเรื่อง

(5) วางระเบียบเกี่ยวกับการปฏิบัติหนาที่ของคณะกรรมการเฉพาะเรื่องและ

คณะอนุกรรมการ

(6) สอดสองเรงรัดพนักงานเจาหนาที่สวนราชการหรือหนวยงานอื่นของรัฐให

ปฏิบัติตามอํานาจหนาที่ที่กฎหมายกําหนดตลอดจนเรงรัดพนักงานเจาหนาที่ใหดําเนินคดีใน

ความผิดเกี่ยวกับการละเมิดสิทธิของผูบริโภค

Page 146: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

129

(7) ดําเนินคดีเกี่ยวกับการละเมิดสิทธิของผูบริโภคที่คณะกรรมการเห็นสมควรหรือ

มีผูรองขอตามมาตรา 39

(8) รับรองสมาคมตามมาตรา 40

(9) เสนอความเห็นตอคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับนโยบายและมาตรการในการคุมครอง

ผูบริโภคและพิจารณาใหความเห็นในเรื่องใดๆที่เกี่ยวกับการคุมครองผูบริโภคตามที่คณะรัฐมนตรี

หรือรัฐมนตรีมอบหมาย

(10) ปฏิบัติการอื่นใดตามที่กฎหมายกําหนดไวให เปนอํานาจหนาที่ของ

คณะกรรมการในการปฏิบัติหนาที่นี้คณะกรรมการอาจมอบหมายใหสํานักงานคณะกรรมการ

คุมครองผูบริโภคเปนผูปฏิบัติการหรือเตรียมขอเสนอมายังคณะกรรมการเพื่อพิจารณาดําเนินการ

ตอไปได

3.1.8.3 สมาคมหรือมูลนิธิภาคเอกชนพระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภค พ.ศ.2522 มาตรา 40 บัญญัติวาสมาคมใดมี

วัตถุประสงคในการคุมครองผูบริโภคหรือตอตานการแขงขันอันไมเปนธรรมทางการคาและขอบังคับ

ของสมาคมดังกลาวในสวนที่เกี่ยวกับคณะกรรมการสมาชิกและวิธีการดําเนินการของสมาคม

เปนไปตามเงื่อนไขที่กําหนดในกฎกระทรวงสมาคมนั้นอาจยื่นคําขอใหคณะกรรมการรับรองเพื่อให

สมาคมนั้นมีสิทธิและอํานาจฟองตามมาตรา 41 ได25

การยื่นคําขอตามวรรคหนึ่งใหเปนไปตามหลักเกณฑและวิธีการที่กําหนดใน

กฎกระทรวงการรับรองสมาคมตามวรรคหนึ่งใหประกาศในราชกิจจานุเบกษา” และมาตรา 41

บัญญัติวา “ในการดําเนินคดีที่เกี่ยวกับการละเมิดสิทธิของผูบริโภคใหสมาคมที่คณะกรรมการ

รับรองตามมาตรา 40 มีสิทธิในการฟองคดีแพงคดีอาญาหรือดําเนินกระบวนพิจารณาใดๆในคดี

เพื่อคุมครองผูบริโภคไดและใหมีอํานาจฟองเรียกคาเสียหายแทนสมาชิกของสมาคมไดถามีหนังสือ

มอบหมายใหเรียกคาเสียหายแทนจากสมาชิกของสมาคม

ในการดําเนินคดีตามวรรคหนึ่งมิใหสมาคมถอนฟองเวนแตศาลจะอนุญาตเมื่อ

ศาลเห็นวาการถอนฟองนั้นไมเปนผลเสียตอการคุมครองผูบริโภคเปนสวนรวมสําหรับคดีแพง

เกี่ยวกับการเรียกคาเสียหายแทนสมาชิกของสมาคมการถอนฟองหรือการพิพากษาในกรณีที่

คูความตกลงหรือประนีประนอมยอมความกันจะตองมีหนังสือแสดงความยินยอมของสมาชิกผู

มอบหมายใหเรียกคาเสียหายแทนมาแสดงตอศาลดวย”

25 สุภัทร แสงประดับ, แหลงเดิม, หนา 108.

Page 147: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

130

กลาวคือสมาคมเฉพาะที่คณะกรรมการคุมครองผูบริโภคสํานักงานคณะกรรมการ

คุมครองผูบริโภครับรองแลวเทานั้นมีสิทธิในการฟองคดีแพงคดีอาญาหรือดําเนินกระบวนพิจารณา

ใด ๆ ในคดีเพื่อคุมครองผูบริโภคไดและใหมีอํานาจฟองเรียกคาเสียหายแทนสมาชิกของสมาคมได

ถามีหนังสือมอบหมายใหเรียกคาเสียหายแทนจากสมาชิกของสมาคมสําหรับการจัดตั้งดําเนินงาน

ของสมาคมจะเปนไปตามระเบียบคณะกรรมการคุมครองผูบริโภควาดวยการดําเนินการของ

สมาคมเกี่ยวกับการฟองคดีและการใชสิทธิและอํานาจฟองของสมาคม พ.ศ.2540 ซึ่งเปนทางเลือก

หนึ่งของผูบริโภคที่จะรองเรียนหรือใหหนวยงานเหลานี้ดําเนินคดีแทนใหนอกจากที่ระบุไวในมาตรา

39

การฟองคดีโดยสมาคมนี้กฎหมายไดกําหนดรายละเอียดเกี่ยวกับคุณสมบัติของ

สมาคมและขั้นตอนการดําเนินคดีไวเพื่อความเปนธรรมแกทุกฝายที่เกี่ยวของและปองกันการ

ดําเนินการเพื่อผลประโยชนของบุคคลหรือกลุมบุคคลหรือการแสวงหาประโยชนโดยมิชอบ

เนื่องจากกรณีนี้เปนการใหอํานาจแกบุคคลที่มิใชเปนผูถูกโตแยงสิทธิหรือเปนผูเสียหายที่มีสิทธิใน

การฟองคดีโดยตรงและมิใชเปนกรณีที่ใหอํานาจแกหนวยงานของรัฐในการดําเนินคดีเพื่อประโยชน

แกผูบริโภคพระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภคฯกําหนดรายละเอียดเกี่ยวกับสมาคมที่จะมีสิทธิและมี

อํานาจฟองคดีแทนผูบริโภคดังนี้

1) การรับรองสมาคม

สมาคมที่จะมีสิทธิและมีอํานาจฟองคดีแทนผูบริโภคไดนั้นตองเปนสมาคมที่ไดรับ

การรับรองโดยคณะกรรมการคุมครองผูบริโภคซึ่งตองเปนไปตามเงื่อนไขดังนี้

1.1 ตองจดทะเบียนเปนสมาคมตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย

1.2 วัตถุประสงคหลักของสมาคมตองเปนการคุมครองผูบริโภคหรือตอตานการ

แขงขันอันไมเปนธรรมทางการคา

1.3 ขอบังคับของสมาคมตองกําหนดเกี่ยวกับสมาชิกและกรรมการรวมทั้งการ

ดําเนินการเกี่ยวกับการฟองคดีซึ่งสมาคมจะตองกําหนดวิธีการดําเนินการของสมาคมเกี่ยวกับการ

ฟองคดีไวไนขอบังคับใหเปนไปตามที่กําหนดในกฎกระทรวง

1.4 สมาคมใดมีวัตถุประสงคและมีขอบังคับสมาคมเปนไปตามเงื่อนไขที่กําหนด

สมาคมนั้นอาจยื่นขอใหคณะกรรมการคุมครองผูบริโภครับรองเพื่อใหสมาคมมีสิทธิและอํานาจฟอง

คดีแพงคดีอาญาหรือดําเนินกระบวนพิจารณาใด ๆ เพื่อคุมครองผูบริโภครวมทั้งมีอํานาจฟองรอง

เรียกคาเสียหายแทนสมาชิกของสมาคมไดตามหลักเกณฑและวิธีการที่กําหนดในกฎกระทรวง

1.5 นอกจากตองปฏิบัติตามกฎหมายทั้งประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยและ

กฎหมายอื่นแลวสมาคมที่ไดรับการรับรองจากคณะกรรมการคุมครองผูบริโภคตองปฏิบัติตาม

Page 148: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

131

ระเบียบที่คณะกรรมการคุมครองผูบริโภคกําหนดดวยสมาคมใดมิไดปฏิบัติตามกฎหมายและ

ระเบียบตาง ๆ ที่เกี่ยวของหรือเมื่อมีพฤติการณปรากฏวาสมาคมนั้นดําเนินการเพื่อฟองคดีโดยไม

สุจริตคณะกรรมการคุมครองผูบริโภคมีอํานาจเพิกถอนการรับรองสมาคมนั้นได

ทั้งนี้เพื่อเปนการปองกันการกระทําอันอาจกอใหเกิดความเสียหายแกผูประกอบ

ธุรกิจโดยไมเปนธรรมกฎหมายไดกําหนดโทษทางอาญาแกผูที่มีเจตนาทุจริตใชจางวานยุยงหรือ

ดําเนินการใหสมาคมฟองรองผูประกอบธุรกิจเพื่อกลั่นแกลงใหผูประกอบธุรกิจไดรับความเสียหาย

และเพื่อเปนการกํากับเกี่ยวกับการดําเนินการของสมาคมโดยเฉพาะเกี่ยวกับการฟองคดีระเบียบ

คณะกรรมการคุมครองผูบริโภควาดวยการดําเนินการของสมาคมเกี่ยวกับการฟองคดีและการใช

สิทธิและอํานาจฟองของสมาคมพ.ศ.2540 กําหนดใหสมาคมตองสงทะเบียนสมาชิกรายงานการ

ประชุมใหญของสมาคมสําเนารายงานประจําปงบดุลฯลฯใหสํานักงานคณะกรรมการคุมครอง

ผูบริโภคดวย

2) เงื่อนไขการดําเนินคดีโดยสมาคมที่ไดรับการรับรองแลวโดยสรุปมีดังนี้

2.1 สมาคมมีสิทธิและมีอํานาจฟองคดีแพงคดีอาญาหรือดําเนินกระบวนพิจารณา

ใดในคดีเพื่อคุมครองผูบริโภคไดไมวาจะมีผูบริโภครองเรียนตอสมาคมหรือไม

2.2 กอนที่สมาคมจะดําเนินคดีเกี่ยวกับการละเมิดสิทธิของผูบริโภคตองดํานินการ

ใหมีการรวบรวมพยานหลักฐานทุกชนิดใหเพียงพอและกอนลงมติใหฟองหรือไมฟองคณะกรรมการ

สมาคมตองไดรับฟงความเห็นเกี่ยวกับผลทางกฎหมายจากผูตรวจคดีซึ่งคณะกรรมการสมาคม

แตงตั้งจากบุคคลซึ่งมีคุณวุฒิไมต่ํากวาปริญญาตรีทางนิติศาสตรทั้งนี้การลงมติในเรื่องดังกลาวให

คณะกรรมการของสมาคมคํานึงถึงประโยชนของผูบริโภคสิทธิของบุคคลในการประกอบกิจการและ

ความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นแกทั้งผูบริโภคและผูประกอบธุรกิจดวยเปนตน

ดังนั้นหนวยงานที่มีหนาที่ควบคุมกํากับตรวจสอบและดูแลฉลากอาหารที่กอใหเกิดการ

ภูมิแพ ปจจุบันยังคงมีปญหากลาวคือเนื่องจากการตรวจสอบอาหารที่กอใหเกิดการภูมิแพตองใช

เทคโนโลยีในระดับสูงและคาใชจายสูงเพราะอาจใชหองแล็บในการตรวจพิสูจนความเสียหายที่มี

ผลกระทบตอผูบริโภค ซึ่งมีอยูตามหนวยงานของรัฐเปนสวนใหญในการคุมครองผูบริโภคตาม

อํานาจและหนาที่ของรัฐที่ใหความคุมครองสิทธิของผูบริโภคโดยตรง ตามพระราชบัญญัติคุมครอง

ผูบริโภค พุทธศักราช 2522 แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภค (ฉบับที่ 2)

พ.ศ.2541 กําหนดใหคุมครองผูบริโภคตามกฎหมายคุมครองเพื่อใหผูบริโภคไดรับความปลอดภัย

ในการใชสินคาและการรับบริการเชนกฎหมายคุมครองผูบริโภคพุทธศักราช2522 โดยกระทรวง

สาธารณสุขโดยสํานักงานคุมครองผูบริโภคมีหนาที่ใหความคุมครองผูบริโภคโดยทั่วไป เทานั้น

Page 149: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

132

ตราบใดที่หนวยงานของรัฐไมออกกฎหมายบังคับใหมีฉลากภูมิแพอาหารโดยตรงความคุมครอง

ผูบริโภคก็ยังไมมีประสิทธิภาพตรงตามเจตนารมณของการคาครองผูบริโภคโดยตรงยางแทจริง

3.1.9 หลักความรับผิดตอความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินคาที่ไมปลอดภัยแมวาประเทศไทยยังมิไดมีการบัญญัติกฎหมายวาดวยฉลากอาหารที่กอใหเกิดการภูมิแพ

แตพิจาณากฎหมายที่เกี่ยวของหากปรากฏวาผูบริโภคไดรับความเสียหายจากสินคาดังกลาวยอมมี

สิทธิที่จะฟองรองและเรียกคาเสียหายจากผูประกอบการตามกฎหมายตามพระราชบัญญัติความ

รับผิดความเสียหายที่ เกิดจากสินคาที่ ไมปลอดภัย พ.ศ.2551 เหตุผลที่มีการประกาศใช

พระราชบัญญัติความรับผิดความเสียหายที่เกิดจากสินคาที่ไมปลอดภัย พ.ศ.2551 โดย เริ่มบังคับ

ใชในวันที่ 20 กุมภาพันธ 2552 เปนตนไปนั้น คือ สินคาในปจจุบันไมวาจะเปนผลิตภัณฑภายใน

ประเทศหรือนําเขา ซึ่งมีกระบวนการในการผลิตที่ใชความรูทางวิทยาศาสตร และเทคโนโลยีชั้นสูง

ขึ้นการที่ผูบริโภคจะตรวจพบวาสินคานั้น ๆ ไมปลอดภัยเปนเรื่อง ที่ยากอยางยิ่งเมื่อผูบริโภคนํา

สินคาที่ปลอด ภัยไปใชอาจกอใหเกิดอันตรายตอชีวิต ราง กายสุขภาพ อนามัย จิตใจ หรือทรัพยสิน

ของผูบริโภค หรือบุคคลอื่น แตการฟองรองคดีเรียกรองคาเสียหายมีความยุงยากอยางยิ่งจึงมี

กฎหมายวาดวยความรับผิดความเสียหายที่เกิดจากสินคาที่ไมปลอดภัยซึ่งกฎหมายมีสาระสําคัญ

ดังนี้

1) คําจํากัดความที่สําคัญ

“ผลิต”หมายความวา ทําผสมปรุง แตง ประกอบ ประดิษฐแปรสภาพ เปลี่ยนรูป ดัดแปลง

คัดเลือก แบงบรรจุ แชเยือกแข็ง หรือฉายรังสีรวมถึงการกระทําใดๆ ที่มีลักษณะทํานองเดียวกัน26

“ผูเสียหาย” หมายความวาผูไดรับความเสียหายอันเกิดจากสินคาที่ไมปลอดภัย

“ความเสียหาย” หมายความวา ความเสียหายที่เกิดจากสินคาที่ไมปลอดภัยไมวาจะเปน

ความเสียหายตอชีวิต รางกาย สุขภาพ อนามัย จิตใจ หรือทรัพยสินทั้งนี้ไมรวมถึงความเสียหายตอ

ตัวสินคาที่ไมปลอดภัยนั้น

“ความเสียหายตอจิตใจ” หมาย ความวา ความเจ็บปวด ความทุกขทรมาน ความ

หวาดกลัวความวิตกกังวล ความเศรา โศกเสียใจ ความอับอายหรือความเสียหายตอจิตใจอยางอื่น

ที่มีลักษณะทํานองเดียวกัน

“สินคาที่ไมปลอดภัย” หมายความวาสินคาที่กอหรืออาจกอใหเกิดความเสียหายขึ้นได ไม

วาจะเปนเพราะเหตุจากความบกพรอง ในการผลิตหรือการออกแบบ หรือไมไดกําหนดวิธีใช วิธีเก็บ

รักษา คําเตือนหรือขอมูลที่เกี่ยวกับสินคา หรือกําหนดไวแตไมถูกตองหรือไมชัดเจนตามสมควรทั้งนี้

26 พระราชบัญญัติความรับผิดความเสียหายที่เกิดจากสินคาที่ไมปลอดภัย พ.ศ.2551มาตรา 4.

Page 150: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

133

โดยคํานึงถึงสภาพของสินคา รวมทั้งลักษณะการใชงานและการเก็บรักษาตามปกติธรรมดาของ

สินคาอันพึงคาดหมายได

“ขาย” หมายความวา จําหนาย จาย แจก หรือแลกเปลี่ยนเพื่อประโยชนทาง การคาและให

ความหมายรวมถึงใหเชา ใหเชาซื้อ จัดหา ตลอดจนเสนอ ชักชวนหรือนําออกแสดงเพื่อการดังกลาว

“นําเขา” หมายความวา นําหรือสั่งสินคาเขามาในราชอาณาจักรเพื่อขาย

“ผูประกอบการ” หมายความวา

(1) ผูผลิต หรือผูวาจางใหผลิต

(2) ผูนําเขา

(3) ผูขายสินคาที่ไมสามารถระบุตัวผูผลิต ผูวาจางใหผลิตหรือผูนําเขาได

(4) ผูซึ่งใชชื่อ ชื่อทางการคา เครื่องหมายการคา เครื่องหมายขอความหรือแสดงดวยวิธี

ใดๆ อันมีลักษณะที่จะทําใหเกิดความเขาใจไดวาเปนผูผลิตผูวาจางใหผลิต หรือผูนําเขา

2) หนาที่และความรับผิดของผูประกอบการ

ตามพระราชบัญญัติความรับผิดความเสียหายที่เกิดจากสินคาที่ไมปลอดภัยพ.ศ.2551 ได

กําหนดหนาที่และความรับผิดของผูประกอบการไวดังนี้

(1) ผูประกอบการทุกคนตองรวมกันรับผิดชอบผูเสียหายในความเสียหายที่เกิดจากสินคา

ที่ไมปลอดภัย และสินคานั้นไดมีการขายใหกับผูบริโภคแลวไมวาความเสียหายนั้นจะเกิดจากการ

กระทําโดยจงใจหรือประมาทเลินเลอของผูประกอบการหรือไมก็ตาม27

(2) ผูประกอบการไมตองรับผิดตอความเสียหายอันเกิดจากสินคาที่ไมปลอดภัยหากพิสูจน

ไดวา

(2.1) สินคานั้นมิไดเปนสินคาที่ไมปลอดภัย

(2.2) ผูเสียหายไดรูอยูแลววา สินคานั้นเปนสินคาที่ไมปลอดภัย หรือ

(2.3) ความเสียหายเกิดขึ้นจากการใชหรือเก็บรักษาสินคาไมถูกตองตามวิธีใชวิธี

เก็บรักษา คําเตือนหรือขอมูลเกี่ยวกับสินคาที่ผูประกอบการไดกําหนดไวอยางถูกตองและชัดเจน

ตามสมควรแลว

(2.4) ผูผลิตตามคําสั่งของผูวาจางใหผลิตไมตองรับผิดหากพิสูจนไดวาความไมปลอดภัย

ของสินคาเกิดจากการออกแบบ ของผูวาจางใหผลิตหรือจากการ ปฏิบัติตามคําสั่งของผูวาจางให

ผลิต ทั้งผูผลิตไมไดคาดเห็นและไมควรจะไดคาดเห็นถึงความไมปลอดภัย

27 พระราชบัญญัติความรับผิดความเสียหายที่เกิดจากสินคาที่ไมปลอดภัยพ.ศ.2551มาตรา 6-7.

Page 151: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

134

ผูผลิตสวนประกอบของสินคาไมตองรับผิดหากพิสูจนไดวาความไมปลอดภัยของสินคาเกิด

จากการออกแบบหรือประกอบหรือการกําหนดวิธีใชวิธีเก็บรักษา คําเตือน หรือการใหขอมูล

เกี่ยวกับสินคาของผูผลิตสินคานั้น

3) การฟองรองดําเนินคดี

ผูเสียหายหรือผูมีสิทธิฟองคดีเพื่อใหผูประกอบการตองรับผิดตามาตรา 528จะตองพิสูจนวา

ผูเสียหายไดรับความเสียหายจากสินคาของผูประกอบการและการใชหรือเก็บรักษาสินคานั้นเปนไป

ตามปกติธรรมดาแตไมตองพิสูจนวาความเสียหายเกิดจากการกระทําของผูประกอบการผูใด ทั้ ง นี้

นอกจากคาสินไหมทดแทนเพื่อละเมิดตามที่กําหนดไวในประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยศาลมี

อํานาจกําหนดคาสินไหมทดแทนเพื่อความเสียหาย ตามหลักเกณฑดังตอไปนี้ดวย

(1) คาเสียหายสําหรับความเสียหายตอจิตใจอันเปนผลเนื่องมาจากความเสียหายตอ

รางกาย สุขภาพ หรืออนามัยของผูเสียหายและหากผูเสียหายถึงแกความตาย สามี ภริยา บุพการี

หรือผูสืบสันดานของบุคคลนั้นชอบที่จะไดรับคาเสียหายสําหรับความเสียหายตอจิตใจ

(2) หากขอเท็จจริงปรากฏวา ผูประกอบ การไดผลิต นําเขาหรือขายสินคาโดยรูอยูแลววา

สินคานั้นเปนสินคาที่ไมปลอดภัยหรือมิไดรูเพราะประมาทเลินเลออยางรายแรง หรือเมื่อรูวาสินคา

ไมปลอดภัยภายหลังจากการผลิต นําเขา หรือขายสินคานั้นแลวไมดําเนินการใดๆตามสมควรเพื่อมิ

ใหเกิดความเสียหาย ใหศาลสั่งใหมีการดําเนินการผูประกอบการจายคา สินไหมทดแทน เพื่อการ

ลงโทษเพิ่มขึ้น จากจํานวนคาสินไหมทดแทน ที่แทจริงที่ศาลกําหนดตามที่ศาลเห็นสมควร แตไม

เกินสองเทาของคาสินไหมทดแทนที่แทจริงนั้นเปนตน

ดังนั้นปญหากฎหมายเกี่ยวกับการเยียวยาผูบริโภคที่ไดรับความเสียหายจากการบริโภค

อาหารที่กอใหเกิดภูมิแพยังคงมีปญหาในเรื่องการดําเนินการจึงจําเปนตองบัญญัติกฎหมาย

เกี่ยวของกับฉลากอาหารเตินภัยผูบริโภคที่กอใหเกิดภูมิแพเปนการเฉพาะบัญญัติไวเปนหลักเกณฑ

เพื่อคุมครองสิทธิผูบริโภคซึ่งถือวาเปนประโยชนอยางมากทําใหผูบริโภคไดรับประโยชนผูบริโภค

มากที่สุด

3.1.10 หลักการเยียวยาความเสียหายของผูบริโภคตามกฎหมาย3.1.10.1 การเยียวยาความเสียหายตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณา

จักรไทย พุทธศักราช 2550ตามกฎหมายรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550 เปนรัฐธรรมนูญฉบับ

ที่ใหความสําคัญของการคุมครองผูบริโภคมากขึ้นกวาเดิมทั้งนี้กฎหมายดังกลาวไดบัญญัติถึงสิทธิ

ของผูบริโภคไวเชน

28 แหลงเดิม

Page 152: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

135

(1) กฎหมายกําหนดใหบุคคลยอมมีเสรีภาพในการประกอบกิจการหรือประกอบ

อาชีพและการแขงขันโดยเสรีอยางเปนธรรมและอาจถูกจํากัดสิทธิทั้งนี้ตามมาตรา 4329ดังกลาวได

โดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมายเฉพาะเพื่อประโยชนในการรักษาความมั่นคงของรัฐ

หรือเศรษฐกิจของประเทศการคุมครองประชาชนในดานสาธารณูปโภคการรักษาความสงบ

เรียบรอยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชนการจัดระเบียบการประกอบอาชีพการคุมครองผูบริโภค

การผังเมืองการรักษาทรัพยากรธรรมชาติหรือสิ่งแวดลอมสวัสดิภาพของประชาชนหรือเพื่อปองกัน

การผูกขาดหรือขจัดความไมเปนธรรมในการแขงขันซึ่งมีลักษณะจํากัดสิทธิเชนเดียวกับรัฐธรรมนูญ

แหงราชอาณาจักรไทยพ.ศ.2540

(2) กําหนดใหสิทธิของบุคคลซึ่งเปนผูบริโภคยอมไดรับความคุมครองตามมาตรา

6130ในการไดรับขอมูลที่เปนความจริงและมีสิทธิรองเรียนเพื่อใหไดรับการแกไขเยียวยาความ

เสียหายรวมทั้งมีสิทธิรวมตัวกันเพื่อพิทักษสิทธิของผูบริโภคโดยใหมีองคการเพื่อการคุมครอง

ผูบริโภคที่เปนอิสระจากหนวยงานของรัฐซึ่งประกอบดวยตัวแทนผูบริโภคทําหนาที่ใหความเห็นเพื่อ

ประกอบการพิจารณาของหนวยงานของรัฐในการตราและการบังคับใชกฎหมายและกฎและให

ความเห็นในการกําหนดมาตรการตางๆ เพื่อคุมครองผูบริโภครวมทั้งตรวจสอบและรายงานการ

กระทําหรือละเลยการกระทําอันเปนการคุมครองผูบริโภคทั้งนี้ใหรัฐสนับสนุนงบประมาณในการ

ดําเนินการขององคการอิสระดังกลาวดวยจะเห็นไดชัดเจนเลยวารัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

29มาตรา43บุคคลยอมมีเสรีภาพในการประกอบกิจการหรือประกอบอาชีพและการแขงขันโดยเสรีอยาง

เปนธรรม

การจํากัดเสรีภาพตามวรรคหนึ่งจะกระทํามิไดเวนแตโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมาย

เฉพาะเพื่อประโยชนในการรักษาความมั่นคงของรัฐหรือเศรษฐกิจของประเทศการคุมครองประชาชนในดาน

สาธารณูปโภคการรักษาความสงบเรียบรอยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชนการจัดระเบียบการประกอบอาชีพ

การคุมครองผูบริโภคการผังเมืองการรักษาทรัพยากรธรรมชาติหรือสิ่งแวดลอมสวัสดิภาพของประชาชนหรือเพื่อ

ปองกันการผูกขาดหรือขจัดความไมเปนธรรมในการแขงขัน30 มาตรา61สิทธิของบุคคลซึ่งเปนผูบริโภคยอมไดรับความคุมครองในการไดรับขอมูลที่เปนความจริง

และมีสิทธิรองเรียนเพื่อใหไดรับการแกไขเยียวยาความเสียหายรวมทั้งมีสิทธิรวมตัวกันเพื่อพิทักษสิทธิของ

ผูบริโภค

ใหมีองคการเพื่อการคุมครองผูบริโภคที่เปนอิสระจากหนวยงานของรัฐซึ่งประกอบดวยตัวแทนผูบริโภค

ทําหนาที่ใหความเห็นเพื่อประกอบการพิจารณาของหนวยงานของรัฐในการตราและการบังคับใชกฎหมายและกฎ

และใหความเห็นในการกําหนดมาตรการตางๆเพื่อคุมครองผูบริโภครวมทั้งตรวจสอบและรายงานการกระทําหรือ

ละเลยการกระทําอันเปนการคุมครองผูบริโภคทั้งนี้ใหรัฐสนับสนุนงบประมาณในการดําเนินการขององคการอิสระ

ดังกลาวดวย.

Page 153: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

136

พ.ศ.2550 กําหนดสิทธิการไดรับชดใชเยียวยาของผูบริโภคการจัดตั้งองคกรอิสระและมีสิทธิไดรับ

การจัดสรรงบประมาณจากรัฐชัดเจนกวาที่ผานมาเนื่องจากเห็นปญหาการขาดบทบาทภาค

ประชาชนที่จะเขามามีสวนรวมในการคุมครองผูบริโภคกฎหมายรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

พุทธศักราช 2550 ซึ่งเปนฉบับที่ใหความสําคัญในเรื่องการเยียวยาความเสียหายเรื่องเหลานี้เปน

พิเศษเปนตน31

3.1.10.2 การเยียวยาความเสียหายตามพระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีผูบริโภคพ.ศ.2551

เนื่อง จากในคดีผูบริโภค ผูประกอบธุรกิจและผูบริโภคอาจขาดความพรอมและความ

ชํานาญในการทําคําฟองให ถูกตองตามแบบที่กฎหมายกําหนด การบัญญัติกฎหมายขึ้นมาเพื่อ

เปนประโยชนตอผูบริโภคเองจะชวยอํานวยความสะดวกใหแกคูกรณีดวยการกําหนด ใหการฟอง

คดีผูบริโภคนั้นผูบริโภคจะทําคําฟองเปนหนังสือหรือฟองคดีดวยวาจา ก็ไดโดยดําเนินการตาม

พระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีผูบริโภค พ.ศ.2551ในกรณีที่ประสงคจะฟองดวยวาจาให“เจา

พนักงานคดี” ซึ่งเปนเจาหนาที่ของศาลและแตงตั้งโดยเลขาธิการสํานักงานศาลยุติธรรมจัด ใหมี

การทําบันทึกรายละเอียดแหงคําฟองแลวใหผูฟองลงลายมือชื่อไวเปนสําคัญ เพื่อความสะดวกใน

การดําเนินคดีผูบริ โภคที่ ไดรับความเดือดรอนเสียหายจากการใชสินคาหรือบริการจาก

ผูประกอบการ ผูบริโภคสามารถใชสิทธิดําเนินการกับผูประกอบการได 2 กรณีคือ

1) รองทุกขตอสํานักงานคณะกรรมการคุมครองผูบริโภค (ส.ค.บ.)

กรณีรองทุกขตอสํานักงานคณะกรรมการคุมครอง ผูบริโภค (ส.ค.บ.) ผูบริโภคสามารถเขา

รองทุกขตอเจาหนาที่ สํานักงานคณะกรรมการคุมครองผูบริโภค ไดเองโดยตรง เมื่อเจาหนาที่รับ

เรื่องราวที่รองทุกขไวแลว เจาหนาที่จะดําเนินการเรียกไดผูประกอบการใหมาชี้แจงขอเท็จจริง เพื่อมี

คําสั่งตอไปแตคณะกรรมการคุมครองผู บริโภคไมมีอํานาจสั่งใหผูประกอบการชดใชคาเสียหาย

ใหแกผูบริโภคได เวนแตในกรณีที่คณะกรรมการเห็นสมควรเขาดําเนินคดีเกี่ยวกับการละเมิดสิทธิ

31 มาตรา 40“บุคคลยอมมสีิทธิในกระบวนการยุติธรรม ดังตอไปนี้

(1) สิทธิเขาถึงกระบวนการยุติธรรมไดโดยงาย สะดวก รวดเร็ว และทั่วถึง

(2) สิทธิพื้นฐานในกระบวนพิจารณา ซึ่งอยางนอยตองมีหลักประกันขั้นพื้นฐานเรื่อง การไดรับการ

พิจารณาโดยเปดเผยการไดรับทราบขอเท็จจริงและตรวจเอกสารอยางเพียงพอ การเสนอขอเท็จจริง ขอโตแยง

และพยานหลักฐานของตน การคัดคานผูพิพากษาหรือตุลาการ การไดรับการพิจารณาโดยผูพิพากษาหรือตุลา

การที่นั่งพิจารณาคดีครบองคคณะ และการไดรับทราบเหตุผลประกอบคําวินิจฉัย คําพิพากษา หรือคําสั่ง

(3) บุคคลยอมมีสิทธิที่จะใหคดีของตนไดรับการพิจารณาอยางถูกตอง รวดเร็ว และเปนธรรม

(4) ในคดีแพง บุคคลมีสิทธิไดรับความชวยเหลือทางกฎหมายอยางเหมาะสมจากรัฐ”

Page 154: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

137

ของผูบริโภคหรือเมื่อไดรับคํารองทุกขจากผูบริโภคที่ถูกละเมิดสิทธิ หากคณะกรรมการเห็นวาการ

ดําเนินคดีนั้นจะเปนประโยชนแกผูบริโภคสวนรวมคณะกรรมการมีอํานาจแตงตั้งพนักงานอัยการ

โดยความเห็นชอบ ของอัยการสูงสุด หรือเจาหนาที่คุมครองผูบริโภค เพื่อใหมีอํานาจดําเนินคดีแพง

หรือคดีอาญาแกผูกระทําการละเมิดสิทธิของผู บริโภคในศาล โดยในการดําเนินคดีในศาลนั้น

เจาหนาที่คุมครองผูบริโภคมีอํานาจฟองเรียกทรัพยสินหรือคาเสียหายให แกผูบริโภคไดตาม

พระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีผูบริโภค พ.ศ.255132 โดยไดรับรับการยกเวนคาฤชาธรรมเนียมศาล

ทั้งหมดตามมาตรา 1833ซึ่งขั้นตอนในการดําเนินการอาจยุงยากหลายขั้นตอนและใชเวลานานไม

สะดวกแก ผูบริโภคเทาที่ควร รวมทั้งอาจไมตรงกับความประสงคของผูบริโภคเองที่ตองการไดรับ

การเยียว ยาความเสียหายที่เกิดขึ้นโดยเร็ว

2) กรณีผูบริโภคฟองคดีเอง

ผูบริ โภคที่ไดรับความเดือดรอนเสียหายจาก การใชสินคาหรือบริการจาก

ผูประกอบการสามารถฟอง คดีเองได โดยในเบื้องตนผูบริโภคสามารถยื่นฟองผูประกอบการตอ

ศาลที่เปนภูมิลําเนา ของผูบริโภคเองหรือจะฟองตอศาลที่ผูประกอบการมีภูมิลําเนาอยูก็ไดแลว

ตามมาตรา 17“ในกรณีที่ผูประกอบธุรกิจจะฟองผูบริโภคเปนคดีผูบริโภคและผูประกอบธุรกิจมีสิทธิ

เสนอคําฟองตอศาลที่ผูบริโภคมีภูมิลําเนาอยูในเขตศาลหรือตอศาลอื่นไดดวย ใหผูประกอบธุรกิจ

เสนอคําฟองตอศาลที่ผูบริโภคมีภูมิลําเนาอยูในเขตศาลไดเพียงแหงเดียว” ทั้งนี้แตความสะดวก

ของผูบริโภคเองซึ่งในการยื่นคําฟอง นั้น ผูบริโภคสามารถฟองคดีดวยวาจาหรือยื่นคําฟองเปน

หนังสือก็ได กรณีที่ฟองดวยวาจา เจาพนักงานคดีจะจัดใหมีการบันทึกรายละเอียดแหงคําฟองและ

ใหผูบริโภคซึ่ง เปนโจทกลงลายมือชื่อไวเปนสําคัญ สวนการยื่นคําฟองเปนหนังสือนั้น หากผูบริโภค

ไมสามารถรางคําฟองไดเอง อาจจะเปนเพราะไมมีความรูดานกฎหมาย ผูบริโภคสามารถขอใหเจา

พนักงานคดีที่ประจําศาลนั้นชวยรางคําฟองตลอดจนจัด ทําบัญชีระบุพยานใหได โดยเลา

ขอเท็จจริงและความเสียหายที่ไดรับจากการใชสินคาหรือบริการให เจาพนักงานคดีฟง พรอมทั้งยื่น

เอกสารประกอบ(ถาหากมี)เพื่อใหเจาพนักงานคดีใชเปนขอมูล ประกอบการรางคําฟองและจัดทํา

32 มาตรา 19ใหคณะกรรมการคุมครองผูบริโภคหรือสมาคมที่คณะกรรมการคุมครองผูบริโภครับรอง

ตามกฎหมายวาดวยการคุมครองผูบริโภค มีอํานาจฟองและดําเนินคดีผูบริโภคแทนผูบริโภคไดโดยใหนํา

บทบัญญัติเกี่ยวกับการฟองและการดําเนินคดีแทนตามกฎหมายดังกลาวมาใชบังคับโดยอนุโลม33 มาตรา 18 ภายใตบังคับของกฎหมายวาดวยความรับผิดตอความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินคาที่ไม

ปลอดภัย การยื่นคําฟองตลอดจนการดําเนินกระบวนพิจารณาใด ๆ ในคดีผูบริโภคซึ่งดําเนินการโดยผูบริโภคหรือ

ผูมีอํานาจฟองคดีแทนผูบริโภคใหไดรับยกเวนคาฤชาธรรมเนียมทั้งปวง แตไมรวมถึงความรับผิดในคาฤชาธรรม

เนียมในชั้นที่สุด.

Page 155: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

138

บัญชีระบุพยาน ซึ่งหากคําฟองขาดตกบกพรองในสาระสําคัญบางประการ ศาลมีอํานาจสั่งให

ผูบริโภคซึ่งเปนโจทกแกไขคําฟองได กรณีนี้จะแตกตางจากคําฟองคดีสามัญทั่วไปที่ศาลไมมี

อํานาจสั่งใหโจทกแกไข คําฟองไดนอกจากนี้ในการยื่นฟองดังกลาวนั้น ผูบริโภคจะไดรับยกเวนคา

ฤชาธรรมเนียมศาลทั้งปวงเชนเดียวกับคณะกรรมการผูบริโภคฟองคดีแทน

ภายหลังจากยื่นฟองแลว ศาลจะกําหนดนัดพิจารณาภายใน 1 เดือน

กระบวนพิจารณาคดีผูบริโภคนั้นมีเจตนารมณเพื่อใหเกิด ความสะดวกรวดเร็วและเปนธรรมแก

ผูบริโภคโดยกอน เริ่มพิจารณาศาลจะใหคูความไกลเกลี่ยกันกอนหากไกลเกลี่ยกันแลวสามารถ ตก

ลงกันได คดีก็เสร็จสิ้นการพิจารณาในนัดพิจารณาเพียงนัดเดียว

แต หากคดีไมสามารถตกลงกันไดและจําเลยที่เปนผูประกอบการยื่นคําใหการ

ตอสู คดี ศาลจะสอบถามคูความเกี่ยวกับพยานที่จะนําพยานเขาสืบทั้งพยานบุคคลและพยาน

เอกสาร และศาลจะกําหนดวันนัดสืบพยานโจทกและจําเลยโดยเร็วเชนกัน ซึ่งจะเร็วหรือชาเพียงใด

ก็แลวแตวาศาลนั้นมีคดีคางพิจารณาอยูมากนอย เพียงใด โดยในชั้นพิจารณาสืบพยานผูบริโภค

จําเปน ตองมีทนายความคอยชวยเหลือเพื่อทําหนาที่วาความให เพราะแมตาม พระราชบัญญัติวิธี

พิจารณาคดีผูบริโภค พ.ศ.2551 กฎหมายจะกําหนดใหศาลมีอํานาจถามพยานเองไดก็ตาม แต

หากผูบริโภคซึ่งเปนโจทกยื่นฟองคดีเองแลวไมมีทนายความคอยชวยเหลือ ทําหนาที่วาความ โดย

การนําพยานเขาสืบ ถามคานพยานจําเลย แลวยอมทําใหการดําเนินกระบวนพิจารณาในชั้น

สืบพยานโจทกหรือถามคานพยาน จําเลย เสียเปรียบคูความอีกฝายหนึ่งที่มีทนายความคอย

ชวยเหลือวาความแกตางให ซึ่งอาจสงผลกระทบแกทานจนถึงขั้นแพคดีได นอกจากนี้ศาลเองก็ไม

อาจแตงตั้งทนายความใหแกโจทกที่เปนผูบริโภคได เหมือนเชนคดีอาญาเปนตน

3.1.10.3 ระยะเวลาในการเยียวยาคาเสียหายตามพระราชบัญญัติความรับผิดตอความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินคาที่ไมปลอดภัย พ.ศ.2551

ตามพระราชบัญญัติความรับผิดตอความเสียหายที่ เกิดขึ้นจากสินคาที่ไม

ปลอดภัยพ.ศ.2551 เปนผลมาจากการคุมครองผูบริโภค ตามพระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภค

พ.ศ.2522 (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2541 มาตรา 4 บัญญัติวา“ ผูเสียหาย” หมายความวาผูไดรับความเสีย

หายอันเกิดจากสินคาที่ไมปลอดภัยและ“ความเสียหาย” หมายความวาความเสียหายที่เกิดจาก

สินคาที่ไมปลอดภัยไมวาจะเปนความเสียหายตอชีวิตรางกายสุขภาพอนามัยจิตใจหรือทรัพยสิน

ทั้งนี้ไมรวมถึงความเสียหายตอตัวสินคาที่ไมปลอดภัยนั้น“ความเสียหายตอจิตใจ” หมายความวา

ความเจ็บปวดความทุกขทรมานความหวาดกลัวความวิตกกังวลความเศราโศกเสียใจความอับอาย

หรือความเสียหายตอจิตใจอยางอื่นที่มีลักษณะทํานองเดียวกัน ”

Page 156: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

139

ทั้งนี้พระราชบัญญัติความรับผิดตอความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินคาที่ไมปลอดภัย

พ.ศ.2551 เปนกฎหมายที่มุงเยียวยาความเสียหายแกผูที่ไดรับความเสียหายจากสินคาที่แทจริง

เพราะความเสียหายนั้นไมไดเกิดแกผูซื้อหรือผูใชสินคาเทานั้นบุคคลภายนอกที่ไมไดใชสินคาก็อาจ

ไดรับความเสียหายจากสินคาไดซึ่งบุคคลเหลานี้ไมอาจใชสิทธิตามสัญญาไดเพราะไมใชคูสัญญา

สวนจะใชสิทธิเรียกรองคาเสียหายตามหลักละเมิดก็มีภาระการพิสูจนที่ยุงยากโอกาสในการชนะคดี

มีนอยอีกทั้งยังเสียคาใชจายสูงสําหรับมาตรการทางกฎหมายมหาชนนั้นก็มุงขัดขวางไมใหสินคา

บางประเภทที่มีความไมปลอดภัยเขาสูทองตลาดไมไดเปนการเยียวยาตอความเสียหายที่ไดเกิดขึ้น

แลวดังนั้นพระราชบัญญัติความรับผิดตอความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินคาที่ไมปลอดภัยพ.ศ.2551

จึงกําหนดใหผูเสียหายไดแกผูใชสินคาโดยตรงและบุคคลอื่นที่ไดรับความเสียหายจากสินคาที่ไม

ปลอดภัยดวยอยางไรก็ตามพระราชบัญญัติฉบับนี้คุมครองความเสียหายที่เกิดจากสินคาที่มีความ

บกพรองในการผลิตการออกแบบหรือการใหคําเตือนเทานั้นซึ่งกฎหมายถือวาความบกพรองเหลานี้

เปนเหตุที่ทําใหสินคาไมปลอดภัยซึ่งไมใชกรณีของความชํารุดบกพรองในตัวสินคาเองหรือการผิด

สัญญาและไมเกี่ยวกับสภาพของสินคาเองวาเปนวัตถุอันตรายหรือไมและผูที่จะตองรับผิดเปนหลัก

คือผูผลิตเพราะเปนผูที่เกี่ยวของโดยตรงกับการผลิตการออกแบบหรือการใหคําเตือนเกี่ยวกับสินคา

และจะมีความรับผิดตอเมื่อสินคาไดมีการขายแลวเทานั้นเพราะเปนการรับผิดตอผูบริโภคซึ่งเปนผูที่

กฎหมายประสงคจะคุมครองและเพื่อใหความคุมครองผูเสียหายไดอยางแทจริงจึงไดนําหลักความ

รับผิดโดยเครงครัดมาใชกับผูผลิตโดยใหผูผลิตตองรับผิดไมวาจะประมาทเลินเลอหรือไมผูเสียหาย

จึงมีภาระการพิสูจนแตเพียงวาตนมีความเสียหายและความเสียหายเปนผลโดยตรงจากสินคาของ

ผูผลิตเทานั้นซึ่งเปนการลดภาระการพิสูจนลงจากการพิสูจนตามหลักละเมิดทั่วไปที่ใหผูเสียหาย

เปนผูมีภาระการพิสูจนตามหลักผูใดกลาวอางผูนั้นมีหนาที่นําสืบโดยรวมแลวพระราชบัญญัติ

ความรับผิดตอความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินคาที่ไมปลอดภัยพ.ศ.2551 ทําใหผูที่ไดรับความ

เสียหายจากสินคาไดรับความคุมครองดีขึ้นโดยไมซ้ําซอนกับกฎหมายลักษณะสัญญาและละเมิด

ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยเชน มาตรา420 เปนตน

3.1.10.3.1 หลักการการแกไขเยียวยาคาเสียหายการแกไขเยียวในเรื่องความเสียหายอันเกิดจากการบริโภคอาหารที่กอใหเกิดการ

แพนั้นสามารถดําเนินการไดกลาวคือ ผูประกอบการจะมีความรับผิดในความเสียหายที่เกิดจาก

สินคา ที่ไมปลอดภัยโดยไมคํานึงถึง วาความเสียหายนั้นเกิดจากการกระทําโดยจงใจหรือประมาท

เลินเลอ ทําใหผูประกอบการตองรับผิดตอการพิสูจนความเสียหายที่ เกิดขึ้นจากสินคานั้น

พระราชบัญญัติฉบับนี้เปนกฎหมายที่ตราขึ้นมาเพื่อสรางความเปนธรรมหรือความเสมอภาค

ระหวางผูประกอบการและผูบริโภคซึ่งบังคับใชกับสินคาสังหาริมทรัพย ทุกชนิดที่ผลิตหรือนําเขา

Page 157: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

140

เพื่อขายรวมทั้งผลิตผลทางการเกษตร ที่ยังไมไดผานกระบวนการหรือสินคาเกษตรปฐมภูมิ ดวย

เพื่อกําหนดใหผูประกอบการซึ่งก็คือ ผูขายสินคา ผูผลิตผูวาจางใหผลิต หรือผูนําเขาสินคาตอง

รับผิดชอบตอความเสียหายที่เกิดขึ้นจากการที่ผูบริโภคใชสินคาที่ไมปลอดภัยเพื่อใหทราบสิทธิ และ

ขอเรียกรอง ของผูบริโภคจึงควรศึกษารายละเอียดของพระราชบัญญัติฉบับนี้ ความรับผิดตอสินคา

ที่ไมปลอดภัย ผูประกอบการทุกคนตองรวมกันรับผิดตอผูเสียหายในความเสียหายที่เกิดจากสินคา

ที่ไมปลอดภัย ไมวาความเสียหายนั้นจะเกิดจากการกระทําโดยจงใจหรือประมาทเลินเลอของ

ผูประกอบการเวนเสียแตวาสินคานั้นไมไดเปนสินคาที่ไมปลอดภัยหรือผูเสียหายรูอยูกอนแลววา

สินคานั้นเปนสินคาที่ไมปลอดภัยหรือความเสียหายเกิดจากการใชหรือการเก็บรักษาสินคาไม

ถูกตองตามวิธีซึ่งผูประกอบการไดใหรายละเอียดและขอมูลเกี่ยวกับสินคาไวอยางถูกตองชัดเจน

แลวผูประกอบการจึงไมตองรับผิด ผูผลิตตามคําสั่งผูวาจางไมตองรับผิดหากพิสูจนไดวาความไม

ปลอดภัยของสินคาเกิดจากการออกแบบหรือการทําตามคําสั่งของผูวาจางใหผลิตซึ่งผูผลิตไมได

คาดเห็น และไมควรจะไดคาดเห็นของความไมปลอดภัย34

ผูผลิตสวนประกอบของสินคาไมตองรับผิดหากพิสูจนไดวาความไมปลอดภัยของ

สินคาเกิดจากการออกแบบหรือการกําหนดวิธีใช วิธีเก็บรักษาคําเตือนหรือการใหขอมูลเกี่ยวกับ

สินคาของผูผลิตดวยเชนกัน และขอตกลงระหวางผูบริโภคและผูประกอบการหรือประกาศของ

ผูประกอบการที่กําหนดไวลวงหนาเพื่อยกเวน ความรับผิดหรือจํากัดความรับผิดนั้นไมสามารถ

นํามากลาวอางเพื่อปฏิเสธ ความรับผิดชอบได

ศาลมีอํานาจกําหนดคาเสียหายเพื่อลงโทษผูประกอบธุรกิจไดหากปรากฏวาผูประกอบ

ธุรกิจตามพระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีผูบริโภคพ.ศ.2551โดยกระทําการดังตอไปนี้

(ก) กระทําโดยเจตนาเอาเปรียบผูบริโภคโดยไมเปนธรรม

(ข) จงใจใหผูบริโภคไดรับความเสียหาย

(ค) ประมาทเลินเลออยางรายแรงไมนําพาตอความเสียหายที่จะเกิดขึ้นแกผูบริโภค

(ง) กระทําการอันเปนการฝาฝนตอความรับผิดชอบในฐานะเปนผูมีอาชีพหรือธุรกิจอันยอม

เปนที่ไววางใจของประชาชนศาลมีอํานาจสั่งใหผูประกอบธุรกิจจายคาเสียหายเพื่อการลงโทษ

เพิ่มขึ้นจากจํานวนคาเสียหายที่แทจริงโดยใหศาลมีอํานาจกําหนดไดไมเกิน2เทาของคาเสียหายที่

แทจริงที่ศาลกําหนดแตถาคาเสียหายที่แทจริงที่ศาลกําหนดมีจํานวนไมเกิน50,000บาทใหศาลมี

34 สํานักงานคณะกรรมการคุมครองผูบริโภค,กฎหมายเกี่ยวกับการคุมครองผูบริโภค,สืบคนเมื่อวันที่

10/4.2557,จาก,http://www.ocpb.go.th/list_law.asp April 20 2011.

Page 158: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

141

อํานาจกําหนดคาเสียหายเพื่อการลงโทษไดไมเกิน5เทาของคาเสียหายที่แทจริง(มาตรา42วรรค1

และวรรค2)35

ทั้งนี้ศาลมีอํานาจสงวนสิทธิที่จะแกไขคําพิพากษาไดในกรณีที่ผูประกอบธุรกิจทําใหความ

เสียหายเกิดขึ้นแกรางกายสุขภาพหรืออนามัยของผูบริโภคและในเวลาที่พิพากษาคดีเปนการพน

วิสัยจะหยั่งรูไดแนวาความเสียหายนั้นมีแทจริงเพียงใดศาลอาจกลาวในคําพิพากษาหรือคําสั่งวา

ยังสงวนสิทธิที่จะแกไขคําพิพากษาหรือคําสั่งนั้นอีกภายในระยะเวลาที่ศาลกําหนดทั้งนี้ตองไมเกิน

10ปนับแตวันที่ศาลมีคําพิพากษาหรือคําสั่ง (มาตรา40) รวมทั้งศาลมีอํานาจสั่งใหผูประกอบธุรกิจ

รับสินคาที่จําหนายไปแลวหรือที่เหลืออยูในทองตลาดคืนจากผูบริโภคเปลี่ยนสินคาใหใหมถาใน

กรณีไมอาจแกไขไดก็ใหใชราคาแทนและมีอํานาจหามผูประกอบธุรกิจจําหนายสินคาที่เหลืออยู

และใหเรียกสินคากลับคืนไดและหากสงสัยวาผูประกอบธุรกิจจะเก็บสินคาที่เหลือไวเพื่อจําหนาย

ตอไปศาลมีอํานาจสั่งใหผูประกอบธุรกิจเปนตน

3.1.10.3.2 ระยะเวลาการเรียกรองคาเสียหายผูเสียหายตองฟองภายในสามปนับแตวันที่ผูเสียหายรูถึงความเสียหายและรูตัว

ผูประกอบการที่ตองรับผิดหรือภายในสิบปนับแตวันที่มีการขายสินคานั้นหากเปนความเสียหายที่

เกิดขึ้นแกชีวิตรางกายสุขภาพหรืออนามัยเนื่องจากการสะสมสารพิษในรางกายหรือเปนกรณีที่ตอง

ใชระยะเวลาในการแสดงอาการตองใชสิทธิเรียกรองภายในสามปนับแตวันที่รูถึงความเสียหายและ

รูตัวผูประกอบการที่จะตองรับผิดแตตองไมเกินสิบปนับแตวันที่รูถึงความเสียหายนอกจากนี้หากมี

การเจรจาเกี่ยวกับคาเสียหายเกิดขึ้นกฎหมายกําหนดใหอายุความสะดุดหยุดอยูไมนับในระหวางที่

มีการเจรจาจนกวาฝายใดฝายหนึ่งจะบอกเลิกการเจรจาตามพระราชบัญญัติความรับผิดตอความ

เสียหายที่เกิดขึ้นจากสินคาที่ไมปลอดภัยพ.ศ.2551 ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ 20

กุมภาพันธ 2551 และจะมีผลบังคับใชในวันที่ 21 กุมภาพันธ 2552 หนึ่งปนับแตวันประกาศในราช

กิจจานุเบกษาเปนการนําหลักความรับผิดโดยเครงครัดมาใชกับผูประกอบการเพื่อลดภาระในการ

35 พระราชบัญญัติความรับผิดตอความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินคาที่ไมปลอดภัย พ.ศ. 2551 มาตรา 11

ไดกําหนดคาเสียหายไวใหศาลมีอํา นาจสั่งใหผูประกอบการจายคาสินไหมทดแทนเพื่อการลงโทษเพิ่มขึ้นจากจํา

นวนคาสินไหมทดแทนที่แทจริงที่ศาลกํา หนดไดตามที่ศาลเห็นสมควร แตไมเกินสองเทาของคาสินไหมทดแทนที่

แทจริงนั้น ดังนั้นจะเห็นวากฎหมายไดกําหนดคาเสียหายไวใหไมเกิน2เทา ของคาเสียหายที่แทจริง ที่ศาล

กําหนดการจํากัดความรับผิดของผูผลิตหรือผูที่กอใหเกิดความเสียหายไมเปนธรรมแกผูบริโภคกฎหมายจึงกํา

หนดมาตรการเยียวยาความเสียหาย

Page 159: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

142

พิสูจนใหแกผูเสียหายและใหผูเสียหายไดรับการเยียวยาโดยใหไดรับการชดใชคาเสียหายที่เปน

ธรรม36

ทั้งนี้การกําหนดหลักการเกี่ยวกับอายุความในการใชสิทธิเรียกรองกรณีที่ความเสียหาย

เกิดขึ้นโดยผลของการสะสมอยูในรางกาย หรือตองใชเวลาในการแสดงอาการ นอกจาก การนํา

หลักความรับผิดโดยเครงครัด (Strict liability) มาใชบังคับซึ่งแตกตางจากกระบวนการทางศาลแพง

อาญาทั่วไป กลาวคือเมื่อผูบริโภคเกิดความเสียหาย อันเนื่องมาจากการใชสินคาที่ไมปลอดภัย

เกิดขึ้นมาตรา 12 “ สิทธิเรียกรองคาเสียหายอันเกิดจากสินคาที่ไมปลอดภัยตามพระราชบัญญัตินี้

เปนอันขาดอายุความเมื่อพนสามปนับแตวันที่ผูเสียหายรูถึงความเสียหายและรูตัวผูประกอบการที่

ตองรับผิดหรือเมื่อพนสิบปนับแตวันที่มีการขายสินคานั้นในกรณีที่ความเสียหายเกิดขึ้นตอชีวิต

รางกายสุขภาพหรืออนามัยโดยผลของสารที่สะสมอยูในรางกายของผูเสียหายหรือเปนกรณีที่ตอง

ใชเวลาในการแสดงอาการผูเสียหายหรือผูมีสิทธิฟองคดีแทนตามมาตรา 10 ตองใชสิทธิเรียกรอง

ภายในสามปนับแตวันที่รูถึงความเสียหายและรูตัวผูประกอบการที่ตองรับผิดแตไมเกินสิบปนับแต

วันที่รูถึงความเสียหาย ” ดานอายุความที่ผูบริโภคจะใชสิทธิฟองรองไดนั้น ปกติการฟองรองเรียก

คาเสียหายทางคดีแพงมักจะมีอายุความเพียง แค 1 ป ซึ่งในการดําเนินคดีเพื่อเรียกรองคาเสียหายจากผู

กอมลพิษกฎหมายพื้นฐานที่ใชเปนหลักในการดําเนินคดีไดแกหลักละเมิดตามมาตรา 420 แหง

ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยซึ่งบัญญัติวา “ ผูใดจงใจหรือประมาทเลินเลอทําตอบุคคลอื่น

โดยผิดกฎหมายใหเขาเสียหายถึงแกชีวิตก็ดีแกรางกายก็ดีเสรีภาพก็ดีทรัพยสินหรือสิทธิอยางหนึ่ง

อยางใดก็ดีทานวาผูนั้นทําละเมิดจําตองชดใชคาสินไหมทดแทนเพื่อการนั้น” กฎหมายลักษณะ

ละเมิดนี้มุงคุมครองบุคคลมิใหถูกลวงสิทธิผิดหนาที่จากการกระทํา ของบุคคลอื่นความรับผิดตาม

หลักละเมิดมีพื้นฐานอยูบนความผิดที่เกิดจากความชั่วรายในใจ(Liability based on fault) ของ

ผูกระทําไมวาจะกระทําโดยจงใจหรือประมาทเลินเลอก็ตาม ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา

ความแพงไดกําหนดหลักในการนําสืบตอศาลไววา “ผูใดกลาวอางผูนั้นตองพิสูจน” ดังนั้นการ

พิสูจนวาจําเลยมีความรับผิด ตามกฎหมายลักษณะละเมิดจึงมีประเด็นที่ผูเสียหายหรือโจทกตอง

นําสืบตอศาลหรือพิสูจนใหเปนที่ประจักษแกศาลคือ37

(1) จําเลยไดกระทําโดยจงใจหรือประมาทเลินเลอหรือไม

(2) การกระทําของจําเลยเปนเหตุใหเกิดความเสียหายแกโจทกหรือไม

(3) ความเสียหายที่โจทกไดรับมีมากเพียงใด

36 พระราชบัญญัติความรับผิดตอความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินคาที่ไมปลอดภัย พ.ศ.2551 มาตรา 12.37 มานิตย จุมปา,คําอธิบายกฎหมายความรับผิดตอความเสียหายท่ีเกิดขึ้นจากสินคาที่ไม

ปลอดภัย,(กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, ป 2554),หนา 20.

Page 160: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

143

(4) โจทกควรไดรับคาเสียหายเพียงใด

ดังนั้นการฟองรองผูใชหรือผูที่ไดรับอันตรายจากสินคาที่บริโภคนั้น กฎหมายที่สามารถนํา

มาปรับใชไดแกกฎหมายละเมิดซึ่งผูบริโภครายสุดทายหรือผูบริโภคที่ไดรับอันตรายจากสินคา

จะตองพิสูจนวาความเสียหายนั้นเกิดจากความประมาทเลินเลอ ซึ่งหนาที่นําสืบหรือภาระการ

พิสูจนตกอยูกับโจทกตามหลักประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง แตปญหานั้นมักเกิดขึ้นจาก

ผูบริโภคเปนผูมีฐานะทางเศรษฐกิจที่ไมสามารถฟองผูบริโภคใหไดรับเยียวยาความเสียหายได

อยางเต็มที่หากโจทกไมสามารถพิสูจนใหศาลเห็นตามที่ตนกลาวอางขึ้นมา ก็จะอยูในฐานะของผู

แพคดี ซึ่งนั้นก็หมายความวาไมสามารถเรียกรองคาเสียหายไดรวมทั้งปรากฏผลความเสียหาย ที่

จําเปนตองใชระยะเวลา ยาวนานในและการแสดงผลแหงความเสียหายที่เกิดขึ้นนั้นเอง ประเด็นที่

นาพิจารณาประการหนึ่งก็คือจํานวนคาเสียหายที่ศาลจะกําหนดเพื่อเยียวยาความเสียหายอันมิใช

ตัวเงินการกําหนดคาเสียหายยังไมปรากฏหลักเกณฑที่ชัดเจนเพียงพอจึงทําใหจํานวนคาเสียหาย

อาจไมมีความแนนอนและหากเทียบกับผลกระทบ ที่ผูเสียหายไดรับแลวอาจมองไดวา ยังหางไกล

จากความเสียหาย

3.1.11 มาตรการลงโทษผูที่เกี่ยวของกับฉลากอาหารที่กอใหเกิดการภูมิแพ3.1.11.1 อาญาการกําหนดความผิดซึ่งเปนโทษทางอาญา38 ไดแก โทษจําคุก ปรับ และริบ

ทรัพยสินตามที่บัญญัติในพระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภค พ.ศ.2522 ไดแก มาตรา 30 ซึ่งการ

กําหนดฉลากของสินคาจะเปนประโยชนแกผูบริโภคในการที่จะทราบขอเท็จจริงเกี่ยวกับสินคาที่

ชัดเจนขึ้น เชน ทราบชื่อสินคา ประเภทผูผลิต วิธีใช คําแนะนํา คําเตือน ราคา และวันเดือนปที่ผลิต

เปนตนแตหากสินคาดังกลาวไมเปนสินคาควบคุมฉลากใหคณะกรรมการวาดวยฉลากมีอํานาจ

กําหนดใหสินคานั้นเปนสินคาที่ควบคุมฉลากซึ่งจะเรงรัดใหมีการออกประกาศใหผลิตภัณฑนาโน

เปนสินคาควบคุมฉลากในเร็วๆ นี้ในขณะที่ยังไมมีผลบังคับตามกฎหมาย โดยมีแนวคิดในการ

ลงโทษวาหากยังมีการฝาฝน ผูผลิตเพื่อขาย ผูสั่งหรือนําเขามาเพื่อขายในราชอาณาจักรจะมีโทษ

จําคุกไมเกิน 1 ปปรับไมเกิน 100,000 บาทหรือทั้งจําทั้งปรับ ขณะเดียวกันผูจําหนายสินคาที่

38ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 18 โทษทางอาญาที่กฎหมายบัญญัติไวนั้น มีดวยกัน

5 สถาน ไดแก (1) ประหารชีวิต (2) จําคุก (3) กักขัง (4) ปรับ (5) ริบทรัพยสิน

Page 161: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

144

ควบคุมฉลาก แตไมจัดใหมีฉลากหรือมีฉลากที่ไมถูกตองมีโทษจําคุกไมเกิน 6 เดือน ปรับไมเกิน

50,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ39

ซึ่งเปนโทษทางอาญาตามพระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภค พ.ศ.2522 ตามมาตรา 52 อีก

ทั้งการโฆษณาขายสินคาทั้งที่ฉลากอาหารที่ไมไดระบุคุณสมบัติตามที่ผูจําหนายกลาวอางหลอกให

ผูบริโภคหลงเชื่อ เขาขายการหลอกลวงผูบริโภคใหหลงเชื่อในแหลงกําเนิดสภาพ คุณภาพหรือ

ปริมาณแหงของนั้น ถาการกระทํานั้นไมเปนความผิดฐานฉอโกงตองระวางโทษจําคุกไมเกิน 3 ป

ปรับไมเกิน 6,000 บาทหรือทั้งจําทั้งปรับ

ในสวนพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ.2522 มีรายละเอียดการดําเนินการลงโทษทาง

อาญาผูเขียนขอยกตัวอยางมาตรา 2540อาทิเชนมาตรา 58 ผูใดฝาฝนมาตรา 25 (1) ตองระวางโทษ

จําคุกไมเกินสองปหรือปรับไมเกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ

มาตรา 59 ผูใดฝาฝนมาตรา 25 (2) ตองระวางโทษจําคุกตั้งแตหกเดือนถึงสิบป

และปรับตั้งแตหาพันบาทถึงหนึ่งแสนบาท

มาตรา 60 ผูใดฝาฝนมาตรา 25 (3) ตองระวางโทษปรับไมเกินหาหมื่นบาท

มาตรา 61 ผูใดฝาฝนมาตรา 25 (4) ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหาป หรือปรับไม

เกินหาหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับเปนตน

3.1.11.2 แพง การดําเนินคดีเพื่อเรียกรองคาเสียหายจากผูผลิตอาหารกฎหมายพื้นฐานที่ใชเปน

หลักในการดําเนินคดีไดแกหลักละเมิดตามมาตรา 420 แหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยซึ่ง

บัญญัติวา “ ผูใดจงใจหรือประมาทเลินเลอทําตอบุคคลอื่นโดยผิดกฎหมายใหเขาเสียหายถึงแก

ชีวิตก็ดีแกรางกายก็ดีเสรีภาพก็ดีทรัพยสินหรือสิทธิอยางหนึ่งอยางใดก็ดีทานวาผูนั้นทําละเมิด

จําตองชดใชคาสินไหมทดแทนเพื่อการนั้น” ทั้งนี้เปนหลักการพื้นฐานของการฟองรองดําเนินคดีทาง

แพงของผูที่ไดรับความเสียหาย เปนตน

39 ศุภฤกษ ชลวีระวงศ,ความรับผิดตอความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินคาที่ไมปลอดภัย: ศึกษากรณีของ

ผูใหแฟรนไชดที่ไมไดผลิตหรือขายหรือนําเขาสินคา,(นิติศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร,ป 2550),

หนา 45-50.40มาตรา 25 หามมิใหผูใดผลิต นําเขาเพื่อจําหนาย หรือจําหนายซึ่งอาหารดังตอไปนี้ (1) อาหารไม

บริสุทธิ ์(2) อาหารปลอม (3) อาหารผิดมาตรฐาน (4) อาหารอื่นที่รัฐมนตรีกําหนด

Page 162: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

145

3.1.11.3 ปกครองโดยหลักโทษทางปกครอง หมายถึง โทษที่กฎหมายกําหนดใหฝายปกครองลงแก

ผูกระทําการอันเปนการฝาฝนกฎหมาย กฎ ระเบียบ ขอบังคับ และคําสั่งทางปกครอง โดยมี

วัตถุประสงคเพื่อใหบริการสาธารณะสามารถดําเนินการตอไปได โทษทางปกครองจึงมีลักษณะ

สําคัญ 3 ประการ ดังนี้

(1) กฎหมายใหอํานาจแกฝายปกครองที่จะมีคําสั่งลงโทษผูกระทําการอันเปนการ

ฝาฝนกฎหมาย กฎ ระเบียบ ขอบังคับ และคําสั่งทางปกครองอยางชัดแจง ซึ่งฝายปกครองนี้

นอกจากหมายถึงหนวยงานของรัฐแลว ยังหมายรวมถึงองคกรเอกชนที่ไดรับมอบหมายใหใช

อํานาจมหาชนในการจัดทําบริการสาธารณะดวย เชน องคกรวิชาชีพ เปนตน

(2) ฝายปกครองมีอํานาจสั่งลงโทษไดเองโดยไมตองฟองศาล

(3) การลงโทษทางปกครองมีวัตถุประสงคเพื่อใหบริการสาธารณะที่ฝายปกครอง

ดูแลรับผิดชอบสามารถดําเนินการตอไปได

ทั้งนี้การออกคําสั่งทางปกครองของศาลหรือที่เรียกวาคําพิพากษาที่เกี่ยวของกับ

คดีผูบริโภคศาลมีอํานาจสั่งใหเปลี่ยนสินคาไดในคดีที่ผูบริโภคหรือผูมีอํานาจฟองคดีแทนผูบริโภค

เปนโจทกฟองขอใหผูประกอบธุรกิจรับผิดในความชํารุดบกพรองของสินคาหากศาลเชื่อวาความ

ชํารุดบกพรองดังกลาวมีอยูในขณะที่สงมอบสินคาและไมอาจแกไขใหกลับคืนสภาพที่ใชงานได

ตามปกติหรือถึงแมจะไดแกไขแลวหากนําไปใชแลวอาจเกิดอันตรายแกรางกายสุขภาพหรืออนามัย

ของผูบริโภคที่ใชสินคานั้นศาลมีอํานาจพิพากษาใหผูประกอบธุรกิจเปลี่ยนสินคาใหมใหแกผูบริโภค

แทนการแกไขซอมแซมสินคาที่ชํารุดบกพรองนั้นก็ไดพระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีผูบริโภคพ.ศ.

2551 (มาตรา 41วรรค 1)

นอกจากนั้นคําสั่งทางปกครองจะเปนในรูปแบบการที่หนวยงานของรัฐทําการตรวจยึด

อาหารที่กอใหเกิดอันตรายตอผูบริโภค เชนการแสดงฉลาก กรณีการตรวจยึดเนื้อปลาปกเปาไม

แสดงวันผลิตหรือวันหมดอายุ ถึงแมจะไมมีเจตนา เชน เครื่องพิมพเสียแตก็ตองมีมาตรการแกไขให

สามารถแสดงฉลากไดอยางถูกตอง และไมสามารถอางไดวาไมทราบวาเปนปลาปกเปาเพราะสั่ง

ปลามากอใหเกิดอันตรายตอผูบริโภคได เนื่องจากเปนความรับผิดชอบของผูผลิต โดยผูผลิตตองมี

มาตรการตรวจสอบหรือสอบถามวาวัตถุดิบนั้นเปนปลาปกเปา หรือไม ซึ่งเปนอาหารที่หามผลิต

และจําหนาย เพราะนอกจากจะมีความผิดตามกฎหมายแลว ยังอาจกอใหเกิดอันตรายตอผูบริโภค

อีกดวย หากผูบริโภคตองการซื้อเนื้อปลา ใหเลือกซื้อเนื้อปลาที่คุนเคย มีวิธีสังเกตงายๆ เบื้องตน

หากเปนเนื้อปลาแลที่เปนปลาปกเปา ลักษณะเนื้อจะนูนคลายสันในไก ไมควรเสี่ยงซื้อมาบริโภค

Page 163: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

146

กรณีเปนผลิตภัณฑเนื้อปลา เชน ลูกชิ้น ปลาเสน ใหพิจารณาวาอยูในภาชนะบรรจุที่มีฉลากระบุ

แหลงผลิต ที่ชัดเจน มีเครื่องหมาย ฉลากอาหารและยาหรือฉลากอย.เปนตน

ดังนั้นถึงแมจะมีกฎหมายคุมครองผูบริโภคโดยใหอํานาจรัฐฟองคดีแทนเพื่อประโยชนของ

ผูบริโภคมีปรากฏอยูก็ตาม แตปญหาที่เกิดขึ้นอันสงผลกระทบตอการลงโทษตามกฎหมายไทยไม

กอใหเกิดความเปนธรรมเทาที่ควรทั้งนี้เพราะยังไมมีการบัญญัติกฎหมายเพื่อใหเปนผลบังคับวา

ดวยอาหารภูมิแพหรือเกี่ยวของกับเรื่องฉลากโดยยังไมไดกําหนดใหผูประกอบการแสดงฉลาก

เกี่ยวกับอาหารกอภูมิแพอยางชัดเจนโดยมีบทบัญญัติบังคับใหผูประกอบการตองปฏิบัติตามหาก

ไมปฏิบัติจะตองถูกดําเนินตามกฎหมาย ทําใหผูบริโภคไมปฏิบัติตาม สงผลเสียหายตอผูบริโภคไป

ตลอดแมจะมีการคุมครองในเรื่องอื่นก็ยังไมคอบคลุมตรงตามเจตนารมณของกฎหมายอยางแทจริง

3.2 มาตรการทางกฎหมายที่เกี่ยวของกับการควบคุมฉลากเพื่อการโฆษณาอาหารที่ กอใหเกิดอาการภูมิแพของผูบริโภคในตางประเทศ

3.2.1 สหรัฐอเมริกา3.2.1.1 มาตรการคุมครองในดานการโฆษณาการคุมครองหนวยงานของรัฐอีกหนวยงานหนึ่งคือคณะกรรมการอาหารและยา

ของกระทรวงสาธารณะสุขควบคุมดูแลโฆษณาเกี่ยวกับอาหาร ยา และเครื่องสําอาง หนวยงานนี้

บางทานอาจเทียบเคียงกับ Food and Drug Administration (FDA) ของประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่ง

หนวยงานนี้ของอเมริกาเปนองคกรฝายบริหาร ขึ้นอยูกับกระทรวงสาธารณะสุข (U.S.Department

of Health and Human Service) มีการคุมครองความปลอดภัยในดานสินคาอาหารอยูในความ

รับผิดชอบรวมกันของหลายหนวยงานไดแกคณะกรรมการอาหารและยา (United States Food

and Drug Administration: USFDA) ของกระทรวงสาธารณะสุขและกระทรวงเกษตรสหรัฐฯ

(USDA) หรือหนวยงาน Center for Food Safety and Applied Nutrition สังกัดสํานักงานคณะ

กรรมการอาหารและยา (FDA) ไดออกคําแนะนําเพิ่มเติมกฎระเบียบเรื่องการแสดงฉลากอาหารกอ

ภูมิแพชื่อสามัญหรือชื่อเรียกไวบนฉลากอาหาร ทั้งนี้ FDAไดกําหนดมาตรการในการโฆษณาเพื่อมิ

ใหเอาเปรียบและหลอกลวงผูบริโภค โดยไดกําหนดใหมีการโฆษณาเปนไปตามระเบียบนั้นก็คือ

จนกระทั่งในป ค.ศ.1962 ประธานาธิบดีจอหน เอฟ เคเนดี้ ไดประกาศกฎหมายเพื่อคุมครองผูใช

Page 164: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

147

บัตรเครดิตไมใหสถาบันการเงินเอาเปรียบลูกคา (Consumer’s Bill of Rights ) ขึ้นโดยมี

วัตถุประสงคจะยกระดับการใหความคุมครองสิทธิของผูบริโภคใหสูงขึ้น โดยมีองคประกอบดังนี้41

1) ที่จะเลือกซื้อสินคาตางๆ ในราคาที่เปนธรรม

2) สิทธิที่จะไดรับขาวสาร

3) สิทธิจะไดรับความปลอดภัยจากการบริโภคสินคา

4) สิทธิที่จะไดรับการรับรูจากรัฐบาลในการเรียกรอง โดยเฉพาะความปลอดภัยใน

การบริโภคสินคาที่จะตองไมจํากัดประเภทสินคาที่ผูบริโภคจะไดรับความคุมครอง แตจะเปนการที่

กฎหมายสามารถใหความคุมครองเปนไปในลักษณะทั่วไป จนกระทั่งในป ค.ศ.1963 ไดมีการนํา

หลักความรับผิดชอบ โดยเครงครัดมาใชในกรณีความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินคาไมปลอดภัยเปน

ครั้งแรกในคดี Green man กับ Yuba Power Product. Inc. ซึ่งเปนคดีที่เกี่ยวของกับทรัพยที่เดิน

ดวยเครื่องจักรกล ซึ่งแสดงใหเห็นวาศาลมุงหมายที่จะใหความคุมครองผูบริโภคเปนสําคัญ

เนื่องจากเปนความเสียหายที่เกิดขึ้นจากทรัพยที่เดินดวยเครื่องจักรกลที่มีความสลับซับซอนของ

เทคโนโลยีในการผลิตสินคาที่เพิ่มมากขึ้น การใชหลักความรับผิดทางสัญญาหรือละเมิดไมอาจ

เยียวยาความเสียหายไดอยางเพียงพอ เพราะขอจํากัดการพิสูจนถึงความเสียหายที่เกิดจากความ

จงใจหรือประมาทเลินเลอของจําเลยในคดีเหลานี้ และดวยผลของคําพิพากษาในคดี Green man

กับ Yaba Pawer Prods. Inc. ทําใหสถาบันกฎหมายแหงอเมริกา(The American Law Institute)

นําหลักความรับผิดชอบโดยเครงครัดมาบัญญัติรับรองไวเปนกฎหมายลายลักษณอักษรใน The

Restatement Second of Torts 1975 โดยแกไขกฎหมายแพงลักษณะละเมิด (Restatement of

Torts) ซึ่งกําหนดใหผูขายมีความรับผิดชอบในความเสียหายอันเกิดจากผลิตภัณฑ โดยไมกําหนด

วาผูเสียหายตองเปนผูซื้อทําใหผู เสียหายมีโอกาสในการเรียกคาเสียหายไดมากขึ้น โดยไม

จําเปนตองอาศัยความผูกพันตามสัญญาโดยหลักเกณฑในมาตรา 402A ของกฎหมายแพง

ลักษณะละเมิดที่แกไขปรับปรุงฉบับที่สาม The Restatement Second of Torts ที่กําหนดวา

อนุมาตรา (1) ผูใดขายผลิตภัณฑที่อยูสภาพบกพรองอันกอใหเกิดอันตรายโดยไมสมควรแก

รางกายของผูใชหรือผูบริโภค หรือทรัพยสินของเขา ตองรับผิดชอบตออันตรายที่เกิดขึ้นตอผูนั้น ถา

41 สุษม ศุภนิตย ข,รางพระราชบัญญัติกฎหมายคุมครองผูบริโภค พ.ศ. ..., กรณีศึกษากฎหมาย

คุมครองผูบริโภคกรณีศึกษากฎหมายคุมครองผูบริโภคของประเทศญี่ปุนสหรัฐอเมริกาและสหราชอาณาจักร

อังกฤษ,ป 2545,หนา 70-72.

Page 165: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

148

ก. ผูขายอยูในธุรกิจการขายนั้น เชน เปนผูดูแล

ข. เปนที่คาดหมายไดวาผลิตภัณฑนั้นถึงมือผูใชหรือผูบริโภค โดยไมมีการเปลี่ยนสภาพที่

สําคัญไปจากเดิมขณะที่ขายและอนุมาตรา (2) ใหใชบทบัญญัติในอนุมาตรา (1) บังคับได แมวา

ก. ผูขายจะไดใชความระมัดระวังอยางที่สุดในการตระเตรียมและขายผลิตภัณฑของเขา

และข. ผูใชหรือผูบริโภคผลิตภัณฑนั้น ไมไดเปนผูซื้อหรือมีสัญญาใด ๆ ที่เกี่ยวกับผลิตภัณฑนั้นกับ

ผูขายโดยมาตรา 402A นี้ กําหนดใหผูขายสินคาที่อยูในสภาพที่ไมปลอดภัยในประการที่อาจ

กอใหเกิดอันตรายอันไมสมควรแกรางกายหรือทรัพยสินของผูใชหรือผูบริโภค และสินคาดังกลาวได

กอใหเกิดอันตรายเชนวานั้นแกผูใชหรือผูบริโภค ถาผูขายเปนผูประกอบธุรกิจในการขายสินคา

เชนนั้น และสินคาดังกลาวไดถึงมือผูใชหรือผูบริโภคโดยไมมีการเปลี่ยนแปลงสภาพของสินคาใน

สาระสําคัญไปจากสภาพที่ขาย ผูขายตองรับผิดตอผูเสียหายเพื่อความเสียหายที่เกิดขึ้นนั้น แมวา

จะไดใชความระมัดระวังในการตระเตรียมและขายสินคาแลว และผูใชหรือผูบริโภคที่ไดรับความ

เสียหายไมไดมีนิติสัมพันธทางสัญญากับผูขาย ตามบทบัญญัตินี้ถือวาผูที่มีสวนรวมใน

กระบวนการผลิตและจําหนายสินคาจะตองรับผิดทั้งหมดตั้งแตผูผลิตจนถึงผูขายปลีก ซึ่งหลัก

ความรับผิดโดยเครงครัดที่ใชแกความรับผิดที่เกิดขึ้นจากสินคาไมปลอดภัยภายใตกฎหมาย

สหรัฐอเมริกานี้เรียกวาการกระจายความรับผิด Chain of Distribution Liability เพราะบุคคลใดก็

ตามที่มีสวนเกี่ยวของกับสินคาที่ไมปลอดภัยจําตองอยูภายใตหลักความรับผิดทั้งหมดทุกคนแมวา

จะไมไดผลิตหรือมีสวนเกี่ยวของกับสินคามากนอยเพียงใดก็ตามนอกจากนี้ในเนื้อหาตามมาตรา

402B ที่กําหนดวา“ผูใดทําธุรกิจขายสังหาริมทรัพย โดยมีการโฆษณาประกาศหรือกระทําการใน

ลักษณะดังกลาวตอสาธารณะชน โดยแสดงขอความเกี่ยวกับลักษณะหรือคุณภาพของสินคาที่ขาย

ผิดไปจากความจริงจะตองรับผิดตออันตรายที่เกิดกับผูบริโภคสินคานั้น ซึ่งเนื่องจากการหลงเชื่อ

ขอความในโฆษณานั้นโดยสุจริตแมวาไมมีการหลอกลวงหรือประมาทเลินเลอและผูบริโภคสินคานั้น

ไมไดเปนผูซื้อหรือมีสัญญาใดๆ ที่เกี่ยวกับสินคานั้นกับผูขาย”

ดังนั้น จะเห็นไดวา ในระบบกฎหมายหมายของสหรัฐอเมริกาผูเสียหายจากกรณีการ

บริโภคสินคาหรือบริการการใชผลิตภัณฑที่ไมปลอดภัย จึงมีสิทธิที่จะฟองเรียกคาเสียหายเปนคดี

แพงทั้งทางสัญญาและทางคดีละเมิดได แตจะมีความแตกตางกันในประเด็นความสามารถในการ

เปนโจทกสิทธิเรียกคาเสียหายและอายุความนั้นเอง

3.2.1.2 มาตรการในการควบคุมฉลากภูมิแพเมื่อเดือนสิงหาคม 2547 สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาแหงสหรัฐอเมริกา

(U.S.Food and Drug Administration: FDA) ไดออกรัฐบัญญัติเรื่องฉลากอาหารกอโรคภูมิแพและ

การคุมครองผูบริโภคปพ.ศ.2547(Food Allergen Labeling and Consumer Protection Act of

Page 166: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

149

2004:FALCPA (Public Law 108-282) โดยสภานิติบัญญัติแหงสหรัฐอเมริกา (Congress) ไดเห็น

ถึงความจําเปนของการแจงขอมูลใหแกผูบริโภคไดรับทราบจึงไดออกรัฐบัญญัติอาหารยาและ

เครื่องสําอาง (The Federal Food, Drug, and Cosmetic Act of 1938:FDCA) 42ขึ้นตั้งแตป

พ.ศ.2481โดยกําหนดใหมีการระบุเรื่องของการแสดงสวนประกอบของอาหารบนฉลากซึ่งผาน

ความเห็นชอบจากสภานิติบัญญัติแหงสหรัฐอเมริกา (Congress) โดยใหมีผลบังคับใชตั้งแตวันที่ 1

มกราคม 2549 เปนตนไปรัฐบัญญัติดังกลาวกําหนดใหสินคาอาหารที่มีสวนประกอบของอาหาร

สําคัญ 8 ชนิดที่เปนสาเหตุใหเกิดโรคภูมิแพไดแกนม (milk),ไข(Eggs),สัตวน้ํา (Fish),สัตวไมมี

กระดูกสันหลังที่มีเปลือก(Crustacean shellfish) เชนกุงกั้งปู,เมล็ดถั่ว (Tree nut) เชน ถั่วอัลมอนต

(almonds) พีแคน (pecans) หรือวอลนัต(walnuts),ถั่วลิสง (Peanuts),แปงสาลี (Wheat) และถั่ว

เหลือง (Soybean) ตองแสดงขอมูลวามีสวนประกอบเหลานี้ไวบนฉลากอาหารแตทั้งนี้ใหยกเวน

วัตถุดิบสินคาเกษตร(ผลไมและผักสด,เนื้อสัตว,เนื้อสัตวปกและไข) และน้ํามันที่ผานกรรมวิธีการทํา

ใหบริสุทธิ์ขั้นสูง (highlyrefined Oil) ที่ทํามาจากอาหารทั้ง 8 ชนิดและอาหารอื่น ๆ ไมจําเปนตอง

แสดงฉลากนี้ระเบียบการปดฉลากอาหารกอภูมิแพ (Food Allergen Labeling) โดยกฎหมายที่

เกี่ยวของ : The Federal Food, Drug, and Cosmetic Act และThe FoodAllergen Labeling and

Consumer Protection Act (FALCPA) ความเปนมาเนื่องจากในสหรัฐอเมริกามีอัตราของผูที่เปน

โรคภูมิแพคอนขางสูง(รอยละสองของประชากรผูใหญและรอยละหาของประชากรเด็ก) โดยในแต

ละปจะมีจํานวนผูปวยจากโรคดังกลาวประมาณ 30,000 รายและมีผูเสียชีวิตประมาณ 150 และใน

ปจจุบันยังไมมีวิธีการรักษาโรคดังกลาวไดโดยจากการสํารวจของ FDA พบวาในปจจุบันการให

ขอมูลแกผูบริโภคเกี่ยวกับอาหารทีเปนตนเหตุของการเกิดโรคภูมิแพภายใตขอกําหนดเรืองการ

แสดงสวนผสมของอาหาร (Ingredient List) บนฉลากตาม Section 403 (i) ของกฎหมาย The

Federal Food, Drug, and Cosmetic Act ยังไมมีความชัดเจนเพียงพอเนื่องจากในบางครั้งชื่อ

สามัญหรือชื่อตามปกติของสวนผสมอาหารบางชนิดไมเปนที่รูจักกันโดยทั่วไปจึงทําใหมีผูบริโภค

จํานวนไมนอยตองประสบปญหาไมสามารถเลือกสินคาไดอยางถูกตองหรือซื่อสินคาทีมีสวนผสม

ของอาหารกอภูมิแพดังกลาวไปโดยไมไดตังใจดวยเหตุนี้เมือเดือนสิงหาคม 2547 หนวยงาน FDA

42รายงานกฎระเบียบ,มาตรการและระบบความปลอดภัยอาหารและการปองกันการกอการรายทาง

ชีวภาพของสหรัฐอเมริกา (U.S. Food Safety and Bioterrorism Systems ภายใตโครงการศึกษากฏระเบียบและ

ความปลอดภัยของอาหารสุขอนามัยและสุขอนามัยพืชและการปองกันการกอการรายทางชีวภาพของ

สหรัฐอเมริกา (Food Safety Sanitary and Phytosanitary and Bioterrorism System), ประจําปงบประมาณ

2548 (กันยายน 2548 – สิงหาคม 2549),เสนอตอสํานักงานที่ปรึกษาการเกษตรตางประเทศประจํากรุงวอชิงตัน

ดี.ซ.ีหนา 47.

Page 167: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

150

ของสหรัฐฯจึงไดออกกฎระเบียบเรื่องการปดฉลากอาหารกอภูมิแพภายใตกฎหมาย The Food

Allergen Labeling and Consumer Protection Act หรือ FALCPA) ซึ่งไดแกไขระเบียบทั่วไปเรื่อง

การแสดงสวนผสมของอาหารภายใต FDCA โดยกําหนดใหการปดฉลากสินคาอาหารที่ประกอบไป

ดวยสวนผสมของโปรตีนซึ่งไดมาจากกลุมอาหารซึ่งถือเปนตนเหตุหลักของโรคภูมิแพ (Major Food

Allergen) จํานวน 8 ชนิดอันไดแกนมไขสัตวน้ําสัตวน้ําประเภทมีเปลือกหุมแข็ง (Crustacean

Shellfish) เมล็ดถัวประเภท Tree nuts แปงสาลี (wheat) และถัวเหลืองจะตองมีการแสดงขอมูลที่

ชัดเจนเกี่ยวกับสวนผสมดังกลาวเพื่อเปนการใหขอมูลที่ถูกตองแกผูบริโภคทั่งนี้โดยใหมีผลบังคับใช

นับตังแตวันท1ี มกราคม 2549 เปนตนไป

1) สาระสําคัญของกฎหมาย

ภายใตขอกําหนดของรัฐบัญญัติเรื่องการแสดงฉลากอาหารกอโรคภูมิแพและการคุมครอง

ผูบริโภคปพ.ศ.2547(Food Allergen Labeling and Consumer Protection Act of 2004:

FALCPA(Public Law 108-282) กําหนดใหโรงงานผูผลิตอาหารตองแสดงชื่อสามัญของอาหารกอ

โรคภูมิแพอาหารไวบนฉลาก การระบุขอความบนฉลากอาหารอาหารที่ผานการแปรรูปและมี

สวนผสมของกลุมอาหารกอภูมิแพดังกลาวจะตองติดฉลากคําวา “contains” อยูหนาชื่อชนิดของ

ชื่ออาหารกอภูมิแพ (food allergen) นั้น ๆ โดยใหใชชื่อสามัญ (common or usual name) ของ

สินคานั้น ๆ ที่ผูบริโภคทั่วไปรูจัก (พิมพตอกัน) โดยชื่อของอาหารกอภูมิแพจะตองพิมพขนาด

ตัวอักษรที่เล็กกวาขนาดของ food ingredient ทั้งนี้ขนาดของ foodingredient ใหใชขนาดตัวอักษร

ที่มีขนาดใหญอยางนอย 1 /16 นิ้ว (ความสูงเทียบจากอักษร O) กรณีอาหารที่มีชื่อตรงกับชนิดของ

ชื่ออาหารกอภูมิแพใหระบุชนิดของอาหารอยางละเอียดโดยเฉพาะอยางยิ่งในกรณีของสัตวน้ํา

ประเภทมีเปลือกหุมแข็งและเมล็ดถั่วประเภทTreenuts- เมล็ดถั่วประเภท Tree nuts ใหระบุชนิด

(Species Type) เชนถั่วอัลมอนดถั่วพีคานหรือวอลนัทเปนตน- สัตวน้ําประเภทมีเปลือกหุมแข็งให

ระบุชนิด (Species) เชน กุงปูกัง- กรณีอาหารที่ใสสารปรุงแตงที่มีสวนมาจากFood allergen ใหระบุไวตามที่

กฎหมายเชนกัน

2) การบังคับใชตามกฎหมาย

ระเบียบดังกลาวนํามาใชบังคับเฉพาะกับสินคาอาหารตาง ๆ ที่ประกอบไปดวยสวนผสม

ของโปรตีนที่มาจากกลุมอาหารซึ่งถือเปนตนเหตุหลักของโรคภูมิแพที่สําคัญ (MajorFood

Allergen) จํานวน 8 ชนิดดังกลาวขางตนเทานั้นไมรวมถึงสวนผสมของอาหารอื่น ๆ ที่อาจมีสวน

กอใหเกิดโรคภูมิแพและไมรวมถึงสินคาอาหารสด (Raw agricultural commodities) เชนผักสด

ผลไมสดและการปดฉลากผลิตภัณฑเนื้อสัตวสัตวปกและไขซึ่งอยูภายใตการดูแลของ USDAFood

Safety and Inspection Service /USDA ใชเฉพาะกับการบรรจุสินคาอาหารทุกชนิดที่วางจําหนาย

Page 168: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

151

ในสหรัฐฯ ทั้งที่ผลิตในประเทศและนําเขาและเปนสินคาไดรับการปดฉลากนับตังแตวันที่1 มกราคม

2549 เปนตนไปแตไมมีผลใหเปนการยกเลิกการจําหนายสินคาอาหารที่อาจเขาขายตามขอกําหนด

ระเบียบดังกลาวซึ่งไดรับการปดฉลากกอนวันที่กฎหมายมีผลบังคับใชตามกฎหมาย

3) ขอกําหนดการแสดงฉลากอาหารกอโรคภูมิแพ43

ภายใตบทบัญญัติของรัฐบัญญัติเรื่องการแสดงฉลากอาหารกอโรคภูมิแพและการคุมครอง

ผูบริโภคป พ.ศ.2547(Food Allergen Labeling and Consumer Protection Act of 2004:

FALCPA (Public Law 108-282) กําหนดใหฉลากอาหารตองระบุชนิดของอาหารกอโรคภูมิแพ

หลักดวยชื่อสามัญ (ซึ่งรายการอาหารกอโรคภูมิแพหลัก 8 ชนิด44) โดยสามารถทําได 2 วิธีดังนี้คือ

(1) ใหระบุคําวา“Contains” อยูหนาชื่อชนิดของอาหารกอโรคภูมิแพ (food allergen) โดย

ใชชื่อสามัญหรือชื่อหลักของอาหารกอโรคภูมิแพที่ผูบริโภคทั่วไปรูจักตามหลังรายการแสดง

สวนประกอบของอาหารนั้นๆโดยขนาดของตัวอักษรที่แสดงชื่อของ food allergen ตองมีขนาดไม

เล็กกวาชื่อของสินคานั้นเชน Ingredients: Enriched flour (wheat flour, malted barley, niacin,

reduced iron, thiamin mononitrate, riboflavin, folic acid), sugar, partially hydrogenated

soybean oil, and/or cottonseed oil, high fructose corn syrup, whey, eggs, vanilla, natural

and artificial flavoring) salt, leavening (sodium acid pyrophosphate, monocalcium

phosphate), lecithin, mono-and diglycerides (emulsifier)Contains Wheat, Milk,and Soy

ที่มา www.fda.gov.

43 ฉลากอาหารกอโรคภูมิแพของอเมริกา,สืบคนเมื่อวันที่ 10 เมษายน 2558, จาก, ที่มา www.fda.gov,(

ขอมูล 5/10/2548)44 สหรัฐอเมริกา (USA) ระบุอาหาร 8 ชนิด เปนอาหารกอภูมิแพ ไดแก ถั่วลิสง .(peanut).ถั่วเหลือง.

(soybean).น้ํานม (milk).ไข (egg).สัตวน้ํา (fish).สัตวน้ําเปลือกแข็ง (crustacean).นัท (tree nuts).ขาวสาลี

(wheat.เปนตน

Page 169: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

152

(2) ใหระบุชื่อของสวนประกอบตามดวยชื่อสามัญหรือชื่อหลักของอาหารกอโรคภูมิแพที่

ผูบริโภคทั่วไปรูจัก (common or usual name of major food allergen) ในวงเล็บในกรณีที่ชื่อของ

สวนประกอบไมไดแสดงใหเห็นวาเปนอาหารกอโรคภูมิแพดังตัวอยาง Ingredients: Enriched flour

(wheat flour,malted barley,niacin,reducediron,thiamin mononitrate,riboflavin,folic acid),

sugar,partially hydrogenated soybean oil,and/or cottonseed oil,high fructose corn syrup,

whey (milk),eggs,vanilla,natural and artificial flavoring) salt,leavening (sodium acid

pyrophosphate,monocalcium phosphate), lecithin (soy),mono-and diglycerides emulsifier

ที่มา www.fda.gov.

ทั้งนี้ใหรวมถึงเครื่องเทศสารใหกลิ่นรสสีผสมอาหารและวัตถุเจือปนอาหารที่มีสวนผสมของ

อาหารกอโรคภูมิแพดวยโดยหากมีสวนผสมของอาหารกอโรคภูมิแพจะตองแสดงขอมูลไวบนฉลาก

อาหารเชนกัน45

4) ขอยกเวน

วัตถุดิบสินคาเกษตรเชนผลไมและผักสดเนื้อสัตวเนื้อสัตวปกและไขไดรับยกเวนไมตอง

แสดงฉลากอาหารกอโรคภูมิแพน้ํามันที่ผานกรรมวิธีการทําใหบริสุทธิ์ขั้นสูง (highly refined oil) ที่

ทํามาจากอาหารทั้ง 8 ชนิดและอาหารอื่นๆรวมถึงสวนประกอบที่ไดมาจากน้ํามันนั้น ๆ ไดรับการ

ยกเวนไมตองแสดงฉลากอาหารกอโรคภูมิแพทั้งนี้เนื่องจากการวิจัยพบวาน้ํามันที่ผานกรรมวิธีการ

ทําใหบริสุทธิ์ขั้นสูงไมมีสวนประกอบของโปรตีนหลงเหลืออยู

5) การรองขอใหยกเวนไมตองแสดงฉลาก

โรงงานผูผลิตอาหารสามารถรองขอใหมีการยกเวนการแสดงฉลากอาหารกอโรคภูมิแพใน

อาหารชนิดอื่น ๆ ไดโดยผูรองขอตองนําหลักฐานทางวิทยาศาสตรที่ยืนยันวาสวนประกอบของ

45http://www.fda.gov/Food/GuidanceRegulation/GuidanceDocumentsRegulatoryInformation/A

llergens/ucm106187.htm(Food Allergen Labeling and Consumer Protection Act of 2004 (Public Law

108-282, Title II)

Page 170: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

153

อาหารชนิดนั้นไมมีสารอาหารที่กอใหเกิดโรคภูมิแพที่มีความเสี่ยงตอสุขภาพของมนุษยมาแสดงตอ

สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาสหรัฐ (FDA) ซึ่ง FDA จะใชเวลาในการพิจารณา 180 วัน

จากนั้นจะประกาศยอมรับหรือปฏิเสธขอรองเรียนดังกลาวใหรับทราบเชนเดียวกับกรณีที่เปน

สวนประกอบของอาหาร(foodingredients) โดย FDA จะใชเวลาในการพิจารณา 90 วันหลังจาก

ไดรับการรองขอ

6) ขอกําหนดการแสดงฉลากกลูเตน

ภายใตบทบัญญัติของรัฐบัญญัติเรื่องการแสดงฉลากอาหารกอโรคภูมิแพและการคุมครอง

ผูบริโภคปพ.ศ.2547 ไดกําหนดใหสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาสหรัฐ (FDA) ออก

ขอกําหนดเกี่ยวกับคําจํากัดความและการอนุญาตใหใชคําวา“gluten free (ปราศจากกลูเตน)”โดย

สมัครใจบนฉลากของอาหารภายในเดือนสิงหาคม 2549 และประกาศเปนขอกําหนดขั้นสุดทาย

(final rule) ภายในเดือนสิงหาคม 2551 ทั้งนี้เนื่องมาจากมีรายงานทางวิทยาศาสตรยืนยันวา

กลูเตน (gluten) ซึ่งเปนกลุมของโปรตีนที่พบในธัญพืชจําพวกขาวสาลีขาวบาเลยและขาวไรย

สามารถทําใหผูบริโภคซึ่งปวยดวยโรค Celiac disease (โรคที่เกี่ยวกับการที่ระบบทางเดินอาหาร

ไมสามารถยอยโปรตีนได) เกิดอาการแพไดโดยจะทําอันตรายตอระบบทางเดินอาหารทําใหลําไส

เล็กเกิดความเสียหายจนไมสามารถดูดซึมสารอาหารไดซึ่งปจจุบันพบวาประชากรสหรัฐฯประมาณ

2 ลานคนหรือคิดเปน 1 ใน 133 คนปวยดวยโรค Celiac disease นี้

7) บทลงโทษ

ทั้งนี้กระทรวงสาธารณะสุขของสหรัฐอเมริกา (FDA) ไดออกกฎระเบียบเรื่องการแสดง

ฉลากอาหารกอภูมิแพชื่อสามัญหรือชื่อเรียกไวบนฉลากอาหารเปนสวนประกอบซึ่งตองไดรับการ

คุมครองผูบริโภคดังนั้นการดําเนินการเพื่อการลงโทษผูผลิตสินคาที่ไมปฏิบัติตามระเบียบดังกลาว

ถือวามีความผิดทั้งทางแพงและทางอาญาโดย FDA มีอํานาจรองขอใหมีการกักกันสินคาที่ปด

ฉลากผิดระเบียบไดรวมถึงการกําหนดใหมีการเรียกคืนผลิตภัณฑสินคา(Recall) 46โดยผูผลิตหรือผูจัด

46Labeling and Consumer Protection Act of 2004.( SEC. 204. Report On Food Allergens)

(5) (C) the number of voluntary recalls, and their classifications, of foods containing

undeclared major food allergens; and

(6) assesses the extent to which the Secretary and the food industry have effectively

addressed cross-contact issues.

Page 171: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

154

จําหนายแลวแตกรณีดวย เปนตน47

3.2.1.3 มาตรการคุมครองในดานการเยียวยาตามกฎหมายคุมครองผูบริโภคระดับมลรัฐของอเมริกายอมมีรายละเอียดในเรื่องที่

เกี่ยวกับการคุมครองผูบริโภคในมลรัฐนั้นๆเปนการเฉพาะ รัฐบัญญัติระดับสหพันธรัฐพบวามี

กฎหมายที่กํากับดูแลกิจการพาณิชยของประเทศเพื่อใหเกิดความเปนธรรมชื่อกฎหมายการ

ผูกขาดทางดานการคา (The Federal Trade Commission Act) และรัฐบัญญัติเกี่ยวกับความ

ปลอดภัยในผลิตภัณฑ ชื่อกฎหมายความปลอดภัยของผลิตภัณฑตอผูบริโภค (The Consumer

Product Safety Act) รวมทั้งกฎหมายอาหารยาและเครื่องสําอางของรัฐบาลกลาง (The Federal

Food, Drug and Cosmetic Act) ซึ่งรัฐบัญญัติที่ประกาศบังคับใชในระดับสหพันธรัฐสวนใหญ

เปนรัฐบัญญัติที่คณะกรรมาธิการวาดวยการคาแหงสหพันธรัฐหรือ Federal Trade Commission

(FTC) เปนผูบังคับใช โดยมีสํานักคุมครองผูบริโภค (Bureau of Consumer Protection) ซึ่งเปน

หนวยงานภายใต FTC ดูแลรับผิดชอบเรื่องการโฆษณาและการกระทําทางการคาที่ไมเปนธรรมซึ่ง

มีรัฐบัญญัติเฉพาะคือกฎหมายความปลอดภัยของผลิตภัณฑตอผูบริโภค (The Consumer

product Safety Act) ซึ่งมีคณะกรรมาธิการคุมครองความปลอดภัยของผูบริโภค (Consumer Product Safety

Commission (SPSC) เปนผูกํากับดูแลและเรื่องอาหารและอยูภายใตการกับของ FDA48

คณะกรรมการอาหารและยาของสหรัฐอเมริกาหรือ FDA มีอํานาจตามที่กฎหมายวา

ดวยอาหารยาและเครื่องสําอางกําหนดไวเชนการตรวจสอบโรงงานและผลิตภัณฑเปนระยะๆโดย

ไมแจงลวงหนาวิเคราะหตัวอยางใหการศึกษาและดําเนินการตามกฎหมายเมื่อพบการละเมิด

เจาของกิจการที่ทําการคาผลิตภัณฑอาหารระหวางรัฐมีหนาที่รับผิดชอบเพื่อใหเกิดความมั่นใจได

วาองคประกอบตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับกระบวนการผลิตจะเปนไปตามกฎหมายวาดวยอาหารยา

และเครื่องสําอาง กฎหมายวาดวยการบรรจุหีบหอ และการแสดงฉลากที่เปนธรรมรวมถึง

47Food Allergen Labeling and Consumer Protection Act of 2004 Public Law 108-282 Report

to The Committee on Health, Education, Labor, and Pensions United States Senate And The

Committee on Energy and Commerce United States House of Representatives Department of Health

and Human Services Food and Drug Administration Center for Food Safety and Applied Nutrition July

2006,p.28-31. “VII. Section 204(5)(C): Allergen Recalls Section 204(5)(C) of the FALCPA provides that

the report address thenumber of voluntary recalls, and their classifications, of foods containing

undeclared major food allergens. FDA reviewed and analyzed five years of agency information on

voluntary recalls involving undeclared food allergens. The results of this analysis are discussed

below….”48สุษม ศุภนิตย ,เรื่องเดิม, หนา 68 - 70.

Page 172: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

155

กฎระเบียบตางๆ โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหผลิตภัณฑอาหารมีความปลอดภัยสะอาดและบริสุทธิ์

และแสดงขอมูลที่เพียงพอในฉลากผลิตภัณฑ

ขอบเขตอํานาจของ FDA มีอยูเหนือสินคาที่ถูกสงไปคาขายทั่วสหรัฐอเมริกาสวน

สินคาที่ถูกผลิตขนสงและทําการซื้อขายในมลรัฐ (State) FDA จะไมเขาไปเกี่ยวของดวยโดยจะ

เปนอํานาจหนาที่ของรัฐเองที่จะเขามาควบคุมโดยแตละรัฐจะมีกฎหมายของตนเชนมลรัฐ

แคลิฟอรเนียกําหนดกฎระเบียบประจํารัฐ (California Proposition 6525) ควบคุมการใชสารเคมี

ตองหามที่เชื่อวาเปนอันตรายอาจกอใหเกิดโรคมะเร็งความผิดปกติในเด็กแรกเกิดและอันตราย

อื่นๆตอการเจริญพันธุของมนุษยรวมถึงสีสําหรับยอมผา (Dyes) ตัวทําละลาย (Solvents) ยาฆา

แมลง (Pesticides) ยา (Drugs) Food Additives สารเคมีอันตรายอาจกอโรคมะเร็งยาปฏิชีวนะ

ประเภท Chloramphenicol และ By-products ดังนั้นผูบริโภคที่มีปญหาหรือขอรองเรียนในสินคา

ซึ่งไมเกี่ยวของในการคาขายระหวางรัฐแลวจะตองติดตอกับหนวยงานของรัฐ นั้น ๆ เองแตใน

หลายกรณีรัฐนั้น ๆ จะนําเอากฎระเบียบและแนวปฏิบัติของ FDA มาเปนแนวทางหรือมาปรับใช

บังคับดวย

ทั้งนี้สหรัฐอเมริกาในเรื่องการเรียกใหผูขายรับผิดอันเนื่องมาจากการผิดคํารับรอง ผูซื้อ

มีหนาที่พิสูจนแตเพียงวาทรัพยสินที่ผูขายสงมอบใหแกตนนั้นไมมีลักษณะหรือคุณภาพตามที่

ผูขายไดรับรองหรือไดพรรณนาหรือไดโฆษณาไวโดยผูซื้อไมจําเปนตองพิสูจนวาทรัพยนั้นมีความ

ชํารุดบกพรองอยางไรบางแตหากมีขอสัญญากําหนดหนาที่ใหผูซื้อตองกระทําการอยางใดอยาง

หนึ่งกอนที่จะเรียกรองใหผูขายตองรับผิดจากการผิดคํารับรองโดยชัดแจงแลว ผูซื้อก็จะตองกระทํา

การดังกลาวเสียกอน คาเสียหายที่กําหนดในประเทศสหรัฐอเมริกานั้นกําหนดไววา49

ก. คาเสียหายที่เกิดจากความเสียหายแกตัวผลิตภัณฑเองตองฟองตามกฎหมายแพง

วาดวยสัญญาและไมอยูภายใตกฎหมายในเรื่องการเรียกใหผูขายรับผิดอันเนื่องมาจากการผิดคํา

รับรองนี้

ข. คาเสียหายอันเปนการลงโทษเทาที่กฎหมายอนุญาตโจทก สามารถเรียกไดหาก

พิสูจนไดอยางชัดเจนจากพยานหลักฐานวากระทําโดยรูอยูวาจะเกิดความเสียหายตอผูอื่น

คาเสียหายอันเปนการลงโทษตองไมเกินกวา 3 เทาของจํานวนคาเสียหายที่ศาลตัดสินใหโจทก

ไดรับชดใชเพื่อความเสียหายที่คํานวณเปนเงินไดตามฟองหรือไมเกิน 250,000 เหรียญ โดย

ประมาณหรือสุดแตวาจํานวนใดจะมากกวา

49แนวทางการดําเนินงานของคณะกรรมาธิการการคุมครองผูบริโภคสภาผูแทนราษฎร, (2550), สืบคน

เมื่อ 5 เมษายน 2557, จาก ,http://web.parliament.go.th/parcy/sapa_db/committee-upload/6-

20110928111705_Operating%20guidelines.pdf .

Page 173: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

156

ค. คาเสียหายที่ไมอาจคํานวณเปนเงินไดคํานวณตามสัดสวนที่ตองรับผิดในความ

เสียหายที่เกิดขึ้นและศาลอาจกําหนดคําพิพากษาแยกเปนรายบุคคลได ทั้งนี้ตามที่กฎหมายได

กําหนดและวางเงื่อนไขไวเปนตน

3.2.1.4 องคกรบังคับใชกฎหมายองคกรคุมครองผูบริโภคที่มีลักษณะเปนสมาคมหรือสมาพันธระดับชาติตางมีสวนใน

การคุมครองผูบริโภค และมีอยูทั่วประเทศในทุกมลรัฐ แตไมมีวัตถุประสงคในการฟองคดีเพื่อ

ผูบริโภค เพราะคดีเหลานี้หากไมฟองโดยผูเสียหายก็อาจให Attorney General หรืออัยการของรัฐ

หรือสหพันธรัฐฟองรองใหได กิจกรรมหลักขององคกรผูบริโภคจึงเปนเรื่องการเผยแพรขอมูลผานสื่อ

ชนิดตาง ๆ การนําเสนอแนวทางตอพรรคการเมืองหรือรัฐสภา เพื่อออกฎหมายและการเปนศูนย

รวมของผูบริโภคเพื่อเรียกรองสิทธิเทานั้น50

คณะกรรมการอาหารและยาของสหรัฐอเมริกาเปนหนวยงานภายใตกระทรวง

สาธารณสุข (Department of Health and Human Service (DHHS)) และ the Public Health

Service (PHS) โดย FDA เปนหนวยงานทําหนาที่ควบคุมและกํากับดูแลเรื่องอาหารทุกชนิดไมวา

จะเปนอาหารที่ผลิตในสหรัฐอเมริกาหรืออาหารที่นําเขามาจากตางประเทศ

สหรัฐอเมริกามีหนวยงานที่ เกี่ยวของกับสินคาเกษตรและอาหารหลาย

หนวยงาน ซึ่งมีอํานาจหนาที่ความรับผิดชอบแตกตางกันโดย FDA ประกอบไปดวยหนวยงาน ตาง

ๆ ดังตอไปนี้

1) ศูนยความปลอดภัยอาหารและ โภชนาการประยุกต (Center for Food

Safety and Applied Nutrition) (CFSAN)

2) ศูนยการพัฒนาอาหารและยาของสหรัฐอเมริกา (Center for Drug

Evaluation and Research) (CDER)

3) ศูนยสําหรับอุปกรณและรังสีสุขภาพ (Center for Devices and

Radiological Health) (CDRH)

4) ศูนยชีวประเมินผลและวิจัย (Center for Biologics Evaluation and

Research) (CBER)

5) ศูนยสัตวแพทยศาสตร (Center for Veterinary Medicine) (CVM)

6) สํานักงานการกํากับดูแลกิจการ (Office of Regulatory Affairs)

50สุษม ศุภนิตย,เรื่องเดิม,หนา 70.

Page 174: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

157

7) ศูนยแหงชาติเพื่อการวิจัยทางพิษวิทยา (National Center for

Toxicological Research)

สวนในระดับมลรัฐตองพิจารณากฎหมายที่ใชภายในรัฐนั้นๆวากําหนดรายละเอียดในเรื่อง

การคุมครองผูบริโภคไวอยางใดเชนอาจมีหนวยงานของรัฐดูแลรับเรื่องราวรองทุกขหรือฟองคดีให

อาจเปนอัยการของมลรัฐ State Attorney General เปนตน กรณีความปลอดภัยเกี่ยวกับสินคามี

กฎหมายเฉพาะซึ่งครอบคลุมสินคาทุกชนิดทุกประเภทเพื่อความปลอดภัยโดยมีคณะกรรมาธิการ

วาดวยความปลอดภัยในผลิตภัณฑคือ The Consumer Product Safety Commission (CPSC)

เปนผูกําหนดนโยบายมาตรฐานและตรวจติดตามใหมีการปฏิบัติตามกฎเกณฑเกี่ยวกับความ

ปลอดภัยกฎหมายกําหนดอํานาจในการสั่งหามจําหนายสั่งใหเรียกเก็บจากตลาดและมีโทษทาง

อาญา เปนบทบังคับผูบริโภคมีสิทธิฟองคดีเรียกคาเสียหายไดตามมาตรา 23 แหงกฎหมายนี้

แตระบบการฟองคดีเพื่อเรียกรองคาเสียหายน้ันเปนเรื่องของผูบริโภคจะใชสิทธิของตนโดย

ผานหนวยงานภาครัฐโดยอาศัยหลักกฎหมายลักษณะละเมิดตามแนวกฎหมายจารีตประเพณีหรือ

ระบบกฎหมายที่พัฒนามากขึ้นเชน Product Liability และการฟองคดีเปนกลุมเพื่อประหยัดเวลา

คาใชจายเมื่อความเสียหายเปนอยางเดียวกันและเกิดเหตุเดียวกันที่เรียกวาการฟองคดีแบบกลุม

“Class Action” ซึ่งมีอยูในระบบสหรัฐอเมริกา สวนองคคุมครองผูบริโภคที่มีลักษณะเปนสมาคม

หรือสมาพันธระดับชาติตางมีสวนในการคุมครองผูบริโภคและมีอยูทั่วประเทศในทุกมลรัฐแตไมมี

วัตถุประสงคฟองคดีเพื่อผูบริโภค เพราะคดีเหลาหากไมฟอง โดยผูเสียหายก็อาจให Attorney

General หรืออัยการของรัฐหรือสหพันธรัฐฟองรองใหได51

ทั้งนี้ในระบบกฎหมายสหรัฐอเมริกาผูเสียหายกรณีบริโภคสินคาหรือผลิตภัณฑจึงมี

ทางเลือกที่จะฟองเรียกคาเสียหายเปนคดีแพงทั้งทางสัญญาและเปนคดีละเมิด ความแตกตางคง

อยูที่สิทธิเรียกคาเสียหาย อายุความและความสามารถในการเปนโจทก ซึ่งผูเสียหายตองพิจารณา

ดูวาตนมีฐานะเปนโจทกไดหรือไม เพราะการรับรองสิทธิมีอยูแตกตางกันใน Uniform Commercial

Code หรือที่เรียกโดยยอวา “U.C.C.” อาจรับรองสิทธิของผูเสียหายไวตาง ๆ กันเชนกรณีเปน

สมาชิกของครอบครัวผูซื้ออาจมีสิทธิเรียกรองโดยอาศัยสัญญาซื้อขายไดหากเปนกรณีที่ถือวามีคํา

รับประกันโดยปริยายเชนใน Section 2 – 318 (A) ในขณะที่หากตองการเรียกคาสินไหมทดแทน

ในทางละเมิดซึ่งไมตองการฟองคดีเพื่อเรียกคาเสียหายในทางละเมิดที่เกิดจากการบริโภคภายใต

51แนวทางการดําเนินงานคณะกรรมาธิการการคุมครองผูบริโภค, สืบคนเมื่อ 5 เมษายน 2557, จาก

,http://www.parliament.go.th/parcy/sapa_db/committee-upload/6-

20110928111705_Operating%20guidelines.pdf.

Page 175: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

158

กฎหมายของประเทศสหรัฐอเมริกาโจทกตองนําสืบใหชัดเจนวาผลิตภัณฑที่เปนเหตุแหงความ

เสียหายนั้นมีความชํารุดบกพรองเมื่อจําเลยนําออกสูตลาดและความเสียหายนั้นเกิดขึ้นเกินกวา

การใชตามปกติกับทั้งมีความสัมพันธระหวางความเสียหายกับความผิดปกติหรือชํารุดบกพรองของ

ผลิตภัณฑหรือกลาวอีกนัยหนึ่งความผิดปกติในผลิตภัณฑเปนผลใหเกิดความเสียหายแกโจทกคือมี

ความสัมพันธระหวางความเสียหายและสิ่งผิดปกติที่จําเลยตองรับผิดชอบและทายสุดโจทกตอง

พิสูจนวาจําเลยเปนผูผลิตผูขายหรือผูจัดจําหนายผลิตภัณฑดังกลาวในขณะที่โจทกบริโภค

ผลิตภัณฑนั้นดังนั้นหากโจทกไมอาจสืบใหไดความชัดเจนทุกประเด็นคดีที่โจทกฟองเรียกคา

สินไหมทดแทนในทางละเมิดก็ตองถูกยกฟองหลักความรับผิดเด็ดขาดหรือ Strict liability เปนเพียง

หลักที่ชวยทําใหโจทกไมมีภาระการพิสูจนในประเด็นประมาทเลินเลอเทานั้นยิ่งไปกวานั้นหากผูขาย

หรือผูผลิตมีหลายรายผูขายหรือผูผลิตฝายใดควรเปนจําเลยในความเสียหายที่เกิดจากสินคาหรือ

ผลิตภัณฑ

3.2.2 แคนาดา3.2.2.1 มาตรการคุมครองในดานการโฆษณาปจจุบันตลาดสินคา ปลอดสารพิษ ในประเทศแคนาดาไดเติบโตอยางรวดเร็วโดย

มีมูลคาตลาด ระหวาง 300-750 ลานเหรียญแคนาดา และมีอัตราการเติบโตของสินคา ปลอด

สารพิษ มากกวารอยละ 15 ตอป ซึ่งประเทศแคนาดานําเขาสินคาประเภทนี้มากกวารอยละ 80

เพื่อรองรับความตองการผูบริโภคในประเทศ ซึ่งความหมายของสินคา ปลอดสารพิษ ไดแกอาหาร

ซึ่งปราศจากการใชสารเคมี ยาฆาแมลง การฉายรังสี และมิใชจากการตัดตอทางพันธุกรรมดวย

ประเทศแคนาดาจัดวาเปนผูผลิตธัญญพืช และเมล็ดน้ํามัน รวมทั้งผลิตภัณฑแปรรูป ปลอดสารพิษ

รายสําคัญ 5 อันดับแรกของโลก หนวยงานดานเกษตรและผลิตภัณฑอาหารแคนาดาไดรายงาน

ขอมูลการผลิตสินคา ปลอดสารพิษ จากผูผลิตที่ไดรับการรับรอง (certified ปลอดสารพิษ farm) วามี

มูลคาในตลาดขายปลีกประมาณ 986 ลานเหรียญแคนาดา ในป พ.ศ.2547

อยางไรก็ตามปริมาณการผลิตสินคา ปลอดสารพิษ ภายในประเทศแคนาดายังไมเพียงพอ

กับความตองการสินคา ดังนั้นจึงตองมีการนําเขาจากตางประเทศเปนจํานวนมาก ซึ่งคิดเปนรอยละ

70 – 80 ของผลผลิตทั้งสิ้น โดยไดนําเขาสินคา ปลอดสารพิษ จากประเทศสหรัฐอเมริกาประมาณ

รอยละ 85 ของการนําเขาจากทั่วโลก ซึ่งสินคานําเขาไดแก ผักบร็อคโคลี่ มะเขือเทศ ผักสลัดสป

แนชท สัม ลูกแพร เปนตนการนําเขาสินคาอาหาร ปลอดสารพิษ จะตองผานการตรวจสอบ

มาตรฐานทั่วไปของ FDA (Food and Drug Administration) และ CPLA (Canadian

Payday Loan Association) ตองมีการระบุสวนประกอบของสินคา ปลอดสารพิษ ลงบนบรรจุ

Page 176: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

159

ภัณฑ และระบุชื่อของประเทศตนกําเนิด ทั้งนี้เปนไปตามกฎระเบียบ ขอบังคับสําหรับสินคาปลอด

สารพิษ

นับตั้งแตเดือนธันวาคม 2549 ทางรัฐบาลแคนาดาไดออกระเบียบขอบังคับสินคา ปลอด

สารพิษ เพื่อการคุมครองผูบริโภคและปองกันการปลอมแปลงแอบอางของสินคาที่ไมใช ปลอด

สารพิษ โดยสินคาที่ผานมาตรฐานการรับรองคุณภาพจะไดรับเครื่องหมายแสดงคุณภาพบนสินคา

นั้น (มีขอความ biologique Canada ปลอดสารพิษ) และนับแตวันที่ 14 ธันวาคม 2551 รัฐบาล

แคนาดาจะบังคับใหสินคา ปลอดสารพิษ ทุกชนิดตองผานการรับรองคุณภาพตามมาตรฐานรับรอง

สําหรับการคาระหวางมณฑลในประเทศแคนาดาและการคาระหวางประเทศดวย และภายหลัง

เดือนธันวาคม 2551 เปนตนไป สินคา ปลอดสารพิษ นําเขาจากตางประเทศจะตองมีเอกสาร

รับรองสินคาจากหนวยงานผูมีอํานาจที่เกี่ยวของของประเทศผูสงออกวาไดผานคุณภาพตามกฎ

ขอบังคับและมาตรฐานสินคา ปลอดสารพิษ ของแคนาดา (National Standard for ปลอดสารพิษ

Agriculture)

ในสวนชองทางการตลาดสินคาอาหารและพฤติกรรมผูบริโภคในแคนาดา สินคาอาหารที่

นําเขาไปยังประเทศแคนาดาจะตองไดรับการตรวจสอบจาก CFIA ซึ่งทางรัฐบาลของแคนาดาไดให

ความสําคัญความมาตรฐานความปลอดภัยของสินคาอาหารที่นําเขาจากตางประเทศมาก เพื่อให

แนใจวาสินคานั้นปลอดภัยและเปนอาหารที่ดีตอสุขภาพของประชาชนในประเทศ CFIA จะทําการ

ตรวจสอบสินคาอาหารทะเลโดยมีหลักเกณฑดังนี้คือ

1) มาตรฐานของการตรวจสอบจะประกอบดวย Sensory Evaluation, Net Content,

Packaging และ Label

2) การวิเคราะหลักษณะพิเศษ อาทิ แบคทีเรีย การตรวจสอบทางเคมี และความเปนพิษ

เปนตนการทําตลาดสินคาอาหารในประเทศแคนาดา สิ่งที่มีความสําคัญและควรพิจารณา ไดแก

3) บรรจุภัณฑ ผูประกอบการควรระบุ และแยกกลุมตลาดเปาหมายใหชัดเจนและแสดง

ความตองการขายใหกับกลุมลูกคาใดผานบรรจุภัณฑ รวมถึงบรรจุภัณฑที่สามารถนํามาใชใหม

(recycle) ไดจะไดรับความสนใจเปนพิเศษ

4) การทําตลาดที่ดีแบบผสมผสาน ทั้งทางดานตัวสินคา ราคา การสงเสริมการขาย และ

การกระจายสินคา

5) มีการพัฒนาตัวสินคาอยูตลอดเวลา เพื่อใหเกิดสินคาใหมๆ ในตลาด

6) มีการสรางมูลคาเพิ่มของสินคา ผูบริโภคในแคนาดามีความตองการสินคาที่ดีตอสุขภาพ

รวมทั้งสินคา ปลอดสารพิษโดยการสรางและการเลือกคูคาที่ดี จะสงผลใหการคาประสบผลสําเร็จ

รวบทั้งคุมครองผูบริโภคดวย

Page 177: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

160

ทั้งนี้จะทําใหเห็นวาปญหาการบริโภคขนมเด็ก ไมใชจะเกิดขึ้นกับประเทศไทยเทานั้น แต

เปนปญหาระดับสากล ที่ ตองหาวิธีแกไข เชน ในรัฐควิเบก ประเทศแคนาดา หามโฆษณาจูงใจเด็ก

อายุตํากวากวาสิบสามป ในประเทศบราซิลมีการออกกฎหมายควบคุมการโฆษณาปกปองเด็ก

เครือขายนักวิชาการและผูบริโภคออสเตรเลียเรงรณรงคกําจัดการโฆษณาขนมเด็ก ประเทศอังกฤษ

มีบริษัทอาหาร สมาคมรวมมือ กับ สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาทําฉลากติดสัญญาณไฟ

จราจรเตือนผูบริโภค อาหารไขมัน เกลือและ น้ําตาลสูง เปนตน

สําหรับประเทศไทยนั้น ไดพยายามรวมกันหาทางออกและวิธีการแกไขปญหาทั้งหนวยงาน

ภาครัฐ ภาคเอกชนและหนวยงาน อื่นๆ ที่เกี่ยวของไดมีขอเสนอดังน้ี

จัดใหมีการแสดงสัญลักษณบนฉลาก เชน ติดสัญลักษณสีแดง คือ มีไขมัน น้ําตาล และ

เกลือ เกินรอยละ 10 ของปริมาณที่ควรไดรับตอวัน ติดสัญลักษณสีเขียว คือ มีไขมัน น้ําตาลและ

เกลือ ไมเกินรอยละ 5 ของปริมาณที่ควรไดรับตอวันจะอยูในเกณฑที่ปลอดภัยเพื่อใหเดกเลือก

บริโภคไดดวยตนเองวาขนมชนิดใดมีประโยชน การโฆษณาขนมเด็กไมควรใชนักแสดงที่มีชื่อเสียง

หรือเด็กเปนผูนําเสนอสินคา เสนอใหรัฐบาล หนวยงานหรือองคกรภาครัฐและเอกชนที่เกี่ยวของ

รวมมือกันแกไขปญหาและกําหนดแนวทางปฏิบัติที่ ชัดเจน เพื่อคุมครองสุขภาพของเด็กไทย เปน

ตน

3.2.2.2 มาตรการคุมครองในดานฉลากภูมิแพกระทรวงสาธารณสุขแคนาดา (Health Canada) ไดประกาศระเบียบใหมเรื่อง

“การแสดงฉลากอาหารที่มีสวนประกอบของสารกอภูมิแพกลูเต็นและซัลไฟตภายใตกฎหมายความ

ปลอดภัยสินคาผูบริโภค (Consumer Product Safety Act)

เนื่องจากพบวาเด็กชาวแคนาดารอยละ 5-6 และผูใหญกวารอยละ 3-4 เสี่ยงตอ

การแพอาหารบางชนิด ซึ่งอาจสงผลใหเกิดอาการปวดทองอยางรุนแรงทองเสียออนเพลียและอาจ

เปนอันตรายถึงชีวิตโดยระเบียบใหมนี้กําหนดใหผูผลิตและผูนําเขาสินคาอาหารตองติดฉลากระบุ

สวนประกอบของสารกอภูมิแพ ไดแก กลูเต็นซัลไฟตถั่วลิสง ไข นม ถั่ว ขาวสาลี ถั่วเหลือง งา

อาหารทะเล และมัสตารด ซึ่งจะเริ่มมีผลบังคับใชตั้งแตวันที่ 4 สิงหาคม 2555 เปนตนไปโดย

สาระสําคัญสรุปไดดังนี้52

52ที่มาศูนยอัจฉริยะเพ่ืออุตสาหกรรมอาหาร แผนกวิเคราะหขอมูล ฝายวิจัยและบริหารขอมูล สถาบัน

อาหาร,สืบคนเมื่อวันท่ี 7 เมษายน 2557, จาก, www.foodnavigator-usa.com/Legislation/Canada-reveals-

allergen-labeling-plans และ www.hc-sc.gc.ca/fn-an/label-etiquet/allergen/project_1220_differ-

eng.php .

Page 178: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

161

1) กําหนดใหเมล็ดมัสตารดเปนสารกอภูมิแพ

2) ใหระบุชื่อสามัญที่เปนแหลงที่มาของโปรตีนที่สกัดจากพืช

3) ใหใชคําวา “Wheat” ซึ่งเปนสารกอภูมิแพที่ควบคุมอยูแลวแทนสารกอภูมิแพเชน Spelt,

KamutหรือธัญพืชสายพันธุTriticumหากมีสารกอภูมิแพเหลานั้นเจือปนในผลิตภัณฑ

4) ใหระบุสวนประกอบของสารกอภูมิแพในอาหารบนฉลากดวยคําวา “Contains” แทน

คําวา “Allergy and Intolerance Information - Contains”

5) ยกเลิกการบังคับใหระบุขอความเปนการเฉพาะในกรณีที่ผลิตภัณฑมีปริมาณสารซัล

ไฟตเปนสวนประกอบในปริมาณ 10 มล./กกหรือมากกวา

6) ใหระบุสวนประกอบของสารชวยตกตะกอน (Fining agents) ที่ไดจากไขปลาหรือนมที่

ใชในการผลิตเครื่องดื่มแอลกอฮอลในกรณีที่สวนประกอบนั้นยังคงมีอยูในผลิตภัณฑ

7) ใหระบุสารกอภูมิแพที่ใชในสารเคลือบเงาหรือสวนประกอบของสารดังกลาวสําหรับผัก

ผลไมบรรจุเสร็จ (Prepackaged fruits and vegetables)

8) กําหนดระยะเวลาปรับตัวสําหรับผูประกอบการเปนเวลา 18 เดือนนับจากวันที่ระเบียบมี

ผลบังคับใช

9) ปรับปรุงระเบียบวาดวยเรื่องอาหารและยา (Food and Drug Regulation: FDR)

มาตราที่ B.24.018 เกี่ยวกับคํานิยามของกลูเต็นโดยใหหมายถึงกลูเต็นโปรตีนทุกชนิดรวมถึงเศษ

ยอยของกลูเต็นโปรตีนตามมาตรายอยที่ B.01.010.1 (0) เพื่อใหสอดดคลองกับคําจํากัดความทาง

วิทยาศาสตรที่เปนที่ยอมรับในระดับสากล53

ทั้งนี้ประเทศ Canada เขมอาหารนําเขา ตองแสดงฉลากอาหารกอภูมิแพ: เพื่อ

ปกปองคุมครองผูบริโภคที่สวนใหญเสี่ยงตอการแพอาหารบางชนิด โดยกระทรวงสาธารณสุข

ประเทศแคนาดาไดออกกฎหมายความปลอดภัยสินคาผูบริโภคกําหนดใหผูผลิตและผูนําเขาอาหาร

ตองติดแสดงฉลากระบุสวนประกอบของอาหารที่อาจ 12 กันยายน 2554 กอใหเกิดภูมิแพ ไดแก

Gluten Sulfite ถั่วลิสง ไข นม ถั่ว ถั่วเหลือง ขาวสาลี งา อาหารทะเล และมัสตารด โดยจะมีผล

บังคับใชวันที่ 4 สิงหาคม 2555 สําหรับมูลคาการสงออกสินคาอาหารแปรรูปของไทยไปยังแคนาดา

นั้น พบวา ป 2553 มีมูลคาการสงออก 9,400 ลานบาท (คิดเปนสัดสวน 21% ของการสงสินคาทุก

ประเภทไปยังแคนาดา) และในชวงระหวางเดือนมกราคมถึงเดือนกรกฎาคม 2554 นี้ ไทยมียอด

การสงออกไปยังแคนาดารวมทั้งสิ้น 6,200 ลานบาทโดยทั่วไปสินคาอาหารตองมีการติดฉลากระบุ

สารกอภูมิแพซึ่งประเทศพัฒนาแลวจะมีความเขมงวดมากเปนพิเศษผูประกอบการไทยจึงควรติด

53เรื่องเดียวกันหนา3.

Page 179: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

162

ฉลากระบุสารกอภูมิแพที่ใชในอาหารอยางชัดเจนเพื่อปองกันอันตรายที่อาจเกิดขึ้นกับผูบริโภคและ

อาจทําใหสินคาไทยเสียความนาเชื่อถือไดทั้งนี้ในป 2553 ไทยสงออกสินคาอาหารแปรรูปไป

แคนาดามูลคา 9,400 ลานบาทลดลงจากป 2552 รอยละ 2 คิดเปนสัดสวนรอยละ 21 ของการ

สงออกสินคาทั้งหมดไปแคนาดาและในป 2554 (ม.ค.-ก.ค.) ไทยสงออกสินคาอาหารแปรรูปไป

แคนาดามูลคาประมาณ 6,200 ลานบาทเพิ่มขึ้นรอยละ 21 จากชวงเดือนเดียวกันของป 2553 ซึ่ง

สงออกมูลคาประมาณ 5,200 ลานบาท

3.2.2.3 มาตรการคุมครองในดานการเยียวยาประเทศแคนาดาใน Quebec มีการจัดตั้ง Small Claims Court ขึ้นในปค.ศ.1971

เรียกวา“The Courdes Des Petities Creances” โดยมีเจตนารมณเชนเดียวกับการจัดตั้ง smallclaims

court ในประเทศอื่นๆลักษณะเฉพาะที่ทําใหศาลนี้แตกตางจากศาลทั่วไปคือมีบทบัญญัติหามมิให

นิติบุคคลเปนโจทกฟองในศาลนี้รวมถึงการมิใหทนายความเขามาในขั้นตอนการพิจารณาคดี

Small Claims โดยมีขอยกเวนเพียงบางกรณีเทานั้นทั้งนี้ผูพิพากษาจะมีบทบาทในทุกกระบวน

พิจารณาและใชกระบวนพิจารณาที่ยืดหยุนขอเท็จจริงที่แสดงใหเห็นถึงจํานวนที่เพิ่มขึ้นอยาง

รวดเร็วของคดีที่เขาสูกระบวนการวิธีพิจารณาคดีเล็กนอยชี้ใหเห็นวาประชาชนมีทัศนคติที่ดีขึ้นตอ

วิธีพิจารณาของศาลโดยเฉพาะประโยชนในดานการนําคดีขึ้นสูศาลดวยตนเองโดยไมตองผาน

ทนายความจากสถิติของระยะเวลาในการพิจารณาคดี Small Claims พบวากระบวนการพิจารณา

คดีของศาลปกติใชเวลาเฉลี่ย 8.8 เดือนตอ 1 คดีในขณะที่กระบวนวิธีพิจารณาคดีเล็กนอยใชเวลา

เพียง 1.5 เดือน จะเห็นไดวาวิธีพิจารณาคดี Small Claims จะมีความสะดวกรวดเร็วมีขั้นตอน

กระบวนการที่เรียบงายและประหยัดคาใชจายที่ประชาชนใชบริการเพิ่มขึ้นเรื่อยๆก็ตามแตก็ยังมี

ขอบกพรองอยูกลาวคือ54

1) ในกระบวนการวิธีพิจารณาคดีSmall Claims คูกรณีตางก็ถูกบังคับใหเขาสูกระบวนการ

พิจารณาแบบ“วันเดียว” ดังนั้นสําหรับผูที่ไมเคยผานกระบวนการทางศาล

2) การมีกระบวนการพิจารณาคดีแบบรวบรัดหรือใหเสร็จสิ้นที่ศาลชั้นเดียวหรือสิ้นสุดที่

ศาลอุทธรณทําใหผูแพคดีไมสามารถอุทธรณไดไมวากรณีใดๆ จะเปนการตัดโอกาสผูแพคดีในการ

ยื่นเรื่องใหศาลสูงพิจารณาจะมีผลทําใหคูกรณีตางก็พยายามทุกวิถีทางเพื่อใหตัวเองเปนฝายชนะ

ดังนั้นการปรึกษากับที่ปรึกษากฎหมายหรือทนายความจึงเปนทางออกอยางหนึ่งซึ่งก็ทําใหคูกรณี

ไมวาโจทกหรือจําเลยที่พยายามจะชนะคดีตองเสียคาใชจายไปกับการปรึกษาทนายความหรือที่

54ฉลากภูมิแพของประเทศแคนาดา,สืบคาเมื่อวันท่ี3 เมษายน 2557, จาก

,http://www.inspection.gc.ca/english/fssa/labeti/guide/toce.shtml.

Page 180: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

163

ปรึกษาซึ่งเฉลี่ยแลวประมาณ 50,000-60,000 เยนเพื่อลดความเสี่ยงตอการแพคดีในกระบวนการ

พิจารณาคดี

3) ในกระบวนวิธีพิจารณาคดี Small Claims ศาลเปดโอกาสใหประชาชนสามารถเขารวม

ฟงในกระบวนการพิจารณาไดซึ่งในความเปนจริงแลวควรเปนเรื่องที่ตองใหคูความอนุญาตที่จะให

ทําการเปดเผยกระบวนการพิจารณาตอสาธารณชนได

4) ในกระบวนการพิจารณาคดี Small Claims คูกรณีอาจปกปดความจริงอันจะทําใหตน

ตองเสียประโยชนหรือบางครั้งถึงขั้นขัดขวางกระบวนการสืบสวนสอบสวนดวยวิธีการตางๆไมวาจะ

เปนการทําใหความจริงเปลี่ยนแปลงไปหรือทําใหขอเท็จจริงเปนอยางอื่นจนทําใหความนาเชื่อถือ

ของพยานบุคคลที่ถูกอางเขามาในคดีก็อาจถูกบิดเบือนขอเท็จจริงเพื่อใหทั้งโจทกหรือจําเลยในคดี

ฝายใดฝายหนึ่งชนะคดีได

5) กรณีคดีที่มีความซับซอนไมอาจนําการพิจารณาคดี Small Claims มาใชไดอยางมี

ประสิทธิภาพเพราะคดีตองใช เวลาในการสืบพยานหรือตองใชความเห็นของผู เชี่ยวชาญ

ประกอบการพิจารณาหรือตองไปเผชิญสืบสภาพหรือสถานที่เกิดเหตุเพราะการพิจารณาคดี Small

Claims รวบรัดและมีเวลาที่จํากัด

6) การโอนกระบวนการพิจารณาคดี Small Claims หากเขาสูกระบวนการพิจารณาคดี

แบบสามัญทั่วไปคูความตองประสบกับปญหาคาใชจายที่เพิ่มมากขึ้นรวมทั้งระยะเวลาที่อาจตอง

เสียในการดําเนินกระบวนพิจารณาทางศาลตอไป

7) สรางความหนักใจใหผูพิพากษาที่ทําหนาที่พิจารณาคดี Small Claims เพราะจะตองทํา

การตัดสินจากพยานหลักฐานที่ไดมาในระยะเวลาอันรวดเร็วจํากัดอาจมีความผิดพลาดไดทําใหผู

พิพากษาตองพยายามที่ใหมีการประนีประนอมยอมความกันระหวางคูความ

8) กระบวนการพิจารณาคดี Small Claims ถูกจํากัดดวยจํานวนมูลคาสิทธิเรียกรองเปน

จํานวนตามที่กําหนดไวแตหากคูกรณียินยอมตกลงที่จะเพิ่มจํานวนสิทธิเรียกรองก็สามารถกระทํา

ได

9) การคัดคานคําตัดสินของผูพิพากษาอาจทําใหคําพิพากษาหรือคําสั่งของศาลไมมีความ

ศักดิ์สิทธิ์และขาดความนาเชื่อถือหากวาผูพิพากษาที่พิจารณาคดี Small Claims กับผูพิพากษาที่

ตัดสินการคัดคานหรือการอุทธรณเปนคนเดียวกันหรือตัดสินไปโดยไมมีการสืบพยานเพิ่มเติมหรือมี

พยานหลักฐานใดเพิ่มเติมอีกหลักการบังคับคดีทางแพงในประเทศแคนาดากําหนดไวในกฎหมาย

เฉพาะของแตละมลรัฐอาทิ– มลรัฐQuebec หลักการบังคับคดีแพงทั่วไปไดถูกกําหนดไวใน Code

of Civil Procedure โดยบัญญัติวาการจะบังคับคดีตามคําพิพากษานั้นจะเกิดขึ้นไมไดเวนแตจะ

กระทําโดย1. Bailiff2. Sheriff หรือ Sheriff officerในคดีมโนสาเร (Small claims = ฟองรองกันไม

Page 181: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

164

เกิน 7000$) เจาหนี้สามารถรองขอให Bailiff หรือ Advocate ทําการบังคับคดีใหไดและในกรณีที่

เจาหนี้เปนบุคคลธรรมดาสามารถรองขอใหจาศาลหรือบุคคลซึ่งแตงตั้งโดยรัฐมนตรีดําเนินการ

บังคับคดีใหก็ไดโดยทั่วไปนั้นอํานาจหนาที่ของ Bailiff จะเกี่ยวของกับงานเอกสารและกระบวนการ

ทางศาลรวมไปถึงทําการบังคับคดีตามคําพิพากษาของศาลเชนการยึดทรัพยสินการขายทรัพยสิน

และการขับไลออกจากที่ดินรวมถึงการปฏิบัติอื่นที่เกี่ยวของสวน Sheriff นั้นมีหนาที่บังคับคดีให

เปนไปตามคําสั่งของศาลหรือหมายที่ออกโดยศาลนั้นๆ รวมถึงมีอํานาจในการยึดและขายทรัพยสิน

ของลูกหนี้รวมถึงการปฏิบัติอื่นที่เกี่ยวของเชนกันทั้ง Sheriff และ Bailiff (Court Bailiff) ตางก็มี

สถานะเปนเจาพนักงานศาล

ทั้งนี้เนื่องจากประเทศแคนาดาเปนประเทศที่กวางใหญมากดังนั้นการบังคับคดีการ

เยียวยาคาเสียหายแมเจาหนี้จะเลือกใชบริการของทางศาลแตการบังคับคดีบางครั้งอาจทําไดลาชา

เนื่องจากเจาหนาที่ขาดความชํานาญและจํานวนเจาหนาที่ของศาลที่มีอยูนั้นไมเพียงพอกับจํานวน

คดีที่นับวันจะมากขึ้นดังนั้นในบางรัฐจึงไดมีการขยายอํานาจหนาที่ของ Sheriff ไปสูภาคเอกชน

หรือที่เรียกวา Civil Enforcement Agency ซึ่งอาจอยูในรูปของ Private Bailiff Company หรือ

BailiffAgency เชนในมลรัฐ Alberta, มลรัฐ Quebec, มลรัฐ British Columbia, มลรัฐ Ontario

กลาวโดยสรุปBailiff ของประเทศแคนาดาจึงแบงออกเปน

1) Court Bailiff มีสถานะเปนเจาพนักงานศาล

2) Civil Enforcement Agency/Private Bailiff Company มีสถานะเปนตัวแทนทางเอกชน

ของเจาหนี้มีอํานาจทําการบังคับคดีเหนือทรัพยสินของลูกหนี้และสามารถถูกวาจางโดยประชาชน

ทั่วไป เปนตน

3.2.2.4 องคกรบังคับใชกฎหมายหนวยงานที่ดูแลรับผิดชอบความปลอดภัยดานอาหาร มี 2 หนวยงานหลัก คือ

1) กระทรวงเกษตรและเกษตรอาหาร (Ministry of Agriculture and Agri-Food)

2) กระทรวงสาธารณสุข (Health Canada)โดยมีหนวยตรวจสอบอาหาร

(Canadian Food Inspection Agency : CFIA) เปนหนวยงานรวบรวม จัดการและสงเสริมใหเกิด

การตรวจสอบสินคาอาหารอยางเปนระบบ ทั้งผลผลิตทางการเกษตร และสินคาอาหารที่ขึ้นตรงกับ

Ministry of Agriculture and Agri-Food สําหรับหนวยงานหรือองคกรที่ใหความคุมครองผูบริโภค

ดานอสังหาริมทรัพยทั้ง การซื้อขาย การปฏิบัติตามคําโฆษณาและมาตรฐานสินคานั้น ในประเทศ

แคนาดาจะมีกลไกในการดูแล 3 ระดับ กลาวคือ55

55หลักความปลอดภัยทางดานอาหารของแคนาดา,สืบคนเมื่อวันที่ 25 กันยายน 2557,จาก,

http://www.hc-sc.gc.ca/fn-an/securit/index-eng.php.

Page 182: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

165

1) มีการออกกฎหมาย และกฎระเบียบ เพื่อใหความคุมครองผูบริโภค

2) มีหนวยงานเฝาระวัง อาทิสื่อมวลชน ซึ่งถือไดวาเปนมาตรการที่ไดผลมากที่สุด

เนื่องจากผูประกอบการมักไมตองการใหปญหาดังกลาวออกเผยแพรทางสื่อเพราะจะทําใหสงผล

กระทบตอชื่อเสียงอยางมาก ผูประกอบการจึงมักจะดําเนินการไกลเกลี่ยกับผูบริโภค ทําใหผูบริโภค

ไดรับการเยียวยาความเสียหายอยางรวดเร็ว

3) มีการจัดตั้งสมาคมดานอสังหาริมทรัพยโดยเฉพาะ ซึ่งเปนการจัดตั้งโดยกลุม

ผูประกอบการดานอสังหาริมทรัพย เพื่อดูแลและตรวจสอบกันภายในกลุม นอกจากนี้ จะมีองคกร

อิสระที่คอยตรวจสอบ และดูแลดานการประกอบธุรกิจตางๆ ซึ่งเมื่อมีการรองเรียนและตรวจสอบ

แลวพบวามีการกระทําอันเปนความผิดจริง ก็จะนําชื่อผูประกอบการดังกลาวเผยแพรทางเว็บไซต

เพื่อแจงใหผูบริโภคทราบ อันถือไดวาเปนมาตรการการลงโทษทางสังคมที่มีประสิทธิภาพอยางหนึ่ง

เปนตน

3.2.3 กลุมประเทศสหภาพยุโรป3.2.3.1 มาตรการคุมครองในดานการโฆษณาการใหคํานิยามเพื่อใหความหมายเกี่ยวกับการโฆษณา หมายความรวมถึง การ

กระทาการไมวาโดยวิธีการใดๆ ใหประชาชนเห็นหรือทราบขอความเพื่อประโยชนในทางการคา สื่อ

โฆษณา หมายความวา สิ่งที่ใชเปนสื่อในการโฆษณา เชน หนังสือพิมพ สิ่งพิมพ วิทยุกระจายเสียง

วิทยุโทรทัศน ไปรษณียโทรเลข โทรศัพทหรือปายมีวัตถุประสงคจะยกระดับการใหความคูครองสิทธิ

ของผูบริโภคใหสูงขึ้น เชน56

1) ที่จะเลือกซื้อสินคาตางๆ ในราคาที่เปนธรรม

2) สิทธิที่จะไดรับขาวสาร

3) สิทธิจะไดรับความปลอดภัยจากการบริโภคสินคา

4) สิทธิที่จะไดรับการรับรูจากรัฐบาลในการเรียกรอง

ทั้งนี้ ผูวิจัยจะขอยกกฎหมายที่เกี่ยวของกับการโฆษณาของสหภาพยุโรปโดยเฉพาะความ

ปลอดภัยในการบริโภคสินคาที่จะตองไมจํากัดประเภทสินคาที่ผูบริโภคจะไดรับความคุมครองแต

จะเปนการที่กฎหมายสามารถใหความคุมครองเปนไปในลักษณะทั่วไป วันที่ 31 พฤษภาคม 2550

คณะกรรมาธิการยุโรปไดประกาศกฎเกณฑกลาง Commission Directive 2007/29/EC of 30 May

2007 amending Directive 96/8/EC as regards labelling, advertising or presenting foods

intended for use in energy-restricted diets for weight reduction ไวใน Official Journal L 139

56สหภาพยุโรปสถาบันอาหาร:กฎหมายอาหาร,สืบคนเมื่อวันที่ 3 มีนาคม 2557, จาก, สถาบันอาหาร.

http://fic.nfi.or.th/law.

Page 183: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

166

Volume 22 เชนในเรื่อง การบรรยาย การโฆษณา หรือนําเสนอฉลากสินคาควบคุมน้ําหนัก โดย

แกไขกฎเกณฑกลางฉบับเดิมเรื่องการติดฉลากบรรยายสรรพคุณสินคาอาหารประเภทควบคุม

ปริมาณพลังงานในการลดน้ําหนัก ใน Directive 96/8/EC ใหมีความสอดคลองกับระเบียบการติด

ฉลากบรรยายสรรพคุณคุณคาอาหารทางโภชนาการ (Nutrition claims) และคุณคาอาหารเพื่อ

สุขภาพ (Health claims) ของสินคาอาหาร (Regulation (EC) No 1924/2006 of the European

Parliament and of the Council of 20 December 2006 on nutrition and health claims made

on foods)

ทั้งนี้ กฎเกณฑดังกลาวไดผานการพิจารณาเห็นชอบจากหนวยงานความปลอดภัยดาน

อาหารประจําสหภาพยุโรป (The European Food Safety Authority : EFSA) เปนที่เรียบรอยแลว

โดยมีรายละเอียดโดยสรุป กฎเกณฑกลางฉบับนี้กําหนดใหแกไขกฎเกณฑกลางเดิมคือ Directive

96/8/EC ใน Article 5 ขอที่ 3 โดยใหเปลี่ยนขอความเดิมเปนขอความใหมดังตอไปนี้“การติดฉลาก

การโฆษณา และการนําเสนอสินคาสําหรับการบริโภคเพื่อควบคุมปริมาณพลังงานในการลด

น้ําหนัก จะตองไมมีการระบุถึงอัตราหรือจํานวน ของนํ้าหนักตัวที่จะสามารถลดไดภายหลังจากการ

ไดบริโภคสินคานั้นๆ” ซึ่งขอความดังกลาวจะตองไมสราง ความจูงใจ เพื่อใหผูบริโภคหลงเชื่อวาเมื่อ

บริโภคสินคาแลวสามารถลดน้ําหนักตัวลงไดเทานั้นตอกิโลกรัม เนื่องจากกฎระเบียบ Regulation

(EC) No 1924/2006 ไดมีการอนุโลมใหสินคาประเภทเพื่อการควบคุมน้ําหนักสามารถระบุไดวา

การบริโภคสินคานั้นๆ จะสามารถลดความรูสึกหิวหรือกอใหเกิดความรูสึกอิ่มได(reduction in the

sense of hunger or an increase in the sense of satiety) อยูแลว

นอกจากนี้ขอเสนอแนะเพิ่มเติมในกฎเกณฑกลางฉบับนี้จะชวยใหเกิดความรัดกุมในการ

ติดฉลากสินคาประเภทควบคุมปริมาณพลังงาน (Calories) ในการลดน้ําหนัก เนื่องจากระเบียบ

ควบคุมการกลาวอางทางโภชนาการและสุขภาพ (Nutrition and health claims) ของสินคาอาหาร

ไดเปดชองวางใหผูผลิตอาหารประเภทดังกลาวสามารถระบุบนสินคาไดวาเมื่อบริโภคแลวสามารถ

ลดความรูสึกหิวหรือกอใหเกิดความรูสึกอิ่มได (หากมีหลักฐานยืนยันทางวิทยาศาสตร) ดังนั้น จึง

คาดวากฎเกณฑกลางนี้จะเปนสวนที่เสริมบทสุดทายที่จะทําใหระเบียบวาดวยการติดฉลากสินคา

อาหารประเภทควบคุมปริมาณพลังงาน (Calories) ในการลดน้ําหนักของสหภาพยุโรปมีความ

สมบูรณและรัดกุมยิ่งขึ้น เนื่องจากการกลาวอางขอมูลของสินคาอาหารนั้น มีความสําคัญและเปน

ปจจัยหลักตอการเลือกซื้อผลิตภัณฑของผูบริโภค ทั้งนี้ การกําหนดการแสดงฉลากดังกลาวอาจ

เพิ่มภาระคาใชจายใหแกภาคธุรกิจผูผลิตสินคาอาหารทั้งภายในและภายนอกสหภาพยุโรปอยาง

อยางหลีกเลี่ยงไมไดอาทิเชนคาใชจายในการเปลี่ยนรูปแบบคําโฆษณา บนฉลากใหถูกตอง

Page 184: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

167

นอกจากนี้ ขอมูลบนฉลากจะตองไมเปนการชักจูงใหผูบริโภคเขาใจผิดทั้งในเรื่องรูปลักษณ

ลักษณะเดิม คุณสมบัติ สวนประกอบและเครื่องปรุงแตง ปริมาณ วันหมดอายุหรือวันสุดทายที่ควร

บริโภค แหลงที่มา ประเทศผูผลิต วิธีการบริโภค วิธีการผลิต รวมทั้งตองไมอางสรรพคุณในแงการ

ชวยปองกันหรือรักษาหรือทําใหหายขาดจากโรคใดๆ ทั้งสิ้น เพื่อมิใหบิดเบือนจากที่อนุโลมไว

ตามที่กฎหมายบัญญัติ

3.2.3.2 มาตรการคุมครองในดานฉลากภูมิแพรายละเอียดโดยสรุปไดโดยเมื่อวันที่ 22 ธันวาคม 2549 คณะกรรมาธิการยุโรปได

ประกาศกฎเกณฑกลางCOMMISSIONDIRECTIVE 2006/142/EC of 22 December 2006

amending Annex IIIa of Directive 2000/13/EC of theEuropean Parliament and of the Council

listing the ingredients which must under all circumstancesappear on the labelling of foodstuffs

เรื่องการแกไขกฎเกณฑกลางฉบับเดิมในเรื่องของการติดฉลากสินคา อาหารในสวนของภาคผนวก

ที่ 3a (Annex IIIa) ของDirective 2000/13/EC ซึ่งเปนสวนที่กําหนดรายชื่อของสวนประกอบที่

จําเปนตองมีการระบุไวในฉลากเนื่องจากสวนประกอบอาหารบางรายการถือวามีความเสี่ยงที่

กอใหเกิดอาการแพ (Allergic reactions) แกผูบริโภคไดดังนั้นจึงขอเพิ่มสวนประกอบใหม2

รายการอันไดแก

1) ถั่ว lupin (ถั่วในตระกูล Lupinus sp.) ซึ่งปจจุบันมีอยู450 ชนิดรวมถึงผลิตภัณฑที่ทํา

จากถั่ว lupin

2) สัตวน้ําประเภทหอยและปลาหมึก (molluscs) เชน หอยฝาเดี่ยว (gastropods) หอย

สองฝา (bivalves) และปลาหมึก (cephalopods) รวมถึงผลิตภัณฑที่ทําจากสัตวประเภทหอยและ

ปลาหมึกซึ่งคณะกรรมาธิการยุโรปกําหนดมาตรการเปลี่ยนผาน (Transitional measures): เพื่อ

บังคับใชกฎ เกณฑกลางฉบับนี้กับทุกสินคาที่วางจําหนายในสหภาพยุโรป (EU-27) ตั้งแตวันที่ 20

ของวันที่ออกประกาศและมีผลบังคับใชอยางเปนทางการในวันที่ 23 ธันวาคม 2550 โดยอนุโลมให

วางจําหนายสินคาที่มีการพิมพฉลากกอนวันที่ 23 ธันวาคม 2551 สามารถวางจําหนาย ตอไปได

จนกวาสินคาจะหมดออกไปจากสต็อค (until stocks run out) แตหลังจากวันที่23 ธันวาคม 2551

เปนตนไปหามการวางจําหนายสินคาอาหารที่ไมปฏิบัติตามกฎระเบียบนี้ แตเนื่องจากขอความที่

ระบุไวบนฉลากของสินคาอาหารนั้นมีความสําคัญและเปนปจจัยหลักตอการเลือก ซื้อผลิตภัณฑ

ของผูบริโภคการปรับเปลี่ยนในครั้งนี้เพื่อเปนการยกระดับการควบคุมความปลอดภัยของสินคา

อาหารตามผลการวิจัยทางวิทยาศาสตรที่กาวหนาขึ้นในปจจุบันและเปนการสรางความมั่นใจใหแก

ผูบริโภคภายในสหภาพยุโรปใหมากยิ่งขึ้นกวาเดิมทั้งนี้หลักการทั่วไปของกฎระเบียบดังกลาวได

Page 185: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

168

ผานการพิจารณาเห็นชอบจากหนวยงานความปลอดภัยดานอาหารประจําสหภาพยุโรป (The

European Food Safety Authority : EFSA) ดวยแลว

ในเรื่องของการเตรียมพรอมของไทย สหภาพยุโรปไดเคยออกกฎระเบียบDirective

2003/89/EC วาดวยเรื่องการระบุสวนผสมที่มีอยูในอาหารเพื่อเปนบทเสริมตอจากกฎระเบียบการ

ติดฉลากอาหารทั่วไป (Directive 2000/13/EC) เพื่อทําใหสามารถควบคุมการติดฉลากของสวน

ผสมอาหารที่อาจกอใหเกิดภูมิแพไดอยางมีประสิทธิภาพมากขึ้นเนื่องจากกฎระเบียบเดิมยกเวน

การติดฉลากสําหรับสวนผสมที่มีปริมาณนอยกวา 25% (เพื่อปองกันการระบุรายการที่มากเกินไป

ในฉลาก) แตในปจจุบันผูบริโภคมีแนวโนมในการรับประทานอาหารที่มีการแปรรูป

(processedfoods) มากขึ้นและเรียกรองที่จะทราบขอมูลรายละเอียดของสวนผสมในอาหารเพื่อ

เปนทางเลือกในการซื้อสินคาซึ่งรายละเอียดเกี่ยวกับขอมูลของอาหารเปนเรื่องจําเปนโดยเฉพาะ

ผูบริโภคที่เปนโรคภูมิแพหรือมีปฏิกิริยาไว ตออาหารบางชนิดที่อาจทําใหเสียชีวิตไดซึ่งกฎระเบียบ

Directive 2000/13/EC ไดเคยมีการจัดทํารายการสวนประกอบอาหารที่อาจกอใหเกิดภูมิแพ (List

of potential allergenic ingredients to be labeled) ไวใน AnnexIIIa อาทิธัญพืชที่มีสวนผสมของ

กลูเตนอาหารทะเล (กุงปูปลา) ไขถั่วลิสงถั่งเหลืองนมและผลิตภัณฑนมเมล็ดงาและผลิตภัณฑงา

มัสตารดผักขึ้นชายเปนตนซึ่งขณะนี้สหภาพยุโรปไดเพิ่มถั่วlupin และสัตวน้ําประเภทหอยและ

ปลาหมึกไวในรายการดังกลาวดวยแลวการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นยอมกอใหเกิดภาระคาใชจาย

ใหแกภาคธุรกิจผูผลิตสินคาอาหารทั้งภายในและภายนอกสหภาพยุโรปอยางหลีกเลี่ยงไมได

โดยเฉพาะสวนของการเปลี่ยนคําบรรยายบนฉลากที่มีสวนผสมของถั่ว lupin หรือสัตวน้ําประเภท

หอยและปลาหมึกอยูดวยดังนั้นภาคอุตสาหกรรมผูผลิตสินคาเกษตรและอาหารของไทยที่ไดรับ

ผลกระทบโดยตรงควรเตรียมรับสถานการณดังกลาวตามกรอบระยะเวลาที่กําหนดไว เปนตน

3.2.3.3 มาตรการคุมครองในดานการเยียวยาจากขาวคราวเกี่ยวกับ “สินคาที่ไมปลอดภัย” ของผูผลิตในประเทศจีน อินเดีย หรือ

ประเทศในกลุมสหภาพยุโรป เชน ยาสีฟนที่มีสารเคมี (สารไดเอไธลีน ไกลโคล) ที่เปนอันตรายตอ

ผูใช หรือกรณีของเลนเด็กที่ใชสีที่หลุดออกงาย และมีสารปนเปอนที่ไมปลอดภัยอยางตะกั่วใน

ปริมาณสูงมีผลตอสมองและพัฒนาการของเด็กถูกผูจําหนายในประเทศตางๆ โดยเฉพาะบริษัท

ของเลนในสหรัฐอเมริกาเรียกคืนจากผูบริโภคในทองตลาดและสงคืนผูผลิต หรือปญหารถยนตที่ไม

ปลอดภัยในการขับขี่ เชน ระบบเบรก พวงมาลัย,เครื่องยนตดับหรือขัดของ เปนตน ทั้งๆ ที่ เปน

รถยนตใหมที่เพิ่งใชงานไมนาน จนเคยมีขาวการทุบรถเพื่อเรียกรองใหบริษัทผลิตรถยนตรับผิดชอบ

จะเห็นวา สินคาที่ไมปลอดภัยลวนเปนเรื่องใกลตัวทุกคน โดยเฉพาะสินคาอุปโภคบริโภค

เครื่องใชไฟฟา อุปกรณอิเล็กทรอนิกส เครื่องสําอาง ฯลฯแนวทางในการแกไขปญหาสินคาที่ไม

Page 186: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

169

ปลอดภัยนั้นจะตองใชมาตรการเชิงปองกันและเยียวยา ซึ่งตองอาศัยความรวมมือของภาครัฐและ

ภาคธุรกิจที่เกี่ยวของ ในบทความนี้จะกลาวถึงเฉพาะมาตรการดานเยียวยา เมื่อผูบริโภคไดรับ

ความเสียหายจากการใชสินคาที่ไมปลอดภัยแลวจะมีชองทางแกไขอยางไร ในตางประเทศมี

กฎหมายวาดวยความรับผิดในผลิตภัณฑที่เรียกวา “Product Liability Law”เปนเวลากวา 20 ป ไม

วาจะเปนประเทศพัฒนาแลวและประเทศกําลังพัฒนา เชน ประเทศสมาชิกสหภาพยุโรป ประเทศ

สหรัฐอเมริกา,ออสเตรเลีย, ญี่ปุน, บราซิล, จีน เปนตน

ปจจุบันประเทศไทยยังไมมีกฎหมายคุมครองผูบริโภคเรื่องสินคาที่ไมปลอดภัย

โดยเฉพาะและมีประสิทธิภาพ แมจะมีการริเริ่มจัดทํามาเปนเวลานับสิบป แตก็ยังไมประสบ

ความสําเร็จ

ความเคลื่อนไหวที่นาสนใจในชวงที่ผานมาคือ แผนงานคุมครองผูบริโภคดาน

สุขภาพ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย รวมกับคณะกรรมาธิการการมีสวนรวมของประชาชน

คณะกรรมาธิการการคุมครองผูบริโภค คณะกรรมาธิการสาธารณสุข สภานิติบัญญัติแหงชาติ และ

มูลนิธิเพื่อผูบริโภคใหความสําคัญกับเรื่องดังกลาว เนื่องจากเปนกฎหมายที่สงเสริมผูประกอบการที่

ดี ซึ่งผลิตสินคาที่ไดมาตรฐานดานความปลอดภัย ผูบริโภคที่ไดรับอันตรายตอชีวิต รางกาย

สุขภาพอนามัย จิตใจ และทรัพยสิน เชน คารักษาพยาบาล ,คาชดเชยทรัพยสินที่เสียหาย,

คาเสียหายที่ขาดประโยชนทําหามาได เปนตน

สวนใหญเห็นดวยที่จะใหรวมเอาเรื่อง “บริการ” ไวในรางพระราชบัญญัตินี้ เนื่องจาก

กฎหมายไทยยังใหความคุมครองผูบริโภคในดานบริการที่ไมปลอดภัยหรือไมไดมาตรฐานนอยมาก

อีกทั้งกระแสการคาเสรีก็มีสัดสวนของภาคบริการสูงมากเมื่อเทียบกับสินคาทั่วไป และเห็นวาควร

ครอบคลุมถึงกรณีอาคาร ที่อยูอาศัยที่สรางอยางไมปลอดภัย และผลิตผลเกษตรกรรมที่ผาน

กระบวนการผลิตแลว ผูเขาประชุมที่มาจากภาคธุรกิจ อุตสาหกรรมก็เห็นดวยกับรางกฎหมายPL

เพราะจะชวยคุมครองผูประกอบการในประเทศที่ผลิตสินคาที่มีคุณภาพและมีความรับผิดชอบตอ

สังคม และยังชวยแกปญหาการนําเขาสินคาดอยคุณภาพที่มีราคาถูกจากตางประเทศโดยออม

ทั้งนี้ผู เขียนขอยกตัวอยางการดําเนินคดีของประเทศในกลุมสหภาพยุโรป เชน

ประเทศเยอรมันในคดี นอกจากนี้ยังมีกรณีศาลเคยพิพากษาในคดีฟองรองเกี่ยวกับสัญญาซื้อขาย

Vaccine 57ที่ใชฉีดปองกันโรคระบาดในไก ในทํานองเดียวกันกับคดีดังกลาวขางตนหรือคดีที่รูจัก

กันในชื่อ“Chicken Pest Case” ซึ่งขอเท็จจริงมีวาโจทกเปนเจาของฟารมเลี้ยงไกไดตกลงใหจําเลย

57 Woffgang Freihen Von Marschall, ความรับผิดเพื่อผลิตภัณฑ:ขอคิดบางประการในแงกฎหมาย

เปรียบเทียบ,แปลโดยกิตติศักดิ์ปรกติ, ความรับผิดเพื่อผลิตภัณฑ: ขอคิดบางประการในแงกฎหมายเปรียบเทียบ,

วารสารนิติศาสตรมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, ปที1่8 (ฉบับที่1ป 2531)หนา172-173.

Page 187: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

170

ซึ่งเปนสัตวแพทยมาฉีด Vaccine ใหไกของตน Vaccine ที่จําเลยใชเกิดเปนพิษเพราะมีสิ่งปนเปอน

ทําใหไกกวา 4,000 ตัวของโจทกตายหมดสิ้นโจทกฟองเรียกคาเสียหายโดยอาศัยหลักความรับผิด

ในสัญญาจากจําเลยศาลพิพากษาวาจําเลยไมตองรับผิดเพราะมิใชผูผลิต Vaccine ทําใหเกิด

ประเด็นขอกฎหมายตามมาวาหากผูซื้อและผูผลิตไมมีความสัมพันธกันเชนคดีนี้ผูผลิต Vaccine ไม

มีนิติสัมพันธกับผูซื้อใครจะเปนผูตองรับผิดชอบในความเสียหายที่เกิดขึ้นความพยายามที่จะหา

คําตอบจึงเกิดขึ้นดวยการอาศัยหลักกฎหมายละเมิดซึ่งกําหนดหนาที่ใชความระมัดระวังและขอ

สันนิษฐานความผิด (Presumption of Fault) รวมทั้งการวางหลักเกณฑตางๆ นอกจากนี้ความรับ

ผิดของผูเสียหายหรือที่เรียกวาผูเสียหายมีสวนประมาท Contributory Negligence ก็เปนขอแกตัว

ของจําเลยผูผลิตไดทําใหผูซื้อหรือผูบริโภคยังคงมีความเสี่ยงในการฟองคดีกรณีความเสียหายเกิด

จากผลิตภัณฑอยูอาจกลาวไดวา Product Liability ในเยอรมันยังคงกําหนดใหผูเสียหายมีภาระ

การพิสูจนถึงความเสียหายที่เกิดจากผลิตภัณฑโดยผูผลิตตองพิสูจนหักลางวาไมมีความผิดปกติ

เกิดขึ้นเมื่อมีการผลิตยกเวนในกรณีของผลิตภัณฑยาซึ่งมีกฎหมายเฉพาะที่กําหนดหลักความรับผิด

เด็ดขาดไวใหผูผลิตตองรับผิดโดยผูเสียหายไมตองสืบถึงเหตุแหงความเสียหายศาลไดวางแนวไวใน

เรื่องหนาที่ติดตามเฝาระวังความเสี่ยงภัยที่อาจเกิดขึ้นในผลิตภัณฑการกําหนดเพดานคาเสียหายที่

โจทกสามารถเรียกใหชดใชใหการยกเวนไมรวมสินคาเกษตรและของเลนเด็กเขาไวในกฎหมายฉบับ

นี้การถือวาความเสียหายเกิดจากชิ้นสวนของผลิตภัณฑถือวาเปนความเสียหายเกิดจากตัว

ผลิตภัณฑนั้นหาใชเกิดแกผลิตภัณฑนั้นเองหากชิ้นสวนนั้นไมไดถูกเปลี่ยนหลังจากการซื้อโดย

ผูบริโภคเองการรับรองสิทธิเรียกคาเสียหายในการรักษาพยาบาลคาสูญเสียความสามารถในการ

ทํางานแตไมมีบทบัญญัติใหผูเสียหายเรียกคาเสียหายที่มีตอจิตใจหรือความเจ็บปวดได เปนตน

ขอกําหนดการติดฉลากที่อาหารกอภูมิแพ58 เปนรายการที่บังคับใหตองแสดงระบุรายการ

ขอมูลดังกลาวไวในรายการสวนประกอบตามกฎเกณฑที่ระบุไว โดยอางอิงชื่อของสารหรือ

ผลิตภัณฑอยางชัดเจน และชื่อของสารหรือผลิตภัณฑที่กอใหเกิดอาการแพ จะตองพิมพไวอยาง

ชัดเจนซึ่งแตกตางจากรายชื่อของ สวนประกอบอื่น ๆ เชน ลักษณะตัวอักษร แบบหรือสีพื้นหลัง เปน

ตน ในกรณีที่ไมมีรายการสวนประกอบ ใหแสดงรายการขอมูลสวนประกอบหรือสารชวยใน

กระบวนการผลิต หรือที่ไดจากสารหรืออาหารกอภูมิแพ ซึ่งอาจกอใหเกิดการแพอาหารหรือภูมิแพ

ซึ่งไดนํามาใชในการผลิตหรือจัดเตรียมอาหารและยังคงมีอยูในผลิตภัณฑนั้นแมวาจะเปลี่ยนรูปไป

แลวก็ตามซึ่งประกอบดวยคําวา “Contain” และตามดวยชื่อของสารหรืออาหารกอภูมิแพ

58 Regulation 1169/2011 on Food Information to Consumers Article 21.

Page 188: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

171

นอกจากการกําหนดบังคับใหตองแสดงขอมูลสวนประกอบหรือสารกอภูมิแพแลว สหภาพ

ยุโรปยังใหความสนใจกับอาหารกอภูมิแพอยางตอเนื่อง โดยเห็นวาประเทศสมาชิกของสหภาพ

ยุโรปควรมีสิทธิในการกําหนดกฎเกณฑเกี่ยวกับการใหขอมูลของอาหารที่ยังไมบรรจุหีบหอดวย

ทั้งนี้ขึ้นอยูกับเงื่อนไขของวิธีปฏิบัติในทองถิ่นและสถานการณตางๆ แมวาในกรณีดังกลาวผูบริโภค

จะตองการขอมูลอื่นๆ คอนขางจํากัด แตขอมูลเกี่ยวกับสารที่อาจทําใหเกิดการแพถือเปนเรื่องที่

สําคัญมาก ซึ่งตองแจงใหผูบริโภคทราบโดยจากหลักฐานไดชี้ใหเห็นวาสาเหตุการแพอาหารสวน

ใหญมาจากอาหารที่ยังไมบรรจุหีบหอ ดังนั้นจึงควรจัดใหมีขอมูลเกี่ยวกับสารที่อาจทําใหเกิด

อาการแพแกผูบริโภคในอาหารที่กอใหเกิดภูมิแพสําหรับอาหารที่ยังไมบรรจุหีบหออีกดวย

3.2.3.4 องคกรบังคับใชกฎหมายหนวยงานที่มีบทบาทในการบังคับใชและติดตามการประสานงานเพื่อใหมีการนํา

กฎหมายเกี่ยวกับอาหารไปใชในสหภาพยุโรป คือ กระทรวงสุขภาพและการคุมครองผูบริโภค

(Directorate-General on Health and Consumer Protection) สํานักงานอาหารและอนามัยสัตว

(Food and Veterinary Office : FVO) และ องคการความปลอดภัยของอาหารแหงยุโรป (European

Food Safety Authority : EFSA) ดําเนินการรวบรวมขอมูลและวิเคราะหตามหลักการทาง

วิทยาศาสตรเพื่อชี้ใหเห็นปญหาและอันตรายที่สําคัญตลอดหวงโซอาหารทั้งทางตรงและทางออม

โดยหนวยงาน EFSA ไดกอตั้งตามสมุดปกขาว (Commission's White Paper on Food Safety)

เพื่อจัดทํารายงานการประเมินความเสี่ยงเสนอคณะกรรมาธิการยุโรป (The European

Commission) EFSIS"European Food Safety Inspection Service" เปนสถาบันที่ใหบริการการ

ตรวจสอบความปลอดภัยของอาหารตามมาตรฐานสหภาพยุโรป

ทั้งนี้ผูเขียนขอยกตัวอยางองคกรในการดูแลการคุมครองผูบริโภคของเปนเทศนอรเวยที่อยู

ใน ความ รวมมือกับสหภาพยุโรปและกลุมประเทศนอรดิกโดยมีวัตถุประสงคหลักของการคุมครอง

ผูบริโภคของนอรเวย จะมีนโยบายที่จะคุมครองสิทธิประโยชนของผูบริโภค โดยมีกระทรวงเด็กและ

ความเสมอภาค (The Ministry of Children and Equality) เปนหนวยงานหลักในการทําหนาที่

คุมครองผูบริโภค ซึ่งไดมีความ รวมมือกับสหภาพยุโรปและกลุมประเทศนอรดิกเพื่อหาแนวทาง

รวมกันในการคุมครองผูบริโภคอีกดวย นอกจากนี้ยังมีกระทรวงอื่นๆ ที่เกี่ยวของ เชน กระทรวง

ยุติธรรม (The Ministry of Justice) จะรับผิดชอบในการรางกฎหมายที่สําคัญเกี่ยวกับการคุมครอง

ผูบริโภค หนวยงานที่ทําหนาที่คุมครองผูบริโภคของนอรเวยที่สําคัญ เชน

Page 189: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

172

1) The Consumer Ombudsman (ca) ซึ่งจัดตั้งขึ้นในป 1973 จะเปนหนวยงานอิสระที่

รับผิดชอบในการตรวจสอบการขายสินคาและบริการวาเปนไปตามที่กฎหมายกําหนดไวหรือไม เชน

ตรวจสอบวา ผูขายไดปฏิบัติตามที่ไดโฆษณาไวหรือไม นอกจากนี้ ยังทําหนาที่ในการรับเรื่อง

รองเรียนและไกลเกลี่ยขอพิพาทเกี่ยวกับการซื้อขายสินคาใหกับผูบริโภคอีกดวย

2) The Consumer Council เปนองคกรอิสระซึ่งเปนตัวแทนของกลุมผูบริโภค ทําหนาที่ใน

การใหบริการชวยเหลือทางกฎหมายเกี่ยวกับการซื้อสินคาและบริการ ทําหนาที่รับเรื่องรองเรียน

และและเจรจาไกลเกลี่ยปญหาระหวางผูซื้อสินคากับผูผลิตสินคา นอกจากนี้ ยังใหความรูในการ

เผยแพรขอมูลขาวสารใหกับผูบริโภคในการเลือกซื้อสินคาและบริการ สงเสริมใหหนวยงานของ

ภาครัฐและภาคธุรกิจปรับปรุงเงื่อนไขตางๆ เพื่อใหเกิดความเปนธรรมกับผูบริโภค

3) The National Institute for Consumer Research (SIFO) เปนสถาบันวิจัยและศูนย

ทรัพยากรสําหรับผูบริโภค ทําหนาที่ดําเนินการวิจัยและทดสอบตัวสินคาและวางรากฐานการศึกษา

ในเรื่องสิทธิของผูบริโภค ทั้งนี้ มีวัตถุประสงคที่สําคัญเพื่อผลิตความรูสําหรับการพัฒนาสินคาและ

บริการที่มีคุณภาพ เปนตน

นอกจากนั้นยังมีองคการและความตกลงระหวางประเทศ เชน องคการการคาโลก (World

Trade Organization: WTO) โครงการมาตรฐานอาหารระหวางประเทศ (The CODEX Alimentarius)

ความตกลงวาดวยการบังคับใชมาตรการสุขอนามัย (Agreement on The Application of SPS)

องคการโรคระบาดสัตวระหวางประเทศ (Office International des Epizooties : OIE) สํานักงาน

อนุสัญญาวาดวยการอารักขาพืชระหวางประเทศ (The International Plant Protection Convention :

IPPC) อนุสัญญาอารักขาพืชระหวางประเทศ (IPPC) กับมาตรการอารักขาพืชของประเทศไทยเปน

ตน

3.2.4 อังกฤษ3.2.4.1 มาตรการคุมครองในดานการโฆษณาในระบบการคุมครองผูบริโภคในกลางศตวรรษที่ 20 เริ่มมีความเคลื่อนไหวใน

ระดับรัฐบาลกลางในการศึกษาปญหาเกี่ยวกับการบริโภคที่เปนที่มาของการออกกฎหมายเกี่ยวกับ

การคุมครองผูบริโภคในเวลาตอมา มีการแตงตั้งคระกรรมการศึกษาปญหา เพื่อเสนอแนวทางแกไข

ชื่อ The Melony Committee on Consumer Protection ในป ค.ศ.1961 ซึ่งคณะกรรมการชุดนี้ได

จัดทํารายงานและเหตุผล รวมทั้งขอเสนอแนะแนวทางเกี่ยวกับการคุมครองผูบริโภค เปนตนวา มี

การจัดตั้ง Consumer Council ซึ่งตอมาเปลี่ยนเปน The National Consumer Council อันเปน

หนวยงานอิสระซึ่งไดงบประมาณจากรัฐบาล มีบทบาทดานการเฝาระวังประโยชนของผูบริโภคและ

เปนสภาที่ปรึกษาใหแกหนวยงานดานนี้ของภาครัฐอีกประมาณ 60 แหง บทบาทของ NCC ใน

Page 190: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

173

ปจจุบันโดดเดนมาก มีการออกเอกสารรายงานประจําปและวารสามรายเดือนที่มีขอมูลที่เปน

ประโยชนตอผูบริโภคอยูตลอดเวลา ถือไดวาเปนองคกรอิสระที่มีบทบาทเสริมหนวยงานภาครัฐซึ่งมี

อํานาจหนาที่ตามกฎหมายอีกมากมายในเรื่องการคุมครองผูบริโภค ซึ่งประกอบดวย Department

of Prices and Affairs ปจจุบันยุบรวมกับ Department of Trade and Industry หนวยงานนี้มี

อํานาจตามกฎหมายสําคัญๆ หลายฉบับที่เกี่ยวกับการบริโภค อาทิเชน ออกขอกําหนดตาม

กฎหมาย Consumer Credit Act 1974 และ Consumer Protection Act 1987 (สวนที่ 2) ไมวาจะ

เปนการโฆษณาสินคาหรืออาหารโดยตองบังคับตามกฎหมายดังกลาว และมีความรับผิดชอบโดย

ประสานกันกับ Office of Fair Trading ซึ่งเกิดขึ้นตามกฎหมาย Fair Trading Act 1973 เพื่อดูแล

ใหเกิดการแขงขันทางการคาที่เปนธรรม ปองกันพฤติกรรมการผูกขาดและการควบรวมกิจการ อันมี

ผลตอผูบริโภค มีผูอํานวยการของสํานักงานทางการคาที่เปนธรรม (Director General of Fair

Trading) ซึ่งแตงตั้งโดย Secretary of State ตามกฎหมาย Fair Trading Act 1973 มีอํานาจ

กวางขวางภายใตกฎหมายหลายฉบับ เปนตนวา มีอํานาจตาม Consumer Credit Act 1974 ใน

การควบคุม เสนอแนะธุรกิจการให credit การใหเชาซื้อ การเพิกถอนใบอนุญาตมีอํานาจตาม The

Unfair Terms in Consumer Contracts Regulations 1994) ในการที่จะชี้วาขอตกลงสวนหนึ่ง

สวนใดในสัญญาไมเปนธรรมตอผูบริโภคและไมมีผลบังคับ การปฏิบัติหนาที่ของ Director ขึ้นตรง

ตอ Secretary of State59

นอกจากนั้น Leatherhead Food Research (LFR) ซึ่งเปนหนวยงานอิสระของประเทศ

อังกฤษที่วิจัยดานอาหารไดสํารวจประชากรกลุมหนึ่งที่ไดรับการตรวจวินิจฉัยโรคภูมิแพอาหาร และ

ไดรับความทุกขทรมานจากการแพอาหารบางชนิด โดยผูบริ โภคที่แพอาหาร ( allergies,

intolerances) มีความตองการในผลิตภัณฑอาหารและเครื่องดื่มเพิ่มมากขึ้น งานวิจัยนี้ไดเริ่ม

ดําเนินการสํารวจในเดือนกันยายนและจะเผยแพรในเดือนธันวาคม 2554 โดยศึกษาการจําแนก

รูปแบบการบริโภคอาหาร ความเขาใจ และแรงจูงใจในการบริโภคอาหารที่ผลิตขึ้นเฉพาะสําหรับ

กลุมผูบริโภคเปาหมายผานฉลากผลิตภัณฑ “suitable for” ซึ่งเปนการเพิ่มโอกาสทางการคาใหกับ

ผูประกอบการอาหารที่คาดการณวาตลาดจะเติบโตถึง 132 ลานปอนดภายในอีกสี่ปขางหนา

รูปแบบอาการผิดปกติมีความเชื่อวาผูบริโภคที่รางกายมีการเจริญเติบโตผิดปกติ มาจากการบริโภค

อาหารประเภทนม กลูเตน ผลิตภัณฑที่ปราศจากแปงสาลี ซึ่งบอยครั้งพบวาผลิตภัณฑเหลานี้มี

ความสัมพันธกับแรงจูงใจทางดานจิตวิทยา เชน ทําใหน้ําหนักตัวลดลงการวิจัยไดรับความรวมมือ

59สุษม ศุภนิตย,เอกสารเพื่อประกอบการพิจารณากฎหมายของสมาชิกรัฐสภาเลม 7 เรื่องราง

พระราชบัญญัติคุมครองผูบรโิภค พ.ศ. .... , กรณีศึกษากฎหมายคุมครองผูบริโภคของประเทศญี่ปุนสหรัฐอเมริกา

และ สหราชอาณาจักร. กรุงเทพฯ: สํานักวิจัยและพัฒนาสถาบันพระปกเกลา, ป 2547,หนา 5-7.

Page 191: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

174

จากกลุมบริษัทอาหารและเครื่องดื่มในสหราชอาณาจักร ฝรั่งเศส เยอรมนี อิตาลี สเปน และ

สหรัฐอเมริกา ประเทศละ 500 คน เปนจํานวน 3,000 คน รวมทั้งการสํารวจผูประกอบการรายใหญ

20 บริษัท ผูคาปลีก และบริษัทที่ใหบริการทางดานอาหาร โดยวางแผนการสํารวจผูบริโภคในเชิงลึก

จากการสัมภาษณผูนําอุตสาหกรรม เพื่อใชจําแนกและประเมินโอกาสทางการตลาดผลิตภัณฑที่

แสดงกับฉลาก “suitable for” การวิจัยจะเปดเผยขอมูลวามีผูผลิตเริ่มตนจํานวนเทาไรที่ใหความ

สนใจในการลงทุน และบอกอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจวาผูผลิตคาดหวังผลกําไรที่ไดจาก

การแขงขัน โดยจะรายงานกลับไปยังผูที่ตอบแบบสอบถามเฉพาะราย ซึ่งคําถามจะตรวจสอบ

ทัศนคติการรับรู แรงจูงใจในการเลือกซื้อผลิตภัณฑอาหารที่แสดงฉลาก “suitable for” และความ

เขาใจในฉลากสารกอภูมิแพที่ไดแสดงถึงรูปแบบการบริโภคและโอกาสในการเพิ่มมูลคาความ

ตองการหรือคานิยม

จากรายงานจะพิจารณาระดับความเขาใจของผูประกอบการตอการออกกฎหมายเกี่ยวกับ

การติดฉลากและความตองการฉลากผลิตภัณฑ “suitable for” ที่ใชในการผลักดัน วาเปนความ

ตองการโดยแทจริงหรือมาจากคานิยม LFR รายงานวาฉลากผลิตภัณฑ “suitable for” เหมาะกับ

ตลาดสินคาผูปวยดวยโรคเบาหวาน สินคาที่ปราศจากกลูเตน สินคาที่ปราศจากหรือมีปริมาณของ

สารกอภูมิแพต่ํา และสินคาที่ปราศจากหรือมีปริมาณของแลคโตสต่ํา แหลงขอมูลกลุมงานวิจัย

Euromonitor International ในป พ.ศ.2553 รายงานวาตลาดอาหารที่กอใหเกิดอาการแพมีมูลคา

ถึง 115.8 ลานปอนด ซึ่งเพิ่มขึ้นรอยละ 7 จากป พ.ศ.2552 สวนตลาดสินคาปราศจากกลูเตนในป

พ.ศ.2553 คํานวณปริมาณไดรอยละ 67 คิดเปนมูลคาไดรอยละ 71 และในป พ.ศ.2558 ตลาด

อาหารที่กอใหเกิดอาการแพคาดวาจะมีมูลคาการคาปลีกอยูที่ 132.4 ลานปอนด เปรียบเทียบกับป

พ.ศ.2548 ที่มีมูลคา 73 ลานปอนด60

นอกจากนั้นยังมีกฎหมายยังไดกําหนดสถานะของขอกําหนดโดยปริยายดังกลาวใน

Saleof Goods Act 1979 มาตรา 13 (1A) โดยกําหนดใหมีสถานะเปนการรับรองประเภท

Condition อันเปนลักษณะเฉพาะของการแบงแยกประเภทของขอสัญญาในกฎหมายวาดวย

สัญญาของประเทศอังกฤษเพื่อประโยชนในการพิจารณาผลของการผิดสัญญาโดยขอสัญญา

ประเภท Condition มีลักษณะที่สําคัญคือเปนขอกําหนดที่เปนสาระสําคัญของสัญญาซึ่งการไม

ปฏิบัติตามขอกําหนดดังกลาวจะทําใหคูสัญญาฝายที่ไมผิดสัญญามีสิทธิที่ปฏิเสธที่จะปฏิบัติหนาที่

ในสวนของตนบอกเลิกสัญญาและเรียกคาเสียหายจากฝายที่ผิดสัญญาสําหรับความเสียหายที่

60 บทความ อาหาร food Journal ปที่ 42 ฉบับ ที่ 3 กรกฎาคม – กันยายน พ. ศ.2555 สถาบันคนควา

ผลิตภัณฑอาหารมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร,หนา 191-195.

Page 192: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

175

เกิดขึ้นจากการ ไมปฏิบัติตามสัญญาไดดังนั้นในกรณีที่ผูขายสงมอบสินคาไมตรงตามคําพรรณนา

ผูซื้อยอมมีสิทธิที่จะปฏิเสธ ไมยอมรับสินคาและบอกเลิกสัญญาซื้อขายตามคําพรรณนาไดรวมทั้ง

เรียกคาเสียหายจากการผิดสัญญาดังกลาวไดดวย

สําหรับความรับผิดของผูขายในกรณีที่ ผูขายสงมอบสินคาไมตรงตามคําพรรณนาแมวา

สินคาที่ผูขายสงมอบไปยังผูซื้อนั้นจะตรงตามคุณสมบัติที่สําคัญของสินคานั้นแลวก็ตาม

ในสวนของ Department of Trade and Industry ยังมีบทบาทในการสนับสนุนใหทุนแก

British Standards Institute (BSI) ซึ่งเปนองคกรอิสระที่เกิดขึ้นมานานถึง 75 ป ในการดําเนินการ

ใหมีมาตรฐานในสินคาหลายประเภท สินคาที่ไดรับการทดสอบผานมาตรฐานจะไดรับสัญญา

ลักษณะรูปวาว (Kite mark) จาก BSI

นอกจากนี้ ยังมีหนวยงานที่รับผิดชอบดานความปลอดภัยเฉพาะ เชน Home Office ดูแล

ในเรื่องการควบคุมวัตถุระเบิดสินคาอันตราย ใบอนุญาตจําหนายสุรา กระทรวงเกษตรการประมง

และอาหาร มีอํานาจภายใตกฎหมาย Food Safety Act 1990

กลาวโดยสรุป ในระดับรัฐบาลกลางนั้นเริ่มมีกลไกที่เกี่ยวกับการคุมครองผูบริโภคที่ชัดเจน

ตั้งแตป ค.ศ.1973 โดยใหอยูภายใตการกํากับดูแลของกระทรวงการคาและอุตสาหกรรม และมี

องคกรอิสระภาคประชาชนมีสวนรวมในการคุมครองผูบริโภคดวย

ทั้งนี้ในสวนของกฎหมายเกี่ยวของดานการโฆษณาอาหารและเครื่องดื่มที่มีน้ําตาลไขมัน

และโซเดียมสูงหรืออาหารที่อาจกอใหเกิดการภูมิแพในตางประเทศพบวาประเทศอังกฤษมี

กฎหมายดานการสื่อสารและการโฆษณาไดแก

1. พระราชบัญญัติ.Communications Act 2003 มี Officeof Communication

Office ofCommunication (Ofcom) เปนองคกรภาครัฐที่มีหนาที่ควบคุมกํากับดูแลและบังคับใช

กฎหมาย

2. กฎหมายการคา Trade Description Act of 1986 ปรับปรุงป 1972 มีหนวยงาน

Officer of Trade Officer of Trade และกฎหมายการคุมครองผูบริโภคเปนองคกรภาครัฐที่มีหนาที่

ควบคุมกํากับดูแลและบังคับใชกฎหมาย

3. กฎหมาย The Consumer Protection from Unfair Trading Regulations and the

business Protection from Misleading Marketing Regulations 2008 มีหนวยงาน Parliament

Page 193: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

176

of the UnitedKingdom โดยหนวยงานนี้เปนองคกรภาครัฐที่มีหนาที่ควบคุมกํากับดูแลและบังคับ

ใชกฎหมายเปนตน61

3.2.4.2 มาตรการคุมครองในดานฉลากภูมิแพสมาคมการคาปลีกแหงสหราชอาณาจักร (BRC) ไดรวมมือกับสหพันธอาหาและ

เครื่องดื่มแหงสหราชราชอาณาจักรในการออกคําแนะนําใหอุตสาหกรรมระบุฉลากสารกอภูมิแพ

ตามกฎหมายใหมของสหภาพยุโรป ภายใตกฎระเบียบของขอมูลอาหารใหมเพื่อผูบริโภค (EU FIC)

ตามเนื้อหาของกฎหมายกลุมประเทศสหภาพยุโรปเมื่อวันที่ 22 ธันวาคม 2549 คณะกรรมาธิการ

ยุโรปไดประกาศกฎเกณฑกลางCOMMISSIONDIRECTIVE 2006/142/EC of 22 December

2006 amending Annex IIIa of Directive 2000/13/EC of theEuropean Parliament and of the

Council listing the ingredients which must under all circumstancesappear on the labelling

of foodstuffs เรื่องการแกไขกฎเกณฑกลางฉบับเดิมในเรื่องของการติดฉลากสินคา อาหารในสวน

ของภาคผนวกที่ 3a (Annex IIIa) ของ Directive 2000/13/EC ซึ่งเปนสวนที่กําหนดรายชื่อของ

สวนประกอบที่จําเปนตองมีการระบุไวในฉลากเนื่องจากสวนประกอบอาหารบางรายการถือวามี

ความเสี่ยงที่กอใหเกิดอาการแพ (Allergic reactions) แกผูบริโภคไดดังนั้นจึงขอเพิ่มสวนประกอบ

ใหม2 รายการอันไดแก

1) ถั่ว lupin (ถั่วในตระกูล Lupinus sp.) ซึ่งปจจุบันมีอยู 450 ชนิดรวมถึงผลิตภัณฑที่ทํา

จากถั่ว lupin

2) สัตวน้ําประเภทหอยและปลาหมึก (molluscs) เชน หอยฝาเดี่ยว (gastropods) หอย

สองฝา (bivalves) และปลาหมึก (cephalopods) รวมถึงผลิตภัณฑที่ทําจากสัตวประเภทหอยและ

ปลาหมึก ซึ่งคณะกรรมาธิการยุโรปกําหนดมาตรการเปลี่ยนผาน (Transitional measures): เพื่อ

บังคับใชกฎเกณฑกลางฉบับนี้กับทุกสินคาที่วางจําหนายในสหภาพยุโรป (EU-27) ตั้งแตวันที่ 20

ของวันที่ออกประกาศและมีผลบังคับใชอยางเปนทางการในวันที่ 23 ธันวาคม 2550 โดยอนุโลมให

วางจําหนายสินคาที่มีการพิมพฉลากกอนวันที่23 ธันวาคม 2551 สามารถวางจําหนายตอไปได

จนกวาสินคาจะหมดออกไปจากสต็อค (until stocks run out) แตหลังจากวันที่ 23 ธันวาคม 2551

เปนตนไปหามการวางจําหนายสินคาอาหารที่ไมปฏิบัติตามกฎระเบียบนี้ ทั้งนี้หลักการทั่วไปของ

61นงนุช ใจชื่น,กฎหมายและมาตรการที่เกี่ยวของกับการโฆษณาอาหารและเครื่องดื่มที่มีนํ้าตาลไขมัน

และโซเดียมสูงของประเทศไทยและตางประเทศ Advertising Regulations Related to Food and Drinks with

High Sugar, Fat and Sodium inThailand and Foreign countries, ไดรับทุนอุดหนุนการศึกษาจากสํานักงาน

กองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ (สสส.)สํานักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหวางประเทศ (IHPP)

แผนงานงานวิจัยนโยบายอาหารและโภชนาการเพื่อการสรางเสริมสุขภาพ (FHP) ป 2556, หนา 121.

Page 194: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

177

กฎระเบียบดังกลาวไดผานการพิจารณาเห็นชอบจากหนวยงานความปลอดภัยดานอาหารประจํา

สหภาพยุโรป (The European Food Safety Authority : EFSA) ดวยแลว

ทําใหเห็นวากฎหมายของประเทศอังกฤษจะจะไมอนุญาตใหบริษัทใชขอความ ‘contain’

ตามที่ผูประกอบการอาหารจํานวนมากใชแจงเตือนผูบริโภคในการมีอยูของสารกอภูมิแพ แตตอง

เนนขอความของสารกอภูมิแพในรายการสวนผสมเปนตัวหนา และเพิ่มขอความ “สวนผสมของสาร

กอภูมิแพเปนตัวหนา” ขอกําหนดนี้บริษัทผูผลิตอาหารตองดําเนินการภายในเดือนธันวาคม 2557

คําแนะนํานี้คาดหวังใหบริษัทผูผลิตอาหารไดปฏิบัติในแนวทางเดียวกันสําหรับการติดฉลากสารกอ

ภูมิแพ ซึ่ง BRC ยินดีที่จะรับขอมูลเพิ่มเติม เนื่องจากสหภาพยุโรปมีความกวางขวาง ซึ่งเปนไปไดวา

คณะกรรมาธิการยุโรปและรัฐบาลแหงชาติของแตละประเทศมีการประกาศใชคําแนะนําเอง แต

ผูประกอบการอาหารยังคงตองระบุฉลากสารกอภูมิแพภายใตกฎหมายของสหภาพยุโรปทั้ง 14

ชนิดไดแก ถั่วลิสง ถั่วเปลือกแข็ง ถั่วเหลือง มัสตารด ไข Lupin นม ปลา ธัญพืชที่มีกลูเตน งา คื่น

ฉาย ซัลเฟอรไดออกไซด สัตวทะเลจําพวกหอย ปลาหมึก (molluscs) กุงและปู (crustaceans)

สําหรับผลิตภัณฑที่ไมมีสวนผสมของสิ่งตางๆ เหลานี้ ผูประกอบการสามารถใชการปฏิบัติที่ดีใน

การเฝาระวังการปนเปอนขามและการมีอยูของสารกอภูมิแพโดยไมตั้งใจหนวยงานมาตรฐาน

อาหารของสหราชอาณาจักรกลาววาการออกเอกสารคําแนะนําของ BRC จะชวยใหเกิดความ

สอดคลองในการติดฉลากสารกอภูมิแพอาหารมากขึ้น ซึ่งวิธีการที่สอดคลองกันนี้จะงายสําหรับ

ผูบริโภคที่แพอาหารในการคนหาและทําความเขาใจกับขอมูลของสารกอภูมิแพบนบรรจุภัณฑและ

ชวยตัดสินใจเลือกซื้ออาหารไดอยางปลอดภัย เปนตน

3.2.4.3 มาตรการคุมครองในดานการเยียวยาในเรื่องของการเยียวยามีหนวยงานที่มีหนาที่หลักและสําคัญเกี่ยวกับการคุมครอง

ผูบริโภคในภาครัฐ ไดแก Office of Fair Trading ซึ่งอยูภายใตการกํากับดูแลของ Director

General of Fair Trading ซึ่งแตงตั้งโดยSecretary of State ตามfair Trading Act 1973 Part I (1)

มีระยะเวลาดํารงตําแหนง 5 ป มีอํานาจหนาที่กํากับดูแลกิจกรรมทางธุรกิจที่เกี่ยวของกับสินคาเพื่อ

บริโภคทุกประเภทในสหราชอาณาจักรภายใตกฎหมายฉบับเดียวกันนี้กําหนดใหมีกรรมการที่

ปรึกษาเกี่ยวกับการคุมครองผูบริโภคที่เรียกวา The Consumer Protection Advisory Committee

ประกอบดวยบุคคลไมนอยกวา 10 คนไมเกินกวา 15 คน ซึ่งแตงตั้งโดย Secretary of State ซึ่งตอง

มีอํานาจหนาที่ในเรื่องที่เกี่ยวของกับการเยียวยาโดยคณะกรรมการที่ปรึกษาดานการคุมครอง

ผูบริโภคดังกลาวปรากฏอยูใน Part II ขอ 14 ของกฎหมายFair Trading Act 1973 กลาวคือเปนที่

ปรึกษาใหรัฐมนตรีและ Secretary of State รวมทั้งกรณีที่ Director General ขอคําปรึกษาในเรื่อง

ใดๆที่เกี่ยวกับหรือที่อาจมีผลกระทบตอผูบริโภคในประเทศหรือประโยชนสาธารณชนในแง

Page 195: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

178

เศรษฐกิจคณะกรรมการตองจัดทํารายงานเสนอตอผูขอคําปรึกษาและในการนี้คณะกรรมการอาจ

ขอให Director General สั่งมีการสํารวจหรือสืบคนขอมูลตางๆ เพื่อประโยชนในการจัดทํารายงาน

ของคณะกรรมการได

ในเรื่องของการเยียวยาโดยองคการหรือหนวยงานดานคุมครองผูบริโภคในทองถิ่นสภา

ทองถิ่นที่เรียกวา Country Councils และเขตปกครองใน London มีบทบาทในดานการคุมครอง

ผูบริโภค 2 ประการดวยกันกลาวคือ

1) ในแงที่จัดใหมีพนักงานเจาหนาที่ทองถิ่นในการตรวจสอบปริมาณและน้ําหนักของสินคา

ตามที่ The Trade Descriptions Act 1968 ใหอํานาจไวและมีอํานาจติดตามพฤติกรรมผิดปกติ

ทางการคาเพื่อนายงานตอ Director General of Fair Trading ตามกฎหมาย Fair Trading Act

1973

2) จัดใหมี Consumer Advice Canters ภายใตกฎหมาย Local Government

Act 1972 การใหคําแนะนํากระทําทั้งกอนและหลังการบริโภครวมทั้งรับเรื่องราวรองทุกขตลอดถึง

การเจรจายุติปญหาพิพาทระหวางผูประกอบธุรกิจและผูบริโภคดวยแตไมมีการฟองคดีแทน

ผูบริโภค

นอกจากนี้การดําเนินการเยียวยาในภาคองคการภาคเอกชนจะมีสมาคมคุมครองผูบริโภค

ที่เปนของเอกชนมีบทบาทในดานการใหขอมูลเปรียบเทียบของสินคาหรือบริการแกผูบริโภค

Consumer Association มีเอกสารเผยแพรชื่อซึ่งเปนที่รูจักแพรหลายในหมูผูบริโภคทําเปนระบบ

เครือขายระหวางองคกรเอกชนดวยกันโดยมีNational Federationof Consumer Groups ซึ่งเปน

หนวยรวมสมาชิกองคกรเอกชนประมาณ 2,000 องคกรเขาดวยกันเปนศูนยกลางของเครือขาย ใน

การคุมครองผูบริโภคในประเทศอังกฤษการกําหนดมาตรการเยียวยาความเสียหายอันเนื่องมาจาก

การซื้อสินคาตามคําพรรณนาหรือตามโฆษณารวมถึงฉลากและขอบเขตความรับผิดและประเภท

ของความเสียหายอันเนื่องมาจากความชํารุดบกพรองหรือความไมปลอดภัยของสินคาใน

ตางประเทศ จําเปนจะตองทําการศึกษาเพื่อนํามาปรับใชกับกฎหมายประเทศไทยใหเกิด

ประสิทธิภาพตอไป

3.2.4.4 องคกรบังคับใชกฎหมายในสวนขององคกรภาครัฐในระดับรัฐบาลกลางมีหนวยงานที่มีหนาที่หลักและ

สําคัญเกี่ยวกับการคุมครองผูบริโภคในภาครัฐ ไดแก Office of Fair Trading ซึ่งอยูภายใตการ

กํากับดูแลของ Director General of Fair Trading ซึ่งแตงตั้งโดย Secretary of State ตาม Fair

Page 196: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

179

Trading Act 1973Part I (1) มีระยะเวลาดํารงตําแหนง 5 ป มีอํานาจหนาที่กํากับดูแลกิจกรรมทาง

ธุรกิจเกี่ยวของกับสินคาเพื่อบริโภคทุกประเภทในสหราชอาณาจักร62

ภายใตกฎหมายฉบับเดียวกันนี้ กําหนดใหมีกรรมการที่ปรึกษาเกี่ยวกับการคุมครอง

ผูบริโภคที่เรียกวา The Consumer Protection Advisory Committee ประกอบดวยบุคคลไมนอย

กวา 10 คน ไมเกินกวา 15 คน ซึ่งแตงตั้งโดย Secretay of State ซึ่งตองมีคุณสมบัติตรงตามที่

กําหนดไว กลาวคือ มีความรูความสามารถ มีประสบการณเกี่ยวกับสินคาบริโภค หรือเกี่ยวกับการ

ทํางานดานการคุมครองผูบริโภคในองคกรเอกชน

อํานาจหนาที่ของคณะกรรมการที่ปรึกษาดานการคุมครองผูบริโภคดังกลาวปรากฏอยูใน

Part II ขอ 14 ของกฎหมาย Fair Trading Act 1973 กลาวคือ เปนที่ปรึกษาใหรัฐมนตรี และ

Secretary of State รวมทั้งกรณีที่ Director General ขอคําปรึกษาในเรื่องใด ๆ ที่เกี่ยวกับหรือที่

อาจมีผลกระทบตอผูบริโภคในประโยชนสาธารณชนในแงเศรษฐกิจ คณะกรรมการตองจัดทํา

รายงานเสนอตอผูขอคําปรึกษา และในการนี้คณะกรรมการอาจขอให Director General สั่งใหมี

การสํารวจหรือสืบคนขอมูลตางๆ เพื่อประโยชนในการจัดทํารายงานของคณะกรรมการได

นอกจากนี้คณะกรรมการยังมีอํานาจรับฟงขอมูลจากผูเกี่ยวของทุกฝายกอนทํารายงานได

ในกรณีที่ Secretary of State เห็นดวยกับความเห็นของคณะกรรมการที่ปรึกษาในเรื่อง

หนึ่งเรื่องใดวา สมควรดําเนินการเพื่ออกกฎหมายเพื่อใหเกิดประโยชนตอผูบริโภคและสาธารณชน

ทั่วไป Secretary of State มีอํานาจออกขอกําหนด Order ใหมีผลบังคับใชภายใตเงื่อนไขวาไดรับ

การรับรองจากสภาผูแทนราษฎรโดยมีระบบคุมครองผูบริโภคดังกลาวขางตนในกฎหมายฉบับนี้

ชวยทําใหกระบวนการออกกฎหมายมีประสิทธิภาพมากขึ้น

องคกรหรือหนวยงานดานคุมครองผูบริโภคในทองถิ่นสภาทองถิ่นที่เรียกวา County

Conuncils และเขตปกครองใน Landon มีบทบาทในดานการคุมครองผูบริโภค 2 ประการดวยกัน

กลาวคือ

1) ในแงที่จัดใหมีพนักงานเจาหนาที่ทองถ่ินในการตรวจสอบปริมาณและน้ําหนักของสินคา

ตามที่ The Trade Descriptions Act 1968 ใหอํานาจไว และมีอํานาจติดตามพฤติกรรมผิดปกติ

ทางการคาเพื่อรายงานตอ Director General of Fair Trading ตามกฎหมาย Fair Trading Act

1973

62วราชัย เกษมเมธีการุณ,มาตรการทางกฎหมายในการสงเสริมใหองคกรเอกชนเขามามีสวน

รวมในการคุมครองผูบริโภค, วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิตคณะนิติศาสตร.กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัย

รามคําแหง.ป 2541, หนา 15-20.

Page 197: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

180

2) จัดใหมี Consumer Advice Centres ภายใตกฎหมาย Lacol Government Act 1972

การใหคําแนะนํากระทําทั้งกอนและหลังการบริโภค รวมทั้งรับเรื่องรองทุกข ตลอดถึงการเจรจายุติ

ปญหาพิพาทระหวางผูประกอบธุรกิจและผูบริโภคดวย แตไมมีการฟองคดีแทนผูบริโภค

นอกจากนั้นองคกรภาคเอกชนมีการดําเนินงานโดยมีการจัดตั้งสมาคมคุมครองผูบริโภคที่

เปนของเอกชนมีบทบาทในดานการใหขอมูลเปรียบเทียบของสินคาหรือบริการแกผูบริโภค

Consumer Associatione มีเอกสารเผยแพรชื่อ Which ซึ่งเปนที่รูจักแพรหลายในหมูผูบริโภค

เพราะใหประโยชนตอการตัดสินใจของผูบริโภคอยางมากทั้งนี้สมาคมเอกชนมีบทบาทในการ

ผลักดันกฎหมายเกี่ยวกับการคุมครองผูบริโภคหลายฉบับ รวมทั้งเสนอแนะใหการแกไขที่มี

ขอบกพรองจนมีการแกไขตามขอเสนอ เชน การแกไขบทบัญญัติใน The Sale and Supply of Goods

Act 1994

การดําเนินงานของสมาคมเอกชนทําเปนระบบเครือขายระหวางองคกรเอกชนดวยกัน โดย

มี National Federation of Consumer Groups ซึ่งเปนหนวยรวมสมาชิกองคกรเอกชนประมาณ

2,000 องคกรเขาดวยกันเปนศูนยกลางของเครือขาย

นอกเหนือจากองคกรเอกชนแลว องคกรธุรกิจก็มีสวนเกี่ยวของกับการคุมครองผูบริโภค

ตัวอยางเชน การจัดต้ัง Retail Motor Industry Federation หรือAssociation of British TravelAgents

ซึ่งทํากิจกรรมเกี่ยวของกับการระงับขอพิพาทที่มีขึ้นระหวางผูประกอบธุรกิจกับผูบริโภคหรือการใช

ระบบ Ombudsman ในกิจการเฉพาะ เชน The Insurance Ombudsman’s Bureau ซึ่งจัดตั้งขึ้น

ตามความสมัครใจของผูประกอบธุรกิจ เพื่อใหเปนคนกลางในการควบคุมการดําเนินกิจการ

ประกันภัยในหมูผูประกอบธุรกิจประกันภัยดวยกัน มิใหกอความเสียหายตอผูบริโภค เปนตน

3.2.5 ญี่ปุน3.2.5.1 มาตรการคุมครองในดานการโฆษณา63

สืบเนื่องจากการที่ประเทศญี่ปุนไดยอมแพสงครามโลกคร้ังที่ 2 ในป ค.ศ.1945 ทํา

ใหบานเมืองถูกทําลายและไดรับความเสียหายอยางมาก บรรดาเหลาแมบานจึงไดมีการรวมตัวกัน

เดินขบวนรณรงคใหผูบริโภคเกิดการตอรองกับทหารอเมริกาเกี่ยวกับอาหารและที่อยูอาศัย ซึ่งเปน

จุดเริ่มตนของการมีสิทธิขั้นพื้นฐาน ภายหลังการเติบโตทางเศรษฐกิจอยางรวดเร็วของประเทศ

ญี่ปุนนับตั้งแต ค.ศ.1950 ถึง 1960 เปนตนมา ทําใหกระบวนการผลิตในระบบเศรษฐกิจซับซอนขึ้น

ความเปนอยูของ ประชาชนดีขึ้น ผลิตภัณฑตลอดจนเทคโนโลยีตางๆ ไดถูกพัฒนาขึ้นตาม

กระบวนการผลิต สงผลใหการบริโภคเพิ่มสูงขึ้นเปนสําดับและผลิตภัณฑบางอยางกอใหเกิดปญหา

ซึ่งสงผลกระทบตอชีวิตและทรัพยสินของผูบริโภค การบริโภคผลิตภัณฑตางๆ ยังขาดความ

63วราชัย เกษมเมธีการุณ,เรื่องเดียวกัน,หนา 35.

Page 198: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

181

ปลอดภัย สงผลตอระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน เมื่อมีการฟองรองคดี ผูบริโภคก็แพคดีเพราะ

ไมสามารถนําสืบหรือพิสูจนไดวาสินคานั้นไมปลอดภัยตอผูบริโภค ทําใหประชาชนเริ่มกดดัน

ภาครัฐใหดําเนินการอยางใดอยางหนึ่งในการคุมครองผูบริโภค แตเนื่องจากไมมีกฎหมายรองรับ

จึงไดมีการเสนอตอรัฐสภาวาตองกําหนดสิทธิผูบริโภคและสภาพความเปนอยูของชาวญี่ปุน

จนกระทั่งในป ค.ศ.1968 รัฐสภาญี่ปุนไดตรากฎหมายคุมครองผูบริโภค (The Consumer Protection

Fundamental Act, 1968) ขึ้นบังคับใชเปนครั้งแรก ซึ่งมีและเหตุผลเพื่อหลักการสนับสนุนมาตรการ

ตางๆ ในการคุมครองสิทธิและผลประโยชนผูบริโภค โดยไดกําหนดหนาที่ความรับผิดชอบของ

รัฐบาลกลาง รัฐบาลทองถิ่น ผูประกอบธุรกิจ และบทบาทของผูบริโภค สรุปไดดังนี้

1) รัฐบาลกลางและรัฐบาลทองถิ่นจะตองวางแผนและปฏิบัติการใหเปนไปตามแผนและ

นโยบายเกี่ยวกับผูบริโภคตามพัฒนาการของเศรษฐกิจและสังคม

2) ผูประกอบธุรกิจจะตองคุมครองผูบริโภคและดําเนินการตามนโยบายตางๆ ของรัฐบาล

3) ผูบริโภคจะตองมีบทบาทสําคัญในการพัฒนาชีวิตของตนในฐานะผูบริโภคดวยการมี

ความคิดริเริ่มและพยายามที่จะใชเหตุผลของตนเองดวยความเชื่อมั่น

ในป ค.ศ.1994 ประเทศญี่ปุนมีกฎหมายวาดวยความรับผิดในผลิตภัณฑออกใชบังคับมี

เนื้อหาสาระคลายกับหลักเกณฑความรับผิดในผลิตภัณฑที่ใชอยูในประเทศสหรัฐอเมริกา เพื่อ

เยียวยาความเสียหายแกผูเสียหายเฉพาะการบริโภคผลิตภัณฑ เพื่อใหผูผลิตมีความรับผิดชอบใน

ความเสียหายตอชีวิต รางกาย ทรัพยสิน อันเกิดขึ้นเนื่องจากความบกพรองในผลิตภัณฑ และ

เพื่อใหเกิดความมั่นคงในการดํารงชีวิตของประชาชนและเกิดการพัฒนาเศรษฐกิจโดยรวมของ

ประเทศกฎหมายฉบับนี้มีบทกําหนดความหมายของผลิตภัณฑไววา หมายถึง ทรัพยที่เคลื่อนที่ได

ซึ่งผานกระบวนการผลิต หรือประกอบแลว สวนความผิดปกติหรือบกพรองของผลิตภัณฑ

กําหนดใหหมายถึง ผลิตภัณฑนั้นขาดความปลอดภัยตามปกติธรรมดาที่ควรจะเปน โดยพิจารณา

ถึงธรรมชาติของผลิตภัณฑ การคาดหมายตามธรรมดาในการบริโภคผลิตภัณฑ สถานการณเมื่อ

ผูผลิตสงมอบผลิตภัณฑ และเหตุการณอื่นๆ เกี่ยวกับผลิตภัณฑนั้น ๆ

ทั้งนี้ ไดกําหนดความหมายของผูผลิตที่ตองรับผิดไว โดยเนนที่ผูผลิต ผูประกอบการ ผูนํา

เขา โดยปกติทางการคา และใหหมายรวมถึงผูซึ่งใชชื่อทางการคา เครื่องหมายการคา หรือ

เครื่องหมายอื่นใดบนผลิตภัณฑอันมีลักษณะทําใหเขาใจวาเปนผูผลิต หรืออาจหมายถึงผูซึ่งใชชื่อ

แสดงบนสินคาหรือผลิตภัณฑเพื่อใหเขาใจวาเปนผูเกี่ยวของกับการผลิต ประกอบ นําเขา หรือกรณี

อื่นใดที่แทจริง

Page 199: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

182

กําหนดใหผูที่เปนผูผลิตหรือบุคคลที่อาจหมายถึงผูผลิตตามกฎหมายฉบับนี้ ตองรับผิดใน

ความเสียหายตอชีวิต รางกาย ทรัพยสินของผูใด ซึ่งความเสียหายดังกลาวเกิดจากความบกพรอง

ในผลิตภัณฑที่เขาเปนผูผลิต ประกอบ นําเขา หรือใชชื่อในนามผูผลิต แตผูผลิตไมตองรับผิดชอบ

ตอความเสียหายที่เกิดกับผลิตภัณฑนั้นเอง ทั้งนี้ก็ไดกําหนดขอยกเวนความรับผิดชอบของผูผลิตใน

กรณีที่ผูผลิตพิสูจนไดวา

1)ในขณะผลิต ขณะวางจําหนาย ความรูและเทคโนโลยีทางวิทยาศาสตรยังไมสามารถ

คนพบไดถึงขอบกพรองของผลิตภัณฑ หรือ

2) ในกรณีที่ผลิตภัณฑถูกใชเปนสวนประกอบหรือวัตถุดิบของผลิตภัณฑอื่นและ

ขอบกพรองนั้นเกิดขึ้นเนื่องมาจากขอกําหนดหรือวิธีการซึ่งกําหนดโดยผูผลิตภัณฑอื่นดังกลาวแลว

และผูผลิตคนแรกมิไดประมาท หรือเปนตนเหตุใหเกิดขอบกพรอง ทั้งนี้กําหนดระยะเวลาใชสิทธิ

เรียกรองของผูเสียหายไว 2 กรณี ไดแก

(1) กําหนด 3 ป นับแตเวลาที่ผูเสียหายรูถึงความเสียหายและรูตัวผูตองรับผิดหรือ 10 ป

นับแตมีการสงมอบผลิตภัณฑ

(2) ระยะเวลาในขอ 1 อาจคํานวณไดจากเวลาเมื่อความเสียหายเริ่มปรากฏชัดขึ้นในกรณี

ที่ความเสียหายเกิดจากวัตถุที่เปนอันตรายตอสุขภาพมนุษย หากมีอยูในรางกายหรือสะสมอยูใน

รางกายเมื่อปรากฏอาการแหงความเปนอันตรายหลังจากระยะเวลาหนึ่งเวลาใดในเรื่องของความ

เสียหายนั้น The Product Liability Act 1994 ไดกําหนดวาความเสียหายที่ไดรับการเยียวยาตาม

ความในกฎหมายฉบับนี้คือ ความเสียหายตอชีวิต รางกาย และทรัพยสินของบุคคล เวนแตความ

เสียหายที่เกิดขึ้นจากสินคาที่ชํารุดบกพรองเอง แตก็ไมไดกําหนดขอบเขตของคาสินไหมทดแทน

เอาไววาจําเลยจะตองรับผิดชอบมากนอยเพียงใด ดังนั้น การเรียกรองคาสินไหมทดแทนจึงเปนไป

ตามกฎหมายแพงในเรื่องคาสินไหมทดแทนเพื่อการละเมิด

เปนที่นาสังเกตวา กฎหมาย ฉบับนี้ไดกําหนดแนวทางไวชัดเจนมากขึ้น ทั้งในดานผูตอง

รับผิดชอบ ขอยกเวนความรับผิดชอบ แมจะบัญญัติไวเพียงไมกี่มาตราแตแสดงใหเห็นวาเปนการ

แกปญหาหลายประการที่กฎหมายของประเทศสหรัฐอเมริกาเคยประสบมากอน ตัวอยางเชน การ

กําหนดตัวผูตองรับผิด โดยถือวาผูผลิตเปนตัวยืนที่ตองรับผิดเสมอ ในกรณีที่มีบุคคลอื่นแสดงตน

ดุจดังเปนผูผลิต บุคคลเหลานี้ก็ถูกถือเสมือนหนึ่งเปนผูผลิตดวย ไมวาจะเปนการแสดงดวยชื่อทาง

Page 200: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

183

การคา หรือเครื่องหมายอื่นใด แตไมไดกําหนดวา ผูคาสง ผูคาปลีก เปนผูที่ตองรับผิดในกฎหมาย

ฉบับนี้64

อยางไรก็ดี จากขอเท็จจริงที่เห็นในปจจุบันหลังจากที่กฎหมายวาดวยความรับผิดใน

ผลิตภัณฑมีผลบังคับใชนั้นมีประเด็นที่เกิดขึ้นคือ

1) ยังไมประสบความสําเร็จในการชวยเหลือเยียวยาความเสียหายใหรวดเร็วและเหมาะสม

ใหแกผูบริโภคที่เสียหายไดจริง

2) รัฐมิไดเห็นความสําคัญในเรื่องความปลอดภัยของผูบริโภค ไมมีกําลังอยางเพียงพอที่จะ

สามารถหยุดยั้งบริษัทที่เล็งเห็นแตผละประโยชนของบริษัทตนเปนหลัก

ดังนั้น สิ่งที่จําเปนพื้นฐานการรับรองความปลอดภัยในผลิตภัณฑโดยกําหนดใหฝายผูผลิต

มีมาตรการรองรับที่เหมาะสม ซึ่งเนนทางดานความปลอดภัยในตัวผลิตภัณฑเปนหลักโดยภาครัฐ

ควรจะตอง

1) เสริมกําลังและเตรียมพรอมในดานระบบการชี้แนะและควบคุมดูแลเกี่ยวกับความ

ปลอดภัยของสินคา

2) นําขอมูลขาวสารที่เกี่ยวกับอุบัติเหตุในผลิตภัณฑหรือที่เกี่ยวกับการรองเรียนในตัว

ผลิตภัณฑตองสามารถออกเผยแพรในลักษณะที่ชัดเจนทั้งนี้ เพื่อเปนพื้นฐานใหกฎหมายมี

ประสิทธิภาพในการบังคับใชจริงและสามารถปองกันลวงหนามิใหเกิดหรือการแพรขยายความ

เสียหายอันเนื่องมาจากผลิตภัณฑตอไป

สําหรับเหตุผลที่กฎหมายวาดวยความรับผิดในผลิตภัณฑไมเปนประโยชนตอผูบริโภคมาก

นักและไมสามารถกระตุนใหทางฝายผูผลิตมีพฤติกรรมในการรับรองดานความปลอดภัยในตัว

ผลิตภัณฑนั้นไดแก

1) ความยากในการนําสืบความสัมพันธระหวางเหตุผลหรือความชํารุดบกพรองเนื่องจาก

องคประกอบเงื่อนไขของการเก็บรักษาหลักฐานหรือคําสั่งบังคับใหสงเอกสารตามหลักกฎหมายวิธี

พิจารณาความแพงมีความเขมงวด ประกอบกับเปนการยากที่จะใหผูบริโภคสามารถคนหาเอกสาร

หรือหลักฐานที่สําคัญในการนําสืบเกี่ยวกับความสัมพันธระหวางเหตุผลหรือความชํารุดบกพรอง

อีกทั้งระบบการพิพากษาตัดสินก็ยังไมมีความสมบูรณเพียงพอ ดังนั้น ภาระในการนําสืบโดย

ผูบริโภคผูซึ่งไมมีความรูเฉพาะทางจึงมีมากเปนพิเศษ

64การติดฉลากสินคาอาหารเพื่อคุมครองผูบริโภคในญี่ปุน, สืบคนเมือ่ 5 เมษายน 2557, จาก,

http://www.depthai.go.th/DEP/DOC/53/53000576.pdf.

Page 201: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

184

2) มิไดกําหนดในเรื่องการเรียกรองคาเสียหายในลักษณะที่เปนการลงโทษและเงินคา

เรียกรองคาเสียหายนั้นอยูในระดับต่ํา ดังนั้น จึงไมมีแรงจูงใจตอผูผลิตในการรับรองดานความ

ปลอดภัยในตัวผลิตภัณฑโดยการใชเงินลงทุนจํานวนมากเพื่อหลีกเลี่ยงในเรื่องการเรียกรอง

คาเสียหายซึ่งในประเทศญี่ปุนเองก็มีการเสนอแนะใหมีการแกไขเพิ่มเติมกฎหมายนี้ตอไปซึ่งสําหรับ

ประเด็นที่สมควรไดรับการแกไขมีดังนี้

(2.1) การเพิ่มเติมบทบัญญัติวาดวยการสันนิษฐานความสัมพันธระหวางเหตุและ

ผลหรือความชํารุดบกพรองตามกฎหมายวาดวยความรับผิดชอบในผลิตภัณฑและบทบัญญัติวา

ดวยการเรียกรองความเสียหายในเชิงลงโทษ

(2.2) การนําระบบการดําเนินคดีแบบกลุม (Class Action) มาใชในกระบวนวิธี

พิจารณาความแพง

(2.3) แกไขและเตรียมความพรอมในดานระบบการพิพากษาตัดสินเพื่อใหสามารถ

ใชบริการไดโดยมีคาใชจายที่ต่ําและการพิจาราเลือกผูที่จะทําหนาที่พิจารณาพิพากษาตัดสินที่มี

ความเหมาะสม

(2.4) เพิ่มเติมบทบัญญัติวาดวยการประกาศเผยแพรหลักฐาน ขอมูลขาวสาร

เกี่ยวกับอุบัติเหตุในผลิตภัณฑและขอมูลขาวสารในการรองเรียน โดยบังคับใหผูผลิตมีหนาที่ในการ

ประกาศเปดเผยใหกับหนวยงานภาครัฐที่ดูแลรับผิดชอบ เชน การแจงตอผูบริโภคที่ใชผลิตภัณฑ

หนึ่ง ๆ เกี่ยวกับขอมูลขาวสารอุบัติเหตุและแนวโนมของความเสียหาย ซึ่งเกิดขึ้นในผลิตภัณฑ

ดังกลาว

จะเห็นไดวาในสวนของประเภทของความเสียหายรวมทั้งมาตรการคุมครองดานการ

โฆษณาของประเทศญี่ปุนที่จะไดรับการเยียวยาและขอบเขตของความรับผิดเชน

1) ความเสียหายแกชีวิตรางกายและจิตใจ Product Liability Law,Article 3 ของประเทศ

ญี่ปุนนั้นบัญญัติวาความเสียหายที่จะไดรับการเยียวยาตามความในกฎหมายฉบับนี้คือความ

เสียหายแกชีวิตรางกายและทรัพยสินของบุคคลยกเวนความเสียหายที่เกิดขึ้นแกสินคาที่ชํารุด

บกพรองนั้นเองแต Product Liability Law ก็ไมไดกําหนดขอบเขตของคาสินไหมทดแทนเอาไววา

จําเลยจะตองรับผิดชอบมากนอยเพียงใดดังนั้นการกําหนดคาสินไหมทดแทนจึงเปนไปตาม

ประมวลกฎหมายแพงของญี่ปุนในเรื่องคาสินไหมทดแทนเพื่อการทําละเมิด และแมประเทศญี่ปุน

จะนํา EC Directive มาใชเปนแนวทางในการบัญญัติกฎหมายของตนแตก็ไมไดนําแนวคิดในการ

กําหนดคาเสียหายขั้นต่ําและขั้นสูงมาบัญญัติไวเพราะเห็นวาไมเหมาะสมกับระบบกฎหมายของ

ประเทศญี่ปุนในเรื่องของความเสียหายทางจิตใจนั้นกฎหมายญี่ปุนจะยอมใหเรียกไดก็ตอเมื่อมี

ความเสียหายทางรางกายเกิดขึ้นแกผูเสียหายดวย

Page 202: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

185

2) ความเสียหายแกทรัพยสิน Product Liability Law,Article 3 ของประเทศญี่ปุนบัญญัติ

ไวแตเพียงวาความเสียหายที่เกิดขึ้นแกตัวสินคาที่ชํารุดบกพรองเองนั้นไมอยูภายใตบังคับของ

กฎหมายฉบับนี้แตกฎหมายญี่ปุนก็ไมไดกําหนดเปนเงื่อนไขวาทรัพยชนิดใดที่จะไดรับความ

คุมครองภายใต Product Liability Law ดังนั้นแมเปนทรัพยที่มีไวเพื่อการคาก็ไดรับความคุมครอง

ซึ่งกรณีนี้จะแตกตางจาก EC Directive เปนตน

3.2.5.2 มาตรการคุมครองในดานฉลากภูมิแพกระทรวงสาธารณสุข แรงงาน และสวัสดิการ (Ministry of Health Labour and

Welfare: MHLW) โดย Consumer Affairs Agency (CAA) ของญี่ปุนไดมีการปรับปรุงกฎระเบียบ

เรื่องอาหารกอใหเกิดภูมิแพในอาหาร ซึ่งบังคับใหมีการติดฉลากอาหารในอาหารกอใหเกิดภูมิแพ

จํานวน 7 รายการ (เดิม 5 รายการ) และแนะนําใหติดฉลากอาหารจํานวน 18 รายการ (เดิม 19

รายการ) ทั้งนี้ MHLW ไดมีการประกาศใหมีการบังคับใชกฎระเบียบดังกลาวตั้งแตวันที่ 3 มิถุนายน

2551 และผอนผันไดจนถึงวันที่ 3 มิถุนายน 2553 โดยบังคับใหติดฉลาก 7 รายการ ไดแก 1) ขาว

สาลี (wheat) 2) โซบะ (buckwheat) 3) ไข (egg) 4) นม (milk) 5) ถั่วลิสง (peanut) 6) กุง

(shrimp/prawn/lobster) 7) ปู (crab) โดยแนะนําใหติดฉลาก 18 รายการ ไดแก 1) ปลาหมึก

(squid) 2)ไขปลา ikura (salmon roe) 3) เนื้อวัว (beef) 4) ถั่วเหลือง (soybeans) 5) วอลนัท

(walnuts) 6) วุนเจลาติน (gelatin) 7) ลูกพีช (peaches) 8) มันแกว (yams) 9) สม (oranges) 10)

เนื้อหมู (pork) 11) เนื้อไก (chicken) 12) ปลาแซลมอน (salmon) 13)ปลาซาบะ (mackerel) 14)

หอยเปาฮื้อ (abalone) 15) กีวี (kiwifruit) 16) แอปเปล (apples) 17) เห็ดโคนญี่ปุน (masutake)

และ18) กลวย เปนตน65

ประเทศญี่ปุนเปนประเทศคูคาที่สําคัญและเปนประเทศที่มีการลงทุนอันดับหนึ่งในไทย

นอกจากนี้ ยังเปนตลาดสินคาออกดานอาหารของไทยที่มีศักยภาพสูงดวย การทํา FTA กับญี่ปุน

ไทย จะไดประโยชนทั้งดานการคาและการลงทุน แตก็อาจจะมีผลกระทบตอสินคาและบริการดวย

เชนกัน จากการสํารวจระดับชาติของญี่ปุนดานภูมิแพอาหารเกี่ยวกับระบบการแสดงฉลากอาหาร

เฉพาะอยางที่กอใหเกิดอาการแพ ไดแก ไข นม แปงสาลี บัควีท และถั่วลิสง ที่มีการบังคับใชทาง

กฎหมายตั้งแตเดือนเมษายน 2002 ซึ่งตามกฎหมายดังกลาวไดแบงการแสดงฉลากสารกอภูมิแพ

เปนแบบบังคับ และชี้แนะใหมีการแสดงฉลากนั้น เปนผลที่ไดมาจากการพิจารณาของกรณีที่มีการ

ปวยจริงรวมถึงความรุนแรงของอาการแพที่เกิดขึ้น ปกติแลวการแสดงฉลากแบบบังคับจะเปนไป

65มาตรการคุมครองในดานฉลากภูมิแพ,สถาบันคนควาและพัฒนาผลิตภัณฑอาหาร

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร,(สืบคนเมื่อวันที่ 10เมษายน 2557),จาก.http://www.ifrpd-

foodallergy.com/index.php/th/news/49-japan-food-allergen-labeling-regulation-history-and-evaluation.

Page 203: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

186

ตามขอบังคับทางกฎหมาย ในป 2008 ไดมีการเพิ่มการแสดงฉลากแบบบังคับของผลิตภัณฑ

อาหารที่มีสวนประกอบของกุงและปู นอกจากนี้หนวยงานที่รับผิดชอบไดมีการแจงใหทราบวา

อาหารที่มีสวนผสมของวอลนัทและถั่วเหลือง ควรจัดอยูในกลุมอาหารเฉพาะที่กอใหเกิดอาการแพ

ในการตรวจติดตามวาระบบการแสดงฉลากใหผลที่สอดคลองกับความตองการนั้น ทาง

รัฐบาลญี่ปุนไดดําเนินการประกาศเพื่อแจงใหทราบถึงวิธีการตรวจวิเคราะหสารกอภูมิแพที่เปน

ทางการจะทําใหเห็นวาตั้งแตเดือนพฤศจิกายน 2002 โดยญี่ปุน การติดฉลากอาหารกอภูมิแพ

จําแนกได 2 กรณี ไดแก อาหารกอภูมิแพซึ่งบังคับใหติดฉลาก มี 5 ชนิด (ขาวสาลี โซบะ ไข นม

และถั่วลิสง) และอาหารชนิดอื่นที่แนะนําวาอาจกอใหเกิดภูมิแพมี 19 ชนิด (หอยอะวาบิ ( A wabi )

หรือหอยทากขนาดใหญ ปลาหมึก ไขปลาอิคูระ ( Ikura ) กุง ปู ปลาแซลมอน ปลาซาบะ เนื้อวัว วุน

เจลาติน เนื้อหมู เนื้อไก สม กีวี วอลนัท ถั่วเหลือง ลูกพีช มันแกว แอปเปล เห็ดโคนญี่ปุน) โดยเริ่ม

บังคับใชเมื่อเดือนเมษายน 2544 ตอมาการกระทรวงสาธารณสุขแรงงาน และสวัสดิการญี่ปุน

(MHLW) ทั้งนี้ MHLW ไดมีการประกาศใหมีการบังคับใชกฎระเบียบดังกลาวตั้งแตวันที่3 มิถุนายน

2551และผอนผันไดจนถึงวันที่ 3 มิถุนายน 2553 โดยกําหนดใหจะตองมีการตรวจสอบปรับปรุงทุก

2 ปหมายเหตุ : หามใชคําวา “ อาจจะมีสารกอภูมิแพ ”ใหสินคาตองติดฉลากภูมิแพดังที่กลาวมา

ขางตน โดยประกอบดวย การตรวจแบบคัดกรองดวยชุดทดสอบ ELISA kit การตรวจยืนยันผล

ดวยวิธี Western blotting สําหรับไข และ นมและการตรวจยืนยันผลดวยเทคนิค PCR สําหรับขาว

สาลี บัควีท ถั่วลิสง กุงและปู ซึ่งชวยใหการตรวจติดความสามารถทําไดอยางเปนรูปธรรม

สําหรับมาตรฐานของวิธีการตรวจวิเคราะหที่เปนทางการนั้นรัฐบาลญี่ปุนไดทําตนแบบ

ขั้นตอนในการตรวจสอบอยางสมบูรณถูกตองตามกฎหมายรวมถึงตัวชี้วัดตั้งแตป 2006 และจาก

แนวทางในการปฏิบัตินั้น มี เงื่อนไขวาดวยอาหารที่มีสวนผสมของโปรตีนที่กอใหเกิดอาการแพที่มี

ปริมาณสูงกวา 10 มิลลิกรัม/กิโลกรัม จะตองแสดงบนฉลากภายใตกฎหมายนี้ โดยการทบทวนขอ

กฎหมายดังกลาวครอบคลุมสวนของสารกอภูมิแพเฉพาะอยางที่รัฐบาลญี่ปุนกําหนดไวการนํา

ขอกําหนดดังกลาวไปใชในเชิงปฏิบัติวิธีการตรวจสอบที่ชวยสนับสนุนขอกฎหมายรวมถึง

กระบวนการที่จะชวยใหการดําเนินการเปนไปอยางมีประสิทธิภาพและบรรลุเปาหมาย เปนตน

3.2.5.3 มาตรการคุมครองในดานการเยียวยาหลักเกณฑของวิธีพิจารณาคดีเล็กนอยหรือซึ่งเรียกวาการลงโทษและการชดใช

เยียวยาคาเสียหายหรือ Small Claim Court ของประเทศญี่ปุนมีรูปแบบการพิจารณาคดีแบบรวบ

รัดรวดเร็วซึ่ งจะเปนคดีประเภทการเรียกคืนสินคาการเรียกคืนเงินประกันจากการเชา

อสังหาริมทรัพยการไมจายคาลวงเวลาการเรียกรองคาเสียหายในการซอมรถในกรณีอุบัติเหตุทาง

รถยนตซึ่งมีระบบการพิจารณาคดีโดยมีกระบวนการที่ไมมีความยุงยากซ้ําซอน ความรวดเร็วและ

Page 204: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

187

เสียคาใชจายนอยและที่สําคัญคือสามารถดําเนินการใหเสร็จสิ้นภายในวันเดียวไดโดยมีทุกฝายที่

เกี่ยวของเชนโจทกจําเลยทนายความของทั้งสองฝายและพยานหลักฐานตางๆ มาอยูพรอมหนากัน

จึงทําใหมีการเรียกวิธีการพิจารณาคดีแบบนี้วา “ศาลโตะกลม (Round Table Court)” ซึ่งอยู

ภายใตกฎหมายชื่อ “Japanese Small Claims Procedure” โดยมีการประกาศใชเมื่อวันที่ 1

มกราคม ค.ศ.1998 ซึ่งไดนํารูปแบบมาจากวิธีพิจารณาคดีเล็กนอยของประเทศสหรัฐอเมริกา

นั่นเองที่มีวัตถุประสงคเพื่อสงเสริมใหประชาชนที่มีคดีความเล็กนอยไดมีโอกาสใชสิทธิทางศาลเพื่อ

แกไขเยียวยาความเสียหายโดยการทําใหประชาชนรูสึกวา “เปนศาลของประชาชน”เปนที่พึ่งของ

ประชาชนเมื่อเกิดคดีความวิธีพิจารณาคดีเล็กนอยหรือ Small Claim Court ของประเทศญี่ปุน

ดังกลาวมีหลักการ 3 ประการกลาวคือ

1) เจาหนี้ที่จะใชสิทธิผานกระบวนการนี้ตองมีจํานวนหนี้ไมเกินกวา 600,000

เยน66 ถึงแมศาลพิจารณาคดีรวบรัดตามปกติจะมีเขตอํานาจในการพิจารณาพิพากษาคดีที่มีมูลคา

สูงถึง 1,400,000 เยนก็ตามทั้งนี้ตามมาตรา 368(1) ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพงของ

ประเทศญี่ปุน

2) โจทกมีหนาที่ตองจัดทําคําฟองเพื่อขอใหมีการพิจารณาคดีเมื่อไดมีการยื่นคํา

ฟองใหพิจารณาคดีแบบเล็กนอยทั้งนี้ตามมาตรา 368(2) แหงประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความ

แพงของประเทศญี่ปุนซึ่งรายละเอียดของคําฟองตองมีขอความดังนี้ “ขาพเจาขอใหมีการพิจารณา

คดีนี้โดยการใชกระบวนการพิจารณาคดีเล็กนอย ขาพเจาในฐานะโจทกไดขอใชกระบวนการ

พิจารณาคดีแบบรวบรัดในปนี้เปนจํานวน 2 ครั้งแลว”และการนําคดีขึ้นสูวิธีพิจารณาคดีเล็กนอย

นั้นมีความสะดวกรวดเร็วหรือมีการพิจารณาคดีแบบรวบรัด (Summary Court) กฎหมายจึง

กําหนดจํานวนคดีที่โจทกจะขอใหศาลพิจารณาคดีหรือนําคดีขึ้นสูศาลไดไมเกินกวา 10 ครั้งตอป

ทั้งนี้เพื่อสรางความเทาเทียมใหกับประชาชน

3) โจทกมีสิทธิยื่นคําฟองตอศาลเพื่อขอใหมีวิธีพิจารณาคดีเล็กนอยไดไมเกิน

จํานวน 10 ครั้งตอปและโจทกมีหนาท่ีตองเปดเผยจํานวนคดีที่ไดยื่นฟองตอศาลพิจารณาคดีรวบรัด

ทั้งนี้ตามมาตรา 368(3) แหงประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพงของประเทศญี่ปุนจะเห็นไดวา

ขอพิพาทหลักของการใชวิธีพิจารณาคดีเล็กนอยคือการจํากัดสิทธิเรียกรองที่เปนจํานวนเงินที่เปน

คดีความตองไมเกิน 600,000 เยนหรือในกรณีของสิทธิเรียกรองที่อยูในรูปแบบอื่นแตมีมูลคา

เทียบเทาเปนตัวเงินไมเกินที่กําหนดไวยกเวนกรณีการสงมอบสินคาหรือการเปลี่ยนแปลงกรรมสิทธิ์

66 1 เยน = 0.314266401 บาท เทียบอัตราแลกเปลี่ยนวันที่ 18 เมษายน 2557 จากธนาคารแหง

ประเทศไทย

Page 205: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

188

ถึงแมจํานวนมูลคาสิทธิเรียกรองจะอยูภายใตจํานวนดังกลาวก็ไมสามารถมาดําเนินกระบวน

พิจารณาแบบคดีเล็กนอยไดวิธีพิจารณาคดีเล็กนอยสามารถดําเนินการไดทั้งในกรณีของ

Objective Joint Claims67หรือ Subjective Claims68ทั้งนี้ตามมาตรา 373(3) (4) แหงประมวล

กฎหมายวิธีพิจารณาความแพงของประเทศญี่ปุน ซึ่งนั้นก็เปนบทบัญญัติของกฎหมายประเทศ

ญี่ปุนที่ไดใหความคุมครองตามกฎหมายดังกลาวขางตนน้ันเอง

นอกจากนี้จะเห็นไดวาการนําคดีขึ้นสูวิธีพิจารณาคดีเล็กนอยนั้นมีความสะดวกรวดเร็วหรือ

มีการพิจารณาคดีแบบรวบรัด (Summary Court) กฎหมายจึงกําหนดจํานวนคดีที่โจทกจะขอให

ศาลพิจารณาคดีหรือนําคดีขึ้นสูศาลไดไมเกินกวา 10 ครั้งตอปทั้งนี้เพื่อสรางความเทาเทียมใหกับ

ประชาชนและไมใหสถาบันการเงินใชวิธีพิจารณาคดีแบบนี้ในการติดตามทวงหนี้ลูกหนี้ที่มีจํานวน

หนี้เล็กนอยที่สามารถเขาสูวิธีพิจารณาคดีแบบนี้ไดแตเมื่อศึกษากฎหมายวิธีพิจารณาคดีผูบริโภค

ของไทยแลวกฎหมายไมไดกําหนดไวอยางเชนของประเทศญี่ปุนแตอยางใดซึ่งคดีเกี่ยวกับลูกหนี้

กูยืมเงินจากสถาบันการเงินแลวผิดนัดไมชําระหนี้ก็จะมีผลที่ผูประกอบธุรกิจอาศัยกฎหมายวิธี

พิจารณาคดีผูบริ โภคของไทยเปนเครื่องมือได เพราะกฎหมายฉบับนี้ เมื่อพิจารณาตาม

พระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีผูบริโภคพ.ศ.2551 แลวถือวาคดีที่ผูบริโภคผิดนัดไมชําระหนี้แกผู

ประกอบธุรกิจกับตามสัญญากูยืมเงินแลวก็ยอมถือเปนคดีผูบริโภคจึงเปนปญหาที่กฎหมายฉบับนี้

มีผลใชบังคับในวงกวางอยางมาก ซึ่ง Objective Joint Claims หมายถึงการที่โจทกยื่นฟองจําเลย

เรียกรองหนี้เงินยืมจํานวน 200,000 เยนในขณะเดียวกันก็ยื่นคําขอใหลูกหนี้ชําระหนี้เงินอีก

300,000 เยนจะเห็นวามูลคาที่กําหนดไวในการเขาสูกระบวนวิธีพิจารณาคดีเล็กนอยของคดีนี้มี

จํานวนไมเกิน 600,000 เยนดังนั้นวิธีพิจารณาคดีเล็กนอยหรือ Small Claim Court ในประเทศ

ญี่ปุนมีลักษณะพิเศษดังนี้69

67 Objective Joint Claims หมายถึงการที่โจทกยื่นฟองจําเลยเรียกรองหนี้เงินยืมจํานวน 200,000 เยน

ในขณะเดียวกันก็ยื่นคําขอใหลูกหนี้ชําระหนี้เงินอีก 300,000 เยนจะเห็นวามูลคาท่ีกําหนดไวในการเขาสูกระบวน

วิธีพิจารณาคดีเล็กนอยของคดีนีม้ีจํานวนไมเกิน 600,000 เยน.68 Subjective หมายถึงการที่โจทกยื่นฟองจําเลย A ตอศาลเรียกรองหน้ีเงินยืมจํานวน 100,000 เยนใน

ขณะเดียวกันเจาหนี้คนดังกลาวก็ยื่นฟองจําเลย B ในอีกคดีหนึ่งในฐานะผูค้ําประกันหนี้เงินกรณีนี้จะเห็นวาถึงแม

การฟองตอศาลของทั้งสองกรณีจะเปนการฟองรองที่เปนหนี้จํานวนเงินท้ังคูแตกรณีหลังไมสามารถดําเนินการ

ผานวิธีพิจารณาคดีเล็กนอยได.69สุภัทร แสงประดับ. ปญหากฎหมายในการพิจารณาคดีคุมครองผูบริโภคในประเทศไทย.

วิทยานิพนธนิติศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีปทุม, 2551. หนา 60-76.

Page 206: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

189

1) มีความรวดเร็วในการทําคําพิพากษากลาวคือโดยหลักแลวจะตองมีการ

สงมอบคําพิพากษาทันทีหลังจากที่ศาลเสร็จกระบวนการแถลงดวยวาจาตอศาลแลวแตวิธี

พิจารณาคดีประเภทนี้การสงมอบคําพิพากษาไมจําเปนตองอยูในรูปของเอกสารตนฉบับที่ ผู

พิพากษาไดทําขึ้นเทานั้นธุรการศาลอาจสงมอบเนื้อหาของคําพิพากษาโดยการอัดเทปและสงเทป

เหลาใหคูกรณีก็ไดหรืออาจมีการนัดเพื่อสงคําพิพากษาในอีกวันถัดมาก็ได

2) คําสั่งใหมีการพิทักษทรัพยชั่วคราวกลาวคือเมื่อผูพิพากษารับคําฟอง

ของโจทกไมวาจะรับทั้งหมดหรือเพียงบางสวนคําพิพากษาที่ออกมาจะตองมีคําสั่งในเรื่องการ

พิทักษทรัพยชั่วคราว

3) มีแบบฟอรมคําขอเขาสูกระบวนวิธีพิจารณาคดีเล็กนอยไดโดยงายโดย

ใหประชาชนสามารถกรอกขอมูลตามแบบฟอรมที่กําหนดใหไวจะมีบริการอยูที่เคานเตอรบริการ

ดานหนาศาลพิจารณาคดีแบบรวบรัด

4) การฟองรองคดีโดยวาจาไดแทนลายลักษณอักษร (ตามมาตรา 271)

และตองมีความชัดแจงแหงขอหา (ตามมาตรา 272)

5) คาธรรมเนียมสําหรับคดีเล็กนอยมีราคาถูกซึ่งปกติจะอยูระหวางรอยละ

1 และรอยละ 2 ของจํานวนที่จะไดรับการจายชดเชยถือวาอยูในเกณฑที่สมเหตุสมผลซึ่งหลักเกณฑ

การคิดคาธรรมเนียมเปนดังนี้70

จํานวนเงินที่ขอใหชดเชย คาธรรมเนียม

นอยกวา 100,000 เยน 1,000 เยน

100,001-200,000 เยน 2,000 เยน

200,001-300,000 เยน 3,000 เยน

300,001-400,000 เยน 4,000 เยน

400,001-500,000 เยน 5,000 เยน

500,001-600,000 เยน 6,000 เยน

70 อัครพงษ เวชยานนท. การคุมครองผูบริโภคในประเทศญี่ปุนสถาบันวิจัยและพัฒนา

กระบวนการยุติธรรม, 2550, หนา 2-3.

Page 207: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

190

ทั้งนี้ประเทศญี่ปุนยังปรากฎกฎหมายสืบยอนกลับแหลงที่มาของผลิตภัณฑ

(Food Traceability Law)

กฎหมายการสืบยอนกลับแหลงที่มาของผลิตภัณฑทําใหผูบริโภคสามารถ

ตรวจสอบถึงที่มาของแหลงอาหารนั้นๆ ไดกอนการเลือกซื้อหรือบริโภคซึ่งเปนการลดความเสี่ยงได

อยางมากอีกทางหนึ่ง กระทรวงเกษตร ปาไมและประมงของญี่ปุนมีการบังคับใชกฎหมายการสืบ

ยอนกลับกับผลิตภัณฑเนื้อวัว (Beef Traceability Law) ในป ค.ศ.2003 หลังจากการระบาดของ

โรควัวบาทั่วโลกและพบการระบาดครั้งแรกในญี่ปุนเมื่อป ค.ศ.2001 ซึ่งสรางความวิตกกังวลตอ

ผูบริโภคญี่ปุนที่นิยมบริโภคเนื้อวัวอยางมาก กฎหมายดังกลาวกําหนดใหวัวทุกตัวตองมีหมายเลข

ประจําตัว 10 หลักเพื่อใชสืบยอนกลับถึงแหลงที่มา กําหนดใหมีการบันทึกขอมูลครอบคลุมตั้งแต

ขั้นตอนการผลิตจากฟารมจนถึงขั้นตอนการบริโภค นอกจากนี้รัฐบาลยังมีแผนที่จะบังคับใช

กฎหมายการสืบยอนกลับแบบสมัครใจกับผลิตภัณฑบางชนิด เชน สินคาเกษตร สินคาประมง แต

พบวาผูประกอบการดานอาหารที่เขารวมการใชระบบแบบสมัครใจนั้นมีจํานวนไมมากนัก ทั้งยัง

พบวาสาเหตุการเกิดปญหาดานความปลอดภัยของอาหารนั้นมีแนวโนมจะเกิดจากผูประกอบการ

มากขึ้นทําใหรัฐบาลตองเรงทบทวนและวางแผนบังคับใชกฎหมายดังกลาวใหเร็วยิ่งขึ้น

แตภายหลังทศวรรษที่ 1990 เปนตนมานั้นแนวคิดการปฏิรูปเพื่อปรับเปลี่ยน

บทบาทของภาครัฐเขามามีบทบาทในการกําหนดกฎหมายและนโยบายของประเทศญี่ปุนในหลาย

ดานรวมถึงนโยบายดานการคุมครองผูบริโภคดวย โดยรัฐยังคงเปนผูกําหนดและบังคับใชกฎหมาย

มาตรฐานขอบังคับตางๆ เชนเดิม แตมีแนวโนมที่จะใชนโยบายการผอนคลายกฎระเบียบ

(Deregulation) และสนับสนุนใหผูผลิตและผูบริโภคพึ่งพาและรูจักสิทธิของตนมากขึ้นรัฐเปลี่ยน

จากผูควบคุมที่ เครงครัดมาเปนผูกํากับดูแล นํากลไกตลาดมาใชในการควบคุมผูประกอบการ

สงผลใหผูบริโภคพึ่งพาและรูจักสิทธิของตนมากขึ้น เห็นไดจากการบังคับใชกฎหมายความรับผิดใน

ผลิตภัณฑ (Product Liability Law) ในป ค.ศ.1994 ซึ่งระบุถึงสิทธิของผูบริโภคในการคุมครอง

ตนเองเมื่อไดรับความเสียหายจากการบริโภคสินคาและบริการ นับเปนกาวแรกของระบบกฎหมาย

คุมครองผูบริโภคญี่ปุนที่เริ่มเปลี่ยนแปลงไปแตกตางจากที่เคยกําหนดใหรัฐบาลเพียงลําพังมีหนาที่

ควบคุมดูแลไมใหเกิดความเสียหายขึ้นกับผูบริโภค และในการแกไขพระราชบัญญัติคุมครอง

ผูบริโภคป ค.ศ.2004 ก็ไดมีการระบุถึงสิทธิของผูบริโภคญี่ปุนไวเปนครั้งแรกซึ่งจะเห็นไดวารัฐมี

ความพยายามที่จะใหผูบริโภคสามารถคุมครองตนเองใหปลอดภัยและเปนธรรมไดโดยมิตองใหรัฐ

เปนผูใหความคุมครองเพียงอยางเดียวดังเชนในอดีต

ในป 2541 ประเทศญี่ปุนมีการสํารวจและวิจัยเรื่องภูมิแพอาหารทั่วประเทศญี่ปุน

เปนครั้งแรกและพบวาชาวญี่ปุนทุกวัยที่เกิดอาการภูมิแพอาหารจะมีอาการไวเปนพิเศษตอไขไก

Page 208: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

191

นมวัว และธัญพืชตามลําดับ โดยอาหารกอภูมิแพทั้ง 3 ชนิด นับเปนรอยละ 60 ของภูมิแพอาหาร

ทั้งหมดในญี่ปุน สําหรับลําดับ 4 คือปลา ตามดวย โซบะ กุง ผลไม ถั่วลิสง และถั่วเหลือง จาก

ผลการวิจัยดังกลาวไดมีการตั้งคณะผูเชี่ยวชาญเพื่อศึกษาเรื่องการติดฉลากอาหารกอภูมิแพเพื่อ

นํามาเสนอปรับปรุงแกไขกฎหมายสุขอนามัยอาหารของญี่ปุน ซึ่งตอมากระทรวงสาธารณสุข

แรงงานและสวัสดิการญี่ปุน (Ministry of Health Labor and Welfare: MHLW) ไดออกกฎระเบียบ

เรื่องอาหารกอภูมิแพในอาหารกฎหมายตองบังคับใหมีการติดฉลากอาหารกอภูมิแพโดยอาหารกอ

ภูมิแพที่บังคับใหติดฉลากนี้พิจารณาจากหลักเกณฑที่เปนอาหารกอภูมิแพที่พบบอย หรืออาหารกอ

ภูมิแพที่อาจไมพบบอย แตเมื่อกินอาหารภูมิแพแลวมักจะมีอาการภูมิแพที่รุนแรง โดยอาหารทั้ง 3

ชนิด ไดแก ขาวสาลี ไข นม เปนอาหารกอภูมิแพที่พบบอย สวนอีก 2 ชนิด ไดแก โซบะและถั่วลิสง

เปนอาหารที่พบอาการแพที่รุนแรง จึงตองติดฉลากไมวาจะพบในปริมาณนอยเพียงใดก็ตาม71 โดย

หามใชคําวา “อาจมีสารกอภูมิแพ”

สําหรับกฎหมายที่เกี่ยวของกับอาหารกอภูมิแพ (Food Allergy) นั้น กลุมอาหารที่

ตองปฏิบัติตามระเบียบในการแสดงฉลากอาหารไดแก72

1) Prepacked Processed Food

2) กลุมอาหารซึ่งมีสารอาหารที่กอใหเกิดภูมิแพ

3) Ingredients ที่จําเปนตองแสดงรายละเอียดบนฉลากโดยตองระบุสวนผสมของ

อาหารที่กอใหเกิดภูมิแพ

โดยในการแสดงฉลากในกรณีปริมาณสารที่ใส มีเพียงเล็กนอย หากปริมาณสารที่

ใสแมวาจะใสเพียงเล็กนอย แตโดยตั้งใจ Trace level (5-6 ไมโครกรัม/กรัมอาหาร) หรือการใสเพื่อ

ใชเปน Processing Aid ก็ตองปฏิบัติอยางเครงครัดตามกฎหมายการปดฉลาก โดยเฉพาะอาหารที่

มีสวนผสมของอาหาร 5 รายการที่เปนสาเหตุของภูมิแพอาหาร

หามพิมพคําวา “May Contain” และในวงเล็บเปนชื่อของสารที่กอใหเกิดภูมิแพ

และหามใชชื่อ Commodity เชน เนื้อ ธัญพืช (Cereal) สําหรับผลิตภัณฑที่เกิดจากการผสมของสาร

สกัดจะตองระบุใหชัดเจนวามาจากวัตถุดิบชนิดใด

71 Department of Food Sanitaion.Pharmaccutical and Medical Safety Bureau.(2008). FAQ on

Labeling System for Foods Containing Allergen. pp.1-2.72 วิภา สุโรจนะเมธากุล,สถาบันคนควาและพัฒนาภลิตพันธอาหาร มหาวิทยาลัยเกษตร ศาสตร,

บทความอาหารภูมิแพอาหารกับอนาคตอาหารไทยในตลาดโลก, ปที่ 41 ตุลาคม – พฤศจิกายน, 2551หนา 315-

320.

Page 209: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

192

มาตรการทางกฎหมายเกี่ยวกับฉลากอาหารกอภูมิแพของประเทศญี่ปุนมี 2 แบบ

คือกําหนดบังคับใหมีการติดฉลากอาหารกอภูมิแพไมวาจะพบในปริมาณมากนอยเพียงใดก็ตาม

นอกจากนั้นยังมีรูปแบบของการติดลากอาหารกอภูมิแพ โดยความสมัครใจอีกดวย

3.2.5.4 องคกรบังคับใชกฎหมายปจจุบันมีองคกรภาครัฐซึ่งทําหนาที่ดังกลาวทั้งในระดับประเทศและในระดับ

ทองถิ่นไดแก ศูนยคุมครองผูบริโภคแหงประเทศญี่ปุน (The Japan Consumer Information Center

(JCIC) ซึ่งตอมาเรียกชื่อใหมวา “National Center For Consumer Affairs (NCCA)” โดย NCCA

จะทําหนาที่กระจายขอมูลในระบบ Net-work ที่เรียกวา “(Pio-Net)” หรือเรียกวา เครือขายสาร

สนเทศออนไลนปฏิบัติ “Practical Living Information Online Network” อันเปนขอมูลที่

ประกอบดวยสาระสําคัญที่ควรรูและขอรองเรียนของผูบริโภคทั่วประเทศไปยังเครือขายเพื่อ

ผูบริโภคในทองถิ่นตางๆ อันชวยทําใหเปนแนวทางในการกําหนดนโยบายของทั้งภาครัฐทองถิ่น

และเอกชนนอกเหนือจากระบบระงับขอพิพาทและการใหขอมูลแกผูบริโภคแลวปจจุบันมีการ

ปรับปรุงแกไขกฎหมายวิธีพิจารณาความแพงซึ่งทําใหผูบริโภคที่เปนผูเสียหายสามารถอาศัยขอมูล

ที่ผูประกอบธุรกิจซึ่งถูกกําหนดใหตองจัดการใหมีขอมูลรายละเอียดตางๆ เพื่อการดําเนินดีตาม

กฎหมายปญหาเกี่ยวกับผูบริโภคไดเริ่มเปนประเด็นที่สําคัญในทางเศรษฐกิจและสังคมในชวงป

ค.ศ.1950 ถึง 1960 เปนตนมา ทั้งนี้ เนื่องจากการเจริญเติบโตอยางมากในทางเศรษฐกิจ การผลิต

สินคามีความซับซอนมากขึ้น ผูบริโภคไมไดรับขอมูลเพียงพอในการตัดสินใจ ตองรับภาระเสี่ยงภัย

เองในการที่จะเลือกซื้อสินคา ความสามารถในเชิงธุรกิจหรือทักษะในเชิงการตลาดของผูประกอบ

กิจการ รวมทั้งธุรกิจบางรายมีการผูกขาดทําใหผูบริโภคขาดอํานาจตอรอง จึงกอใหเกิดการตรา

กฎหมายคุมครองผูบริโภคขึ้นในป ค.ศ.1968 คือ The Consumer Protection Fundamental Act,

1968 ซึ่งมีหลักการและเหตุผลเพื่อสนับสนุนมาตรการตางๆ ในการคุมครองสิทธิและผลประโยชน

ผูบริโภค โดยไดกําหนดหนาที่ความรับผิดชอบของรัฐบาลกลาง รัฐบาลทองถิ่น ผูประกอบธุรกิจ

และบทบาทของผูบริโภค สรุปได ดังนี้

1) รัฐบาลกลางและรัฐบาลทองถิ่นจะตองวางแผนและปฏิบัติการใหเปนไปตามแผนและ

นโยบายเกี่ยวกับผูบริโภคตามพัฒนาการของเศรษฐกิจและสังคม

2) ผูประกอบธุรกิจจะตองคุมครองผูบริโภคและดําเนินการตามนโยบายตาง ๆ ของรัฐบาล

3) ผูบริโภคจะตองมีบทบาทสําคัญในการพัฒนาชีวิตของตนในฐานะผูบริโภคดวยการมี

ความคิดริเริ่มและพยายามที่จะใชเหตุผลของตนเองดวยความเชื่อมั่น

ทั้งนี้ตามโครงสรางขององคกรทางนโยบายเกี่ยวกับผูบริ โภคในประเทศญี่ปุนมี

องคกรตางๆ ในภาครัฐที่ เกี่ยวกับผูบริโภคไดกอตั้งขึ้นในชวงป ค.ศ.1960-1969 ไดแก Social

Page 210: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

193

Policy Bureau แหง Economic Planning Agency (EPA) กรมตางๆ ในกระทรวงอุตสาหกรรมและ

การคาระหวางประเทศ และกระทรวงกระเกษตรและปาไมและตาม The Consumer Protection

Fundamental Act,1968 ไดวางนโยบายไวใหแกรัฐบาลกลางและรัฐบาลทองถิ่นเกี่ยวกับการ

ดําเนินงานและการพัฒนาดานการคุมครองผูบริโภคองคกรที่เกี่ยวของกับการคุมครองผูบริโภคมีดังนี้

1) คณะกรรมการคุมครองผูบริโภค (The Consumer Protection Council) และกระทรวง/

หนวยงานที่เกี่ยวของคณะกรรมการคุมครองผูบริโภคโดยนายกรัฐมนตรีเปนประธาน ทําหนาที่

วางแผนและกําหนดทิศทางดานนโยบายและมาตรการการคุมครองผูบริโภคของรัฐบาลคณะ

กรรมการฯ ประกอบดวยรัฐมนตรีที่เกี่ยวของ 15 คนอนึ่ง จะมีการประชุมรวมกันระหวางกระทรวง

ระดับ Director หลายครั้งตอป ทั้งนี้ โดยมีวัตถุประสงคเพื่อการประสานงานและติดตามผล

เกี่ยวกับมาตรการตามมติที่คณะกรรมการไดพิจารณาแลว

2) คณะกรรมการนโยบายเกี่ยวกับคุณภาพชีวิต (Quality of Life Bureau) คณะกรรมการ

นโยบายเกี่ยวกับคุณภาพชีวิตจัดเปนองคกร ดานการใหคําแนะนําปรึกษาตอนายกรัฐมนตรี ซึ่งถูก

ตั้งขึ้นและอยูภายใต EPA คณะกรรมการฯ ประกอบดวยผูเชี่ยวชาญตางๆ ในสาขาการคุมครอง

ผูบริโภค ไดแก นักวิชาการ ตัวแทนองคกรผูบริโภค และตัวแทนดานอุตสาหกรรมหลักตางๆ

3) สํานักงานคณะรัฐมนตรี (Cabinet Office) และกระทรวงกับองคกรตางๆ ที่เกี่ยวของ

กระทรวงตางๆ จะมีหนาที่เกี่ยวของกับผูบริโภคในขอบเขตอํานาจหนาที่ตามกฎหมาย สําหรับ

สํานักงานคณะรัฐมนตรีนั้น (เดิมคือ EPA) ทําหนาที่ประสานมาตรการหรือนโยบายที่เกี่ยวของกับ

ผูบริโภคในกระทรวงตางๆ และทําหนาที่เปนสํานักงานเลขาธิการใหแกคณะกรรมการคุมครอง

ผูบริโภคและคณะกรรมการนโยบายเกี่ยวกับคุณภาพชีวิต

4) รัฐบาลทองถิ่นตาม The Consumer Protection Fundamental Act รัฐบาลทองถิ่นตอง

วางแผนและนําแผนไปปฏิบัติตามนโยบายของตนเองทั้งนี้ ตองสอดคลองกับนโยบายของรัฐบาล

กลางนอกจากนี้ รัฐบาลทองถิ่นจะทําหนาที่ออกขอบัญญัติของตนเองในเรื่องที่เกี่ยวกับผูบริโภค

และจะตองยุติปญหาระหวางผูบริโภคและผูประกอบการใหได

5) ศูนยกิจการเกี่ยวกับผูบริโภคแหงชาติ (NCAC) และในระดับทองถิ่นNCAC เปนองคการ

ของรัฐบาลซึ่งกอตั้งขึ้นตามกฎหมาย หนาที่สําคัญหลัก คือ เปนศูนยรับเรื่องราวรองทุกขเพื่อ

รับทราบสภาพปญหาของผูบริโภคเกี่ยวกับสินคาและบริการแลวนําขอมูลจากคํารองดังกลาวมา

รวบรวมเก็บเปนสถิติเพื่อการวิเคราะหเปนขอมูลในเชิงบริหารใหแกคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับนโยบาย

และทิศทางการคุมครองผูบริโภค ใหขอมูลขาวสารแกผูบริโภคดวยการใหการศึกษาจัดการเกี่ยวกับ

การรองทุกขของผูบริโภคทดสอบผลิตภัณฑเปนศูนยเครือขายคอมพิวเตอรของศูนยในระดับทองถิ่น

Page 211: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

194

โดยมีขอบเขตการบริหารงานเกี่ยวกับผูบริโภคและมาตรการหลักในกิจการดานการ

คุมครองผูบริโภคผลการประชุมคณะกรรมการคุมครองผูบริโภคเมื่อวันที่ 8 ธันวาคม ค.ศ.2000 มี

ประเด็น ดังนี้

1) การคุมครองผูบริโภคดานการสนับสนุนการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีสารสนเทศ

2) การพัฒนากฎหมายเพื่อคุมครองขอมูลสวนบุคคล

3) สนับสนุนเรื่องสัญญาที่เปนธรรมระหวางผูบริโภคกับผูประกอบกิจการ

4) มาตรการความปลอดภัยดานอาหาร

5) สนับสนุนการแขงขันที่เปนธรรม

6) สนับสนุนกระบวนการรองทุกขที่เรียบงายในระดับทองถิ่น

7) ปรับปรุงเรื่องสัญญาตางๆ ของผูบริโภคการบังคับใช The Consumer Contract Act,

2000 เมื่อวันที่ 1 เมษายน ค.ศ.2001 สํานักงานคณะรัฐมนตรี ไดใหการศึกษาแกผูบริโภคเกี่ยวกับ

เรื่องดังกลาวผานสื่อตางๆ ตั้งแตป ค.ศ.2003

8) สนับสนุนมาตรการความปลอดภัยในผลิตภัณฑการบังคับใช Product Liability, 1994

เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม ค.ศ.1995 สํานักงานคณะรัฐมนตรี ไดปรับปรุงมาตรการอื่นๆ ระงับขอพิพาท

นอกเหนือจากการดําเนินการทางศาล (Alternative Dispute Resolution : ADR) เปนตน

9) ใหขอมูลขาวสารและการศึกษาแกผูบริโภค

9.1) กอตั้งสถาบันการใหการศึกษาแกผูบริโภคแหงชาติภายใตการดูแลของ EPA และ

กระทรวงศึกษาธิการ

9.2) จัดตั้งโครงการตางๆ ที่เกี่ยวกับผูบริโภค เชน มติ ครม. ใหถือวาเดือนพฤษภาคม ของ

ทุกป เปนเดือนแหงผูบริโภค เปนตน

10) การรวมมือระหวางประเทศ

10.1) สํานักงานคณะรัฐมนตรีไดมีสวนรวมในการกําหนดขอบเขตมาตรการดาน

พาณิชยอิเล็กทรอนิกสในมิติของการคุมครองผูบริโภค ใหสอดคลองกับแนวทางของ OECD

10.2) รวมกิจกรรมกับประเทศตางๆ ในสาขาที่ เกี่ยวของกับการคุมครอง

ผูบริโภค ทั้งนี้คณะกรรมการคุมครองผูบริโภค ของประเทศญี่ปุนนั้นมีนายกรัฐมนตรีเปนประธาน

ตาม The Consumer Protection Fundamental Act,1968 เหมือนของประเทศ

Page 212: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

195

ไทยแตละกระทรวงที่ เกี่ยวของจะมีงานคุมครองผูบริโภคในขอบเขตของกฎหมายงานคุมครอง

ผูบริโภคเชิงนโยบายอยูในอํานาจหนาที่ของสํานักงานคณะรัฐมนตรีและ The Consumer Protection

Fundamental Act, 1968 มีลักษณะเปนธรรมนูญแหงการคุมครองผูบริโภค73

ดังนั้น การคุมครองผูบริโภคในประเทศไทยไมอาจเลียนแบบญี่ปุนไดในภาพรวม ทั้งนี้

เนื่องจากมีความเปนมาทางสังคม เศรษฐกิจ และบรรยากาศการเมืองที่ตางกัน โดยเฉพาะอยางยิ่ง

พฤติกรรมของผูบริโภคเองนับตั้งแตไดมีการบังคับใช The Consumer Protection Fundamental

Act, 1968 การรองทุกขสวนใหญจะเปนเรื่องเกี่ยวกับความปลอดภัยดานอาหารในระยะหลังจนถึง

ปจจุบัน สถานการณไดเริ่มเปลี่ยนแปลงไป อัตราสวนภาคอุตสาหกรรมและบริการมีการขยายตัวเพิ่มมากขึ้น

ทั้งนี้การรองทุกขดานบริการก็จะมีเพิ่มมากขึ้นโครงสรางของ The Consumer Protection

Fundamental Act,1968 เปนกฎหมายที่ไดวางหลักทั่วไปไวเทานั้น ไมมีรายละเอียดวิธีปฏิบัติ ทั้งนี้

อํานาจหนาที่ที่จะนําเจตนารมณแหงกฎหมายนี้ไปใชบังคับอยูที่กระทรวงตางๆ ที่เกี่ยวของและ

ทองถิ่นซึ่งจะไปกําหนดกฎขอบังคับอีกครั้งหนึ่งขณะเดียวกัน รัฐบาลไดนํานโยบายหรือเจตนารมณ

แหง The Consumer Protection Fundamental Act,1968 โดยเนนวาการคุมครองผูบริโภคมิใชให

ภาครัฐดูแลทั้งหมด ซึ่งผูบริโภคจะตองคุมครองตนเองเปนสําคัญ โดยภาครัฐจะเปนผูใหความรู

ความเขาใจแกประชาชนใหรูถึงสิทธิของตนเองเพื่อใหมีความพรอมในการดูแลตนเองมาก

ที่สุด และรัฐบาลก็จะตองมีหนาที่เตรียมความพรอมและกลไกของประเทศในทุกดานคูขนานไป

ดวย เพื่อเปนการสนับสนุนใหผูบริโภคไดพึ่งพาตนเองใหมากที่สุดอนึ่ง สําหรับอํานาจหนาที่ของ

สํานักงานคณะรัฐมนตรีนั้นมีหนาที่ประสานดูแล กํากับเรื่องนโยบายเกี่ยวกับการคุมครอง ผูบริโภค

เทานั้น ไมไดควบคุมโดยตรง รัฐธรรมนูญญี่ปุนไมไดระบุถึงสิทธิผูบริโภคไว เปนตน

73กฎระเบียบการติดฉลากอาหารของประเทศญี่ปุน,สืบคนเมื่อวันที่ 20กรกฏาคม 2558,จาก

http://www.acfs.go.th/news/docs/simina_label/acfs_21-07-10_1.pdf.

Page 213: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

บทที่ 4

วิเคราะหปญหากฎหมายเกี่ยวกับการควบคุมฉลากอาหารที่กอใหเกิดการภูมิแพเปรียบเทียบกับกฎหมายตางประเทศ

จากสภาวะการเจ็บปวยในผูใหญ และเด็กในปจจุบันที่เปนมีอาการภูมิแพจากอาหารบาง

ชนิด และในแตละปมีผูปวยรวมถึงผูเสียชีวิตเนื่องจากอาการภูมิแพจากการบริโภคอาหาร และยัง

ไมมีวิธีการรักษาการแพอาหารได โดยผูบริโภคที่เปนโรคภูมิแพอาหารจะตองหลีกเลี่ยงอาหารที่

ตนเองมีภูมิแพชนิดนั้น ๆ โดยที่ตนเหตุของการกอภูมิแพอาหาร เชน นม ไข สัตวน้ํา สัตวไมมี

กระดูกสันหลังที่มีเปลือก ถั่วลิสง แปงขาวสาลี และถั่วเหลือง การดําเนินควบคุมและตรวจสอบ

และการปองกันที่เหมาะสมของผูประกอบการในการคุมครองและดูแลการปนเปอนสารกอภูมิแพ

ลงสูผลิตภัณฑเปนหนาที่สําคัญของทุกสวนงานที่รับผิดชอบตอการผลิตอาหารที่มีคุณภาพและ

ความปลอดภัย มีความเหมาะสมตอการบริโภคดังนั้นผูวิจัยจึงทําการวิเคราะหปญหากฎหมาย

เกี่ยวกับการควบคุมฉลากอาหารที่กอใหเกิดการภูมิแพโดยมีรายละเอียดดังตอไปนี้

4.1 ปญหากฎหมายเกี่ยวกับการควบคุมฉลากเพื่อการโฆษณาอาหารกอใหเกิด การภูมิแพ

ปจจุบันการแพอาหารบางอยางที่มีสารกอภูมิแพมีความสําคัญกับการบริโภคเปนอยาง

มากจากการที่ผูวิจัยไดพิจารณาหลักเกณฑทางดานการคุมครองผูบริโภคในเรื่องฉลากมีขอกําหนด

ในกฎหมายที่ควรพิจารณาดังนี้

พระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภค พ.ศ.2522 ตามพระราชบัญญัติดังกลาวซึ่งแกไขเพิ่มเติม

โดยพระราชบัญญัติคณะกรรมการคุมครองผูบริโภค (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2541 ไดกําหนดใหผูบริโภคมี

สิทธิที่จะไดรับความคุมครองตามฉลาก ตามมาตรา 3 “ฉลากหมายความวารูปรอยประดิษฐกระดาษ

หรือสิ่งอื่นใดที่ทําใหปรากฏขอความเกี่ยวกับสินคาซึ่งแสดงไวที่สินคาหรือภาชนะบรรจุหรือหีบหอ

บรรจุสินคาหรือสอดแทรกหรือรวมไวกับสินคาหรือภาชนะบรรจุหรือหีบหอบรรจุสินคาและ

หมายความรวมถึงเอกสารหรือคูมือสําหรับใชประกอบกับสินคาปายที่ติดตั้งหรือแสดงไวที่สินคา

หรือภาชนะบรรจุหรือหีบหอบรรจุสินคานั้น” นอกจากนั้นพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ.2522 มาตรา

4 “วาดวยบทนิยามของฉลากอาหารวาคือ รูป รอยประดิษฐ เครื่องหมาย หรือขอความใดๆ ที่แสดง

ไวที่อาหาร ภาชนะบรรจุ หรือหีบหอของภาชนะที่บรรจุอาหาร ” (รวมถึงแผนพับและฉลากคอขวด)

โดยกําหนดใหอาหารทุกชนิดที่ผูผลิตไมไดเปนผูขายอาหารนั้นใหกับผูบริโภคโดยตรง ตองแสดง

ฉลากบนภาชนะบรรจุ ขอมูลที่แสดงบนฉลากอาหารนั้น สามารถจําแนกตามวัตถุประสงคไดเปน 4

กลุม ไดแก

Page 214: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

197

1) ขอมูลดานความปลอดภัย ประกอบดวย วันที่ผลิต/หมดอายุ วิธีการเก็บรักษา วิธีปรุง

คําเตือนตางๆ (ในกรณีที่กฎหมายกําหนด)

2) ขอมูลดานความคุมคา ประกอบดวย ชื่อ/ประเภทของอาหาร สวนประกอบ ซึ่ง

เรียงลําดับตามปริมาณที่ใชจากมากไปนอย และปริมาณอาหาร (น้ําหนัก หรือปริมาตร) ในภาชนะ

บรรจุ

3) ขอมูลเพื่อการโฆษณา ไดแก รูปภาพและขอความกลาวอางตางๆ

4) ขอมูลเพื่อแสดงความเชื่อมั่น ไดแก ยี่หออาหาร ชื่อและที่อยูผูผลิต ผูจําหนายหรือผูนําเขา เครื่องหมาย อย. (ในกรณีที่กฎหมายกําหนด) และตราสัญลักษณตางๆ

จากการพิจารณาหลักกฎหมายตามระเบียบสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาวา

ดวยการดําเนินการเกี่ยวกับเลขสารบบอาหาร (ฉบับที่ 6)1ถึงแมในขณะนี้สํานักงานคณะกรรมการ

อาหารและยา มีการทบทวนปรับแกไขประกาศกระทรวงสาธารณสุขดังกลาวแลวกลาวคือตาม

ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 367) พ.ศ.2557 เรื่องการแสดงฉลากของอาหารในภาชนะ

บรรจุปรากฏตามขอ 3“ใหอาหารในภาชนะบรรจุตองแสดงฉลากยกเวนอาหารดังตอไปนี้

(1) อาหารที่ผูผลิตสามารถใหขอมูลเกี่ยวกับอาหารที่ผลิตแกผูบริโภคไดในขณะนั้นเชน

หาบเรแผงลอยเปนตน

(2) อาหารสดที่ไมผานกรรมวิธีใดๆหรืออาหารสดที่ผานกรรมวิธีการแกะชําแหละตัดแตง

หรือวิธีการอื่นใดเพื่อลดขนาดซึ่งอาจแชเย็นหรือไมแชเย็นและบรรจุในภาชนะที่สามารถมองเห็น

สภาพของอาหารสดนั้นไดทั้งนี้ไมรวมถึงอาหารแปรรูปในภาชนะบรรจุพรอมจําหนายตามประกาศ

กระทรวงสาธารณสุขวาดวยเรื่องวิธีการผลิตเครื่องมือเครื่องใชในการผลิตและการเก็บรักษาอาหาร

แปรรูปในภาชนะพรอมจําหนาย

(3) อาหารในภาชนะบรรจุที่ผลิตและจําหนายเพื่อบริการภายในรานอาหารภัตตาคาร

โรงแรมโรงเรียนสถาบันการศึกษาโรงพยาบาลสถานที่อื่นในลักษณะทํานองเดียวกันและรวมถึง

การบริการจัดสงอาหารใหกับผูซื้อดวยอาหารตาม (1) (2) (3) หากไดมีการขอรับเลขสารบบอาหาร

ตองปฏิบัติตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่367) พ.ศ.2557 เรื่องการแสดงฉลากของ

อาหารในภาชนะบรรจุอาหารในภาชนะบรรจุที่ไดมีประกาศกระทรวงสาธารณสุขกําหนดการแสดง

1 ขอ1ระเบียบนี้เรียกวา “ระเบียบสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาวาดวยการดําเนินการเกี่ยวกับ

เลขสารบบอาหาร (ฉบับที่ 6)”

ทั้งนี้กฎหมายดังกลาวบัญญัติเนื้อหาที่เกี่ยวของกับฉลากหรือขอความคําเตือนปรากฏอยูในขอ

8.4.21“การเปลี่ยนแปลงขอความในการแสดงสวนประกอบที่ใชในผลิตภัณฑที่อาจกอใหเกิดภูมิแพเชนเพิ่ม/ตัด/

แกไขขอความสารกอภูมิแพ : ถั่วไข ” เปนตน

Page 215: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

198

ฉลากไวเปนการเฉพาะนอกจากตองปฏิบัติตามประกาศฉบับนั้นๆแลวยังตองปฏิบัติตามประกาศ

ฉบับนี้ดวย”

ทั้งนี้ ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 367) พ.ศ.2557กําหนดขอมูลสําหรับผูบริโภค

ตองครอบคลุมและสอดคลองกับมาตรฐานสากลเกี่ยวกับเรื่องของอาหารกอภูมิแพรวมทั้งปรับแก

ไขการแสดงฉลากของวัตถุเจือปนอาหาร และประเด็นอื่นๆ ที่เกี่ยวของกับการคุมครองผูบริโภคแต

ยังไมมีความสมบูรณในเรื่องฉลากอาหารและความชัดเจนปรากฏตามขอ 3“ ใหอาหารในภาชนะ

บรรจุตองแสดงฉลากยกเวนอาหารไมวาจะเปน เชน 1) หาบเรแผงลอย 2) อาหารสดที่ไมผาน

กรรมวิธีใดๆ หรืออาหารสดที่ผานกรรมวิธีการแกะชําแหละตัดแตงหรือวิธีการอื่นใดเพื่อลดขนาด 3)

อาหารในภาชนะบรรจุที่ผลิตและจําหนายเพื่อบริการภายในรานอาหารภัตตาคารโรงแรมโรงเรียน

สถาบันการศึกษาโรงพยาบาลสถานที่อื่นในลักษณะทํานองเดียวกันและรวมถึงการบริการจัดสง

อาหารใหกับผูซื้อดวยอาหารตาม (1) (2) (3) ซึ่งทั้งหมดเปนอาหารสําเร็จรูปที่พรอมรับประทาน

สําหรับผูบริโภคเอง

ผูวิจัยเห็นวาแนวคิดทฤษฎีและที่มาของกฎหมายคุมครองผูบริโภคมุงใหความสําคัญกับ

การคุมครองผูบริโภคไมวาจะเปนผูบริโภคที่เปนบุคคลที่ไดเสียคาตอบแทนหรือไมก็ตาม กรณีการ

แสดงฉลากเกี่ยวกับอาหารกอภูมิแพอาหารเพื่อการคุมครองผูบริโภคในภาชนะบรรจุอาหารหาก

เปนอาหารสําเร็จรูปผูประกอบการตองแสดงฉลากอาหารที่อาจกอใหเกิดภูมิแพ แตผูวิจัยเห็นวายัง

มีขอยกเวนอาหารบางอยาง ซึ่งหากผูประกอบการไดมีการขอรับเลขสารบบอาหารตองปฏิบัติตาม

ประกาศปรากฏตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 367) พ.ศ.2557 เรื่องการแสดงฉลาก

ของอาหารในภาชนะบรรจุที่ไดมีประกาศกระทรวงสาธารณสุขกําหนดการแสดงฉลากไวเปนการ

เฉพาะนอกจากตองปฏิบัติตามระเบียบนี้เรียกวา“ระเบียบสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา

วาดวยการดําเนินการเกี่ยวกับเลขสารบบอาหาร (ฉบับที่ 6) ซึ่งยังตองปฏิบัติตามประกาศตาม

ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 367) พ.ศ.2557 ดวยซึ่งเปนการออกกฎหมายการบังคับที่

ไมเด็ดขาด โดยยังมีขอยกเวนอาหารดังกลาวไมตองมีฉลากอาหารกอใหเกิดภูมิแพตามประกาศ

ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 367) พ.ศ.2557 ตามขอ 3 ที่กลาวมาขางตนซึ่ง

จําเปนตองมีการออกกฎหมายบังคับเพื่อใหออกฉลากอาหารที่อาจจะกอใหเกิดการภูมิแพทั้งหมด

ทั้งนี้นับวันจะมีความสําคัญมากขึ้นการกําหนดกฎระเบียบเกี่ยวกับการแสดงฉลากของอาหารกอ

ภูมิแพเปนสิ่งที่สําคัญ และเปนการคุมครองผูบริโภคใหสามารถเลือกซื้อหรือหลีกเลี่ยงการบริโภค

ผลิตภัณฑอาหารที่มีสวนผสมที่อาจทําใหเกิดการแพตอสุขภาพไดอยางถูกตองเหมาะสม ซึ่งนับวา

มีประโยชนตอผูบริโภคอยางมาก อีกทั้งยังนําไปสูการแสดงฉลากในสวนที่เกี่ยวของกับอาหารกอ

ภูมิแพให เปนไปอยางถูกตองตามกฎหมายสําหรับประเทศคูคาไดอีกทางหนึ่ งดวย ซึ่ ง

ผูประกอบการจะตองติดตามและปฏิบัติตามกฎระเบียบทั้งภายในและตางประเทศอยางเครงครัด

Page 216: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

199

เพื่อจะไดไมมีปญหาอาหารที่ถูกสงคืนจากประเทศนําเขา และสามารถใหขอมูลอาหารกอภูมิแพ

โดยผานทางฉลากแกผูบริโภคไดอยางมีประสิทธิภาพ

หากเปรียบเทียบกับกฎหมายของประเทศอเมริกาจะเห็นไดวากฎหมายที่เกี่ยวของ เชน

(1) The Federal Food, Drug, and Cosmetic Act ปรากฏตาม มาตรา§ 343-Misbranded

food(i) Label where no representation as to definition and standard of identity ซึ่งจะ

ปรากฏชื่อสามัญหรือตามปกติของอาหารถามีในกรณีที่มีการประดิษฐจากสองคนหรือมากกวา

สวนผสมชื่อสามัญหรือปกติของแตละสวนผสมดังกลาวและถาอาหารที่กลาวะเปนเครื่องดื่มที่มี

สวนผสมของผักหรือน้ําผลไมที่มีชื่อเสียงคําสั่งที่เหมาะสมบนแผงขอมูลของรอยละรวมของผลไม

หรือน้ําผักที่มีอยูในอาหารซึ่งจะรวมไปถึงการคําเตือนตางๆ อันเปนประโยชนของภูมิโภค (2) และ

รัฐบัญญัติวาดวย สารกอภูมิแพอาหารติดฉลากและการคุมครองผูบริโภค พ.ศ. 2004 The Food

Allergen Labeling and Consumer Protection Act (FALCPA) มีผลบังคับใชนับตั้งแตวันที่ 1

มกราคม 2549 เนื่องจากในสหรัฐอเมริกามีอัตราของผูที่เปนโรคภูมิแพคอนขางสูง (รอยละสองของ

ประชากรผูใหญและรอยละหาของประชากรเด็ก) โดยในแตละปจะมีจํานวนผูปวยจากโรคดังกลาว

ประมาณ 30,000 รายและมีผูเสียชีวิตเกี่ยวกับภูมิแพและในปจจุบันยังไมมีวิธีการรักษาโรค

ดังกลาวไดโดยจากการสํารวจของ FDA พบวาในปจจุบันการใหขอมูลแกผูบริโภคเกี่ยวกับอาหารที่

เปนตนเหตุของการเกิดโรคภูมิแพภายใตขอกําหนดเรื่องการแสดงสวนผสมของอาหาร (Ingredient

List) บนฉลากตาม Section 403 (1) ของกฎหมาย The Federal Food, Drug, and Cosmetic

Act ยังไมมีความชัดเจนเพียงพอเนื่องจากในบางครั้งชื่อสามัญหรือชื่อตามปกติของสวนผสม

อาหารบางชนิดไมเปนที่รูจักกันโดยทั่วไปจึงทําใหมีผูบริโภคจํานวนไมนอยตองประสบปญหาไม

สามารถเลือกซื้อสินคาไดอยางถูกตองหรือซื่อสินคาที่มีสวนผสมของอาหารกอภูมิแพดังกลาวไป

โดยไมไดตั้งใจดวยเหตุนี้เมื่อเดือนสิงหาคม 2547 หนวยงาน FDA ของสหรัฐฯ จึงไดออก

กฎระเบียบเรื่องการปดฉลากอาหารกอภูมิแพภายใตกฎหมาย The Food Allergen Labeling and

Consumer Protection Act หรือ FALCPA) ซึ่งไดแกไขระเบียบทั่วไปเรื่องการแสดงสวนผสมของ

อาหารภายใต FDA โดยกําหนดใหการปดฉลากสินคาอาหารที่ประกอบไปดวยสวนผสมของ

โปรตีนซึ่งไดมาจากกลุมอาหารซึ่งถือเปนสาเหตุหลักของโรคภูมิแพ (Major Food Allergen)

จํานวน 8 ชนิดอันไดแก นมไขสัตวน้ําสัตวน้ําประเภทมีเปลือกหุมแข็ง (Crustacean Shellfish)

เมล็ดถั่วประเภท Tree nuts แปงสาลี (wheat)และถั่วเหลืองจะตองมีการแสดงขอมูลที่ชัดเจน

เกี่ยวกับสวนผสมดังกลาวเพื่อเปนการใหขอมูลที่ถูกตองแกผูบริโภคอาหารที่ผานการแปรรูปและมี

สวนผสมของกลุมอาหารกอภูมิแพดังกลาวจะตองติดฉลากคําวา “contains” อยูหนาชื่อชนิดของ

ชื่ออาหารกอภูมิแพ (food allergen) นั้นๆ ใหใชชื่อสามัญ (common or usual name) ของสินคา

นั้นๆ ที่ผูบริโภคทั่วไปรูจักโดยชื่อของอาหารกอภูมิแพจะตองพิมพขนาดตัวอักษรที่เล็กกวาขนาด

Page 217: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

200

ของ food ingredient ทั้งนี้ขนาดของ food ingredient ใหใชขนาดตัวอักษรที่มีขนาดใหญอยาง

นอย1 /16 นิ้ว (ความสูงเทียบจากอักษร O) กรณีอาหารที่มีชื่อตรงกับชนิดของชื่ออาหารกอภูมิแพ

ใหระบุชนิดของอาหารอยางละเอียดโดยเฉพาะอยางยิ่งในกรณีของสัตวน้ําประเภทมีเปลือกหุม

แข็งและเมล็ดถั่วประเภท Tree Nuts เชน เมล็ดถั่วประเภท Tree nuts ใหระบุชนิด (Species

Type) เชน ถั่วอัลมอนด ถ่ัวพีคาน หรือวอลนัท เปนตน สัตวน้ําประเภทมีเปลือกหุมแข็งใหระบุชนิด

(Species) เชนกุง ปู กั้ง กรณีอาหารที่ใสสารปรุงแตงที่มีสวนมาจาก Food allergen ใหระบุไวโดย

FDA กําหนดใหผูนําเขาตองปฏิบัติตามไดแก การจดทะเบียน สถานประกอบการณ การติดฉลาก

แสดงผลิตภัณฑการติดฉลากแสดงคุณคาทางโภชนาการเปนตน นอกจากนี้ FDA ยังทําหนาที่

ตรวจสอบสุขอนามัยและการปนเปอนในสินคาอาหารเชน การตรวจสอบสารเคมีตกคาง สิ่งเจือปน

โดยบังคับใชเฉพาะกับการบรรจุสินคาอาหารทุกชนิดที่วางจําหนายในสหรัฐฯทั้งที่ผลิตในประเทศ

และนําเขาและเปนสินคาไดรับการปดฉลากนับตั้งแตวันที่ 1 มกราคม 2549 เปนตนไป

ทั้งนี้ระเบียบดังกลาวนํามาใชบังคับเฉพาะกับสินคาอาหารตางๆ รวมทั้งเปนอาหาร

สําเร็จรูปตางๆ ที่ประกอบไปดวยสวนผสมของโปรตีนที่มาจากกลุมอาหารซึ่งถือเปนตนเหตุหลัก

ของโรคภูมิแพที่สําคัญ (Major Food Allergen) จํานวน 8 ชนิดดังกลาวขางตนเทานั้นไมรวมถึง

สวนผสมของอาหารอื่นๆ ที่อาจมีสวนกอใหเกิดโรคภูมิแพและไมรวมถึงสินคาอาหารสด (Raw

agricultural commodities) เชนผักสดผลไมสดและการปดฉลากผลิตภัณฑเนื้อสัตวสัตวปกและไข

ซึ่งอยูภายใตการดูแลของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาของสหรัฐอเมริกา (Food and

Drugs Administration : FDA) ซึ่งเปนหนวยงานที่ดูแล กํากับ และออกกฎหมายการนําเขาสินคา

อาหารและยาสูสหรัฐอเมริกา

ดังนั้นผูวิจัยเห็นวานี้ปญหาในขณะนี้สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา แมมีการ

ทบทวนปรับแกไขประกาศกระทรวงสาธารณสุขดังกลาวฉบับลาสุดแลวตามประกาศกระทรวง

สาธารณสุข (ฉบับที่ 367) พ.ศ.2557 เรื่องการแสดงฉลากของอาหารในภาชนะบรรจุ แตยังไมได

กําหนดใหผูประกอบการแสดงฉลากเกี่ยวกับอาหารกอภูมิแพอยางชัดเจนถึงแมจะมีการออก

ประกาศฉบับดังกลาวบังคับใชควบคูกับพระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภค พ.ศ.2522 แกไขเพิ่มเติม

ฉบับที่ 2 พ.ศ.2541แตก็ยังไมสามารถบังคับไดอยางชัดเจนและไมไดกําหนดใหผูประกอบการ

แสดงฉลากเกี่ยวกับอาหารกอภูมิแพเพื่อใชบังคับแตอยางใดเพื่อใหมีเนื้อหาของการใหขอมูล

สําหรับผูบริโภคใหครอบคลุมและสอดคลองกับมาตรฐานสากลเกี่ยวกับเรื่องของอาหารกอภูมิแพ

รวมทั้งปรับแกไขการแสดงฉลากของวัตถุเจือปนอาหารและประเด็นอื่นๆที่เกี่ยวของกับการ

คุมครองผูบริโภคใหสมบูรณและชัดเจนมากขึ้น

Page 218: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

201

4.2 ปญหากฎหมายเกี่ยวกับบทนิยามฉลากอาหารที่กอใหเกิดการภูมิแพปจจุบันอาหารกอภูมิแพไดสรางปญหาใหแกผูบริโภคจํานวนที่เกิดจากสารกอภูมิแพ

กลาวคือ Food Allergen หมายถึงสารกอภูมิแพสารอาหาร (nutrient) ที่กอใหเกิดภูมิแพมักเปน

สารอาหารประเภทโปรตีนที่ทนตอความรอน ทนตอการยอยในระบบทางเดินอาหาร เชน การยอย

ดวยกรดในกระเพาะอาหาร และเอนไซมในลําไสเล็กอาหารที่ถูกกําหนดวาเปนสารกอภูมิแพทั้งนี้

ผูวิจัยเห็นวาหากพิจารณาตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 367) พ.ศ.2557 เรื่องการ

แสดงฉลากของอาหารในภาชนะบรรจุโดยเปนการสมควรปรับปรุงประกาศกระทรวงสาธารณสุข

วาดวยเรื่องฉลากอาศัยอํานาจตามความใน มาตรา 5 วรรคหนึ่ง และมาตรา 6 (10) แหงพระราช

บัญญัติอาหาร พ.ศ.2522 อันเปนกฎหมายที่มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจํากัดสิทธิและ

เสรีภาพของบุคคลซึ่งมาตรา 29 ประกอบกับมาตรา 33 มาตรา 41มาตรา 43 และ 45 ของ

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 หากพิจารณาการบัญญัติขอ 2ในประกาศ

ฉบับนี้วา“สารกอภูมิแพ” หมายถึงสารท่ีเขาสูรางกายแลวทําใหรางกายมีปฏิกิริยาผิดปกติทั้งที่ตาม

ธรรมดาสารนั้นเมื่อเขาสูรางกายคนทั่วๆ ไปแลวจะไมมีอันตรายใดๆ จะมีอันตรายก็เฉพาะในคน

บางคนที่แพสารนั้นเทานั้นและใหหมายความรวมถึงสารที่กอภาวะภูมิไวเกิน”นอกจากนั้นประกาศ

กระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 182 ) พ.ศ.2541 เรื่องฉลากโภชนาการเทานั้นขอ1 “ใหอาหาร

ดังตอไปนี้ เปนอาหารที่ตองแสดงฉลากโภชนาการ

1.1 อาหารที่มีการกลาวอางทางโภชนาการ1.2 อาหารที่มีการใชคุณคาในการสงเสริมการขาย1.3 อาหารที่ระบุกลุมผูบริโภคในการสงเสริมการขาย 1.4 อาหารอื่นตามที่สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาประกาศกําหนด โดยความ

เห็นชอบของคณะกรรมการอาหาร”

เมื่อพิจารณาจากขอมูลทั้งหมดที่ไดกลาวมา ผูวิจัยจะเห็นไดวา ประเทศไทยมีแนวคิด

ความเสียหายที่เกิดจากการบริโภคอาหารโดยไดบัญญัติใหความสําคัญกับการคุมครองทางดาน

ฉลากอาหารและฉลากโภชนาการเพื่อใหมีประโยชนตอผูบริโภคโดยเนนเฉพาะฉลากอาหารหรือ

ฉลากคําเตือนอาหารประเภททั่วๆ ไปเทานั้นไมเนนการใหความคุมครองฉลากหรือคําเตือนฉลากที่

ใหความคุมครองอาหารที่กอใหเกิดภูมิแพอยางชัดเจนเทาใดนักแมจะมีปรากฏตามประกาศ

กระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 367) พ.ศ.2557 เรื่องการแสดงฉลากของอาหารในภาชนะบรรจุแตก็

มีเพียงการบัญญัติปรากฏตามขอ 2 บทนิยามเฉพาะวาดวย “สารกอภูมิแพ”หมายถึง สารที่เขาสู

รางกายแลวทําใหรางกายมีปฏิกิริยาผิดปรกติ ทั้งที่ตามธรรมดาสารนั้นเมื่อเขาสูรางกายคนทั่วๆ ไป

แลวจะไมมีอันตรายใดๆ จะมีอันตรายก็เฉพาะในคนบางคนที่แพสารนั้นเทานั้น และใหหมายความ

รวมถึงสารที่กอภาวะภูมิไวเกิน” โดยไมมีการบัญญัติบทนิยามคําวาฉลากอาหารที่กอใหเกิดภูมิแพ

Page 219: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

202

เปนการเฉพาะแตอยางใด รวมไปถึงความหมายในเรื่องหลักเกณฑทางดานการคุมครองผูบริโภคใน

เรื่องฉลากตามพระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภค พ.ศ.2522 ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติ

คณะกรรมการคุมครองผูบริโภค (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2541 ไดกําหนดใหผูบริโภคมีสิทธิที่จะไดรับความ

คุมครองตามฉลาก ตามาตรา 3“ฉลาก” หมายความวารูปรอยประดิษฐกระดาษหรือสิ่งอื่นใดที่ทํา

ใหปรากฏขอความเกี่ยวกับสินคาซึ่งแสดงไวที่สินคาหรือภาชนะบรรจุหรือหีบหอบรรจุสินคาหรือ

สอดแทรกหรือรวมไวกับสินคาหรือภาชนะบรรจุหรือหีบหอบรรจุสินคาและหมายความรวมถึง

เอกสารหรือคูมือสําหรับใชประกอบกับสินคาปายที่ติดตั้งหรือแสดงไวที่สินคาหรือภาชนะบรรจุหรือ

หีบหอบรรจุสินคานั้น” นอกจากนั้นพระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภค พ.ศ.2522 ซึ่งแกไขเพิ่มเติม

โดยพระราชบัญญัติคณะกรรมการคุมครองผูบริโภค (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2541 ทั้งนี้ ผูบริโภคมีสิทธิที่

จะไดรับความคุมครองในสวนที่ 2 ในเรื่องการคุมครองผูบริโภคในดานฉลากตั้งแตมาตรา 30 ถึง

มาตรา 35 ซึ่งเปนบทบัญญัติที่ใหความคุมครองผูบริโภคในดานการฉลาก ทําใหหนวยงานที่

รับผิดชอบสามารถออกระเบียบใหมๆ เพิ ่มเติมไดอยางสะดวกจึงยังคงมีปญหากฎหมาย

เกี่ยวกับบทนิยามฉลากอาหารที่กอใหเกิดการภูมิแพในการเลือกซื้อผลิตภัณฑอาหารที่ปลอดภัย

และใหคุณคาทางโภชนาการที่เหมาะสมกับสภาวะสุขภาพของตนเอง ผูบริโภคเองเทานั้นที่ตอง

ระมัดระวังและศึกษาขอมูลที่ระบุฉลากคําเตือนของฉลากอาหารแตละชนิดในการเปรียบเทียบ

และเลือกผลิตภัณฑที่มีคุณภาพมีคุณคาทางโภชนาการและความคุมคาที่ดีกวากอนซื้ออาหาร2

อยางไรก็ตาม ประเทศไทยยังไมมีกฎหมายคุมเขมในลักษณะดังกลาว ทําใหอาหารบาง

ชนิดอาจมีสวนประกอบของสารกอภูมิแพหากผูบริโภคบริโภคในปริมาณที่มากเกินที่กําหนด และ

เสี่ยงตอการสั่งหามสงออกผลิตภัณฑอาหารไดเพื่อปกปองคุมครองผูบริโภคที่สวนใหญเสี่ยงตอ

การแพอาหารบางชนิด ที่ผานมากลุมอาหารประเภทตางๆ อาทิ อาหารทะเล พวกกุงหอยปูปลา

บะหมี่ เสนหมี่ซึ่งเปนกลุมอาหารที่มีสวนประกอบของสารกอภูมิแพตัวอยางทั้งหมดมีสารกอภูมิแพ

เจือปนในปริมาณที่มากกวาฉลากกําหนด โดยเฉพาะในเสนหมี่ บะหมี่ ซึ่งมีไขเจือปน ทั้งๆ ที่ฉลาก

ไมไดระบุวามีไขเปนสวนประกอบ แตไมมากถึงขั้นกอใหเกิดอันตรายจากการสํารวจดังกลาวทีม

วิจัยไดสงผลการตรวจไปยังบริษัทเจาของผลิตภัณฑใหเรงปรับปรุงกอนจะทําการสงออกยัง

ประเทศคูคาแลว อยางไรก็ตาม การตรวจสอบดังกลาวคอนขางใชเวลา ขณะที่ผลิตภัณฑอาหาร

เพิ่มจํานวนขึ้นอยางตอเนื่องและเปนอันตรายตอรางกายของผูบริโภคมาโดยตลอด

หากเปรียบเทียบกับกฎหมายของประเทศอเมริกาเมื่อเดือนสิงหาคม 2547 สํานักงาน

คณะกรรมการอาหารและยาแหงประเทศสหรัฐอเมริกา (U.S. Food and Drug Administration:

2 ประกาศสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาเรื่องคําชี้แจงประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่

367) พ.ศ.2557 เรื่อง การแสดงฉลากของอาหารในภาชนะบรรจุ.สืบคนเมื่อวันท่ี 10 พฤศจิกายน 2558.จาก.

http://iodinethailand.fda.moph.go.th/RP/file/1-11-2557/File6.pdf.

Page 220: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

203

FDA) ไดออกรัฐบัญญัติเรื่องฉลากอาหารกอโรคภูมิแพและการคุมครองผูบริโภคป พ .ศ.2547

(Food Allergen Labeling and Consumer Protection Act of 2004: FALCPA (Public Law

108-282) สืบเนื่องสภานิติบัญญัติแหงสหรัฐอเมริกา (Congress) ไดเห็นถึงความจําเปนของการ

แจงขอมูลใหแกผูบริโภคไดรับทราบจึงไดออกพระราชบัญญัติอาหารยาและเครื่องสําอาง (The

Federal Food, Drug, and Cosmetic Act of 1938:FDCA) 3โดยรัฐบัญญัติดังกลาวกําหนดให

สินคาอาหารที่มีสวนประกอบของอาหารสําคัญ 8 ชนิดที่เปนสาเหตุใหเกิดโรคภูมิแพ ไดแก นม

(milk) ไข (Eggs) สัตวน้ํา (Fish) สัตวไมมีกระดูกสันหลังที่มีเปลือก (Crustacean shellfish) เชน

กุง กั้ง ปู เมล็ดถั่ว (Tree nut) เชนถั่วอัลมอนต (almonds) พีแคน (pecans) หรือวอลนัต

(walnuts) ถั่วลิสง (Peanuts) แปงสาลี (Wheat) และถั่วเหลือง (Soybean) ตองแสดงขอมูลวามี

สวนประกอบเหลานี้ไวบนฉลากอาหารแตทั้งนี้ใหยกเวนวัตถุดิบสินคาเกษตร (ผลไมและผักสด

เนื้อสัตว เนื้อสัตวปกและไข) และน้ํามันที่ผานกรรมวิธีการทําใหบริสุทธิ์ขั้นสูง (highlyrefined oil)

และอาหารอื่นๆ ไมจําเปนตองแสดงฉลากนี้ระเบียบการปดฉลากอาหารกอภูมิแพ (Food Allergen

Labeling) ดวยเหตุนี้เมือเดือนสิงหาคม 2547 หนวยงาน FDA ของสหรัฐฯ จึงไดออกกฎระเบียบ

เรื่องการปดฉลากอาหารกอภูมิแพภายใตกฎหมาย The Food Allergen Labeling and

Consumer Protection Act หรือ FALCPA) เพื่อเปนการใหขอมูลที่ถูกตองแกผูบริโภคทั้งนี้โดยใหมี

ผลบังคับใชนับตังแตวันที่1 มกราคม 2549 เปนตนไป

ในสวนของกลุมประเทศสหภาพยุโรปไดออกกฎระเบียบ Directive 2003/89/EC วาดวย

เรื่องการระบุสวนผสมที่มีอยูในอาหารเพื่อเปนบทเสริมตอจากกฎระเบียบการติดฉลากอาหาร

ทั่วไป (Directive 2000/13/EC) เพื่อทําใหสามารถควบคุมการติดฉลากของสวนผสมอาหารที่อาจ

กอใหเกิดภูมิแพไดอยางมีประสิทธิภาพมากขึ้นเนื่องจากกฎระเบียบเดิมยกเวนการติดฉลาก

สําหรับสวนผสมที่มีปริมาณนอยกวา รอยละ 25เปอรเซ็นต (เพื่อปองกันการระบุรายการที่มาก

เกินไปในฉลาก) แตในปจจุบันผูบริโภคมีแนวโนมในการรับประทานอาหารที่มีการแปรรูป

(processedfoods) มากขึ้นและเรียกรองที่จะทราบขอมูลรายละเอียดของสวนผสมในอาหารเพื่อ

เปนทางเลือกในการซื้อสินคาซึ่งรายละเอียดเกี่ยวกับขอมูลของอาหารเปนเรื่องจําเปนโดยเฉพาะ

ผูบริโภคที่เปนโรคภูมิแพหรือมีปฏิกิริยาไวตออาหารบางชนิดที่อาจทําใหเสียชีวิตได ซึ่งกฎระเบียบ

3 รายงาน,กฎระเบียบมาตรการและระบบความปลอดภัยอาหารและการปองกันการกอการรายทาง

ชีวภาพของสหรัฐอเมริกา(U.S. Food Safety and Bioterrorism Systems, ภายใตโครงการศึกษากฎระเบียบ

และความปลอดภัยของอาหารสุขอนามัยและสุขอนามัยพืชและการปองกันการกอการรายทางชีวภาพของ

สหรัฐอเมริกา,(Food Safety Sanitary and Phytosanitary and Bioterrorism System),ประจําปงบประมาณ

2548 (กันยายน 2548 – สิงหาคม 2549) เสนอตอสํานักงานท่ีปรึกษาการเกษตรตางประเทศประจํากรุงวอชิงตัน

ดี.ซ.ีหนา 47.

Page 221: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

204

Directive 2000/13/EC ไดเคยมีการจัดทํารายการสวนประกอบอาหารที่อาจกอใหเกิดภูมิแพ (List

of potential allergenic ingredients to be labeled) ไวใน AnnexIIIa อาทิ ธัญพืชที่มีสวนผสม

ของกลูเตนอาหารทะเล (กุง ปู ปลา) ไขถั่วลิสง ถั่งเหลือง นมและผลิตภัณฑนม เมล็ดงา และ

ผลิตภัณฑงามัสตารด ผักขึ้นชาย เปนตน ซึ่งขณะนี้สหภาพยุโรปไดเพิ่มถั่ว lupin และสัตวน้ํา

ประเภทหอยและปลาหมึกไวในรายการดังกลาวดวย แลวการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นยอมกอใหเกิด

ภาระคาใชจายใหแกภาคธุรกิจผูผลิตสินคาอาหารทั้งภายในและภายนอกสหภาพยุโรปอยาง

หลีกเลี่ยงไมไดโดยเฉพาะสวนของการเปลี่ยนคําบรรยายบนฉลากที่มีสวนผสมของถั่ว lupin หรือ

สัตวน้ําประเภทหอยและปลาหมึกอยูดวย ดังนั้นภาคอุตสาหกรรมผูผลิตสินคาเกษตรและอาหาร

ของไทยที่ไดรับผลกระทบโดยตรง ควรเตรียมรับสถานการณดังกลาวตามกรอบระยะเวลาที่

กําหนดไว เปนตนขอกําหนดการติดฉลากที่อาหารกอภูมิแพ4 เปนรายการที่บังคับใหตองแสดงระบุ

รายการขอมูลดังกลาวไวในรายการสวนประกอบตามกฎเกณฑที่ระบุไว โดยอางอิงชื่อของสารหรือ

ผลิตภัณฑอยางชัดเจน และชื่อของสารหรือผลิตภัณฑที่กอใหเกิดอาการแพ จะตองพิมพไวอยาง

ชัดเจนซึ่งแตกตางจากรายชื่อของ สวนประกอบอื่นๆ เชน ลักษณะตัวอักษร แบบหรือสีพื้นหลัง เปน

ตน ในกรณีที่ไมมีรายการสวนประกอบ ใหแสดงรายการขอมูลสวนประกอบหรือสารชวยใน

กระบวนการผลิต หรือที่ไดจากสารหรืออาหารกอภูมิแพ ซึ่งอาจกอใหเกิดการแพอาหารหรือภูมิแพ

ซึ่งไดนํามาใชในการผลิตหรือจัดเตรียมอาหารและยังคงมีอยูในผลิตภัณฑนั้นแมวาจะเปลี่ยนรูปไป

แลวก็ตามซึ่งประกอบดวยคําวา “Contain” และตามดวยชื่อของสารหรืออาหารกอภูมิแพ

นอกจากการกําหนดบังคับใหตองแสดงขอมูลสวนประกอบหรือสารกอภูมิแพแลว สหภาพ

ยุโรปยังใหความสนใจกับอาหารกอภูมิแพอยางตอเนื่อง โดยเห็นวาประเทศสมาชิกของสหภาพ

ยุโรปควรมีสิทธิในการกําหนดกฎเกณฑเกี่ยวกับการใหขอมูลของอาหารที่ยังไมบรรจุหีบหอดวย

ทั้งนี้ขึ้นอยูกับเงื่อนไขของวิธีปฏิบัติในทองถิ่นและสถานการณตางๆ แมวาในกรณีดังกลาวผูบริโภค

จะตองการขอมูลอื่นๆ คอนขางจํากัด แตขอมูลเกี่ยวกับสารที่อาจทําใหเกิดการแพถือเปนเรื่องที่

สําคัญมาก ซึ่งตองแจงใหผูบริโภคทราบโดยจากหลักฐานไดชี้ใหเห็นวาสาเหตุการแพอาหารสวน

ใหญมาจากอาหารที่ยังไมบรรจุหีบหอ เปนตน

4Regulation 1169/2011 on Food Information to Consumers Article 21.

Page 222: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

205

4.3 ปญหากฎหมายเกี่ยวกับหนวยงานหรือผูรับผิดชอบในการตรวจสอบฉลากอาหารที่ กอใหเกิดการภูมิแพ

ปจจุบันแมจะมีแนวคิดใหหนวยงานของรัฐที่มีอํานาจในการตรวจสอบฉลากอาหารแตก็ยังมีปญหาในหนวยงานหรือผูรับผิดชอบในการตรวจสอบอาหารที่กอใหเกิดการภูมิแพเนื่องจากการตรวจสอบอาหารที่กอใหเกิดการภูมิแพตองใชเทคโนโลยีในระดับสูงและใชหองแล็บ ในการตรวจพิสูจนอาหารที่กอใหเกิดการภูมิแพ ซึ่งสวนใหญมักมีอยูตามหนวยงานของรัฐเปนสวนใหญ ซึ่งเมื่อพิจารณาตามพระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภค พ.ศ.2522 แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภค (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2541 กําหนดใหคุมครองผูบริโภคตามกฎหมายคุมครองเพื่อใหผูบริโภคไดรับความปลอดภัยในการใชสินคาและการรับบริการเชนกฎหมายคุมครองผูบริโภค พ.ศ.2522 โดยผูบริโภคสามารถรองเรียนไดที่สํานักงานคณะกรรมการคุมครองผูบริโภคสังกัดกระทรวงสาธารณสุข หรือหนวยงานที่เกี่ยวของ เมื่อสํานักงานคณะกรรมการคุมครองผูบริโภคไดรับแจงเรื่องรองเรียนแลวจะเรียกใหคูกรณีมาเจรจาไกลเกลี่ยเพื่อระงับขอพิพาทและชดใชคาเสียหายสําหรับอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการคุมครองผูบริโภคพระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภค พ.ศ.2522 ที่บัญญัติใหอํานาจตามมาตรา 10 ใหคณะกรรมการคุมครองผูบริโภคมีอํานาจและหนาที่ดังตอไปนี้

(1) พิจารณาเรื่องราวรองทุกขจากผูบริโภคที่ไดรับความเดือดรอนหรือเสียหายอันเนื่องมาจากการกระทําของผูประกอบธุรกิจ

(2) ดําเนินการเกี่ยวกับสินคาที่อาจเปนอันตรายแกผูบริโภคตามมาตรา 36

(3) แจงหรือโฆษณาขาวสารเกี่ยวกับสินคาหรือบริการที่อาจกอใหเกิดความเสียหายหรือเสื่อมเสียแกสิทธิของผูบริโภคในกรณีนี้อาจระบุชื่อสินคาหรือบริการหรือชื่อของผูประกอบธุรกิจดวยก็ได

(4) ใหคําปรึกษาและแนะนําแกคณะกรรมการเฉพาะเรื่องและพิจารณาวินิจฉัย

การอุทธรณ คําสั่งของคณะกรรมการเฉพาะเรื่อง

(5) วางระเบียบเกี่ยวกับการปฏิบัติหนาที่ของคณะกรรมการเฉพาะเรื่องและ

คณะอนุกรรมการ

(6) สอดสองเรงรัดพนักงาน เจาหนาที่สวนราชการหรือหนวยงานอื่นของรัฐ ให

ปฏิบัติตามอํานาจหนาที่ที่กฎหมายกําหนด ตลอดจนเรงรัดพนักงานเจาหนาที่ใหดําเนินคดีใน

ความผิดเกี่ยวกับการละเมิดสิทธิของผูบริโภค

(7) ดําเนินคดีเกี่ยวกับการละเมิดสิทธิของผูบริโภคที่คณะกรรมการเห็นสมควร

หรือมีผูรองขอตามมาตรา 39

(8) รับรองสมาคมตามมาตรา 40

Page 223: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

206

(9) เสนอความเห็นตอคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับนโยบายและมาตรการในการ

คุมครองผูบริโภคและพิจารณาใหความเห็นในเรื่องใดๆ ที่เกี่ยวกับการคุมครองผูบริโภคตามที่

คณะรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีมอบหมาย

(10) ปฏิบัติการอื่นใดตามที่กฎหมายกําหนดไวให เปนอํานาจหนาที่ของ

คณะกรรมการในการปฏิบัติหนาที่นี้คณะกรรมการอาจมอบหมายใหสํานักงานคณะกรรมการ

คุมครองผูบริโภคเปนผูปฏิบัติการหรือเตรียมขอเสนอมายังคณะกรรมการเพื่อพิจารณาดําเนินการ

ตอไปได”

ทั้งนี้หากไมสามารถเจรจาไกลเกลี่ยตกลงกันได คณะกรรมการคุมครองผูบริโภคก็มี

อํานาจในการดําเนินคดีแทนผูบริโภค ซึ่งพระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภค พ.ศ.2522 แกไข

เพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภค (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2541 ไดใหอํานาจอํานาจในการ

ดําเนินคดีแทนผูบริโภคตามขอ 39 เพื่อฟองเรียกทรัพยสินหรือคาเสียหายใหแกผูบริโภคที่ถูก

ละเมิดสิทธิ จากการใชสินคาและการรับบริการ โดยผูบริโภคไมตองเสียคาใชจายใดๆ ในการ

ดําเนินคดีได ถึงแมสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา หรือ (อย.)จะควบคุมอาหารและยา เพื่อ

จําหนายในเรื่องของคุณภาพมาตรฐานตางๆ แตในดานผูบริโภค กอนที่จะซื้ออาหารและยา มา

บริโภคก็ควรจะ ระมัดระวังในหลายๆ ดาน เชน ควรพิจารณาความสะอาดของภาชนะบรรจุอาหาร

และยา หรือไมพิจารณาฉลากจะตองมีชื่อและที่ตั้งของผูผลิต มีเลขทะเบียนตํารับอาหารในกรอบ

เครื่องหมาย อย.ของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.)อยางถูกตอง

นอกจากนั้นพระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภค พ.ศ.2522 มาตรา 40 ประกอบมาตรา 41

กําหนดใหอํานาจสมาคมเฉพาะที่คณะกรรมการคุมครองผูบริโภคสํานักงานคณะกรรมการ

คุมครองผูบริโภครับรองแลวเทานั้นมีสิทธิในการฟองคดีแพงคดีอาญาหรือดําเนินกระบวน

พิจารณาใดๆ ในคดีเพื่อคุมครองผูบริโภคไดและใหมีอํานาจฟองเรียกคาเสียหายแทนสมาชิกของ

สมาคมไดถามีหนังสือมอบหมายใหเรียกคาเสียหายแทนจากสมาชิกของสมาคม

ผูวิจัยเห็นวาสําหรับการจัดตั้งดําเนินงานของสมาคมจะเปนไปตามระเบียบคณะกรรมการ

คุมครองผูบริโภควาดวยการดําเนินการของสมาคมเกี่ยวกับการฟองคดีและการใชสิทธิและอํานาจ

ฟองของสมาคม พ.ศ.2540 ซึ่งเปนทางเลือกหนึ่งของผูบริโภคที่จะรองเรียนหรือใหหนวยงาน

เหลานี้ดําเนินคดีแทนใหนอกจากที่ระบุไวในมาตรา 39

การฟองคดีโดยสมาคมนี้กฎหมายไดกําหนดรายละเอียดเกี่ยวกับคุณสมบัติของสมาคม

และขั้นตอนการดําเนินคดีไวเพื่อความเปนธรรมแกทุกฝายที่เกี่ยวของและปองกันการดําเนินการ

เพื่อผลประโยชนของบุคคลหรือกลุมบุคคลหรือการแสวงหาประโยชนโดยมิชอบเนื่องจากกรณีนี้

เปนการใหอํานาจแกบุคคลที่มิใชเปนผูถูกโตแยงสิทธิหรือเปนผูเสียหายที่มีสิทธิในการฟองคดี

โดยตรงและมิใชเปนกรณีที่ใหอํานาจแกหนวยงานของรัฐในการดําเนินคดีเพื่อประโยชนแก

Page 224: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

207

ผูบริโภคพระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภคฯ กําหนดรายละเอียดเกี่ยวกับสมาคมที่จะมีสิทธิและมี

อํานาจฟองคดีแทนผูบริโภคดังนี้

1) การรับรองสมาคม

สมาคมที่จะมีสิทธิและมีอํานาจฟองคดีแทนผูบริโภคไดนั้นตองเปนสมาคมที่ไดรับการ

รับรองโดยคณะกรรมการคุมครองผูบริโภคซึ่งตองเปนไปตามเงื่อนไขดังนี้

1.1 ตองจดทะเบียนเปนสมาคมตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย

1.2 วัตถุประสงคหลักของสมาคมตองเปนการคุมครองผูบริโภคหรือตอตานการ

แขงขันอันไมเปนธรรมทางการคา

1.3 ขอบังคับของสมาคมตองกําหนดเกี่ยวกับสมาชิกและกรรมการรวมทั้งการ

ดําเนินการเกี่ยวกับการฟองคดีซึ่งสมาคมจะตองกําหนดวิธีการดําเนินการของสมาคมเกี่ยวกับการ

ฟองคดีไวไนขอบังคับใหเปนไปตามที่กําหนดในกฎกระทรวง

1.4 สมาคมใดมีวัตถุประสงคและมีขอบังคับสมาคมเปนไปตามเงื่อนไขที่กําหนด

สมาคมนั้นอาจยื่นขอใหคณะกรรมการคุมครองผูบริโภครับรองเพื่อใหสมาคมมีสิทธิและอํานาจ

ฟองคดีแพงคดีอาญาหรือดําเนินกระบวนพิจารณาใดๆ เพื่อคุมครองผูบริโภครวมทั้งมีอํานาจ

ฟองรองเรียกคาเสียหายแทนสมาชิกของสมาคมไดตามหลักเกณฑและวิธีการที่กําหนดใน

กฎกระทรวง

1.5 นอกจากตองปฏิบัติตามกฎหมายทั้งประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยและ

กฎหมายอื่นแลวสมาคมที่ไดรับการรับรองจากคณะกรรมการคุมครองผูบริโภคตองปฏิบัติตาม

ระเบียบที่คณะกรรมการคุมครองผูบริโภคกําหนดดวย สมาคมใดมิไดปฏิบัติตามกฎหมายและ

ระเบียบตางๆ ที่เกี่ยวของหรือเมื่อมีพฤติการณปรากฏวาสมาคมนั้นดําเนินการเพื่อฟองคดีโดยไม

สุจริตคณะกรรมการคุมครองผูบริโภคมีอํานาจเพิกถอนการรับรองสมาคมนั้นได

ทั้งนี้เพื่อเปนการปองกันการกระทําอันอาจกอใหเกิดความเสียหายแกผูประกอบธุรกิจ โดย

ไมเปนธรรม กฎหมายไดกําหนดโทษทางอาญาแกผูที่มีเจตนาทุจริตใชจางวานยุยงหรือดําเนินการ

ใหสมาคมฟองรองผูประกอบธุรกิจ เพื่อกลั่นแกลงใหผูประกอบธุรกิจไดรับความเสียหาย และเพื่อ

เปนการกํากับเกี่ยวกับการดําเนินการของสมาคมโดยเฉพาะเกี่ยวกับการฟองคดี ระเบียบ

คณะกรรมการคุมครองผูบริโภควาดวยการดําเนินการของสมาคมเกี่ยวกับการฟองคดีและการใช

สิทธิและอํานาจฟองของสมาคม พ.ศ.2540 กําหนดใหสมาคมตองสงทะเบียนสมาชิกรายงานการ

ประชุมใหญของสมาคมสําเนารายงานประจําปงบดุล ฯลฯ ใหสํานักงานคณะกรรมการคุมครอง

ผูบริโภคดวย

Page 225: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

208

2) เงื่อนไขการดําเนินคดีโดยสมาคมที่ไดรับการรับรองแลวโดยสรุปมีดังนี้

2.1 สมาคมมีสิทธิและมีอํานาจฟองคดีแพงคดีอาญาหรือดําเนินกระบวนพิจารณา

ใดในคดีเพื่อคุมครองผูบริโภคไดไมวาจะมีผูบริโภครองเรียนมายังสมาคมหรือไมเชน

2.2 กอนที่สมาคมจะดําเนินคดีเกี่ยวกับการละเมิดสิทธิของผูบริโภคตองดําเนินการ

ใหมีการรวบรวมพยานหลักฐานทุกชนิดให เพียงพอและกอนลงมติใหฟองหรือไมฟอง

คณะกรรมการสมาคมตองไดรับฟงความเห็นเกี่ยวกับผลทางกฎหมายจากผูตรวจคดีซึ่ ง

คณะกรรมการสมาคมแตงตั้งจากบุคคลซึ่งมีคุณวุฒิไมต่ํากวาปริญญาตรีทางนิติศาสตรทั้งนี้การ

ลงมติในเรื่องดังกลาวใหคณะกรรมการของสมาคมคํานึงถึงประโยชนของผูบริโภคสิทธิของบุคคล

ในการประกอบกิจการและความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นกับผูที่เกี่ยวของดวยเปนตน

ดังนั้น แนวคิดวาดวยบทบาทหนวยงานของรัฐกับการใหการคุมครองผูบริโภคตาม

หลักการคุมครองผูบริโภคหรือกรณีวาดวยหนวยงานของรัฐมีการจัดตั้งองคกรของรัฐขึ้นเพื่อ

คุมครองสิทธิของผูบริโภคโดยตรง เพราะกฎหมายอื่นๆ ไดบัญญัติขึ้นเพื่อควบคุมผูประกอบธุรกิจ

เปนการคุมครองผูบริโภคทางออม โดยเฉพาะในสวนที่เกี่ยวของกับหนวยงานที่มีหนาที่ควบคุม

กํากับตรวจสอบและดูแลฉลากอาหารที่กอใหเกิดการภูมิแพ เพราะในปจจุบันยังคงมีปญหากลาว

คือเนื่องจากการตรวจสอบอาหารที่กอใหเกิดการภูมิแพตองใชเทคโนโลยีในระดับสูงและคาใชจาย

สูงเพราะอาจใชหองแล็บ ในการตรวจพิสูจนความเสียหายที่มีผลกระทบตอผูบริโภค และหาก

ผูบริโภคดําเนินการตรวจสอบทดสอบอาหารที่กอใหเกิดการภูมิแพตองเสียคาใชจายมากและเปน

ภาระตกแกผูบริ โภคซึ่งไมสอดคลองกับหลักการคุมครองผูบริ โภคตามรัฐธรรมนูญแหง

ราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2550 มาตรา 61 ประกอบกับรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557 มาตรา 4 และไมสอดคลองกับหลักการคุมครองตาม

พระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภค พ.ศ.2522 แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภค

(ฉบับที่ 2) พ.ศ.2541 ปรากฏตามหนวยงานของรัฐเปนสวนใหญ เทานั้นตราบใดที่หนวยงานของ

รัฐไมออกกฎหมายบังคับใหมีฉลากภูมิแพอาหารโดยตรงเปนการเฉพาะเพื่อใหความคุมครอง

ผูบริโภคก็ยังไมมีประสิทธิภาพตรงตามเจตนารมณของการคุมครองผูบริโภคโดยตรงอยางแทจริง

อยางไรก็ตามผูวิจัยเห็นวาปจจุบันมีการดําเนินการจากสํานักงานคณะกรรมการอาหาร

และยา (อย.) รวมมือกับกรมวิทยาศาสตรการแพทยและสํานักงานสาธารณสุขจังหวัดทั่วประเทศ

สงเจาหนาที่ไปสุมเก็บตัวอยางการควบคุมตรวจสอบ เพียงอาหารโดย ทั่วๆ ไปเทานั้นเพื่อการ

คุมครองบริโภคทั่วประเทศก็ตอเมื่อมีความเสียหายหรืออันตรายตอชีวิตตอผูบริโภคกอนทุกครั้งจึง

ตรวจสอบและเก็บรวบรวมตรวจสอบแตไมมีการตรวจสอบเพื่อปองกันความเสียหายกอนการเกิด

ความเสียหายในระดับกอนแตอยางใด ยิ่งกรณีปญหาเกี่ยวกับหนวยงานหรือผูรับผิดชอบในการ

ตรวจสอบอาหารที่กอใหเกิดการภูมิแพ ซึ่งยังไมมีบทบัญญัติกฎหมายมาบังคับใชดวยแลวยิ่ง

Page 226: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

209

กอใหเกิดปญหาในแนวทางปฏิบัติและกอใหเกิดความเสียหายและไมเปนธรรมตอผูบริโภคอยาง

แทจริง ถึงแมประเทศไทยในขณะนี้ตามกฎหมายที่ระบุไวในประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่

367) พ.ศ.2557 เรื่องการแสดงฉลากของอาหารในภาชนะบรรจุกําหนดหลักเกณฑในขอ 6 แตยังมี

ขอยกเวนอาหารบางอยางตามขอ 3 ที่ยังมีขอยกเวนการกําหนดฉลากอาหาร ซึ่งสํานักงาน

คณะกรรมการอาหารและยา (อย.) ควรตองกําหนดฉลากอาหารที่กอใหเกิดภูมิแพอยางชัดเจน

และไมมีขอยกเวนอาหารแตอยางใดเพื่อใหความคุมครองภูมิบริโภคทุกกลุมโดยไมมีขอยกเวน”

เปนตน

หากเปรียบเทียบกับประเทศอังกฤษในสวนขององคกรภาครัฐในระดับรัฐบาลกลางมี

หนวยงานที่มีหนาที่หลัก และสําคัญเกี่ยวกับการคุมครองผูบริโภคในภาครัฐ ไดแก Office of Fair

Trading ซึ่งอยูภายใตการกํากับดูแลของ Director General of Fair Trading ซึ่งแตงตั้งโดย

Secretary of State ตาม Fair Trading Act 1973 Part I มีระยะเวลาดํารงตําแหนง 5 ป มีอํานาจ

หนาที่กํากับดูแลกิจกรรมทางธุรกิจเกี่ยวของกับสินคาเพื่อบริโภคทุกประเภทในสหราชอาณาจักร

ซึ่งภายใตกฎหมายฉบับเดียวกันนี้ กําหนดใหมีกรรมการที่ปรึกษาเกี่ยวกับการคุมครอง

ผูบริโภคที่เรียกวา The Consumer Protection Advisory Committeeประกอบดวยบุคคลไมนอย

กวา 10 คน ไมเกินกวา 15 คน ซึ่งแตงตั้งโดย Secretay of State ซึ่งตองมีคุณสมบัติตรงตามที่

กําหนดไว กลาวคือ มีความรูความสามารถ มีประสบการณเกี่ยวกับสินคาบริโภค หรือเกี่ยวกับการ

ทํางานดานการคุมครองผูบริโภคในองคกรเอกชน

อํานาจหนาที่ของคณะกรรมการที่ปรึกษาดานการคุมครองผูบริโภคดังกลาวปรากฏอยูใน

Part II ขอ 14 ของกฎหมาย Fair Trading Act 1973 กลาวคือ เปนที่ปรึกษาใหรัฐมนตรี และ

Secretary of State รวมทั้งกรณีที่ Director General ขอคําปรึกษาในเรื่องใดๆ ที่เกี่ยวกับหรือที่

อาจมีผลกระทบตอผูบริโภคในประโยชนสาธารณชนในแงเศรษฐกิจ คณะกรรมการตองจัดทํา

รายงานเสนอตอผูขอคําปรึกษา และในการนี้คณะกรรมการอาจขอให Director General สั่งใหมี

การสํารวจหรือสืบคนขอมูลตางๆ เพื่อประโยชนในการจัดทํารายงานของคณะกรรมการได

นอกจากนี้คณะกรรมการยังมีอํานาจรับฟงขอมูลจากผูเกี่ยวของทุกฝายกอนทํารายงานได

ในกรณีที่ Secretary of State เห็นดวยกับความเห็นของคณะกรรมการที่ปรึกษาในเรื่อง

หนึ่งเรื่องใดวา สมควรดําเนินการเพื่ออกกฎหมายเพื่อใหเกิดประโยชนตอผูบริโภคและสาธารณชน

ทั่วไป Secretary of State มีอํานาจออกขอกําหนด Order ใหมีผลบังคับใชภายใตเงื่อนไขวาไดรับ

การรับรองจากสภาผูแทนราษฎรโดยมีระบบคุมครองผูบริโภคดังกลาวขางตนในกฎหมายฉบับนี้

ชวยทําใหกระบวนการออกกฎหมายมีประสิทธิภาพมากขึ้น

Page 227: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

210

องคกรหรือหนวยงานดานคุมครองผูบริโภคในทองถิ่นสภาทองถิ่นที่เรียกวา County

Conuncils และเขตปกครองใน Landon มีบทบาทในดานการคุมครองผูบริโภค 2 ประการดวยกัน

กลาวคือ

1) ในแงที่จัดใหมีพนักงานเจาหนาที่ทองถิ่นในการตรวจสอบปริมาณและน้ําหนักของ

สินคาตามที่ The Trade Descriptions Act 1968 ใหอํานาจไว และมีอํานาจติดตามพฤติกรรม

ผิดปกติทางการคาเพื่อรายงานตอ Director General of Fair Trading ตามกฎหมาย Fair

Trading Act 1973

2) จัดใหมี Consumer Advice Centres ภายใตกฎหมาย Lacol Government Act 1972

การใหคําแนะนํากระทําทั้งกอนและหลังการบริโภค รวมทั้งรับเรื่องรองทุกข ตลอดถึงการเจรจายุติ

ขอพิพาทระหวางผูประกอบธุรกิจและผูบริโภคดวย แตไมมีการฟองคดีแทนผูบริโภค

นอกจากนั้นองคกรภาคเอกชนมีการดําเนินงานโดยมีการจัดตั้งสมาคมคุมครองผูบริโภคที่

เปนของเอกชนมีบทบาทในดานการใหขอมูลเปรียบเทียบของสินคาหรือบริการแกผูบริโภค

Consumer Associatione มีเอกสารเผยแพร ชื่อ Which ซึ่งเปนที่รูจักแพรหลายในหมูผูบริโภค

เพราะใหประโยชนตอการตัดสินใจของผูบริโภคอยางมากทั้งนี้สมาคมเอกชนมีบทบาทในการ

ผลักดันกฎหมายเกี่ยวกับการคุมครองผูบริโภคหลายฉบับ รวมทั้งเสนอแนะใหการแกไขที่มี

ขอบกพรองจนมีการแกไขตามขอเสนอจนการดําเนินคดีผูประกอบการในเรื่องที่เกี่ยวของกับอาหาร

ที่มิไดปรากฏฉลากกอใหเกิดภูมิแพแตอยางใดเปนตน

4.4 ปญหาเกี่ยวกับการเยียวยาผูบริโภคที่ไดรับความเสียหายจากการบริโภคอาหารที่ กอใหเกิดการภูมิแพ

แนวคิดการเยียวยาคาเสียหายของผูบริโภควาดวยหลักการเรียกรองความเสียหายใดๆ

เกิดขึ้นอันเปนผลมาจากที่ไดรับความเสียหายจากการบริโภคอาหารที่กอใหเกิดการภูมิแพนั้นตาม

กฎหมายที่บังคับใชอยูในปจจุบันตามกฎหมายรัฐธรรมนูญบัญญัติใหสามารถเรียกรองและการ

ดําเนินการฟองรองในคาเสียหายทั้งนี้ตามกฎหมายรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช

2550 มาตรา 61 “สิทธิของบุคคลซึ่งเปนผูบริโภคยอมไดรับความคุมครองในการไดรับขอมูล ที่เปน

ความจริงและมีสิทธิรองเรียน เพื่อใหไดรับการแกไขเยียวยาความเสียหายรวมทั้งมีสิทธิรวมตัวกัน

เพื่อพิทักษสิทธิของผูบริโภคใหมีองคการเพื่อการคุมครองผูบริโภค ที่เปนอิสระจากหนวยงานของ

รัฐซึ่งประกอบดวยตัวแทนผูบริโภคทําหนาที่ใหความเห็นเพื่อประกอบการพิจารณาของหนวยงาน

ของรัฐในการตราและการบังคับใชกฎหมายและกฎและใหความเห็นในการกําหนดมาตรการตางๆ

เพื่อคุมครองผูบริโภครวมทั้งตรวจสอบและรายงานการกระทําหรือละเลยการกระทําอันเปนการ

คุมครองผูบริโภคทั้งนี้ใหรัฐสนับสนุนงบประมาณในการดําเนินการขององคการอิสระดังกลาวดวย”

Page 228: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

211

ซึ่งก็สามารถดําเนินการฟองรองคดีเพื่อเรียกรองการเยียวยาความเสียหายไดจากบุคคลสองฝาย

ดวยกัน คือ ประการแรก ดําเนินคดีกับผูกอใหไดรับความเสียหายจากการบริโภคอาหารที่กอใหเกิด

การภูมิแพโดยตรงกฎหมายที่จะถูกนํามาปรับใชในการวินิจฉัยความผิดของผูที่ไดรับความเสียหาย

จากการบริโภคอาหารที่กอใหเกิดการภูมิแพคือประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยวาดวยเรื่อง

ละเมิดมาตรา 420 เปนการดําเนินการเรียกรองสิทธิตามกฎหมายลักษณะละเมิดทั้งนี้กฎหมาย

ละเมิดเปนกฎหมายพื้นฐาน ที่มีวัตถุประสงคในการคุมครองบุคคลมิใหถูกลวงสิทธิจากการกระทํา

ของบุคคลอื่นสิทธิที่กฎหมายละเมิดมุงจะคุมครองเปนสิทธิทั่วไปที่บุคคลอื่น ตองเคารพและไม

กระทําการใดที่เปนการลวงสิทธินี้ เชน สิทธิในรางกายชีวิตทรัพยสินในการดําเนินคดี เพื่อเรียกรอง

คาเสียหายจากผูกอใหไดรับความเสียหายจากการบริโภคอาหารที่กอใหเกิดการภูมิแพกฎหมาย

พื้นฐานที่ใชเปนหลักในการดําเนินคดีไดแกหลักละเมิดตามมาตรา 420 แหงประมวลกฎหมายแพง

และพาณิชยซึ่งบัญญัติวา “ผูใดจงใจหรือประมาทเลินเลอทําตอบุคคลอื่นโดยผิดกฎหมายใหเขา

เสียหายถึงแกชีวิตก็ดีแกรางกายก็ดีเสรีภาพก็ดีทรัพยสินหรือสิทธิอยางหนึ่งอยางใดก็ดี ทานวาผู

นั้นทําละเมิดจําตองชดใชคาสินไหมทดแทนเพื่อการนั้น” กฎหมายลักษณะละเมิดนี้มุงคุมครอง

บุคคลมิใหถูกลวงสิทธิผิดหนาที่จากการกระทําของบุคคลอื่นความรับผิดตามหลักละเมิดมีพื้นฐาน

อยูบนความผิดที่เกิดจากความชั่วรายในใจของผูกระทําไมวาจะกระทําโดยจงใจหรือประมาท

เลินเลอก็ตาม ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง ไดกําหนดหลักในการนําสืบตอศาลไว

วา “ผูใดกลาวอางผูนั้นตองพิสูจน” ดังนั้นภาระการพิสูจนวาจําเลยมีความรับผิดตามกฎหมาย

ลักษณะละเมิดจึงมีประเด็นที่ผูเสียหาย หรือโจทกตองนําสืบตอศาลหรือพิสูจนใหเปนที่ประจักษ

แกศาลคือ

1) จําเลยไดกระทําโดยจงใจหรือประมาทเลินเลอหรือไม

2) การกระทําของจําเลยเปนเหตุใหเกิดความเสียหายแกโจทกหรือไม

3) ความเสียหายที่โจทกไดรับมีมากเพียงใด

4) โจทกควรไดรับคาเสียหายเพียงใด

หากโจทกหรือผูที่ไดรับความเสียหายอันเกี่ยวของกับที่ไดรับความเสียหายจากการบริโภค

อาหารที่กอใหเกิดการภูมิแพ ไมสามารถพิสูจนใหศาลเห็นตามที่ตนกลาวอางขึ้นมา ก็จะอยูใน

ฐานะของผูแพคดีนั้นหมายความวาการพิสูจนก็เปนเรื่องยากสําหรับผูบริโภค ทั้งมีภาระที่จําเปนที่

จะตองพิสูจนและรวมทั้งคาใชจายตางๆ ก็ตกแกผูบริโภคหรือผูที่เสียหายอันเกิดจากการไดรับ

ความเสียหายจากการบริโภคอาหารท่ีกอใหเกิดการภูมิแพอันจะสงผลเสียมากกวาผลดีน้ันเอง

ผูวิจัยเห็นวาเนื่อง จากในคดีผูบริโภค ผูประกอบธุรกิจและผูบริโภคอาจขาดความพรอม

และความชํานาญในการทําคําฟองให ถูกตองตามแบบที่กฎหมายกําหนด การบัญญัติกฎหมาย

ขึ้นมาเพื่อเปนประโยชนตอผูบริโภคเองจะชวยอํานวยความสะดวกใหแกคูกรณีดวยการกําหนด ให

Page 229: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

212

การฟองคดีผูบริโภคนั้นผูบริโภคจะทําคําฟองเปนหนังสือหรือฟองคดีดวยวาจา ก็ไดโดยดําเนินการ

ตาม พระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีผูบริโภค พ.ศ.2551 มาตรา 20 ในกรณีที่ประสงคจะฟองดวย

วาจาให“เจาพนักงานคดี” ซึ่งเปนเจาหนาที่ของศาลและแตงตั้งโดยเลขาธิการสํานักงานศาล

ยุติธรรมจัด ใหมีการทําบันทึกรายละเอียดแหงคําฟองแลวใหผูฟองลงลายมือชื่อไวเปนสําคัญ เพื่อ

ความสะดวกในการดําเนินคดีผูบริโภคที่ไดรับความเดือดรอนเสียหายจากการใชสินคาหรือบริการ

จากผูประกอบการ ผูบริโภคสามารถใชสิทธิดําเนินการกับผูประกอบการได 2 กรณี คือ

1) รองทุกขตอสํานักงานคณะกรรมการคุมครองผูบริโภค (ส.ค.บ.)

กรณีรองทุกขตอสํานักงานคณะกรรมการคุมครอง ผูบริโภค (ส.ค.บ.) ผูบริโภคสามารถเขา

รองทุกขตอเจาหนาที่ สํานักงานคณะกรรมการคุมครองผูบริโภค ไดเองโดยตรง เมื่อเจาหนาที่รับ

เรื่องราวที่รองทุกขไวแลว เจาหนาที่จะดําเนินการเรียกไดผูประกอบการใหมาชี้แจงขอเท็จจริง เพื่อ

มีคําสั่งตอไปแตคณะกรรมการคุมครองผู บริโภคไมมีอํานาจสั่งใหผูประกอบการชดใชคาเสียหาย

ใหแกผูบริโภคได เวนแตในกรณีที่คณะกรรมการเห็นสมควรเขาดําเนินคดีเกี่ยวกับการละเมิดสิทธิ

ของผูบริโภคหรือเมื่อไดรับคํารองทุกขจากผูบริโภคที่ถูกละเมิดสิทธิ หากคณะกรรมการเห็นวาการ

ดําเนินคดีนั้นจะเปนประโยชนแกผูบริโภคสวนรวมคณะกรรมการมีอํานาจแตงตั้งพนักงานอัยการ

โดยความเห็นชอบ ของอัยการสูงสุด หรือเจาหนาที่คุมครองผูบริโภค เพื่อใหมีอํานาจดําเนินคดี

แพงหรือคดีอาญาแกผูกระทําการละเมิดสิทธิของผู บริโภคในศาล โดยในการดําเนินคดีในศาลนั้น

เจาหนาที่คุมครองผูบริโภคมีอํานาจฟองเรียกทรัพยสินหรือคาเสียหายให แกผูบริโภคไดตาม

พระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีผูบริโภค พ.ศ.2551 มาตรา 19 โดยไดรับรับการยกเวนคาฤชาธรรม

เนียมศาลทั้งหมดตามมาตรา 18 ซึ่งขั้นตอนในการดําเนินการอาจยุงยากหลายขั้นตอนและใช

เวลานานไมสะดวกแก ผูบริโภคเทาที่ควร รวมทั้งอาจไมตรงกับความประสงคของผูบริโภคเองที่

ตองการไดรับการเยียวยาความเสียหายที่เกิดขึ้นโดยเร็ว

2) กรณีผูบริโภคฟองคดีเอง

ผูบริโภคที่ไดรับความเดือดรอนเสียหายจาก การใชสินคาหรือบริการจากผูประกอบการ

สามารถฟองคดีเองได โดยในเบื้องตนผูบริโภคสามารถยื่นฟองผูประกอบการตอศาลที่เปน

ภูมิลําเนา ของผูบริโภคเองหรือจะฟองตอศาลที่ผูประกอบการมีภูมิลําเนาอยูก็ไดแลวตามมาตรา

17 “ในกรณีที่ผูประกอบธุรกิจจะฟองผูบริโภคเปนคดีผูบริโภคและผูประกอบธุรกิจมีสิทธิเสนอคํา

ฟองตอศาลที่ผูบริโภคมีภูมิลําเนาอยูในเขตศาลหรือตอศาลอื่นไดดวย ใหผูประกอบธุรกิจเสนอคํา

ฟองตอศาลที่ผูบริโภคมีภูมิลําเนาอยูในเขตศาลไดเพียงแหงเดียว” ทั้งนี้แตความสะดวกของ

ผูบริโภคเองซึ่งในการยื่นคําฟองนั้น ผูบริโภคสามารถฟองคดีดวยวาจาหรือยื่นคําฟองเปนหนังสือก็

ได กรณีที่ฟองดวยวาจา เจาพนักงานคดีจะจัดใหมีการบันทึกรายละเอียดแหงคําฟองและให

ผูบริโภค ซึ่งเปนโจทกลงลายมือชื่อไวเปนสําคัญ สวนการยื่นคําฟองเปนหนังสือนั้น หากผูบริโภค

Page 230: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

213

ไมสามารถรางคําฟองไดเอง อาจจะเปนเพราะไมมีความรูดานกฎหมาย ผูบริโภคสามารถขอใหเจา

พนักงานคดีที่ประจําศาลนั้นชวยรางคําฟองตลอดจนจัด ทําบัญชีระบุพยานใหได โดยเลา

ขอเท็จจริงและความเสียหายที่ไดรับจากการใชสินคาหรือบริการให เจาพนักงานคดีฟง พรอมทั้ง

ยื่นเอกสารประกอบ (ถาหากมี) เพื่อใหเจาพนักงานคดีใชเปนขอมูล ประกอบการรางคําฟองและ

จัดทําบัญชีระบุพยาน ซึ่งหากคําฟองขาดตกบกพรองในสาระสําคัญบางประการ ศาลมีอํานาจสั่ง

ใหผูบริโภคซึ่งเปนโจทกแกไขคําฟองได กรณีนี้จะแตกตางจากคําฟองคดีสามัญทั่วไปที่ศาลไมมี

อํานาจสั่งใหโจทกแกไข คําฟองได นอกจากนี้ในการยื่นฟองดังกลาวนั้น ผูบริโภคจะไดรับยกเวนคา

ฤชาธรรมเนียมศาลทั้งปวงเชนเดียวกับคณะกรรมการผูบริโภคฟองคดีแทน

จะเห็นไดวาการเยียวยาความเสียหายกอนฟองคดีของผูบริโภคเมื่อผูบริโภคไดรับความ

เสียหายการฟองคดีเพียง เพื่อใหไดรับการเยียวยาในเบื้องตนเทานั้น หาแตการฟองคดีเพียงเพื่อให

บารมีของศาลยุติธรรมเปนผูบังคับคดี กรณีผูประกอบการหรือผูผลิตอาหารที่อาจจะกอใหเกิดการ

ภูมิแพ โดยชอบดวยกฎหมายเทานั้น หากดําเนินการฟองคดีผูบริโภคแลวนั้นหากศาลยกฟองก็ไม

สามารถไดรับการชดใชคาเสียหาย แตอยางใดผูบริโภคก็ยิ่งไดรับความเสียหายมากขึ้นในฐานะ

ผูบริโภคคงไมสามารถรอมาตรฐานที่ไมรูวาจะมาเมื่อไร แตจะตองปองกันตนเองมากขึ้น เพราะ

สวนใหญตองการคาเยียวยาความเสียหายจากการบริโภคอาหารที่กอใหเกิดการภูมิแพจําเปนตอง

มีมาตรการชดใชเยียวยา ซึ่งความเสียหายในเบื้องตนกอนฟองจากหนวยงานของรัฐที่เกี่ยวของ

อยางพอสมควรใหไดรับการชดใชคาเสียหายในระดับหนึ่งเทานั้น

ดังนั้นจะเห็นไดวาแมประเทศไทยมีแนวคิดใหความคุมครองผูบริโภคตามกฎหมาย

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2550 มาตรา 61 ประกอบกับมาตรา 4 รัฐธรรมนูญ

แหงราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557 ซึ่งเปนหัวใจหลักของการใหความ

คุมครองผูบริโภคหรือประชาชนในปจจุบัน ซึ่งใหความคุมครองผูบริโภคและมีการบัญญัติให

รัฐมนตรีวาการกระทรวงสาธารณสุขออกประกาศไวประกอบกับการบังคับใชกฎหมายวาดวย

สินคาผูบริ โภคตามกฎหมายคุมครองผูบริ โภครวมถึงผูผลิตเองก็ตองเอาใจใสในเรื่องนี้

พระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภค พ.ศ.2522 (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2541 ไดทําการคุมครองผูบริโภค

ทางดานฉลากปรากฏตามมาตรา 30-35 โดยมีเนื้อหาระบุไวเปนหนาที่ของเจาพนักงานที่จะตอง

ประกาศเปนประเด็นเกี่ยวกับการดําเนินการ คาใชจาย สิทธิจะตรวจสอบสินคาไมปลอดภัย

ประกอบกับไมมีบทบัญญัติที่เกี่ยวของกับฉลากอาหารที่กอใหเกิดการภูมิแพจึงทําใหเจาหนาที่ของ

รัฐที่เกี่ยวของไมสามารถปรับบทบัญญัติของกฎหมายไดอยางมีประสิทธิภาพเทาที่ควรหากมีความ

เสียหายก็มักปรับบทบัญญัติของกฎหมายเพื่อใหเขากับการคุมครองผูบริโภคโดยทั่วๆ ไปโดยไมใช

บทบัญญัติของกฎหมายที่เกี่ยวของกับการใหความอันเกิดจากการบริโภคอาหารที่กอใหเกิดจาก

การภูมิแพแตอยางใดแตถึงอยางไรก็ยังไมมีความเพียงพอสําหรับการใหความคุมครองผูบริโภคใน

Page 231: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

214

ปจจุบัน ซึ่งสงผลทําใหเกิดเปนอันตรายรวมทั้งในเรื่องความเสียหายรวมทั้งการเรียกรองคาเสียหาย

แตอยางใด

4.4.1ระยะเวลาการเรียกรองคาเสียหายปญหาความเสียหายที่ไดรับความเสียหายจากการบริโภคอาหารที่กอใหเกิดการ

ภูมิแพเกิดขึ้นมาพรอมๆ กับการมุงเพิ่มผลผลิตในการประกอบกิจการอาหารมากเกินความจําเปน

จนเกิดความเสียหายตอสุขภาพทั้งตัวผูบริโภคในสวนของระยะเวลาในการเรียกรองคาเสียหายที่

ผูบริโภค มีสิทธิเรียกรองในทางแพง วาดวยคาเสียหายในทางละเมิดตาม มาตรา 420 แหง

ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยซึ่งบัญญัติวา “ ผูใดจงใจหรือประมาทเลินเลอ ทําตอบุคคลอื่น

โดยผิดกฎหมายใหเขาเสียหายถึงแกชีวิตก็ดีแกรางกายก็ดีเสรีภาพก็ดีทรัพยสินหรือสิทธิอยางหนึ่ง

อยางใดก็ดีทานวาผูนั้นทําละเมิดจําตองชดใชคาสินไหมทดแทนเพื่อการนั้น” ระยะเวลาในการ

เรียกรองในความรับผิดตามหลักละเมิด ในการพิสูจนความผิดของผูที่ทําใหเกิดความเสียหาย อัน

เนื่องมาจากการที่ไดรับความเสียหายจากการบริโภคอาหารที่กอใหเกิดการภูมิแพตามประมวล

กฎหมายวิธีพิจารณาความแพงมาตรา 84/1 ไดกําหนดหลักในการนําสืบตอศาลไววา “ผูใดกลาว

อางผูนั้นตองพิสูจน” ซึ่งการพิสูจนวาจําเลยมีความรับผิดตามกฎหมายลักษณะละเมิดจึงมีประเด็น

ที่ผูเสียหายหรือโจทกตองนําสืบตอศาลหรือพิสูจนใหเปนที่ประจักษแกศาลจึงสามารถฟองรอง

ดําเนินคดีได แตนั้นก็ยังมีระยะเวลาที่เพียงทําการพิสูจนใหไดเห็นประจักษตอศาล ยอมแสดงให

เห็นวาภาระการพิสูจนจึงตกแกผูเสียหาย ซึ่งอาจจะเปนปญหาตามที่ไดกลาวมาแลว และเรียกรอง

ภายในระยะเวลาละเมิดเพียง 1 ป นับแตผูเสียหายรูถึงการทําและรูตัวผูกระทําละเมิด ในการ

เรียกรองคาสินไหมทดแทน หรือเมื่อพน 10 ป นับแตการทําละเมิดเทานั้น ซึ่งนั่นอาจจะสงผลใหผูที่

ไดรับผลกระทบไมสามารถใชสิทธิ์ในสวนของการเรียกรองคาเสียหายในสวนละเมิดตาม มาตรา

420 แหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยไดเต็มที่เทาที่ควร

แตถึงอยางไรกฎหมายในสวนของการเรียกรองคาเสียหายอันเกิดจากการที่ไดรับความ

เสียหายจากการบริโภคอาหารที่กอใหเกิดการภูมิแพนั้นยังคงมีชองทางที่กฎหมายไดใหอํานาจของ

ผูเสียหายหรือโจทกตองนําสืบตอศาลโดยคดีที่เกี่ยวของกับความเสียหายอันเนื่องมาจากการที่

ไดรับความเสียหายจากการบริโภคอาหารที่กอใหเกิดการภูมิแพจึงจําเปนที่จะตองใชกฎหมายใน

สวนอันเกี่ยวกับการฟองรองเรียกคาเสียหายตามพระราชบัญญัติ ความรับผิดตอความเสียหายที่

เกิดขึ้นจากสินคาที่ไมปลอดภัย พ.ศ.2551 ตามมาตรา 4 “ในพระราชบัญญัตินี้“สินคา”

หมายความวาสังหาริมทรัพยทุกชนิดที่ผลิตหรือนําเขาเพื่อขาย” “ผูเสียหาย” หมายความวาผูไดรับ

ความเสียหายอันเกิดจากสินคาที่ไมปลอดภัย

Page 232: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

215

“ความเสียหาย” หมายความวาความเสียหายที่เกิดจากสินคาที่ไมปลอดภัย ไมวาจะเปน

ความเสียหายตอชีวิตรางกายสุขภาพอนามัยจิตใจหรือทรัพยสินทั้งนี้ไมรวมถึงความเสียหายตอตัว

สินคาที่ไมปลอดภัยนั้น

“ความเสียหายตอจิตใจ” หมายความวาความเจ็บปวดความทุกขทรมานความหวาดกลัว

ความวิตกกังวลความเศราโศกเสียใจความอับอายหรือความเสียหายตอจิตใจอยางอื่นที่มีลักษณะ

ทํานองเดียวกัน ”

จะเห็นไดวาในการฟองรองคาเสียหายตามแนวคิดเพื่อความรับผิดตอสินคาที่ไมปลอดภัย

อาจฟองบนพื้นฐานของความประมาทเลินเลอ ความรับผิดตอสินคาไมปลอดภัยจะกําหนดใหเปน

ความรับผิดอยางสิ้นเชิงซึ่งทางกฎหมายที่กําหนดใหผูผลิตที่เกี่ยวของกับผูประกอบอาหาร ผู

จําหนายสินคา ตองรับผิดหากมีความเสียหายเกิดขึ้นจากการใชหรือบริโภคสินคานั้นโดยไมตอง

คํานึงวาเกิดจากการกระทําโดยเจตนาหรือประมาทเลินเลอหรือไม ทั้งนี้ก็เปนหนทางที่ผูเสียหาย

อันเนื่องมาจากการที่ไดรับความเสียหายจากการบริโภคอาหารที่กอใหเกิดการภูมิแพสามารถ

ดําเนินการฟองรองไปยังผูตองรับผิดไดกวางขึ้น นั้นก็คือ ผูประกอบการทุกคน ซึ่งไดแก ผูผลิตหรือ

ผูวาจางใหผลิต หรือผูนําเขาในกรณีเปนสินคานําเขาผูขายสินคาที่ไมสามารถระบุตัวผูผลิต ผูวา

จางใหผลิตหรือผูนําเขาไดหรือผูใชชื่อทางการคา เครื่องหมายการคา เครื่องหมายหรือขอความ

อันมีลักษณะทําใหเกิดความเขาใจไดวาเปนผูผลิต ผูวาจางใหผลิตหรือ ผูนําเขาโดยตองรวมกันรับผิด

ตอความเสียหายที่เกิดจากสินคาที่ไมปลอดภัยและสินคานั้น ไดมีการขายใหผูบริโภคแลวไมวาความ

เสียหายนั้นจะเกิดจากการกระทําโดยจงใจหรือประมาทเลินเลอ ของผูประกอบการดังกลาวหรือไม

ก็ตาม

ในการฟองคดีตามกฎหมายนี้ใหสิทธิฟองรองและถือเปนคดีผูบริโภคตามพระราชบัญญัติ

วิธีพิจารณาคดีผูบริโภค พ.ศ.2551 การฟองคดี เขตอํานาจศาล และวิธีการพิจารณาคดีเปนไปตาม

พระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีผูบริโภค พ.ศ.2551 ซึ่งไมยุงยากและสะดวกรวดเร็วกวาการฟองคดี

แพงตามปกติมาก โดยไมเสียคาธรรมเนียมศาลและสามารถฟองไดดวยตัวเอง โดยไมเสียใชจาย

แตถาเปนการใชสิทธิฟองรองในสวนของการละเมิดตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย ตาม

มาตรา 420 ผูเสียหายหรือผูที่ไดรับผลกระทบอาจจะเสียคาธรรมเนียม ในการดําเนินการฟองรองก็

ได ซึ่งเปนการสรางภาระแกผูเสียหายอีกทางนั้นเอง

ทั้งนี้การที่มีแนวคิดและระบบวิธีพิจารณาคดีที่เอื้อตอการใชสิทธิเรียกรองของผูบริโภค

เพื่อใหผูบริโภคที่ไดรับความเสียหายไดรับการแกไขเยียวยาดวยความรวดเร็ว ประหยัด และ มี

ประสิทธิภาพอันเปนการคุมครองสิทธิของผูบริโภคในภาระการพิสูจน ในการฟองเรียกคาเสียหาย

ผูเสียหายหรือผูฟองคดีแทนมีหนาที่พิสูจนวาไดรับความเสียหายจากสินคาของผูประกอบการ และ

การใชหรือ เก็บรักษาสินคานั้นเปนไปตามปกติธรรมดาโดยไมตองพิสูจนวาความเสียหายเกิดจาก

Page 233: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

216

การกระทําของผูประกอบการใดแตสําหรับผูประกอบหรือผูที่กอใหเกิดความเสียหาย อันเนื่องจาก

การทําใหเกิดความเสียหายถือวาเปนมีหนาที่ หากจะปฏิเสธความรับผิดตอความเสียหายอันเกิด

จากสินคาที่ไมปลอดภัยตองเปนฝายพิสูจนใหไดวาสินคานั้นมิไดเปนสินคาที่ไมปลอดภัยหรือ

ผูเสียหายไดรูอยูแลววา สินคานั้นเปนสินคาที่ไมปลอดภัยหรือความเสียหายเกิดขึ้นจากการใชหรือ

เก็บรักษาสินคาไมถูกตองตามวิธีใชหรือคําเตือนหรือขอมูลเกี่ยวกับสินคาที่ผูประกอบการได

กําหนดไวอยางถูกตองและชัดเจนตามสมควรแลว ขอตกลงที่ทําไวลวงหนา หรือประกาศหรือแจง

ความยกเวนหรือจํากัดความรับผิด นํามาใชยกเวนหรือจํากัดความรับผิดไมไดซึ่งก็ทําใหเห็นวา

ภาระในการพิสูจนก็ยอมตกแกผูประกอบการหรือผูที่กอใหเกิดความเสียหายอันเนื่องจากอาหารที่

กอใหเกิดการภูมิแพนั้นเองซึ่งนั้นก็ยอมเปนทางที่ผูที่ไดรับความเสียหายมีโอกาสที่จะไดรับชดใช

เยียวยาคาเสียหาย ซึ่งตนไดรับความเสียหายอันเนื่องมาจากอาหารที่กอใหเกิดการภูมิแพมากขึ้น

นั้นเอง นอกจากจะเรียกคาสินไหมทดแทนทางละเมิดตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยแลว

ศาลมีอํานาจกําหนดคาเสียหายตอจิตใจ อันเปนผลมาจากความเสียหายตอรางกายสุขภาพ

อนามัยของผูเสียหายดวย และหากผูเสียหายถึงแกความตาย สามี ภริยา บุพการี หรือผูสืบสันดาน

ของบุคคลนั้น มีสิทธิไดรับคาเสียหายตอจิตใจ นอกจากนี้ศาลมีอํานาจกําหนดคาเสียหายในเชิง

ลงโทษเพิ่มเติมไดไมเกินสองเทาของคาสินไหมที่แทจริง หากผูประกอบการหรือผูที่กอใหเกิดความ

เสียหาย อันเนื่องจากการบริโภคอาหารที่กอใหเกิดภูมิแพ ไดผลิต นําเขาหรือขายสินคา โดยรูอยูวา

เปนสินคาที่ไมปลอดภัยหรือไมรูเพราะประมาทเลินเลออยางรายแรงหรือรูแลวไมดําเนินการแกไข

ปองกันไมใหเกิดความเสียหาย ภาระการพิสูจนตกแกฝายผูประกอบหรือผูที่กอใหเกิดความ

เสียหาย ซึ่งตองพิสูจนใหศาลเห็นวาความเสียหายนั้นมิไดเกิดจากสินคาที่เปนสินคาที่ไมปลอดภัย

หรือวาผูเสียหายรูอยูแลววาสินคานี้เปนสินคาที่ไมปลอดภัยหรือเกิดจากการเก็บรักษาที่ไมถูกตอง

ตามที่ไดระบุไวในฉลาก ก็ไมตองรับผิดและระยะเวลาของอายุความ ตามกฎหมายนี้มีกําหนดสาม

ป นับแตวันที่ผูเสียหายรูถึงความเสียหายและรูตัวผูประกอบการที่ตองรับผิด หรือภายในสิบปนับ

แตวันขายสินคากรณีความเสียหายเกิดขึ้นตอ ชีวิต รางกาย สุขภาพ หรืออนามัยโดยผลของสารที่

สะสมในรางกายของผูเสียหายหรือเปนกรณีที่ตองใชเวลาในการแสดงอาการผูเสียหายหรือผูมีสิทธิ

ฟองคดีแทนตองใชสิทธิเรียกรองภายในสามปนับแตวันที่รูถึงความเสียหาย และรูตัวผูประกอบการ

ที่ตองรับผิดและหากมีการเจรจาเรื่องความเสียหายใหอายุความ สะดุดหยุดลงระหวางการเจรจา

ทําใหเห็นวาแตอยางใดแลวการใชสิทธิในการเรียกรองคาสินไหมทดแทนตามตามพระราชบัญญัติ

ความรับผิดตอความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินคาที่ไมปลอดภัย พ.ศ.2551

ซึ่งเปนการใชสิทธิฟองรองในคดีผูบริโภคตามพระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีผูบริโภค

พ.ศ.2551 ในการฟองคดี และเขตอํานาจศาล และวิธีการพิจารณาคดีก็ เปนไปตาม

พระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีผูบริโภค พ.ศ.2551 ซึ่งก็เปนการที่กฎหมายไดใหสิทธิอยางมากแก

Page 234: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

217

ฝายผูที่ไดรับความเสียหายอันเนื่องมาจากการบริโภคอาหารที่กอใหเกิดการภูมิแพ ซึ่งก็ไมยุงยาก

และสะดวกรวดเร็วกวาการฟองคดีแพงตามปกติ โดยไมเสียคาธรรมเนียมศาลและสามารถฟองได

ดวยตัวเองทั้งนี้ไมเสียคาใชจาย และไมเปนการสรางภาระแกผูเสียหายและเปนการลดภาระ

คาใชจายอีกทางหนึ่ง แตจะมีปญหาในเรื่องภาระการพิสูจนที่ตองใชระยะเวลายาวนานพอสมควร

เพียงเพื่อผูเสียหายตองทําการพิสูจนใหไดเห็นประจักษตอศาลอันนํามาซึ่งการเรียกรองคาเสียหาย

ที่เปนภาระแกผูเสียหาย ไดเชนกัน

หากเปรียบเทียบกับประเทศญี่ปุนไดวางหลักเกณฑของวิธีพิจารณาคดีเล็กนอยหรือซึ่ง

เรียกวาการลงโทษและการชดใชเยียวยาคาเสียหายหรือ Small Claim Court ของประเทศญี่ปุนมี

รูปแบบการพิจารณาคดีแบบรวบรัดรวดเร็ว ซึ่งจะเปนคดีประเภทการเรียกคืนสินคา การเรียกคืน

เงินประกันจากการเชาอสังหาริมทรัพยการไมจายคาลวงเวลา การเรียกรองคาเสียหายในการซอม

รถในกรณีอุบัติเหตุทางรถยนต ซึ่งมีระบบการพิจารณาคดีโดยมีกระบวนการที่ไมมีความยุงยาก

ซ้ําซอน ความรวดเร็วและเสียคาใชจายนอยและที่สําคัญคือสามารถดําเนินการใหเสร็จสิ้นภายใน

วันเดียวได โดยมีทุกฝายที่ เกี่ยวของ เชน โจทก จําเลย ทนายความ ของทั้งสองฝายและ

พยานหลักฐานตางๆ มาอยูพรอมหนากันจึงทําใหมีการเรียกวิธีการพิจารณาคดีแบบนี้วา “ศาลโตะ

กลม (Round Table Court)” ซึ่งอยูภายใตกฎหมายชื่อ “Japanese Small Claims Procedure”

โดยมีการประกาศใชเมื่อวันที่ 1 มกราคม ค.ศ.1998 ซึ่งไดนํารูปแบบมาจากวิธีพิจารณาคดี

เล็กนอยของประเทศสหรัฐอเมริกานั่นเอง ที่มีวัตถุประสงคเพื่อสงเสริมใหประชาชนที่มีคดีความ

เล็กนอยไดมีโอกาสใชสิทธิทางศาล เพื่อแกไขเยียวยาความเสียหายโดยการทําใหประชาชนรูสึกวา

“เปนศาลของประชาชน” เปนที่พึ่งของประชาชนเมื่อเกิดคดีความ

นอกจากนี้จะเห็นไดวาการนําคดีขึ้นสูวิธีพิจารณาคดีเล็กนอยนั้นมีความสะดวกรวดเร็ว

หรือมีการพิจารณาคดีแบบรวบรัด (Summary Court) กฎหมายจึงกําหนดจํานวนคดีที่โจทกจะ

ขอใหศาลพิจารณาคดีหรือนําคดีขึ้นสูศาลไดไมเกินกวา 10 ครั้งตอป ทั้งนี้เพื่อสรางความเทาเทียม

ใหกับประชาชน และไมใหสถาบันการเงินใชวิธีพิจารณาคดีแบบนี้ในการติดตามทวงหนี้ลูกหนี้ที่มี

จํานวนหนี้เล็กนอยที่สามารถเขาสูวิธีพิจารณาคดีแบบนี้ได

4.4.2 การเขาถึงในการรับรูสิทธิของผูบริโภคที่ไดรับความคุมครองตามกฎหมายการคุมครองฉลากอาหารที่กอใหเกิดภูมิแพนอกจากใหความสําคัญตามหลักการใหความ

คุมครองผูบริโภคตามแนวคิดคุมครองผูบริโภคที่เกี่ยวของกับอาหารที่กอใหเกิดภูมิแพตามหลักการ

ใหการคุมครองโดยทั่วไปตามพระราชบัญญัติ อาหาร พ.ศ.2522 ไดกําหนดใหผูประกอบการที่

ประสงคจะโฆษณาคุณประโยชนของผลิตภัณฑอาหารของตน จะตองขออนุญาตจากสํานักงาน

คณะกรรมการอาหารและยาทุกครั้งแตสําหรับการโฆษณาบนฉลากอาหารที่กอใหเกิดการภูมิแพ

กลับไมมีการบังคับทางกฎหมาย ผูวิจัยเห็นวาในเรื่องการดําเนินการ จะเห็นไดวาการที่เจาหนาที่

Page 235: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

218

ตามพระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภค พ.ศ.2522 จะใชวิธีการใชโทษทางปกครองตามมาตรา10

(7) “ดําเนินคดีเกี่ยวกับการละเมิดสิทธิของผูบริโภคที่คณะกรรมการเห็นสมควรหรือมีผูรองขอตาม

มาตรา 39” ทั้งนี้จะเห็นไดวาการที่เจาหนาที่ตามพระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภค พ.ศ.2522 จะ

ใชวิธีการใชโทษทางปกครองก็ตอเมื่อมีกฎหมายบัญญัติใหมีการบังคับใชเกี่ยวกับฉลากอาหารที่

กอใหเกิดการภูมิแพไดถูกประกาศกําหนดเปนสินคาควบคุมกอนแตในปจจุบันยังมิไดประกาศให

สินคาดังกลาวเปนสินคาควบคุมแตอยางใด ทั้งนี้เพียงแตใชอํานาจโดยสาธารณสุข โดยสํานักงาน

คณะกรรมการอาหารและยา อย. ซึ่งดูแลทางดานผลิตภัณฑอาหารที่จะตองแสดงฉลากโดยระบุ

รายละเอียดตามกฎหมาย เพื่อปองกันไมใหผูบริโภคเขาใจผิด ในกรณีที่ฝาฝนจากประกาศ

ดังกลาว มีบทลงโทษทั้งจําและปรับแลวแตกรณีแมปรากฏมีขอบังคับเพื่อคุมครองและปองกัน

ไมใหผูประกอบการกระทําความผิดตามกฎหมายอาญาการกําหนดความผิด ซึ่งเปนโทษทาง

อาญา ไดแก โทษจําคุก ปรับ และริบทรัพยสินตามที่บัญญัติในพระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภค

พ.ศ.2522 ไดแก มาตรา 30 ซึ่งการกําหนดฉลากของสินคาจะเปนประโยชนแกผูบริโภคในการที่จะ

ทราบขอเท็จจริงเกี่ยวกับสินคาที่ชัดเจนขึ้น เชน ทราบชื่อสินคาเกี่ยวกับสารที่กอใหเกิดภูมิแพ

ประเภทผูผลิต วิธีใช คําแนะนํา คําเตือน ราคา และวันเดือนปที่ผลิต เปนตนแตหากสินคาดังกลาว

ไมเปนสินคาควบคุมฉลาก ใหคณะกรรมการวาดวยฉลากมีอํานาจกําหนดใหสินคานั้นเปนสินคาที่

ควบคุมฉลากอาหารที่กอใหเกิดการภูมิแพ ซึ่งควรเรงรัดใหมีการออกประกาศใหผลิตภัณฑอาหาร

ที่กอใหเกิดภูมิแพเปนสินคาควบคุมฉลากในเร็วๆ นี้ในขณะที่ยังไมมีผลบังคับตามกฎหมาย ถึงแม

จะมีพระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภคพุทธศักราช 2522 ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดย (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2541

ไดวางแนวคิดที่เกี่ยวของกับการคุมครองสิทธิผูบริโภคที่จะไดรับความคุมครองตามกฎหมาย 5

ประการปรากฏตามมาตรา 4ผูบริโภคมีสิทธิไดรับความคุมครองดังตอไปนี้โดยมีรายละเอียดดังนี้

1) สิทธิที่จะไดรับขาวสาร (Right to be Informed) รวมทั้งคําพรรณนาคุณภาพที่ถูกตอง

และเพียงพอเกี่ยวกับสินคาหรือบริการไดแกสิทธิที่จะไดรับการโฆษณาหรือการแสดงฉลากตาม

ความเปนจริงและปราศจากพิษภัยแกผูบริโภครวมตลอดถึงสิทธิที่จะไดรับทราบขอมูลเกี่ยวกับ

สินคาหรือบริการอยางถูกตองและเพียงพอที่จะไมหลงผิดในการซื้อสินคาหรือรับบริการโดยไมเปน

ธรรม

2) สิทธิที่จะมีอิสระในการเลือกหาสินคาหรือบริการ (Right to Choose) ไดแกสิทธิที่จะ

เลือกซื้อสินคาหรือรับบริการโดยความสมัครใจของผูบริโภคและปราศจากการชักจูงใจอันไมเปนธรรม

3) สิทธิที่จะไดรับความปลอดภัยจากการใชสินคาหรือบริการ (Right to Safety) ไดแกสิทธิ

ที่จะไดรับสินคาหรือบริการที่ปลอดภัยมีสภาพและคุณภาพไดมาตรฐานเหมาะสม

4) สิทธิที่จะไดรับความเปนธรรมในการทําสัญญา (Right to Fair Contract) ไดแกสิทธิที่จะไดรับขอสัญญาโดยไมถูกเอารัดเอาเปรียบจากผูประกอบธุรกิจ

Page 236: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

219

5) สิทธิที่จะไดรับการพิจารณาและชดเชยความเสียหาย ไดแก สิทธิที่จะไดรับการคุมครอง

และชดใชคาเสียหาย เมื่อมีการละเมิดสิทธิของผูบริโภคตามขอ 1, 2, 3 และ 4 ดังกลาว สําหรับ

การคุมครองของผูบริโภคอยางจริงจัง คงตองยกใหรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช

2540 ซึ่งนับเปนรัฐธรรมนูญฉบับแรกที่ใหความสําคัญของการคุมครองผูบริโภคทั้งในสวนการให

สิทธิเสรีภาพในการใหความคุมครองแกผูบริโภคอันเกิดความเสียหายในภาวะปจจุบัน โดยใหสิทธิ

ของบุคคล ซึ่งเปนผูบริโภคยอมไดรับความคุมครองทั้งนี้ตามที่กฎหมายไดกําหนดไวนั้น

สําหรับสิทธิที่จะไดรับการพิจารณาและชดเชยความเสียหายขางตนหากพิจารณาตามพระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภค พ.ศ.2522 แลวจะเห็นวาในพระราชบัญญัติจะกําหนดแตเพียงหลักเกณฑและวิธีการลงโทษผูประกอบธุรกิจหรือคุมครองผูบริโภคดานการโฆษณาดานฉลากดานสัญญาและโดยประการอื่นซึ่งกําหนดคณะกรรมการเฉพาะเรื่องตามมาตรา 14 มาทําการคุมดูแลผูบริโภคที่ถูกผูประกอบธุรกิจเอารัดเอาเปรียบ และกําหนดเพียงแตบทลงโทษแกผูประกอบธุรกิจเทานั้นตามพระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภค พ.ศ.2522 มาตรา 45 ถึงมาตรา 62 โดยไมปรากฏหลักเกณฑการเยียวยาคาเสียหายใหแกผูบริโภคไวแตประการใด เพียงแตกําหนดใหสิทธิไวขางตน ทั้งที่เรื่องดังกลาวเปนเรื่องที่สําคัญยิ่ง และผูบริโภคที่ไดรับความเสียหายจากกรณีดังกลาวตองไดรับการชดใชเยียวยาโดยเร็ว โดยเฉพาะกรณีความเสียหายที่เปนคนหมูมากหรือจํานวนมาก ในกรณีเดียวกันหลักการในเรื่องนี้เมื่อพระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภค พ.ศ.2522 ไมไดกําหนดไวก็ตองเปนไปตามหลักความรับผิดทางละเมิดทั่วไปตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย ที่มีกระบวนการชดใชเยียวยาตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความที่ลาชาอยูเชนเดิมเนื่องจากจํานวนคดีที่มีอยูในศาลยุติธรรมจํานวนมากทั้งคดีที่มีการฟองรองขึ้นใหมและคดีคางในแตละป

ผูวิจัยเห็นวาหากพิจารณาโดยจํานวนกฎหมายที่ออกมาบังคับเกี่ยวของกับฉลากการ

คุมครองดานฉลากอาหาร ที่กอใหเกิดภูมิแพ เชน ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 367)

พ.ศ.2557 เรื่องการแสดงฉลากของอาหารในภาชนะบรรจุขอ 4“การแสดงฉลากของอาหารใน

ภาชนะบรรจุที่ผลิตเพื่อจําหนายนําเขาเพื่อจําหนายหรือที่จําหนายตองแสดงขอความเปน

ภาษาไทยและอยางนอยจะตองมีขอความแสดงรายละเอียดดังตอไปนี้ เวนแตสํานักงาน

คณะกรรมการอาหารและยา จะยกเวนใหไมตองระบุขอความหนึ่งขอความใด” ปรากฏตาม (6)

ประกอบกับการคุมครองดานฉลากอาหารที่กอใหเกิดภูมิแพตามระเบียบสํานักงานคณะกรรมการ

อาหารและยาวาดวยการดําเนินการเกี่ยวกับเลขสารบบอาหาร (ฉบับที่ 6) ทั้งนี้ปญหาการใหความ

คุมครองตามหลักการคุมครองดานฉลากอาหารที่กอใหเกิดภูมิแพปจจุบันยังเปนบทบัญญัติ

กฎหมายกําหนดหลักเกณฑในการคุมครองเพื่อปกปองคุมครองผูบริโภคโดยทั่วๆ ไปเทานั้น

ผูบริโภคสวนใหญยังเสี่ยงตอการแพอาหารบางชนิดโดยกระทรวงสาธารณสุขไดออกกฎหมาย

ความปลอดภัยสินคาผูบริโภคกําหนด ใหผูผลิตและผูนําเขาอาหารตองติดแสดงฉลากระบุ

Page 237: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

220

สวนประกอบของอาหารที่อาจกอใหเกิดอันตรายตอผูบริโภคสามารถเทียบเคียงไดตามบทบัญญัติ

ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข ตามระเบียบสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาวาดวยการ

ดําเนินการเกี่ยวกับเลขสารบบอาหาร (ฉบับที่ 6) ขอที่ 8.4.21 บัญญัติวา “การเปลี่ยนแปลง

ขอความในการแสดงสวนประกอบที่ใชในผลิตภัณฑที่อาจกอใหเกิดภูมิแพเชนเพิ่ม/ตัด/แกไข

ขอความสารกอภูมิแพถั่วไข” ซึ่งไมมีความสัมพันธกับระบบความปลอดภัยของอาหารอยาง

แทจริง เนื่องจากในประเทศไทยบัญญัติกฎหมายบังคับโดยภาพรวมโดยทั่วๆ ไป เทานั้น

จําเปนตองใหความคุมครองผูบริโภคโดยมีการใหคําจํากัดในบทนิยามของคําวาฉลากอาหารที่

กอใหเกิดการภูมิแพอยางชัดเจนแตอยางใด เมื่อพิจารณารูปแบบการปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวของ

กับอาหารของประเทศไทยแลว พบวา การเปลี่ยนแปลงกฎหมายในดานสาระเกิดขึ้นไมมีความ

ตอเนื่อง ขณะที่สาระของกฎหมายเพื่อการบังคับจําเปนตองมีการปรับปรุงตามสถานการณใน

ปจจุบัน ที่ตองการปรับปรุงโครงสรางการบริหารและควบคุมฉลากอาหารที่กอใหเกิดการภูมิแพ ทั้ง

ระบบแตปญหาดังกลาวการเขาถึงในการรับรูสิทธิของผูบริโภคที่ไดรับความคุมครองตามกฎหมาย

ไมวาจะเปนขอมูลของผูบริโภคที่แทจริงที่ผูบริโภคสามารถตรวจสอบไดผานทางอินเตอรเน็ต หรือ

ทางการสื่อสารดานอื่นๆ ยังไมเปนรูปธรรมสามารถเขาถึงขอมูลดังกลาวไดไมงายนัก นอกจาก

หนวยงานของรัฐเทานั้นถึงแมจะมีพระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภค พ.ศ.2522 ซึ่งแกไขเพิ่มเติม

โดย (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2541 ไดคุมครองสิทธิของผูบริโภคตามกฎหมาย 5 ประการ ปรากฏตาม

มาตรา 4 ก็ยังไมสามารถตรวจสอบขอมูลไดอยางถูกตองและรวดเร็วเพื่อใหความคุมครองผูบริโภค

ได นอกจากเกิดความเสียหายตอผูบริโภคหรือผูบริโภคไดรับอันตรายจากการบริโภคอาหารที่กอใหเกิดการ

ภูมิแพกอนหนวยงานของรัฐจึงมีความกระตือรือรนดําเนินการตรวจสอบ ขอมูลผูประกอบการหรือ

ผูผลิตซึ่งในการดําเนินการลักษณะนี้จะทําใหเกิดทิศทางในการยกระดับความปลอดภัยของอาหาร

อยางเปนรูปธรรมที่เกี่ยวของกับฉลากอาหารที่กอใหเกิดการภูมิแพเปนระดับสากลมากขึ้น

หากเปรียบเทียบกับประเทศอเมริกาคณะกรรมการอาหารและยาของกระทรวง

สาธารณสุขควบคุมดูแลโฆษณาเกี่ยวกับอาหาร ยา และเครื่องสําอาง หนวยงานนี้ บางทานอาจ

เทียบเคียงกับ Food and Drug Administration (FDA) ของประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งหนวยงานนี้

ของอเมริกาเปนองคกรฝายบริหาร ขึ้นอยูกับกระทรวงสาธารณสุข อาจกําหนดกฎเกณฑเกี่ยวกับ

การโฆษณายา แตในการควบคุมโฆษณา หนวยงานนี้ทําหนาที่รวมกับ FTC โดยใหคําปรึกษา

แนะนําในเรื่องวิชาการดานอาหารและยามากกวาจะลงมือคุมโฆษณาโดยตรง

ในป ค.ศ.1962 ประธานาธิบดีจอหน เอฟเคเนดี้ ไดประกาศกฎหมายเพื่อคุมครองผูใชบัตร

เครดิตไมใหสถาบันการเงินเอาเปรียบลูกคา (Consumer’s Bill of Rights ) ขึ้นโดยมีวัตถุประสงค

จะยกระดับการใหความคุมครองสิทธิของผูบริโภคใหสูงขึ้นโดยมีองคประกอบดังนี้

Page 238: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

221

1) ที่จะเลือกซื้อสินคาตางๆ ในราคาท่ีเปนธรรม

2) สิทธิที่จะไดรับขาวสารไมวาจะเปนของผูบริโภคและผูประกอบการผูผลิตเอง

3) สิทธิจะไดรับความปลอดภัยจากการบริโภคสินคา

4) สิทธิที่จะไดรับการรับรูจากรัฐบาลในการเรียกรอง โดยเฉพาะความปลอดภัยในการ

บริโภคสินคาที่จะตองไมจํากัดประเภทสินคาที่ผูบริโภคจะไดรับความคุมครอง แตจะเปนการที่กฎ”

หมายสามารถใหความคุมครองเปนไปในลักษณะทั่วไป

ดังนั้น จะเห็นไดวา ในระบบกฎหมายหมายของสหรัฐอเมริกาผูเสียหายจากกรณีการ

บริโภคสินคาหรือบริการการใชผลิตภัณฑที่ไมปลอดภัย จึงมีสิทธิที่จะฟองเรียกคาเสียหายเปนคดี

แพงทั้งทางสัญญาและทางคดีละเมิดได แตจะมีความแตกตางกันในประเด็นความสามารถในการ

เปนโจทกสิทธิเรียกคาเสียหายและอายุความนั้นเอง

4.5 ปญหาเกี่ยวกับการบังคับลงโทษตามกฎหมายฉลากอาหารที่กอใหเกิดการภูมิแพปญหาการตรวจสอบอาหารและการบังคับลงโทษ ตามกฎหมายของอาหารที่อาจจะ

กอใหเกิดการภูมิแพ เนื่องจากการตรวจสอบและการนําไปสูการบังคับลงโทษผูประกอบการหรือ

ผูผลิตอาหารที่กอใหเกิดการภูมิแพตองใชเทคโนโลยีในระดับสูง และใชหองแล็บในการตรวจพิสูจน

ซึ่งมีอยูตามหนวยงานของรัฐ หากพิจารณาการคุมครองผูบริโภคตามพระราชบัญญัติคุมครอง

ผูบริโภค พ.ศ.2522 แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภค (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2541

กําหนดใหคุมครองผูบริโภคตามกฎหมายคุมครองเพื่อใหผูบริโภคไดรับความปลอดภัยในการใช

สินคาและการรับบริการเชนกฎหมายคุมครองผูบริโภคโดยกระทรวงสาธารณสุข พระราชบัญญัติ

หลักประกันสุขภาพแหงชาติ พ.ศ.2545 พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ.2522 พระราชบัญญัติยา

พ.ศ.2510 กฎหมายคุมครองผูบริโภค โดยกระทรวงอุตสาหกรรมพระราชบัญญัติมาตรฐาน

ผลิตภัณฑอุตสาหกรรม พ.ศ.2511 พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ.2535 เปนตน

ผูวิจัยเห็นวาหากผูบริโภคถูกละเมิดสิทธิหรือไมไดรับความเปนธรรมจากการบริโภคอาหาร

ที่กอใหเกิดการอันตรายจากการใชสินคาหรือบริการตามกฎหมายฉลากอาหารที่กอใหเกิดการ

ภูมิแพผูบริโภคยอมไดรับความคุมครองตามกฎหมายโดยผูบริโภคสามารถรองเรียนไดที่สํานักงาน

คณะกรรมการคุมครองผูบริโภค หรือหนวยงานที่เกี่ยวของ ซึ่งเมื่อสํานักงานคณะกรรมการ

คุมครองผูบริโภคไดรับแจงเรื่องรองเรียนแลวจะเรียกใหคูกรณีมาเจรจาไกลเกลี่ยเพื่อระงับขอ

พิพาทและชดใชคาเสียหาย ซึ่งหากไมสามารถเจรจาไกลเกลี่ยตกลงกันไดคณะกรรมการคุมครอง

ผูบริโภคก็มีอํานาจในการดําเนินคดีแทนผูบริโภคซึ่งพระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภค พ.ศ.2522

แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภค (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2541 ตามมาตรา 39 ไดให

อํานาจอํานาจในการดําเนินคดีแทนผูบริโภคเพื่อฟองเรียกทรัพยสินหรือคาเสียหายใหแกผูบริโภคที่

Page 239: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

222

ถูกละเมิดสิทธิจากการใชสินคาและการรับบริการโดยผูบริโภคไมตองเสียคาใชจายใดๆ ในการ

ดําเนินคดีรวม ทั้งยังมีสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.)ที่มีอํานาจในการดําเนินการ

ประกอบกับการคุมครองอาหารที่กอใหเกิดภูมิแพตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 367)

พ.ศ.2557 เรื่องการแสดงฉลากของอาหารในภาชนะบรรจุแมจะปรากฏและสื่อความหมายวาดวย

การใหความสําคัญกับอาหารที่กอใหเกิดการภูมิแพ กลาวคือ

ขอ 4 “การแสดงฉลากของอาหารในภาชนะบรรจุที่ผลิตเพื่อจําหนายนําเขาเพื่อจําหนาย

หรือที่จําหนายตองแสดงขอความเปนภาษาไทยและอยางนอยจะตองมีขอความแสดงรายละเอียด

ดังตอไปนี้เวนแตสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาจะยกเวนใหไมตองระบุขอความหนึ่ง

ขอความใด(6) ขอความวา “ขอมูลสําหรับผูแพอาหาร : ม ี….” กรณีมีการใชเปนสวนประกอบของ

อาหารหรือ “ขอมูลสําหรับผูแพอาหาร : อาจม…ี” กรณีมีการปนเปอนในกระบวนการผลิตแลวแต

กรณี (ความที่เวนไวใหระบุประเภทหรือชนิดของสารกอภูมิแพหรือสารที่กอภาวะภูมิไวเกิน) โดย

ขนาดตัวอักษรตองปฏิบัติตามขอ14 (3) และสีของตัวอักษรตัดกับสีพื้นของฉลาก ขนาดตัวอักษร

ตองไมเล็กกวาขนาดตัวอักษรที่แสดงสวนประกอบ และแสดงไวที่ดานลางของการแสดง

สวนประกอบประเภทหรือชนิดของอาหารตามวรรคหนึ่ง ซึ่งเปนสารกอภูมิแพหรือสารที่กอภาวะ

ภูมิไวเกินไดแก

(6.1) ธัญพืชที่มีสวนประกอบของกลูเตนไดแกขาวสาลีไรนบารเลยโอตสเปลทหรือสาย

พันธุลูกผสมของธัญพืชดังกลาวและผลิตภัณฑจากธัญพืชที่มีสวนประกอบของกลูเตนดังกลาว

(6.2) สัตวน้ําที่มีเปลือกแข็งเชนปูกุง กั้ง ลอบเสตอร เปนตน และผลิตภัณฑจากสัตวน้ําที่มี

เปลือกแข็ง

(6.3) ไขและผลิตภัณฑจากไข

(6.4) ปลาและผลิตภัณฑจากปลา

(6.5) ถั่วลิสงถั่วเหลืองและผลิตภัณฑจากถั่วลิสงถั่วเหลือง

(6.6) นมและผลิตภัณฑจากนมรวมถึงแลคโตส

(6.7) ถั่วที่มีเปลือกแข็งและผลิตภัณฑจากถั่วที่มีเปลือกแข็ง เชน อัลมอนตวอลนัทพีแคน

(6.8) ซัลไฟตที่มีปริมาณมากกวาหรือเทากับ 10 มิลลิกรัม ตอกิโลกรัมทั้งนี้ความใน (6) ไม

รวมถึงอาหารที่มีสารกอภูมิแพหรือสารที่กอภาวะภูมิไวเกินเปนสวนประกอบที่สําคัญและมีการ

แสดงชื่ออาหารที่ระบุชื่อสารกอภูมิแพหรือสารที่กอภาวะภูมิไวเกินไวชัดเจนแลวเชนน้ํานมโคสดถั่ว

ลิสงอบกรอบ....” เปนตน

เมื่อพิจารณาบทบ ัญ ญัต ิข องกฎหมายที ่อ อกมาบังค ับ เกี ่ยวข องก ับฉลากไมมี

ความสัมพันธกับระบบความปลอดภัยของอาหารอยางแทจริง เนื่องจากในประเทศไทยอาจ

เลือกที่จะกําหนดกฎหมายที่บัญญัติอธิบายขอบเขตการบังคับใช

Page 240: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

223

ไวในภาพรวมโดยทั่วไปเทานั้น เพื่อเปดโอกาสใหหนวยงานที่รับผิดชอบสามารถใชอํานาจ

ภายใตกฎหมายไดอยางเปนอิสระ และทันกับสถานการณ ผูประกอบการรวมทั้งหนวยงานของ

รัฐที่เกี่ยวของ จําเปนตองใหความคุมครองผูบริโภคโดยไมมีบทบัญญัติกฎหมายวาดวยการลงโทษ

หากผูบริโภคไดรับความเสียหายจากการบริโภคอาหารอาหารที่กอใหเกิดการภูมิแพอยางชัดเจน

ซึ่งในการดําเนินการลักษณะนี้จะทําใหเกิดทิศทางในการยกระดับความปลอดภัยของอาหารอยาง

เปนรูปธรรมกฎหมายที่เกี่ยวของกับฉลากอาหารที่กอใหเกิดการภูมิแพเปนระดับสากลมมากขึ้น

ทั้งนี้หากพิจารณาการกําหนดหลักการเกี่ยวกับอายุความเพื่อการลงโทษตามแนวคิด

ทฤษฎีวาดวยการลงโทษที่จะตองเปนไปโดยเสมอภาค หมายความวา การลงโทษบุคคลผูกระทํา

ความผิดในฐานใดฐานหนึ่งจะตองกระทําโดยไมเลือกปฏิบัติไมวาผูนั้นจะมีความแตกตางกันใน

ฐานะ ตามกฎหมาย ฉลากอาหารที่กอใหเกิดการภูมิแพซึ่งการใชสิทธิเรียกรองกรณีที่ความ

เสียหายเกิดขึ้นโดยผลของการสะสมอยูในรางกาย หรือตองใชเวลาในการแสดงอาการ นอกจาก

การนําหลักความรับผิดโดยเครงครัด (Strict liability) มาใชบังคับซึ่งแตกตางจากกระบวนการทาง

ศาลแพง อาญาทั่วไป กลาวคือเมื่อผูบริโภคเกิดความเสียหาย อันเนื่องมาจากการใชสินคาที่ไม

ปลอดภัยเกิดขึ้นมาตรา 125 “สิทธิเรียกรองคาเสียหายอันเกิดจากสินคาที่ไมปลอดภัยตาม

พระราชบัญญัตินี้ เปนอันขาดอายุความเมื่อพนสามปนับแตวันที่ผูเสียหายรูถึงความเสียหายและ

รูตัวผูประกอบการที่ตองรับผิดหรือเมื่อพนสิบปนับแตวันที่มีการขายสินคานั้นในกรณีที่ความ

เสียหายเกิดขึ้นตอชีวิตรางกายสุขภาพหรืออนามัยโดยผลของสารที่สะสมอยูในรางกายของ

ผูเสียหายหรือเปนกรณีที่ตองใชเวลาในการแสดงอาการผูเสียหายหรือผูมีสิทธิฟองคดีแทนตาม

มาตรา 10 ตองใชสิทธิเรียกรองภายในสามปนับแตวันที่รูถึงความเสียหายและรูตัวผูประกอบการที่

ตองรับผิดแตไมเกินสิบปนับแตวันที่รูถึงความเสียหาย” ดานอายุความที่ผูบริโภคจะใชสิทธิฟองรอง

ไดนั้น ปกติการฟองรองเรียกคาเสียหายทางคดีแพงมักจะมีอายุความเพียงแค 1 ป ซึ่งในการ

ดําเนินคดีเพื่อเรียกรองคาเสียหายจากผูกอมลพิษกฎหมายพื้นฐานที่ใชเปนหลักในการดําเนินคดี

ไดแกหลักละเมิดตามมาตรา 420 แหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย ซึ่งบัญญัติวา “ผูใดจงใจ

หรือประมาทเลินเลอทําตอบุคคลอื่นโดยผิดกฎหมายใหเขาเสียหายถึงแกชีวิตก็ดีแกรางกายก็ดี

เสรีภาพก็ดีทรัพยสินหรือสิทธิอยางหนึ่งอยางใดก็ดีทานวาผูนั้นทําละเมิดจําตองชดใชคาสินไหม

ทดแทนเพื่อการนั้น” ซึ่งเปนหลักการพื้นฐานของการฟองรองดําเนินคดีทางแพงของผูที่ไดรับความ

เสียหาย กฎหมายลักษณะละเมิดนี้มุงคุมครองบุคคลมิใหถูกลวงสิทธิผิดหนาที่จากการกระทํา ของ

บุคคลอื่นความรับผิดตามหลักละเมิดมีพื้นฐานอยูบนความผิดที่ เกิดจากความชั่วรายในใจ

(Liability based on fault) ของผูกระทําไมวาจะกระทําโดยจงใจหรือประมาทเลินเลอก็ตาม ตาม

5 พระราชบัญญัติ ความรับผิดตอความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินคาที่ไมปลอดภัย พ.ศ. 2551

Page 241: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

224

ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง ไดกําหนดหลักในการนําสืบตอศาลไววา “ผูใดกลาวอางผู

นั้นตองพิสูจน” ดังนั้นการพิสูจนวาจําเลยมีความรับผิด ตามกฎหมายลักษณะละเมิดจึงมีประเด็น

ที่ผูเสียหายหรือโจทกตองนําสืบตอศาลหรือพิสูจนใหเปนที่ประจักษแกศาลคือ6

(1) จําเลยไดกระทําโดยจงใจหรือประมาทเลินเลอหรือไม

(2) การกระทําของจําเลยเปนเหตุใหเกิดความเสียหายแกโจทกหรือไม

(3) ความเสียหายที่โจทกไดรับมีมากเพียงใด

(4) โจทกควรไดรับคาเสียหายเพียงใด

ปญหาการฟองรองผูใชหรือผูที่ไดรับอันตรายจากสินคาที่บริโภคนั้น กฎหมายที่สามารถนํา มาปรับใชไดแกกฎหมายละเมิดซึ่งผูบริโภครายสุดทายหรือผูบริโภคที่ไดรับอันตรายจากสินคาจะตองพิสูจนวาความเสียหายนั้นเกิดจากความประมาทเลินเลอ ซึ่งหนาที่นําสืบหรือภาระการพิสูจนตกอยูกับโจทกตามหลักประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง แตปญหานั้นมักเกิดขึ้นจากผูบริโภคเปนผูมีฐานะทางเศรษฐกิจที่ไมสามารถฟองผูบริโภคใหไดรับเยียวยาความเสียหายไดอยางเต็ม โดยไมมีเงินทุนจางทนายความแกตางคดีที่มีความเชี่ยวชาญ เพื่อฟองคดีหากโจทกไมสามารถพิสูจนใหศาลเห็นตามที่ตนกลาวอางขึ้นมา ก็จะอยูในฐานะของผูแพคดี ซึ่งนั้นก็หมายความวาไมสามารถเรียกรองคาเสียหายไดรวมทั้งปรากฏผลความเสียหาย ที่จําเปนตองใชระยะเวลายาวนาน ในและการแสดงผลแหงความเสียหายที่เกิดขึ้นนั้นเอง ประเด็นที่นาพิจารณาประการหนึ่ง ก็คือจํานวนคาเสียหายที่ศาลจะกําหนดเพื่อเยียวยาความเสียหายอันมิใชตัวเงินการกําหนดคาเสียหายยังไมปรากฏหลักเกณฑที่ชัดเจนเพียงพอจึงทําใหจํานวนคาเสียหายอาจไมมีความแนนอนและหากเทียบกับผลกระทบที่ผูเสียหายไดรับแลวอาจมองไดวา ยังหางไกลจากความเสียหายถึงแมพระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภค พ.ศ.2522 ไดแก มาตรา 30 ซึ่งการกําหนดฉลากของสินคาจะเปนประโยชนแกผูบริโภคในการที่จะทราบขอเท็จจริงเกี่ยวกับสินคาที่ชัดเจนขึ้น เชน ทราบชื่อสินคา ประเภทผูผลิต วิธีใช คําแนะนํา คําเตือน ราคา และวันเดือนปที่ผลิต เปนตนแตหากสินคาดังกลาวไมเปนสินคาควบคุมฉลาก ใหคณะกรรมการวาดวยฉลากมีอํานาจกําหนดใหสินคานั้นเปนสินคาที่ควบคุมฉลาก ซึ่งจะเรงรัดใหมีการออกประกาศใหการผลิตอาหารที่อาจจะกอใหเกิดการภูมิแพเปนสินคาควบคุมฉลากและมีผลบังคับในเร็วๆ นี้ในขณะที่ยังไมมีผลบังคับตามกฎหมาย โดยมีแนวคิดในการลงโทษวาหากยังมีการฝาฝน ผูผลิตเพื่อขาย ผูสั่งหรือนําเขามาเพื่อขายในราชอาณาจักรจะมีโทษจําคุกไมเกิน 1 ป ปรับไมเกิน 100,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ ขณะเดียวกันผูจําหนายสินคาที่ควบคุมฉลาก แตไมจัดใหมีฉลากหรือมีฉลากที่ไมถูกตองมีโทษจําคุกไมเกิน 6 เดือน ปรับไมเกิน 50,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ

6 มานิตย จุมปา,คําอธิบายกฎหมายความรับผิดตอความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินคาที่ไมปลอดภัย.

กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย,ป 2554,หนา 20.

Page 242: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

225

ทั้งนี้หากพิจารณาแลวเปนเพียงโทษทางอาญาตามพระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภค พ.ศ.2522 โดยหลักการคุมครองผูบริโภคโดยทั่วๆ ไปซึ่งเปนการลงโทษไมรุนแรงเมื่อเทียบกับรายไดของผูประกอบการทําใหไมเกิดความเกรงกลัวแตอยางใด เชนตามมาตรา 52 อีกทั้งการโฆษณาขายสินคาทั้งที่ฉลากอาหารที่ไมไดระบุคุณสมบัติตามที่ผูจําหนายกลาวอางหลอกใหผูบริโภคหลงเชื่อ เขาขายการหลอกลวงผูบริโภคใหหลงเชื่อในแหลงกําเนิดสภาพ คุณภาพหรือปริมาณแหงของนั้น ถาการกระทํานั้นไมเปนความผิดฐานฉอโกงตองระวางโทษจําคุกไมเกิน 3 ป ปรับไมเกิน 6,000

บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ ซึ่งเปนมาตรการที่ควบคุมอาหารโดยทั่ว ๆไปเทานั้นในสวนพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ.2522 มีรายละเอียดการดําเนินการลงโทษทางอาญา

ผูวิจัยขอยกตัวอยางมาตรา 25 อาทิเชน มาตรา 58 ผูใดฝาฝนมาตรา 25 (1) ตองระวางโทษจําคุก

ไมเกินสองปหรือปรับไมเกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ

มาตรา 59 ผูใดฝาฝนมาตรา 25 (2) ตองระวางโทษจําคุกตั้งแตหกเดือนถึงสิบป และ

ปรับตั้งแตหาพันบาทถึงหนึ่งแสนบาท

มาตรา 60 ผูใดฝาฝนมาตรา 25 (3) ตองระวางโทษปรับไมเกินหาหมื่นบาทและมาตรา 61

ผูใดฝาฝนมาตรา 25 (4) ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหาป หรือปรับไมเกินหาหมื่นบาท หรือทั้งจํา

ทั้งปรับเปนตน

หากพิจารณากฎหมายของประเทศอเมริกา Labeling and Consumer Protection Act of

2004 มีการบัญญัติกําหนดบทลงโทษวาดวยการบริโภคอาหารที่อาจจะกอใหเกิดภูมิแพอยาง

ชัดเจนกลาวคือ บทลงโทษวาดวยการดําเนินการเพื่อการลงโทษผูผลิตสินคาที่ไมปฏิบัติตาม

ระเบียบดังกลาวถือวามีความผิดทั้งทางแพงและทางอาญาโดย FDA มีอํานาจรองขอใหมีการ

กักกันสินคาที่ปดฉลากผิดระเบียบไดรวมถึงการกําหนดใหมีการเรียกคืนผลิตภัณฑสินคา (Recall) 7โดยผูผลิตหรือผูจัดจําหนายแลวแตกรณีดวย เปนตน8

ในขณะที่กฎหมายของประเทศญี่ปุนยังปรากฏกฎหมายสืบยอนกลับแหลงที่มาของ

ผลิตภัณฑ (Food Traceability Law) กฎหมายการสืบยอนกลับแหลงที่มาของผลิตภัณฑทําให

ผูบริโภคสามารถตรวจสอบถึงที่มาของแหลงอาหารนั้นๆ ไดกอนการเลือกซื้อหรือบริโภคซึ่งเปนการ

7 Labeling and Consumer Protection Act of 2004.(SEC. 204. Report On Food Allergens)

(5) (C) the number of voluntary recalls, and their classifications, of foods containing

undeclared major food allergens; and

(6) assesses the extent to which the Secretary and the food industry have effectively

addressed cross-contact issues.8 Food Allergen Labeling and Consumer Protection Act of 2004 Public Law 108-282 “VII.

Section 204(5)(C): Allergen Recalls Section 204(5)(C).

Page 243: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

226

ลดความเสี่ยงไดอยางมากอีกทางหนึ่ง เชน กระทรวงเกษตร ปาไมและประมงของญี่ปุนมีการ

บังคับใชกฎหมายการสืบยอนกลับกับผลิตภัณฑเนื้อวัว (Beef Traceability Law) ในป ค.ศ.2003

หลังจากการระบาดของโรควัวบาทั่วโลกและพบการระบาดครั้งแรกในญี่ปุนเมื่อป ค.ศ.2001 ซึ่ง

สรางความวิตกกังวลตอผูบริโภคญี่ปุนที่นิยมบริโภคเนื้อวัวอยางมาก กฎหมายดังกลาวกําหนดให

วัวทุกตัวตองมีหมายเลขประจําตัว 10 หลักเพื่อใชสืบยอนกลับถึงแหลงที่มา กําหนดใหมีการบันทึก

ขอมูลครอบคลุมตั้งแตขั้นตอนการผลิตจากฟารมจนถึงขั้นตอนการบริโภค สามารถลงโทษผูผลิต

อาหารที่ไมมีคุณภาพไดยอนหลังไดเปนตน

Page 244: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

บทที่ 5

ขอสรุปและขอเสนอแนะ

5.1 ขอสรุปหลักปฏิกิริยาภูมิแพอาหารมักเกิดจากอาหารหลายชนิดโดยมีธัญพืชบางชนิด เชน ถั่วลิสง ถั่ว

เหลือง ขาวสาลีและบัควีท รวมทั้งอาหารสําเร็จรูปชนิดตางๆ ซึ่งจัดอยูในกลุมที่บังคับใหแสดงฉลาก

ตามกฎระเบียบของประเทศในเครือสหภาพยุโรป ญี่ปุน อเมริกา แคนาดา และเนื่องจากการแสดง

ฉลากชวยใหผูบริโภคสามารถหลีกเลี่ยงอาหารที่กอใหเกิดภูมิแพได ซึ่งจะตองบอกปริมาณใหชัดเจน

และหามมีปริมาณนอยกวาความเปนจริง เนื่องจากหากประเทศคูคาตรวจพบจะทําการตีกลับสินคา

เหลานี้ทันที อยางไรก็ตาม ประเทศไทยยังไมมีกฎหมายคุมเขมในลักษณะ ซึ่งเกี่ยวของกับมาตรการ

ทางกฎหมายในการบังคับใหมีขอความเตือนภัยจากโรคภูมิแพลงไวในฉลากอาหารสําเร็จรูปของ

ผูบริโภคทําใหอาหารบางชนิดอาจมีสวนประกอบของสารกอภูมิแพในปริมาณที่มากเกินที่กําหนด และ

เสี่ยงตอการสั่งหามสงออกผลิตภัณฑอาหารได นอกจากนั้นจะเปนการแพอาหารเฉพาะกลุมใน

ประเทศนั้น ๆ ที่นิยมรับประทานเชนถั่วลิสงในตางประเทศประเทศเปนตน

กลไกการเกิดอาการแพอาหารเกิดจากโปรตีนที่เปน Allergen1ที่ถูกยอยที่ลําไสเล็กแลวจากนั้น

สาร Allergen จะไปจับกับ ICEReceptor ทําใหมีการหลั่งสารตาง ๆ ทางเม็ดเลือดขาวออกมาคนไขจึง

เกิดอาการแพความรุนแรงของการแพอาหารสรุปไดดังนี้2

1) อาการแพถั่วลิสงจะหายใจไมออกและช็อกอาจตายได

2) อาการแพนมวัวพบในเด็กทารกมีลักษณะเปนผื่นขึ้นตามตัวเปนลมพิษตัวแดงและทองเสีย

เรื้อรัง

3) การแพแบบ Multiple Food Allergy จะมีอาการตัวบวมและมีการรั่วของโปรตีนทาง

ปสสาวะและลําไสอุจจาระเปนเลือดและช็อก

4) การแพอาหารทะเลจะมีอาการตาบวมปากบวมและหายใจไมออก

1นพ.ไพบูลย เอกแสงศรี. แพอาหาร ที่แทนั้นเปนอยางไร. HealthToday 4 (39; 2547) หนา

32-34.2วิภา สุโรจนะเมธากุล, ภูมิแพอาหาร , นวัตกรรมอาหารสรางคุณคาสานเศรษฐกิจไทย

(กันยายน 2551),หนา 46.

Page 245: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

228

จากการศึกษาการบังคับใชในดานกฎหมายเมื่อศึกษาประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่

367 พ.ศ.2543 ขอ 4 แมจะมีการกําหนดขอความวา “ขอมูลสําหรับผูแพอาหาร” ที่ยังไมมีความชัดเจน

และไมควบคุมรวมฉลากอาหารที่กอใหเกิดภูมิแพตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข(ฉบับที่ 367)

พ.ศ.2557 เรื่องการแสดงฉลากของอาหารในภาชนะบรรจุ มีการบัญญัติบทนิยามเฉพาะ“สารกอ

ภูมิแพ” ไมมีการบัญญัติบทนิยามคําวาฉลากอาหารที่กอใหเกิดภูมิแพแตอยางใดทั้งไมปรากฏ

บทลงโทษหากผูประกอบการไมปฏิบัติตามประกาศดังกลาวเพื่อใหเกิดความชัดเจนและคุมครอง

ผูบริโภคอยางเปนธรรมรวมไปถึง ระเบียบสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาวาดวยการ

ดําเนินการเกี่ยวกับเลขสารบบอาหาร(ฉบับที่ 6) 8.4.21 การเปลี่ยนแปลงขอความในการแสดง

สวนประกอบที่ใชในผลิตภัณฑที่อาจกอใหเกิดภูมิแพเชนเพิ่ม/ตัด/แกไข ขอความสารกอภูมิแพถั่วไข

เปนตนประกอบกับพระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภค พ.ศ.2522 และพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ.

2522 มาตรา 4 ไดใหความหมายไปในทางเดียวกันกลาวคือ เรื่องฉลากอาหาร ใหคํานิยามของฉลาก

อาหารวาคือ รูป รอยประดิษฐ เครื่องหมาย หรือขอความใด ๆ ที่แสดงไวที่อาหาร ภาชนะบรรจุ หรือหีบ

หอของภาชนะที่บรรจุอาหาร (รวมถึงแผนพับและฉลากคอขวด) โดยกําหนดใหอาหารทุกชนิดที่ผูผลิต

ไมไดเปนผูขายอาหารนั้นใหกับผูบริโภคโดยตรง ตองแสดงฉลากบนภาชนะบรรจุ ขอมูลที่แสดงบน

ฉลากอาหารนั้น ซึ่งฉลากอาหารที่อยูบนภาชนะบรรจุอาหารโดยทั่วไปนั้น จะมีขอมูลพื้นฐานเกี่ยวกับ

สวนประกอบของอาหาร และคุณคาทางโภชนาการ เพื่อชวยใหผูบริโภคเลือกซื้อไดอยางมั่นใจวาเปน

อาหารที่เหมาะสมตรงตามความตองการ คุมราคา อาหารที่ไดมาตรฐานจะมีฉลากที่ไดรับอนุญาตจาก

สํานักงานมาตรฐานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) กระทรวงสาธารณสุข

นอกจากนั้นขอมูลที่สําคัญบนฉลากอาหารที่ผูบริโภคควรใหความสนใจในการเลือกซื้อ

ผลิตภัณฑอาหารใหปลอดภัย คือ วันที่ผลิต/หมดอายุ และเครื่องหมาย อย. ซึ่งประกอบดวยเลข อย.

หรือเลขสารบบอาหาร ที่เปรียบเสมือนลายนิ้วมือของผลิตภัณฑอาหาร เลขสารอาหารประกอบดวย

ตัวเลข 13 หลัก แบงเปน 5 กลุม โดยเลข 8 หลักแรกแสดงถึงขอมูลของผูผลิตหรือผูนําเขาอาหาร เชน

จังหวัด ที่ตั้ง สถานะ และเลขที่ 5 หลักหลัง แสดงถึงขอมูลที่เกี่ยวของกับผลิตภัณฑ เชน หนวยงานที่

เปนผูออกเลขสาระบบใหผลิตภัณฑนั้น ๆ ทําใหการแสดงฉลากสินคาอาหารที่มีขอมูลเพียงพอและ

ถูกตองของสารกอภูมิแพ จะชวยลดความเสี่ยงของการเกิดโรคภูมิแพที่มีผลตอความเปนอยูของ

ประชากรในประเทศได ถึงแมจะมีมาตรการทางกฎหมายใชบังคับในพระราชบัญญัติ คุมครองผูบริโภค

Page 246: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

229

พ.ศ.2522 พระราชบัญญัติ สินคาไมปลอดภัย พ.ศ.25513กฎหมายที่เกี่ยวของกับฉลากระเบียบ

สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาวาดวยการดําเนินการเกี่ยวกับเลข สารบบอาหาร (ฉบับที่ 6)

ขอ 8.4.21 การเปลี่ยนแปลงขอความในการแสดงสวนประกอบที่ใชในผลิตภัณฑที่อาจกอใหเกิดภูมิแพ

เชนเพิ่ม/ตัด/แกไขขอความสารกอภูมิแพถั่วไขเปนตนและกฎหมายอื่น ๆ ที่เกี่ยวของรวมไปถึงกฎหมาย

ตางประเทศวาดวยฉลากอาหารที่กอใหเกิดภูมิแพซึ่งยังไมมีความชัดเจนในการบังคับใชกฎหมาย

กอใหเกิดการคุมครองผูบริโภคดังกลาวเชนกัน ในขณะที่ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 182 )

พ.ศ.2541 เรื่องฉลากโภชนาการตามขอ1-ขอ 6 ไดบัญญัติบทนิยามความหมายของฉลากอาหารที่มี

การแสดงขอมูลคุณคาทางโภชนาการของผลิตภัณฑอาหารนั้น ๆ โดยระบุชนิดและปริมาณสารอาหาร

ในกรอบขอมูลโภชนาการตามรูปแบบเงื่อนไขที่กําหนด โดยอาจมีขอความกลาวอางทางโภชนาการ

เชน แคลเซียมสูง เสริมวิตามินซี ดวยหรือไมก็ได ขอมูลที่ตองระบุในกรอบขอมูลโภชนาการแบงเปน 3

กลุมใหญๆ ไดแก4

1) หนวยบริโภค ซึ่งหมายถึงปริมาณของผลิตภัณฑนั้น ๆ ที่ผูผลิตแนะนําใหบริโภคในแตละ

ครั้ง และจํานวนหนวยบริโภคในภาชนะบรรจุนั้น เชน จํานวนหนวยบริโภคตอซอง

2) ชนิด และปริมาณสารอาหารที่ไดรับจากการบริโภคในปริมาณหนึ่งหนวยบริโภค และ

เปรียบเทียบเปนอัตราสวนรอยละของปริมาณที่แนะนําตอวัน ทั้งนี้สารอาหรที่กําหนดใหแสดงขอมูล

เปนสารอาหารที่มีความสําคัญตอสุขภาพของคนไทย ไดแก

(1) พลังงาน ทั้งปริมาณพลังงานทั้งหมด และปริมาณพลังงานที่ไดจากไขมัน

(2) ปริมาณสารอาหารที่รายกายตองการในปริมาณมาก ไดแก คารโบไฮเดรต ไขมัน

ทั้งหมด และโปรตีน รวมถึงใยอาหาร5

3 พระราชบัญญัติความรับผิดตอความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินคาที่ไมปลอดภัย พ.ศ. 2551

กฎหมายฉบับดังกลาวไมไดใหคําอธิบายความหมายของคําวา “ผูบริโภค” อยางชัดเจนแตหาก

ผูบริโภครับประทานเขาไปก็อาจจะมีอันตรายตอสุขภาพและกอใหเกิดความเสียหายตอผูบริโภค

เทานั้นไมไดกลาวเฉพาะจงฉลากอาหารที่กอใหเกิดการภูมิแพ4 ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 182 ) พ.ศ.2541 เรื่องฉลากโภชนาการขอ1 และขอ 6.5 กองพัฒนาศักยภาพผูบริโภคสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา,ฉลากโภชนาการอาน

ใหเปนเห็นประโยชน, (คูมือ) ป 2551.หนา 10.

Page 247: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

230

(3) วิตามินและแรธาตุ โดยเฉพาะ วิตามินเอ วิตามินบี1 วิตามินบี2 แคลเซียม และ

เหล็ก

(4) สารอาหารที่ตองระวังปริมาณการบริโภค ไดแก โคเลสเตอรอล โซเดียม ไขมัน

อิ่มตัว และน้ําตาล

(5) สารอาหารที่มีการเติมลงในอาหาร เชน ไอโอดีน สําหรับผลิตภัณฑเสริมไอโอดีน

(6) สารอาหารที่มีการกลาวอาง เชน ใยอาหาร สําหรับอาหารที่ระบุวามีใยอาหารสูง

(7) ปริมาณสารอาหารตาง ๆ ที่แนะนําใหบริโภคตอวันสําหรับคนไทย

ปจจุบันมีการบังคับใหมีการแสดงฉลากโภชนาการเฉพาะกับผลิตภัณฑอาหารบางชนิดเทานั้น

ไดแก

1) อาหารที่มีการกลาวอางคุณคาทางโภชนาการ

2) อาหารที่มีการใชคุณคาทางโภชนาการในการสงเสริมการขาย ทั้งนี้จะตองไมระบุในเชิง

สรรพคุณในการรักษาโรค

3) อาหารที่ระบุกลุมผูบริโภคในการสงเสริมการขาย

4) อาหารควบคุมเฉพาะและอาหารกําหนดคุณภาพมาตรฐาน ซึ่งตองยื่นขออนุญาตจาก

สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา6ก็ยังไมมีการบัญญัติอันเกี่ยวกับลักษณะที่เกี่ยวของกับฉลาก

กอใหเกิดภูมิแพแตอยางใด

ทั้งนี้จากสถานการณภูมิแพอาหารที่ทวีความรุนแรงและมีความหลากหลายมากยิ่งขึ้น ทําให

หลายประเทศใหความสําคัญ การติดฉลากอาหารที่อาจกอใหเกิดภูมิแพของตางประเทศประเทศที่เปน

คูคาสําคัญของประเทศไทยกลาวคือ

ประเทศสหรัฐไดออกระเบียบฉบับใหมวาดวยการติดฉลากอาหารกอภูมิแพ รัฐบัญญัติวาดวย

สารกอภูมิแพอาหารติดฉลาก และการคุมครองผูบริโภค พ.ศ.2004 The Food Allergen Labeling

and Consumer Protection Act 2004 เนื่องจากประชากรประมาณ 2 เปอรเซ็นตของผูใหญและ 5

เปอรเซ็นตของเด็ก ในสหรัฐอเมริกาเปนภูมิแพอาหารบางชนิด โดยในแตละปมีผูปวยเสียชีวิตปละ 150

คน ดังนั้นจึงไดมีการกําหนดชนิด/กลุม อาหารกอภูมิแพ 8 ชนิด ที่ตองติดฉลากระบุคือ นม ไข ปลา

6 คูมือ,แนวทางการตั้งชื่ออาหารจัดทําฉลากอาหารและฉลากโภชนาการศูนยบริการ

ผลิตภัณฑสุขภาพเบ็ดเสร็จ,กลุมงานคุมครองผูบริโภคและเภสัชสาธารณสุข,สํานักงานสาธารณสุข

จังหวัดนครปฐม,กระทรวงสาธารณสุข,16 มกราคม 2558, หนา 5.

Page 248: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

231

สัตวน้ําไมมีกระดูกสันหลังที่มีเปลือก เชน กุง กั้ง ปู เมล็ดถั่ว ประเภทพืชยืนตน (Tree nuts ) เชน ถั่วอัล

มอนด พีแคนนัท หรือ วอลนัท ถ่ัวลิสง เมล็ดขาวสาลี ถั่วเหลือง โดยจะตองติดฉลาก คําวา “contains”

อยูหนาชื่อชนิดของอาหารกอภูมิแพ และใชชื่อธรรมดาสามัญ (Common or usual name) ของสินคา

นั้นๆ ที่ผูบริโภคทั่วไปรูจัก โดยชื่ออาหารกอภูมิแพจะตองพิมพในขนาดตัวอักษรที่ไมเล็กไปกวาชื่อของ

สวนประกอบอาหาร ( Food ingredient ) ใหใชขนาดตัวอักษรที่มีขนาดใหญอยางนอย 1/16 นิ้ว

(ความสูงเทียบจากอักษร O) กฎหมายมีผลบังคับใชตั้งแตวันที่ 1 มกราคม 2549 เปนตนไป

นอกจากนี้ อาหารที่ผานการแปรรูปและมีสวนผสมของ food allergen ดังกลาว จะตองติด

ฉลากวา “contains” อยูที่หนาชนิดของ food allergen และใหใชชื่อสามัญ (common or usual

name) ของสินคานั้นๆ ที่เปนที่รูจักทั่วไปของผูบริโภค โดยใหพิมพตอเนื่องกัน และชื่อ food allergen

จะตองพิมพในขนาดตัวอักษรที่ไมเล็กกวาชื่อของสินคานั้นๆ สําหรับการติดฉลากอาหารที่มีชื่อตรงกับ

ชนิดของ food allergen ใหระบุชนิดของอาหารโดยละเอียด ในกรณีของถั่วประเภท tree nut ใหระบุ

specific types กรณีสัตวน้ําและสัตวน้ําชนิดมีเปลือก ใหระบุ species และกรณีอาหารที่ใสสารปรุง

แตงที่มีสวนประกอบทํามาจาก food allergen ก็ตองระบุเชนกัน ทั้งนี้ ยกเวน น้ํามันแปรรูปขั้นสูง

(highly refined oil) ที่ทํามาจากอาหารทั้ง 8 ชนิด ไมตองติดทั้งนี้เมื่อทําการพิจารณาการดําเนินการ

และการตรวจสอบสินคาอาหารที่อาจกอใหเกิดการภูมิแพ พบวา มีการกําหนดหนวยงานที่ทําหนาที่

รับผิดชอบและมีระบบการสุมตรวจสอบสินคาอาหารชัดเจนตลอดจนมีการดําเนินการบังคับใช

กฎหมายอยางเขมงวดมุงเนนขั้นตอนการปองกันและใหความคุมครองผูบริโภคและไมใหสินคาที่การ

ปนเปอนออกมาจําหนายยังทองตลาด หากเกิดเหตุการณที่สงผลกระทบ/ผลเสียตอผูบริโภคผลกระทบ

มีมาตรการในการดําเนินการเยียวยาความเสียหายรวมทั้งบทลงโทษผูผลิตสินคาที่ไมปฏิบัติตาม

ระเบียบดังกลาว ถือวามีความผิดทั้งทางแพงและทางอาญาโดย FDA มีอํานาจรองขอใหมีการกักกัน

สินคาที่ปดฉลากผิดระเบียบไดรวมถึงการกําหนดใหมีการเรียกคืนผลิตภัณฑสินคา (Recall) โดยผูผลิต

หรือผูจัดจําหนายแลวแตกรณีดวย เปนตนทําใหผูประกอบการตองทําการศึกษารายละเอียดของ

กฎหมายความปลอดภัยของสินคาอาหารของประเทศตางๆ ใหเขาใจและดําเนินการใหสอดคลอง

เปนไปตามที่กฎหมายกําหนดโดยกฎหมายดังกลาวมีผลบังคับใชตั้งแตวันที่ 1 ม.ค.2549 เปนตนไป

หมายเหตุ : ถึงแมวาสหรัฐอเมริกาไมไดระบุซัลเฟอรไดออกไซด (Sulphurdioxide) หรือซัล

ไฟต ( Sulfite ) เปนอาหารกอภูมิแพ ซึ่งแตกตางจากของสหภาพยุโรป อยางไรก็ตามในระเบียบการติด

ฉลากทั่วไปของสหรัฐอเมริกา หากมีซัลเฟอรไดออกไซดหรือซัลไฟตเกิน 10 ppm ตองระบุในฉลาก เชน

Page 249: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

232

ระบุในสวนประกอบอาหาร (เชน Wheat, Corn starch (contains sulphurdioxide as processing

aid รอยละ 0.005 เปอรเซ็น) หรือใตฉลากโภชนาการ (Nutrition Facts Panel)

ประเทศแคนาดาตั้งแต วันที่ 4 สิงหาคม 2555 เปนตนไป กระทรวงสาธารณสุขแคนาดาได

ประกาศรางระเบียบใหม เรื่อง การแสดงฉลากอาหารที่มีสวนประกอบของสารกอภูมิแพ ภายใต

กฎหมายความปลอดภัยสินคาผูบริโภค (Consumer Product Safety Act) โดยระเบียบใหมนี้ได

กําหนดสินคาอาหาร ที่มีสวนประกอบที่เสี่ยงใหเกิดการแพ ไดแก กลูเต็น (Gluten) ซัลไฟต (Sulphite)

ถั่วลิสง (Peanut) ไข (Egg) นม (Milk) ถั่ว Nuts ขาวสาลี (Wheat) ถั่วเหลือง (Soy) งา (Sesame)

อาหารทะเล (Seafood) และ มัสตารด (Mustard) ตองแจงใหทราบบนฉลากโดยระบุ ขอความวาเปน

สวนประกอบที่เสี่ยงตอการแพ และผูผลิตตองแสดงขอความดังกลาวอยางชัดเจน โดยไมทําให

ผูบริโภคเขาใจผิดและสับสน ซึ่งกฎระเบียบนี้จะอนุญาตใหใชฉลากเดิมไดกอนเปนเวลา 18 เดือน นับ

จากวันที่ระเบียบมีผลบังคับใช� โดยสาระสําคัญ สรุปไดดังนี้ 1) อาหารที่มีสารกอภูมิแพเปน

สวนประกอบ ใหระบุคําวา “Contains” แทนคําวา “Allergy and intolarance Information –

Contains” บนฉลาก 2) อาหารที่มีสารกอภูมิแพ หรือแหลงโปรตีนเปนสวนประกอบ ใหระบุเปนคํา

ทั่วไปลงบนฉลาก เชน Milk,Wheat 3) กําหนดใหเมล็ดมัสตารดเปนสารกอภูมิแพ 4) ใหระบุชื่อสามัญ

ที่เปนแหลงที่มาของโปรตีนที่สกัดไดจากพืชที่ไดจากกระบวนการ Hydrolysis ผลผลิตจากพืช เชน

เมล็ดธัญพืช (cereal grain) เชน ระบุวา “hydrolyzed vegetable protein (soy)” 5) ใหใชคําวา

“Wheat” ซึ่งเปนสารกอภูมิแพอยูแลว แทนสารกอภูมิแพจากธัญพืชสกุล Triticum ไดแก Spelt,

Kamut 6) ยกเลิกการบังคับใหระบุขอความแสดงวามีสารซัลไฟตเปนสวนประกอบ หากมีปริมาณ 10

มล./กก. หรือมากกวา 7) ใหระบุสวนประกอบของสารชวยตกตะกอนที่ไดจากไข ปลา หรือนม ที่ใชใน

การผลิตเครื่องดื่มแอลกอฮอล ถาสวนประกอบนั้นยังคงมีอยูในผลิตภัณฑ 8) ใหระบุสารกอภูมิแพที่ใช

ในสารเคลือบเงาหรือสวนประกอบของสารดังกลาวสําหรับผักผลไมบรรจุเสร็จ

สหภาพยุโรป กําหนดอาหารกอภูมิแพ 9 กลุม ที่ตองติดฉลากระบุ ไดแก ธัญพืชที่มีกลูเตน

(Gluten) และผลิตภัณฑ เชน ขาวสาลี ไรย บารเลยโอต Spelt Kamit รวมทั้งธัญพืชที่เปนพันธุลูกผสม

จากสายพันธุเหลานี้ดวย สัตวน้ําและผลิตภัณฑ สัตวน้ํามีเปลือกและผลิตภัณฑ นมและผลิตภัณฑนม

(รวมทั้งแลคโตส) ถั่วและผลิตภัณฑ เชน อัลมอนดวอลนัท พีแคนนัท บราซิลนัทพีนัทชีโอนัท มะคาเด

เมียนัท ฮาเซลนัทควีนแลนดนัท ถั่ วเหลือง และถั่วลิสง คื่นชายและพืชในตระกูลเดียวกัน

(Umbelliferae family) และผลิตภัณฑ มัสตารดและผลิตภัณฑ งาและผลิตภัณฑ ซัลเฟอรไดออกไซด

และซัลไฟต ที่มีความเขมขนมากกวา 10 ppm ลักษณะการติดฉลากใหใชเปนเครื่องหมายการคา

Page 250: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

233

(Trademark ) รูปสัญลักษณที่ปรากฏบนสินคา หีบหอ เอกสาร ปาย และใชคําวา “contains” ตาม

ดวยชื่ออาหารกอภูมิแพ เชน contains peacan nut แตในกรณีของเครื่องดื่มที่รายการของ

สวนประกอบอาหาร ( List of ingredient ) ระบุชื่อเฉพาะแลว ไมตองระบุซ้ําในฉลากอีก โดยมีผล

บังคับใชตั้งแต 25 พฤศจิกายน 2548

ประเทศญี่ปุนมีกฎหมายที่มีการบังคับใหทําการติดฉลากอาหารกอภูมิแพจําแนกได 2 กรณี

ไดแก อาหารกอภูมิแพ ซึ่งบังคับใหติดฉลาก มี 5 ชนิด (ขาวสาลี โซบะ ไข นม และถั่วลิสง) และอาหาร

ชนิดอื่นที่แนะนําวาอาจกอใหเกิดภูมิแพมี 19 ชนิด (หอยอะวาบิ ( A wabi ) หรือหอยทากขนาดใหญ

ปลาหมึก ไขปลาอิคูระ ( Ikura ) กุง ปู ปลาแซลมอน ปลาซาบะ เนื้อวัว วุนเจลาติน เนื้อหมู เนื้อไก สม

กีวี วอลนัท ถั่วเหลือง ลูกพีช มันแกว แอปเปล เห็ดโคนญี่ปุน) โดยเริ่มบังคับใชเมื่อเดือนเมษายน 2544

โดยกําหนดใหจะตองมีการตรวจสอบปรับปรุงทุก 2 ป

ดังนั้น สําหรับประเทศไทยขณะนี้ตามกฎหมายที่มีผลบังคับใชปจจุบันยังไมไดกําหนดให

ผูประกอบการแสดงฉลากเกี่ยวกับอาหารกอภูมิแพมีเพียงแนวคิด การใหความคุมครองผูบริโภคเพื่อให

มีความชัดเจนเกี่ยวกับฉลากอาหารกอภูมิแพ และรวมไปถึงสามารถบังคับออกเปนระเบียบของ

หนวยงานที่เกี่ยวของ เพื่อบังคับกับผูประกอบการที่เกี่ยวของตองปฏิบัติตามผลมีบทลงโทษกรณีไม

ปฏิบัติตามระเบียบกฎหมายดังกลาวไดอยางชัดเจนโดยเฉพาะเพื่อใหความคุมครองผูบริโภคใน

ปจจุบันนั้นเองประเทศพัฒนาแลวมักจะมีความเขมงวดมากเปนพิเศษ ใหสินคาอาหารตองมีการติด

ฉลากระบุสารกอภูมิแพ ซึ่งผูประกอบการไทยควรนํามาเปนตัวอยางในการติดฉลากระบุสารกอภูมิแพ

ที่ใชในอาหารอยางชัดเจน เพื่อปองกันอันตรายที่อาจเกิดขึ้น และเสี่ยงตอการแพอาหารบางชนิด อาจ

สงผลใหเกิดอาการปวดทองอยางรุนแรง ทองเสีย ออนเพลีย และอาจเปนอันตรายถึงชีวิต จึงเปน

ระเบียบที่แคนาดามุงหวังในการคุมครองสุขภาพ และความปลอดภัยของผูบริโภค ซึ่งจะชวยใหการ

แสดงฉลากสารกอภูมิแพมีความชัดเจนและครอบคลุมชนิดอาหารมากขึ้น�การกําหนดกฎระเบียบ

เกี่ยวกับการแสดงฉลากของอาหารกอภูมิแพเปนสิ่งที่สําคัญ และเปนการคุมครองผูบริโภคใหสามารถ

เลือกซื้อหรือหลีกเลี่ยงการบริโภคผลิตภัณฑอาหารที่มีสวนผสมที่อาจทําใหเกิดการแพตอสุขภาพได

อยางถูกตองเหมาะสม ซึ่งนับวามีประโยชนตอผูบริโภคอยางมาก อีกทั้งยังนําไปสูการแสดงฉลากใน

สวนที่เกี่ยวของกับอาหารกอภูมิแพใหเปนไปอยางถูกตองตามกฎหมายสําหรับประเทศคูคาไดอีกทาง

หนึ่งดวย ซึ่งผูประกอบการจะตองติดตามและปฏิบัติตามกฎระเบียบทั้งภายในและตางประเทศอยาง

เครงครัด เพื่อจะไดไมมีปญหาอาหารที่ถูกสงคืนจากประเทศนําเขา และสามารถใหขอมูลอาหารกอ

ภูมิแพโดยผานทางฉลากแกผูบริโภคไดอยางมีประสิทธิภาพโดยมีตารางเปรียบเทียบ ดังนี้

Page 251: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

234

ตารางสรุปมาตรการควบคุมและบทลงโทษของตางประเทศเปรียบเทียบกับประเทศไทย

ประเทศ กฎหมายที่เกี่ยวของ เหตุผลในการใช

กฎหมาย

มาตรการควบคุม บทลงโทษ

สหรัฐอเมริกา Food Allergen

Labeling and

Consumer

Protection Act

2004

เนื่องจากประชากร

รอยละ 2เปอรเซ็นต

ของผูใหญและรอย

ละ 5 เปอรเซ็นตของ

เด็กในสหรัฐอเมริกา

เปนภูมิแพอาหาร

บางชนิดแตละปมี

ผูเสียชีวิตปละ 150

คน

กําหนดใหสินคาที่มี

สวนประกอบของ

อาหาร 8 ชนิด เปน

สาเหตุที่เกิดโรค

ภูมิแพ ไดแก นมไข

สัตวน้ําประเภทมี

เปลือกหุมแข็ง แข็ง

เมล็ดถั่วประเภท

Treenuts แปงสาลี

และถั่วเหลืองตอง

ทั้งแพงและอาญา มี

การกักกันสินคาที่ผิด

ระเบียบรวมถึงเรียก

คืนผลิตภัณฑสินคา

แสดงสวนประกอบ

ของอาหารและ

ลักษณะตัวอักษร

ตองไมเล็กกวาชื่อ

ของสินคา โดยระบุ

คําวา Contains

สรุป สหรัฐอเมริกามีการกําหนดใหสินคาที่มีสวนประกอบของอาหาร 8 ชนิด ที่เปนสาเหตุที่เกิดโรคภูมิแพมีการ

แสดงฉลากอาหารและคําเตือนใหแกผูบริโภค และมีการกําหนดโทษทางแพงและอาญาแกผูฝาฝน

แคนาดา ระเบียบเรื่องการ

แสดงฉลากอาหารที่

มีสวนประกอบของ

สารกอภูมิแพภายใต

กฎหมายความ

ปลอดภัยสินคา

ผูบริโภค(Consumer

Product Safety

Act)

เนื่องจากเด็กชาว

แคนาดารอยละ 5-6

เปอรเซ็นตและ

ผูใหญกวารอยละ3-

4เสี่ยงตอการแพ

อาหารบางชนิด ซึ่ง

อาจเปนอันตรายถึง

ชีวิต

กําหนดใหสินคา

อาหารตองติดฉลาก

ระบุสวนประกอบ

ของสารกอภูมิแพ

ไดแก กลูเต็นซัลไฟต

ถั่วลิสง ไข นม ถั่ว

ขาวสาลี ถั่วเหลือง

งา อาหารทะเลและ

มัสตารด และระบุคํา

วา Contains

ทั้งแพงและอาญา

Page 252: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

235

ประเทศ กฎหมายที่เกี่ยวของ เหตุผลในการใช

กฎหมาย

มาตรการควบคุม บทลงโทษ

สรุป สหรัฐอเมริกามีการกําหนดใหสินคาที่มีสวนประกอบของอาหาร 8 ชนิด ที่เปนสาเหตุที่เกิดโรคภูมิแพมีการ

แสดงฉลากอาหารและคําเตือนใหแกผูบริโภค และมีการกําหนดโทษทางแพงและอาญาแกผูฝาฝน

แคนาดา ระเบียบเรื่องการ

แสดงฉลากอาหารที่

มีสวนประกอบของ

สารกอภูมิแพภายใต

กฎหมายความ

ปลอดภัยสินคา

ผูบริโภค(Consumer

Product Safety

Act)

เนื่องจากเด็กชาว

แคนาดารอยละ 5-6

เปอรเซ็นตและ

ผูใหญกวารอยละ3-

4เสี่ยงตอการแพ

อาหารบางชนิด ซึ่ง

อาจเปนอันตรายถึง

ชีวิต

กําหนดใหสินคา

อาหารตองติดฉลาก

ระบุสวนประกอบ

ของสารกอภูมิแพ

ไดแก กลูเต็นซัลไฟต

ถั่วลิสง ไข นม ถั่ว

ขาวสาลี ถั่วเหลือง

งา อาหารทะเลและ

มัสตารด และระบุคํา

วา Contains

ทั้งแพงและอาญา

สรุป แคนาดา มีการกําหนดใหสินคาอาหารตองติดฉลากระบุสวนประกอบของสารกอภูมิแพฉลากอาหารและคํา

เตือนใหแกผูบริโภค และมีการกาํหนดโทษทางแพงและอาญาแกผูฝาฝน

กลุมสหภาพยุโรป กฎเกณฑกลาง

คณะกรรมาธิการ

ยุโรป

COMMISSION

DIRECTIVE

2006/142/EC of

22 December

2006 amending

Annex llla of

Directive

2000/13/EC of the

European

Parliament and of

the Council listing

the ingredients

ปจจุบันมีผูบริโภคมี

แนวโนมการ

รับประทานอาหารที่

มีการแปรรูปมากขึ้น

และเรียกรองที่จะ

ทราบขอมูล

กําหนดรายชื่อของ

สวนประกอบที่

จําเปนตองมีการระบุ

ไวในฉลากเนื่องจาก

มีความเสี่ยงที่

กอใหเกิดอาการแพ

แกผูบริโภค2

ทั้งแพงและอาญา

Page 253: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

236

ประเทศ กฎหมายที่เกี่ยวของ เหตุผลในการใช

กฎหมาย

มาตรการควบคุม บทลงโทษ

สรุป แคนาดา มีการกําหนดใหสินคาอาหารตองติดฉลากระบุสวนประกอบของสารกอภูมิแพฉลากอาหารและคํา

เตือนใหแกผูบริโภค และมีการกาํหนดโทษทางแพงและอาญาแกผูฝาฝน

which must under

all circumstances

appear on the

labelling of

foodstuffs เรื่อง การ

แกไขกฎเกณฑกลาง

ฉบับเดิมในเรื่องของ

กลางติดฉลากสินคา

อาหาร

รายละเอียดของ

สวนผสมในอาหาร

เพื่อเปนทางเลือกใน

การซื้อสินคาและ

ความปลอดภัยของ

ผูบริโภค

รายการไดแก ถั่ว

lupin ปจจุบันมี 450

ชนิด สัตวน้ําประเภท

หอยและปลาหมึก

เชน หอยฝาเดี่ยว

หอยสองฝา

ปลาหมึก และระบุ

คําวา Contains

ทั้งแพงและอาญา

สรุป กลุมสหภาพยุโรปมีการกําหนดใหสินคาอาหารตองติดฉลากระบุสวนประกอบของสารกอภูมิแพฉลากอาหาร

และคําเตือนใหแกผูบริโภค และมีการกําหนดโทษทางแพงและอาญาแกผูฝาฝน

อังกฤษ กฎระเบียบอาหาร

ใหมเพื่อผูบริโภค(EU

FIC)ตามเนื้อหา

กฎเกณฑกลางของ

คณะกรรมาธิการ

ยุโรป

COMMISSION

DIRECTIVE

2006/142/EC of

22 December

2006 amending

Annex llla of

Directive

2000/13/EC of

the European

ปจจุบันมีผูบริโภคมี

แนวโนมการ

รับประทานอาหารที่

มีการแปรรูปมากขึ้น

และเรียกรองที่จะ

ทราบขอมูล

รายละเอียดของ

สวนผสมในอาหาร

เพื่อเปนทางเลือกใน

การซื้อสินคาและ

ความปลอดภัยของ

ผูบริโภค

กําหนดรายชื่อของ

สวนประกอบที่

จําเปนตองมีการระบุ

ไวในฉลากเนื่องจาก

มีความเสี่ยงที่

กอใหเกิดอาการแพ

แกผูบริโภค2รายการ

ไดแก ถั่วlupin

ปจจุบันมี 450ชนิด

สัตวน้ําประเภทหอย

และปลาหมึก เชน

หอยฝาเดี่ยว หอย

สองฝา ปลาหมึก

และระบุคําวา

Contains

ทั้งแพงและอาญา

Page 254: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

237

ประเทศ กฎหมายที่เกี่ยวของ เหตุผลในการใช

กฎหมาย

มาตรการควบคุม บทลงโทษ

สรุป กลุมสหภาพยุโรปมีการกําหนดใหสินคาอาหารตองติดฉลากระบุสวนประกอบของสารกอภูมิแพฉลากอาหาร

และคําเตือนใหแกผูบริโภค และมีการกําหนดโทษทางแพงและอาญาแกผูฝาฝน

อังกฤษ Parliament and of

the Council listing

the ingredients

which must under

all circumstances

appear on the

labelling of

foodstuffs เรื่อง

การแกไขกฎเกณฑ

กลางฉบับเดิมใน

เรื่องของกลางติด

ฉลากสินคาอาหาร

สรุป อังกฤษการกําหนดใหสินคาอาหารตองติดฉลากระบุสวนประกอบของสารกอภูมิแพฉลากอาหารและคําเตือน

ใหแกผูบริโภค และมีการกําหนดโทษทางแพงและอาญาแกผูฝาฝน

ญี่ปุน กระทรวงสาธารณะ

สุขแรงงานและ

สวัสดิการญี่ปุน

Ministry of Health

Labor and

Welfare:MHLWได

ออกกฎระเบียบ

เรื่องอาหารกอ

ภูมิแพในอาหาร

กฎหมายตองบังคับ

ใหมีการติดฉลาก

อาหารกอภูมิแพ

ประชาชนมีการ

บริโภคสูงขึ้นซึ่งมี

ผลตอชีวิตและ

ความปลอดภัยของ

ผูบริโภค การ

บริโภคผลิตภัณฑ

ตางๆยังขาดความ

ปลอดภัยสงผลตอ

ระดับคุณภาพชีวิต

ของประชาชน

มีกฎหมายที่มีการบังคับใหทํา

การติดฉลากอาหารกอภูมิแพ

จําแนกได 2 กรณี ไดแก อาหาร

กอภูมิแพซึ่งบังคับใหติดฉลากมี

5ชนิด คือ ขาวสาลี โซบะ ไข นม

และถั่วลิสงและอาหารชนิดอื่นที่

แนะนําวาอาจกอใหเกิดภูมิแพมี

19ชนิดคือ หอยอะวาบิหรือหอย

ขนาดใหญ ปลาหมึก ไขปลาอิคู

ระ กุง ปู ปลาแซลมอน ปลา

ซาบะ เนื้อวัว วุนเจ ลาติน เนื้อ

หมู เนื้อไก สม กีวี่วอลนัท ถั่ว

เหลือง ลูกพีช มันแกว แอปเปล

เห็ดโคนญี่ปุน

ทั้งแพงและอาญา

Page 255: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

238

ประเทศ กฎหมายที่เกี่ยวของ เหตุผลในการใช

กฎหมาย

มาตรการควบคุม บทลงโทษ

สรุป ญี่ปุนกฎหมายที่มีการบังคับใหทําการติดฉลากอาหารกอภูมิแพและอาหารชนิดอื่นที่แนะนําใหติดฉลากอาการ

กอภูมิแพและมีการกําหนดโทษทางแพงและอาญาแกผูฝาฝน

ไทย ประกาศกระทรวง

สาธารณะสุข(ฉบับ

ที่ 367) พ.ศ.2557

เรื่องการแสดง

ฉลากของอาหารใน

ภาชนะบรรจุ

ปจจุบันอาการ

ภูมิแพมี

ความสําคัญตอ

ผูบริโภคเนื่อง

สวนผสมที่

หลากหลายของ

มีการกําหนดขอมูลสําหรับผูแพ

อาหารแสดงสวนประกอบ ไดแก

ธัญพืชที่มีสวนประกอบของ

กลูเตน สัตวที่มีเปลือกแข็ง ไข

ปลา ถั่วลิสง ถั่วเหลือง นม ถั่วที่

มีเปลือกแข็ง ซัลไฟลที่มีปริมาณ

ประกาศกระทรวง

สาธารณะสุข

(ฉบับที่ 367)

พ.ศ.2557 เรื่อง

การแสดงฉลาก

ของอาหารใน

ภาชนะ

สรุป ญี่ปุนกฎหมายที่มีการบังคับใหทําการติดฉลากอาหารกอภูมิแพและอาหารชนิดอื่นที่แนะนําใหติดฉลากอาการ

กอภูมิแพและมีการกําหนดโทษทางแพงและอาญาแกผูฝาฝน

ไทย พระราชบัญญัติ

คุมครองผูบริโภค

พ.ศ.2522

อาหารที่ผลิตเพื่อ

จําหนายมีมากขึ้น

เกิดผลิตภัณฑ

ใหมๆ อาจมี

ผลกระทบตอ

ผูบริโภคโดยไมรูตัว

ซึ่ง ประชากรเด็ก

ชวงอายุ 5-11 ป

และ 12-18 ป

อาหารที่แพมาก

คือ อาหารทะเล

นมวัว ไข แปงสาลี

เด็กที่แพอาหาร

ทะเลจะสูงถึงรอย

มากกวาหรือเทากับ 10

มิลลิกรัมตอกิโลกรม

บรรจุ ไมมี

บทลงโทษทาง

แพงหรืออาญา

สวน

พระราชบัญญัติ

คุมครองผูบริโภค

พ.ศ.2522 ไมได

ระบุบทลงโทษ

เกี่ยวกับฉลาก

อาหารที่

กอใหเกิดภูมิแพ

แตเปนการกลาว

เรื่องฉลากทั่วไป

สรุป ไทยมีการกําหนดขอมูลสาํหรับผูแพอาหารแสดงสวนประกอบและแตยังไมมีขอความเตือนภัย ในฉลากอาหาร

สําเร็จรูป ประกาศกระทรวงสาธารณะสุข(ฉบับที่ 367)พ.ศ.2557เรื่องการแสดงฉลากของอาหารในภาชนะบรรจุ ไมมี

บทลงโทษทางแพงหรืออาญา สวน พระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภค พ.ศ.2522 ไมไดระบุบทลงโทษเกี่ยวกับฉลาก

อาหารที่กอใหเกิดภูมิแพ แตเปนการกลาวเรื่องฉลากทั่วไป

Page 256: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

239

5.2 ขอเสนอแนะแมขณะนี้สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา มีการปรับแกไขรวมทั้งบัญญัติกฎหมาย

สําหรับคุมครองผูบริโภคใหครอบคลุม และสอดคลองกับมาตรฐานสากลเกี่ยวกับเรื่องของอาหารกอ

ภูมิแพรวมทั้งปรับแกไขการแสดงฉลาก และประเด็นอื่นๆ ที่เกี่ยวของกับการคุมครองผูบริโภคให

สมบูรณและชัดเจนมากขึ้น แตยังคงมีปญหาในเรื่องการบังคับใชเกี่ยวกับมาตรการทางกฎหมายใน

การบังคับใหมีขอความเตือนภัยจากโรคภูมิแพลงไวในฉลากอาหารสําเร็จรูปของผูบริโภคดังนั้นผูเขียน

มีขอเสนอแนะโดยมีรายละเอียดดังตอไปนี้

5.2.1 ปญหากฎหมายเกี่ยวกับการควบคุมฉลากเพื่อการโฆษณาอาหารกอใหเกิดการภูมิแพ

ปจจุบันกฎหมายเกี่ยวกับการควบคุมฉลากเพื่อการโฆษณาอาหารกอใหเกิดการภูมิแพนี้จะ

บังคับใชทั่วประเทศและมีการบังคับใชเปนกฎหมายเปนทางการภายใตหลักเกณฑทางดานการ

คุมครองผูบริโภคในเรื่องฉลากพระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภค พ.ศ.2522 ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดย

พระราชบัญญัติคณะกรรมการคุมครองผูบริโภค (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2541 ไดกําหนดใหผูบริโภคมีสิทธิที่

จะไดรับความคุมครองตามฉลาก ตามมาตรา 3 “ฉลาก” หมายความวารูปรอยประดิษฐกระดาษหรือ

สิ่งอื่นใดที่ทําใหปรากฏขอความเกี่ยวกับสินคาซึ่งแสดงไวที่สินคาหรือภาชนะบรรจุหรือหีบหอบรรจุ

สินคาหรือสอดแทรกหรือรวมไวกับสินคาหรือภาชนะบรรจุหรือหีบหอบรรจุสินคาและหมายความ

รวมถึงเอกสารหรือคูมือสําหรับใชประกอบกับสินคาปายที่ติดตั้งหรือแสดงไวที่สินคาหรือภาชนะบรรจุ

หรือหีบหอบรรจุสินคานั้น”ของประเทศไทยโดยผูเขียนเห็นควรบัญญัติกฎหมายเพิ่มเติมตามระเบียบ

สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาวาดวยการดําเนินการเกี่ยวกับเลขสารบบอาหาร(ฉบับที่ 6) จาก

ขอ 8.4.21“การเปลี่ยนแปลงขอความในการแสดงสวนประกอบที่ใชในผลิตภัณฑที่อาจกอใหเกิดภูมิแพ

เชนเพิ่ม/ตัด/แกไขขอความสารกอภูมิแพ : ถั่วไขเปนตน”โดยเพิ่มเติมและใชคําวา“การเปลี่ยนแปลง

ขอความผูประกอบการตองมีการแสดงรายละเอียดสวนประกอบที่ใชในผลิตภัณฑที่อาจกอใหเกิด

ภูมิแพเชนเพิ่ม/ตัด/แกไขขอความสารกอภูมิแพในการบังคับใหมีขอความเตือนภัยจากโรคภูมิแพลงไว

ในฉลากอาหารสําเร็จรูปดวย”

นอกจากนั้นควรเพิ่มเติมสวนที่ 2 เพื่อใหเปนไปตามแนวคิดวาดวยการคุมครองผูบริโภคใหมี

ความชัดเจนมากขึ้นโดยไมตองตีความใหเกิดขอครหาในดานฉลากตามพระราชบัญญัติคุมครอง

ผูบริโภค พ.ศ.2522 ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติคณะกรรมการคุมครองผูบริโภค (ฉบับที่ 2)

พ.ศ.2541 จากมาตรา 31 เดิมคือ“ฉลากของสินคาที่ควบคุมฉลากจะตองมีลักษณะดังตอไปนี้

Page 257: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

240

(1) ใชขอความที่ตรงตอความจริงและไมมีขอความที่อาจกอใหเกิดความเขาใจผิดในสาระสําคัญ

เกี่ยวกับสินคา

(2) ตองระบุขอความดังตอไปนี้

(ก) ชื่อหรือเครื่องหมายการคาของผูผลิตหรือของผูนําเขาเพื่อขายแลวแตกรณี

(ข) สถานที่ผลิตหรือสถานที่ประกอบธุรกิจนําเขาแลวแตกรณี

(ค) ระบุขอความที่แสดงใหเขาใจไดวาสินคานั้นคืออะไรในกรณีที่เปนสินคานําเขาใหระบุชื่อ

ประเทศที่ผลิตดวย

(3) ตองระบุขอความอันจําเปนไดแกราคาปริมาณวิธีใชขอแนะนําคําเตือนวันเดือนปที่หมดอายุ

ในกรณีเปนสินคาที่หมดอายุไดหรือกรณีอื่นเพื่อคุมครองสิทธิของผูบริโภคทั้งนี้ตามหลักเกณฑและ

เงื่อนไขที่คณะกรรมการวาดวยฉลากกําหนดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา”เปนการแกไขเพิ่มเติม

ใหม คือ มาตรา31 “ฉลากของสินคาที่ควบคุมฉลากจะตองมีลักษณะดังตอไปนี้

(1) ใชขอความที่ตรงตอความจริงและไมมีขอความที่อาจกอใหเกิดความเขาใจผิดในสาระสําคัญ

เกี่ยวกับสินคา

(2) ตองระบุขอความดังตอไปนี้

(ก) ชื่อหรือเครื่องหมายการคาของผูผลิตหรือของผูนําเขาเพื่อขายแลวแตกรณี

(ข) สถานที่ผลิตหรือสถานที่ประกอบธุรกิจนําเขาแลวแตกรณี

(ค) ระบุขอความที่แสดงใหเขาใจไดวาสินคานั้นคืออะไรในกรณีที่เปนสินคานําเขาใหระบุชื่อ

ประเทศที่ผลิตดวย

(3) ตองระบุขอความอันจําเปนไดแกราคาปริมาณวิธีใชขอแนะนําคําเตือนวันเดือนปที่หมดอายุ

ในกรณีเปนสินคาที่หมดอายุไดหรือการแสดงรายละเอียดสวนประกอบที่ใชในผลิตภัณฑอาหารที่อาจ

กอใหเกิดภูมิแพเพื่อคุมครองสิทธิของผูบริโภคทั้งนี้ตามหลักเกณฑและเงื่อนไขที่คณะกรรมการวาดวย

ฉลากกําหนดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา”

5.2.2 ปญหากฎหมายเกี่ยวกับบทนิยามฉลากอาหารที่กอใหเกิดการภูมิแพหากพิจารณาตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 367) พ.ศ.2557 เรื่องการแสดงฉลาก

ของอาหารในภาชนะบรรจุ โดยเปนการสมควรปรับปรุงประกาศกระทรวงสาธารณสุขวาดวยเรื่อง

ฉลากอาศัยอํานาจตามความในมาตรา 5 วรรคหนึ่งและมาตรา 6 (10) แหงพระราชบัญญัติอาหาร

พ.ศ.2522 อันเปนกฎหมายที่มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจํากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล

ซึ่งมาตรา 29 ประกอบกับมาตรา 33 มาตรา41 มาตรา 43 และ 45 ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักร

Page 258: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

241

ไทย พุทธศักราช 2550 บัญญัติใหกระทําไดโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมาย

รัฐมนตรีวาการกระทรวงสาธารณสุขออกประกาศไวมีการบัญญัติตามมาตรา 2 วา “สารกอภูมิแพ”

หมายถึงสารที่เขาสูรางกายแลวทําใหรางกายมีปฏิกิริยาผิดปรกติทั้งที่ตามธรรมดาสารนั้นเมื่อเขาสู

รางกายคนทั่วๆ ไปแลวจะไมมีอันตรายใดๆ จะมีอันตรายก็เฉพาะในคนบางคนที่แพสารนั้นเทานั้นและ

ใหหมายความรวมถึงสารที่กอภาวะภูมิไวเกิน” ไมมีการบัญญัติบทนิยามคําวาฉลากอาหารที่กอใหเกิด

ภูมิแพแตอยางใด รวมไปถึงความหมายในเรื่องหลักเกณฑทางดานการคุมครองผูบริโภคในเรื่องฉลาก

พระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภค พ.ศ.2522 ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติคณะกรรมการ

คุมครองผูบริโภค (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2541 ไดกําหนดใหผูบริโภคมีสิทธิที่จะไดรับความคุมครองตามฉลาก

ตามมาตรา 3 “ฉลาก” หมายความวารูปรอยประดิษฐกระดาษหรือสิ่งอื่นใดที่ทําใหปรากฏขอความ

เกี่ยวกับสินคาซึ่งแสดงไวที่สินคาหรือภาชนะบรรจุหรือหีบหอบรรจุสินคาหรือสอดแทรกหรือรวมไวกับ

สินคาหรือภาชนะบรรจุหรือหีบหอบรรจุสินคาและหมายความรวมถึงเอกสารหรือคูมือสําหรับใช

ประกอบกับสินคาปายที่ติดตั้งหรือแสดงไวที่สินคาหรือภาชนะบรรจุหรือหีบหอบรรจุสินคานั้นผูเขียน

เห็นควรบัญญัติบทนิยามความหมายของความวา “ฉลากอาหารที่กอใหเกิดการภูมิแพ” หมายถึง

ฉลากสินคาหรืออาหารที่กอหรืออาจกอใหเกิดความภูมิแพขึ้นไดไมวาจะเปนเพราะเหตุจากความ

บกพรองในการผลิตหรือการออกแบบ หรือไมไดกําหนดวิธีใช วิธีเก็บรักษา คําเตือน หรือขอมูลเกี่ยวกับ

สินคา หรือกําหนดไวแตไมถูกตองหรือไมชัดเจนตามสมควรหรือคุณสมบัติของอาหารนั้นตาม

ธรรมชาติ ทั้งนี้ โดยคํานึงถึงสภาพของอาหาร รวมทั้งลักษณะการใชงานและการเก็บรักษาตามปกติ

ธรรมดาของสินคาอันพึงคาดหมายได” ทั้งนี้ใหปรากฏในตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่

367) พ.ศ.2557 เรื่องการแสดงฉลากของอาหารในภาชนะบรรจุเพื่อสามารถบังคับใชอยางชัดเจนและ

ไดอยางมีประสิทธิภาพและตรงตามหลักการใหความคุมครองผูบริโภคอยางแทจริงนั้นเอง

5.2.3 ปญหากฎหมายเกี่ยวกับหนวยงานหรือผูรับผิดชอบในการตรวจสอบฉลากอาหารที่กอใหเกิดการภูมิแพ

แมจะมีแนวคิดกําหนดใหหนวยงานของรัฐหรือหนวยงานที่มีหนาที่ควบคุมกํากับตรวจสอบ

และดูแลฉลากอาหารที่กอใหเกิดการภูมิแพ ปจจุบันหากตองการแกไขปญหาการตรวจสอบอาหารที่

กอใหเกิดการภูมิแพซึ่งตองใชเทคโนโลยีในระดับสูงและคาใชจายสูงเพราะอาจใชหองแล็บในการตรวจ

พิสูจนความเสียหายที่มีผลกระทบตอผูบริโภค ควรเปนอํานาจหนาที่โดยตรงของหนวยงานของรัฐที่

ตองใหความคุมครองผูบริโภคตามอํานาจและหนาที่ของรัฐที่ใหความคุมครองสิทธิของผูบริโภค

โดยตรง ตามพระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภค พ.ศ.2522 แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติคุมครอง

ผูบริโภค (ฉบับที ่2) พ.ศ.2541 กําหนดใหคุมครองผูบริโภคตามกฎหมายคุมครองเพื่อใหผูบริโภคไดรับ

Page 259: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

242

ความปลอดภัยในการใชสินคาและการรับบริการเชนกฎหมายคุมครองผูบริโภค พ.ศ.2522 โดยกระทรวง

สาธารณสุขโดยสํานักงานคุมครองผูบริโภคมีหนาที่ใหความคุมครองผูบริโภคโดยทั่วไปซึ่งจะตอง

บัญญัติกฎหมายโดยใหมีการบัญญัติรวมทั้งออกกฎหมายบังคับใหมีฉลากอาหารที่อาจจะกอใหเกิด

ภูมิแพอาหารเพื่อใหตรงตามเจตนารมณของการคุมครองผูบริโภคอยางชัดเจนและไมมีขอยกเวนแต

อยางใดเพื่อใหความคุมครองภูมิบริโภคทุกกลุม รวมทั้งเห็นควรมีบทบาทของหนวยงานที่ใหความ

คุมครองผูบริโภคในระดับทองถิ่นไมวาจะเปนในสวนองคการบริหารสวนตําบลหรือหมูบานที่เปนราก

หญาดวยเพราะเปนพื้นฐานของผูบริโภคที่ใกลเคียงมากที่สุดและเปนการใหความคุมครองโดยไมเลือก

ปฏิบัติเขามาเกี่ยวของรวมกันดําเนินการเพื่อเปนตัวแทนในการดําเนินการกระบวนการทางคดีที่

เกี่ยวของกับการใหความคุมครองผูบริโภคใหไดรับความเปนธรรมอีกทางเพื่อแบงเบาภาระตอผูบริโภค

อีกทาง เปนตน

5.2.4 ปญหาเกี่ยวกับการเยียวยาผูบริโภคที่ไดรับความเสียหายจากการบริโภคอาหารที่กอใหเกิดการภูมิแพ

ตามพระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภค พ.ศ.2522 ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดย (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2541

ไดบัญญัติสิทธิของผูบริโภคที่จะไดรับความคุมครองตามแนวคิดการคุมครองผูบริโภคโดยมี

องคประกอบ 4 ประการตามมาตรา 4 คือ (1) สิทธิที่จะไดรับขาวสารรวมทั้งคําพรรณาคุณภาพที่ถูกตอง

และเพียงพอเกี่ยวกับสินคาหรือบริการ (2) สิทธิที่จะมีอิสระในการเลือกหาสินคาหรือบริการ (3) สิทธิที่

จะไดรับความปลอดภัยจากการใชสินคาหรือบริการ (3 ทวิ) สิทธิที่จะไดรับความเปนธรรมในการทํา

สัญญา (4) สิทธิที่จะไดรับการพิจารณาและชดเชยความเสียหายเพื่อใหผูบริโภคมีสิทธิไดรับความ

คุมครองตามกฎหมายอยางมีประสิทธิภาพอยางแทจริง

5.2.5 ระยะเวลาการเรียกรองคาเสียหายในสวนของระยะเวลาในการเรียกรองคาเสียหายที่ผูบริโภค มีสิทธิเรียกรองในทางแพง วาดวย

คาเสียหายในทางละเมิดตาม มาตรา 420 แหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยซึ่งบัญญัติวา “ผูใด

จงใจหรือประมาทเลินเลอ ทําตอบุคคลอื่นโดยผิดกฎหมายใหเขาเสียหายถึงแกชีวิตก็ดีแกรางกายก็ดี

เสรีภาพก็ดีทรัพยสินหรือสิทธิอยางหนึ่งอยางใดก็ดีทานวาผูนั้นทําละเมิดจําตองชดใชคาสินไหมทดแทนเพื่อ

การนั้น” ระยะเวลาในการเรียกรองในความรับผิดตามหลักละเมิด ในการพิสูจนความผิดของผูที่ทําให

เกิดความเสียหาย อันเนื่องมาจากการที่ไดรับความเสียหายจากการบริโภคอาหารที่กอใหเกิดการ

ภูมิแพตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพงไดกําหนดหลักในการนําสืบตอศาลไววา “ผูใด

กลาวอางผูนั้นตองพิสูจน” ซึ่งการพิสูจนวาจําเลยมีความรับผิดตามกฎหมายลักษณะละเมิดจึงมี

ประเด็นที่ผูเสียหายหรือโจทกตองนําสืบตอศาลหรือพิสูจนใหเปนที่ประจักษแกศาลจึงสามารถฟองรอง

Page 260: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

243

ดําเนินคดีได แตนั้นก็ยังมีระยะเวลาที่เพียงทําการพิสูจนใหไดเห็นประจักษตอศาล ยอมแสดงใหเห็นวา

ภาระการพิสูจนจึงตกแกผูเสียหายซึ่งอาจจะเปนปญหาตามที่ไดกลาวมาแลว และเรียกรองภายใน

ระยะเวลาละเมิดเพียง 1 ป นับแตผูเสียหายรูถึงการทําและรูตัวผูกระทําละเมิด ในการเรียกรองคา

สินไหมทดแทน หรือเมื่อพน 10 ป นับแตการทําละเมิดเทานั้น ซึ่งนั่นอาจจะสงผลใหผูที่ไดรับผลกระทบ

ไมสามารถใชสิทธิ์ในสวนของการเรียกรองคาเสียหายในสวนละเมิดตาม มาตรา 420 แหงประมวล

กฎหมายแพงและพาณิชยไดเต็มที่เทาที่ควรดังนั้นผูเขียนเห็นวาระยะเวลาการเรียกรองคาเสียหายมี

ความสําคัญตอการเยียวยาความเสียหายตอผูบริโภคที่ไดรับความเสียหายจากการบริโภคอาหารที่

อาจจะกอใหเกิดการภูมิแพบางครั้งใชเวลาพิสูจนยาวนานเชนกันประกอบการการใชเทคโนโลยีทาง

วิทยาศาสตรทางการแพทยอยางมากดังนั้นจึงควรใหหนวยงานของรัฐที่เกี่ยวของดําเนินการเยียวยา

ความเสียหายในเบื้องตนเสียกอเพราะรัฐหรือหนวยงานของรัฐมีหนาที่ในการรักษาความสงบเรียบรอง

รวมทั้งใหความคุมครองความปลอดภัยคุณภาพชีวิตของผูบริโภคอยูแลว

นอกจากนั้นควรที่จะมีการออกกฎหมายเพื่อจัดเก็บภาษีเพื่อใชเปนกองทุนชดเชยผูบริโภคอัน

เกิดจากการซื้อสินคาเพื่อบริโภคหรือบริการเพื่อสําหรับเยียวยาความเสียหายตามแนวคิดวาดวยการ

เยียวยาความเสียหายในคดีผูบริโภคอันอาจเกิดในปจจุบันหรือในอนาคตจากผูประกอบการใหบริการ

หรือผูผลิตการอาหารที่กอใหเกิดการภูมิแพหรือผูกอใหเกิดอันตรายเพื่อนําเขาสําหรับใชเปนกองทุน

สําหรับการเยียวยาในความเสียหายที่จะเกิดในอนาคตของผูบริโภค

5.2.6. การเขาถึงในการรับรูสิทธิของผูบริโภคที่ไดรับความคุมครองตามกฎหมายตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 367) พ.ศ.2557 เรื่องการแสดงฉลากของอาหารใน

ภาชนะบรรจุ ขอ 4” การแสดงฉลากของอาหารในภาชนะบรรจุที่ผลิตเพื่อจําหนายนําเขาเพื่อจําหนาย

หรือที่จําหนายตองแสดงขอความเปนภาษาไทยและอยางนอยจะตองมีขอความแสดงรายละเอียด

ดังตอไปนี้เวนแตสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาจะยกเวนใหไมตองระบุขอความหนึ่งขอความ

ใด” (6) ขอความวา “ขอมูลสําหรับผูแพอาหาร : มี ….” กรณีมีการใชเปนสวนประกอบของอาหารหรือ

“ขอมูลสําหรับผูแพอาหาร : อาจมี .…” กรณีมีการปนเปอนในกระบวนการผลิตแลวแตกรณี (ความที่

เวนไวใหระบุประเภทหรือชนิดของสารกอภูมิแพหรือสารที่กอภาวะภูมิไวเกิน)” ประกอบกับการ

คุมครองดานฉลากอาหารที่กอใหเกิดภูมิแพตามระเบียบสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาวาดวย

การดําเนินการเกี่ยวกับเลขสารบบอาหาร (ฉบับที่ 6) รวมทั้งการเขาถึงในการรับรูสิทธิของผูบริโภคที่

ไดรับความคุมครองตามกฎหมายไมวาจะเปนขอมูลของผูบริโภคที่แทจริงที่ผูบริโภคดังนั้นจึงควรให

หนวยงานของรัฐจัดทําขอมูลเพื่อใหผูบริโภคสามารถตรวจสอบขอมูลผูประกอบการผานทาง

Page 261: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

244

อินเตอรเน็ตหรือทางการสื่อสารดานอื่น ๆ กอหรือหลังจากการซื้อหรือเขาบริการของผูบริโภคเพื่อให

เปนรูปธรรมสามารถเขาถึงขอมูลดังกลาวไดงายเพื่อใหสอดคลองกับการคุมครองผูบริโภคตาม

พระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภค พ.ศ.2522 ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดย (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2541 ไดบัญญัติ

สิทธิของผูบริโภคที่จะไดรับความคุมครองตามกฎหมาย 5 ประการตามมาตรา 4 ก็ยังไมสามารถ

ตรวจสอบขอมูลไดอยางถูกตองและรวดเร็วเพื่อใหความคุมครองผูบริโภคได รวมไปถึงสอดคลองตาม

การคุมครองผูบริโภครัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550

5.2.7 ปญหาเกี่ยวกับการบังคับลงโทษตามกฎหมายฉลากอาหารที่กอใหเกิดการภูมิแพ

ถึงแมจะมีแนวคิดการคุมครองอาหารที่กอใหเกิดภูมิแพตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข

(ฉบับที่ 367) พ.ศ.2557 เรื่องการแสดงฉลากของอาหารในภาชนะบรรจุ แมจะปรากฏและสื่อความหมาย

วาดวยการใหความสําคัญกับอาหารที่กอใหเกิดการภูมิแพการกําหนดหลักการเกี่ยวกับอายุความเพื่อ

การลงโทษตามกฎหมายฉลากอาหารที่กอใหเกิดการภูมิแพซึ่งการใชสิทธิเรียกรองกรณีที่ความ

เสียหายเกิดขึ้นโดยผลของการสะสมอยูในรางกาย หรือตองใชเวลาในการแสดงอาการ นอกจากการ

นําหลักความรับผิดโดยเครงครัด (Strict liability) มาใชบังคับซึ่งแตกตางจากกระบวนการทางศาลแพง

อาญาทั่วไปปรากฏตามพระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภค พ.ศ.2522 โดยหลักการคุมครองผูบริโภค

โดยทั่วๆ ไปเชนตามมาตรา 52 อีกทั้งการโฆษณาขายสินคาทั้งที่ฉลากอาหารที่ไมไดระบุคุณสมบัติ

ตามที่ผูจําหนายกลาวอางหลอกใหผูบริโภคหลงเชื่อ เขาขายการหลอกลวงผูบริโภคใหหลงเชื่อใน

แหลงกําเนิดสภาพ คุณภาพหรือปริมาณแหงของนั้น ถาการกระทํานั้นไมเปนความผิดฐานฉอโกงตอง

ระวางโทษจําคุกไมเกิน 3 ป ปรับไมเกิน 6,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ ซึ่งเปนมาตรการที่ควบคุม

อาหารโดยทั่วไปเทานั้นไมมีการบัญญัติหรือกําหนดโทษอันเกี่ยวกับฉลากอาหารที่อาจจะกอใหเกิดการ

ผูแพอยางชัดเจน ดังนั้นจึงควรมีการบัญญัติการคุมครองอาหารที่กอใหเกิดภูมิแพตามประกาศ

กระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 367) พ.ศ.2557 เรื่องการแสดงฉลากของอาหารและสื่อความหมายวา

ดวยการใหความสําคัญกับอาหารที่กอใหเกิดการภูมิแพ เชนเพิ่มเปนขอ 18 การกําหนดโทษและ

บทลงโทษใหเปนไปตามพระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภค พ.ศ.2522 ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดย (ฉบับที่ 2)

พ.ศ.2541 ไดบัญญัติสิทธิของผูบริโภคที่จะไดรับความคุมครองมุงการคุมครองฉลากอาหารที่กอใหเกิด

ภูมิแพโดยบัญญัติเพิ่มเติมบทลงโทษเมื่อเทียบกับมาตรา 52 เดิมคือมาตรา 52 “ผูใดขายสินคาที่

ควบคุมฉลากตามมาตรา 30 โดยไมมีฉลากหรือมีฉลากแตฉลากหรือการแสดงฉลากนั้นไมถูกตองหรือ

ขายสินคาที่มีฉลากที่คณะกรรมการวาดวยฉลากสั่งเลิกใชตามมาตรา 33 ทั้งนี้โดยรูหรือควรรูอยูแลว

Page 262: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

245

วาการไมมีฉลากหรือการแสดงฉลากดังกลาวนั้นไมถูกตองตามกฎหมายตองระวางโทษจําคุกไมเกิน

หกเดือนหรือปรับไมเกินหาหมื่นบาทหรือท้ังจําทั้งปรับ

ถาการกระทําตามวรรคหนึ่งเปนการกระทําของผูผลิตเพื่อขายหรือผูสั่งหรือนําเขามาใน

ราชอาณาจักรเพื่อขายผูกระทําตองระวางโทษจําคุกไมเกินหนึ่งปหรือปรับไมเกินหนึ่งแสนบาทหรือทั้ง

จําทั้งปรับ”โดยตองแกไขเพิ่มเติมเพิ่มเนื้อหาใหมเปนมาตรา 52/1 โดยมีขอความดังนี้ “ผูใดขายอาหาร

หรือสินคาที่ควบคุมฉลากอาหารที่กอใหเกิดภูมิแพหรือสินคาที่กอใหเกิดภูมิแพโดยไมมีฉลากอาหารที่

กอใหเกิดภูมิแพหรือหรือมีฉลากสินคาที่กอใหเกิดภูมิแพหรือมีฉลากแตฉลากนั้นไมถูกตองหรือเปน

ฉลากไมชอบดวยกฎหมาย หรือขายสินคาที่มีฉลากที่คณะกรรมการวาดวยฉลากสั่งเลิกใชตาม

กฎหมาย ทั้งนี้ โดยรูหรือควรรูอยูแลววาการไมมีฉลากหรือการแสดงฉลากดังกลาวนั้นไมถูกตองตาม

กฎหมาย ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหกเดือนถึงหนึ่งป หรือปรับไมเกินหาหมื่นบาทถึงหนึ่งแสนบาท

หรือทั้งจําทั้งปรับ”

โดยประกาศนี้ใหใชบังคับเมื่อพนกําหนดหนึ่งรอยแปดสิบวันนับจากวันที่ประกาศในราชกิจจา

นุเบกษาเปนตนไป

ทั้งนี้ เพื่อใหสอดคลองกับแนวคิดวาดวยการลงโทษวาดวยการปองปรามมิใหผูประกอบการ

กระทําอันกอใหเกิดความเสียหายตอผูบริโภคซ้ําอีกไมวาจะเปนผูบริโภคที่เสียคาตอบแทนและมิไดเสีย

คาตอบแทนใดๆ ก็ตามนั้นเอง

ดังนั้นการที่ผูวิจัยไดมีขอเสนอแนะมาในวิทยานิพนธฉบับดังกลาวซึ่งเกี่ยวกับมาตรการทาง

กฎหมายในการบังคับใหมีขอความเตือนภัยจากโรคภูมิแพลงไวในฉลากอาหารสําเร็จรูปของผูบริโภค

ผูวิจัยก็คาดหวังวาจะเกิดประโยชนในการใชเปนแนวทางในการแกไขปญหาดังกลาวเพื่อใหเกิดความ

ยุติธรรมไมวาจะเปนผูบังคับใชกฎหมาย ผูบริโภคหรือบริการที่ไดรับความเสียหายและผูประกอบการ

หรือผูผลิตอาหารหรือสินคาที่กอใหเกิดความเสียหายตอผูบริโภคหรือประชาชนใหรับการคุมครอง

ตอไป

Page 263: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

บรรณานุกรม

หนังสือเกียรติขจร วัจนะสวัสดิ์. คําอธิบายกฎหมายอาญา ภาค 1 .พิมพครั้งที่ 9.

กรุงเทพมหานคร : หางหุนสวนจํากัดจิรัชการพิมพ, 2549.

________. คําอธิบายกฎหมายอาญา ภาค 1. พิมพครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพ

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร,2 531.

________. คําอธิบายกฎหมายอาญา ภาค 1, พิมพครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร : สํานัก

พิมพวิญูชน , 2554.

คณิต ณ นคร. กฎหมายอาญาภาคทั่วไป. พิมพครั้งที่ 4. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพวิญูชน,

2554.

จิ๊ด เศรษฐบุตร. หลักกฎหมายแพง ลักษณะละเมิด. พิมพครั้งที่ 4. กรุงเทพมหานคร : บริษัทโรงพิมพ

เดือนตุลาจํากัด, 2545.

จิตติ ติงศภัทิย. กฎหมายอาญา ภาค 1. กรุงเทพมหานคร : สํานักอบรมศึกษากฎหมายแหงเนติ

บัณฑิตยสภา, 2525.

จรัญ ภักดีธนากุล. (การอภิปราย). ใน คณะอนุกรรมาธิการศึกษาและติดตามการ

คุมครองผูบริโภค.ในคณะกรรมาธิการการสาธารณสุข วุฒิสภาและโครงการคุมครอง

ผูบริโภคดานสุขภาพ (คคส.) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย พระราช

บัญญัติความรับผิดตอความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินคาที่ไมปลอดภัย พ.ศ. ....ผลดีตอการ

คุมครองผูบริโภค. กรุงเทพมหานคร :อุษาการพิมพ, 2548.

ชัยวัฒน วงศวัฒนศานต. กฎหมายคุมครองผูบริโภค. กรุงเทพมหานคร : วิญูชน, 2543.

ณรงค ใจหาญ. กฎหมายอาญาวาดวยโทษและวิธีการเพื่อความปลอดภัย. พิมพครั้ง

ที่ 1. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพวิญูชน, 2543.

Page 264: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

247

ดารณี หมูขจรพันธ. ผูเชี่ยวชาญดานความปลอดภัยของอาหารและการบริโภคอาหาร.

กฎระเบียบของอาหารกอภูมิแพ. (food allergen). ที่ตองรู, สํานักงาน

คณะกรรมการอาหารและยา, 2552.

ถนัด คอมมันตร. ปรัชญากฎหมาย. กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย,

2518.

ทวีเกียรติ มีนะกนิษฐ. คําอธิบายกฎหมายอาญาภาคทั่วไป. พิมพครั้งที่ 13 .

กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพวิญูชน, 2554.

ธง ลีพึ่งธรรม. พจนานุกรม ศัพทและสํานวนกฎหมาย (Dictionary of Legal Terms

and Expressions) กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพนิติบรรณการ, 2526.

ประจักษ พุทธิสมบัติ. คําอธิบายประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยลักษณะละเมิด

และจัดการงานนอกสั่ง. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพนิติบรรณาการ ,2523.

ประมูล สุวรรณศร. คําอธิบายกฎหมายลักษณะพยานหลักฐาน. พิมพครั้งที่ 8.

กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพแสวงสุทธิการพิมพ, 2525.

พงษเดช วาณิชกิตติกูล. คําอธิบายพระราชบัญญัติความรับผิดตอความเสียหาย

เกิดขึ้นจากสินคาที่ไมปลอดภัย พ.ศ. 2551. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพแสวงสุทธิการพิมพ,

2553.

พจน ปุษปาคม. คําอธิบายประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยวาดวยละเมิด .

กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2515.

พรเพชร วิชิตชลชัย. เอกสารการสอนชุดวิชาระบบกฎหมายไทยและตางประเทศ, หนวย

ที่ 8 -15. พิมพครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพบริษัทวิคตอรกรุงเทพ จํากัด, 2528.

เพ็ง เพ็งนิติ. คําอธิบายประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยวาดวย ละเมิด และความรับ

ผิดทางละเมิดของเจาหนาที่. พิมพครั้งที่ 8. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพ : สํานักพิมพนิติ

บรรณาการ, 2556.

Page 265: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

248

ไพจิตร ปุญญพันธุ. คําอธิบายประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย ลักษณะละเมิด

พระราชบัญญัติทางละเมิดของ เจาหนาที่ พ.ศ.2539 กฎหมายลักษณะละเมิดขอ

สันนิษฐานความผิดทางกฎหมาย. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพ : สํานัก

พิมพนิติบรรณาการ, 2556.

มานิตย จุมปา. คําอธิบายกฎหมายความ รับผิดตอความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินคาที่

ไมปลอดภัย กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2554.

มานิตย จุมปา. คําอธิบายกฎหมายความรับผิดตอความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินคาที่

ไมปลอดภัย. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2554.

วันชัย ไพบูลยอภิบาล. มาตรการทางกฎหมายเชิงหองกันในการคุมครองผูบริโภค

: กรณีความรับผิดในผลิตภัณฑ. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,

2555.

วรเจตน ภาคีรัตน. ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับกฎหมายปกครอง : หลักการพื้นฐานของ

กฎหมายปกครองและการกระทําทางปกครอง. กรุงเทพมหานคร : มงคลการพิมพ, 2549.

วารี นาสกุล. คําอธิบายประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยวาดวย ละเมิด จัดการงานนอกสั่ง ลาภมิ

ควรได. พิมพครั้ง 2 .กรุงเทพมหานคร : มงคลการพิมพ, 2518.

______. คําอธิบายประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยวาดวย ละเมิด จัดการงานนอกสั่ง ลาภมิควร

ได. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร : บริษัทกรุงสยามพับลิชชิ่ง จํากัด, 2556.

ศักดา ธนิตกุล. คําอธิบายและคําพิพากษาเปรียบเทียบกฎหมายความรับผิดตอความ

เสียหายที่เกิดขึ้นจากสินคาที่ไมปลอดภัย. พิมพครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพ

วิญูชน, 2552.

สมหวัง กาอิ่นแกว . ปญหาทางกฎหมายเกี่ยวกับการพิจารณาสินคาที่ ไมปลอดภัยตาม

พระราชบัญญัติความรับผิดตอความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินคาที่ไมปลอดภัย.นนทบุรี :

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551.

Page 266: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

249

สายสุดา นิงสานนท. ความรับผิดเด็ดขาดในกฎหมายลักษณะละเมิด.บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ

มหาวิทยาลัย, 2525.

สํานักงานคณะกรรมการคุมครองผูบริโภค.สคบ. กับการคุมครองผูบริโภค. พิมพครั้งที่ 11.

กรุงเทพมหานคร : หางหุนสวนจํากัดอรุณการพิมพ, 2550.

สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา. คูมืออาหารปลอดภัย. นนทบุรี : กองควบคุมอาหาร.

สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข, 2545.

สุปน พูลพัฒน. คําอธิบายเรียงมาตราประมวลกฎหมาย. พิมพครั้งที่ 5 .

กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพนิติบรรณการ, 2523.

สุพจน กูมานะชัย. ประมวลคําพิพากษาและคําสั่งของศาลฎีกาวาดวยกฎหมาย

เกี่ยวกับอาหาร ยา และคุมครองผูบริโภค พุทธศักราช 2530-2542.

กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพนิติธรรม, 2543.

สุษม ศุภนิตย. เอกสารเพื่อประกอบการพิจารณากฎหมายของสมาชิกรัฐสภา เลม7

เรื่อง รางพระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภค พ.ศ. .... . กรณีศึกษากฎหมาย

คุมครองผูบริโภคของประเทศญี่ปุน สหรัฐอเมริกา และ สหราชอาณาจักร. กรุงเทพมหานคร

: สํานักวิจัยและพัฒนาสถาบันพระปกเกลา, 2547.

_________. รางพระราชบัญญัติกฎหมายคุมครองผูบริโภค พ.ศ. .... .กรณีศึกษากฎหมายคุมครอง

ผูบริโภคกรณีศึกษากฎหมายคุมครองผูบริโภคของประเทศญี่ปุนสหรัฐอเมริกาและ

สหราชอาณาจักรอังกฤษ, 2545.

_________. คําอธิบายกฎหมายคุมครองผูบริโภค. พิมพครั้งที่ 8. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพแหง

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2556.

__________. คําอธิบายประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยวาดวย ละเมิด,

กรุงเทพมหานคร : บริษัทสํานักพิมพวิญูชน จํากัด, 2546.

Page 267: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

250

_________.คําอธิบายกฎหมายกฎหมายความรับผิดในผลิตภัณฑ. พิมพครั้งที ่2.

กรุงเทพมหานคร : วิญูชน, 2549.

________. คําอธิบายกฎหมายคุมครองผูบริโภค. พิมพครั้งที่ 8. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพแหง

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2556.

________. คําอธิบายกฎหมายความรับผิดในผลิตภัณฑ. กรุงเทพมหานคร : บริษัท

สํานักพิมพวิญูชน จํากัด, 2544.

หยุด แสงอุทัย. กฎหมายอาญาภาค1.โดยทวีเกียรติ มีนะกนิษฐ บรรณาธิการ ฉบับพิมพครั้งที่ 19 .

กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2547.

อุทิศ แสนโกศิก. กฎหมายอาญา ภาค 1.กรุงเทพมหานคร : เรือนแกวการพิมพ, 2525.

อนันต จันทรโอภากร. โครงสรางพื้นฐานกฎหมายลักษณะละเมิด. 60 ปดร.ปรีดี เกษม

ทรัพย, รวบรวมบทความเกษียณอายุราชการ. 2545.

อัครพงษ เวชยานนท. การคุมครองผูบริโภคในประเทศญี่ปุนสถาบันวิจัยและพัฒนา.

กรุงเทพมหานคร : กระบวนการยุติธรรม, 2550.

บทความบัญญัติ สุชีวะ. “ประมาท”. บทบัณฑิต. เลม 21 ตอน 2 (เมษายน 2506) : 295.

วิภา สุโรจนะเมธากุล. “บทความอาหารภูมิแพอาหารกับอนาคตอาหารไทยใน

ตลาดโลก”, ปที่ 41 (ตุลาคม – พฤศจิกายน, 2551) : 315-320.

วิภา สุโรจนะเมธากุล. “ภูมิแพอาหาร นวัตกรรมอาหารสรางคุณคาสานเศรษฐกิจไทย”. (กันยายน

2551) : 46.

สถาบันคนควาผลิตภัณฑอาหารมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. “อาหาร food Journal”.

ปที่ 42 ฉบับ ที่ 3 (กรกฎาคม – กันยายน พ. ศ. 2555) : 191-195.

Page 268: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

251

สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา. “การจําหนายอาหารที่ฉลากไมแสดงเลข

สารบบอาหาร ” 2546 : 10. (เอกสารโรเนียว).

วิทยานิพนธกลอม อิศรพันธ. หลักทั่วไปวาดวยความรับผิดทางละเมิดในลักษณะวิชา

กฎหมายแพงและพาณิชยพิสดาร. วิทยานิพนธคณะนิติศาสตรหลักสูตรชั้นปริญญาโท,

ภาค 2 ทางนิติศาสตร, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร , 2496.

วราชัย เกษมเมธีการุณ. มาตรการทางกฎหมายในการสงเสริมใหองคกรเอกชนเขามามี

สวนรวมในการคุมครองผูบริโภค.วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต คณะนิติศาสตร .

กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยรามคําแหง, 2541.

สหธน รัตนไพจิตร. ความประสงคของการลงโทษอาญา วิทยานิพนธปริญญานิติศาสตร

มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2527.

สายสุดา นิงสานนท. ความรับผิดเด็ดขาดในกฎหมายลักษณะละเมิด.บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ

มหาวิทยาลัย, 2525.

สุภัทร แสงประดับ.ปญหากฎหมายในการพิจารณาคดีคุมครองผูบริโภคในประเทศไทย

นิติศาสตรมหาบัณฑิตสาขากฎหมายธุรกิจ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย

ศรีปทุม, 2551.

เอกสารอื่น ๆ กองพัฒนาศักยภาพผูบริโภค. สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา.ฉลากโภชนาการ

อานใหเปนเห็นประโยชน. (คูมือ ป 2551) :10.

คูมือ,แนวทางการตั้งชื่ออาหารจัดทําฉลากอาหารและฉลากโภชนาการศูนยบริการ

ผลิตภัณฑสุขภาพเบ็ดเสร็จ.กลุมงานคุมครองผูบริโภคและเภสัชสาธารณสุข,สํานักงาน

สาธารณสุขจังหวัดนครปฐม,กระทรวงสาธารณสุข. 16 มกราคม 2558 : 5.

Page 269: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

252

นงนุช ใจชื่น. กฎหมายและมาตรการที่เกี่ยวของกับการโฆษณาอาหารและเครื่องดื่ม

ที่มีน้ําตาล ไขมัน และโซเดียมสูง ของประเทศไทยและตางประเทศAdvertising

Regulations Related to Food and Drinks with High Sugar, Fat and Sodium in

Thailand and Foreign countries.ไดรับทุนอุดหนุนการศึกษาจากสํานักงานกองทุน

สนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ (สสส.)สํานักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหวางประเทศ

(IHPP) แผนงานงานวิจัยนโยบายอาหารและโภชนาการ เพื่อการสรางเสริมสุขภาพ (FHP),

2556.

นพ.ไพบูลย เอกแสงศรี. แพอาหาร ที่แทนั้นเปนอยางไร. Health Today 4 (39; 2547)

หนา 32-34.

ปญจพร โกศลกิติวงศ. ความรับผิดทางแพงของผูกอมลพิษในคดีสิ่งแวดลอม.บัณฑิต

วิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2541.

พรเพชร วิชิตชลชัย. เอกสารการสอนชุดวิชาระบบกฎหมายไทยและตางประเทศ. หนวย

ที่ 8-15. พิมพครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพบริษัทวิคตอร จํากัด, 2528 : 804.

พัฒนา ชูสอน. ปญหากฎหมายเกี่ยวกับมาตรการเยียวยาผูบริโภค ศึกษากรณีสัญญา

สําเร็จรูปที่ไมเปนธรรม. นิติศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคําแหง, 2543.

รวมพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ.2522 พรอมกฎกระทรวงและประกาศกระทรวง

สาธารณะสุขฉบับที่พ.ศ.2556-2557,(รวมรวมโดยสํานักอาหาร สํานักงานคณะกรรมการ

อาหารและยา มีนาคม 2557), หนา15.

รายงานกฎระเบียบ. มาตรการและระบบความปลอดภัยอาหารและการปองกันการกอ

การรายทางชีวภาพของสหรัฐอเมริกา (U.S. Food Safety and Bioterrorism Systems

ภายใตโครงการศึกษากฏระเบียบและความปลอดภัยของอาหาร สุขอนามัยและสุขอนามัย

พืช และการปองกันการกอการรายทางชีวภาพของสหรัฐอเมริกา (Food Safety Sanitary

and Phytosanitary and Bioterrorism System), ประจําป งบประมาณ 2548(กันยายน

2548 – สิงหาคม 2549), เสนอตอสํานักงานที่ปรึกษาการเกษตรตางประเทศ ประจํากรุง

วอชิงตัน ด.ีซ.ีหนา 47.

Page 270: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

253

วิชัย ธัญญพาณิชย. ปญหาการชดใชเยียวยาความเสียหายแกผูบริโภคตามพระราช

บัญญัติคุมครองผูบริโภค พ.ศ.2522. บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ

มหาวิทยาลัย, 2539.

ศุภฤกษ ชลวีระวงศ. ความรับผิดตอความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินคาที่ไมปลอดภัย

ศึกษากรณีของผูใหแฟรนไชสที่ไมไดผลิตหรือขายหรือนําเขาสินคา.นิติศาสตรมหาบัณฑิต

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2550.

สมชาย ปรีชาศิลปะกุล. โครงการทบทวนองคความรูระบบชดเชยความเสียหายที่เกิดขึ้นจากมลพิษ

จากสิ่งแวดลอม,สาขาวิชานิติศาสตรคณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัย

เชียงใหมสํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) และมูลนิธิสาธารณสุขแหง

ชาติ มสช., 2546.

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา. บันทึกสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาประกอบ

รางพระราชบัญญัติความรับผิดตอความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินคาที่ไมปลอดภัย พ.ศ. ....

เรื่องเสร็จที่ 525/2550 หนา 13-15.

เสาวนีย จักรพิทักษ. หลักโภชนาการปจจุบัน. บริษัทสํานักพิมพไทยวัฒนาพานิช จํากัด 2528 : 10.

อนันต จันทรโอภากร. โครงสรางพื้นฐานกฎหมายลักษณะละเมิด. 60 ป, ดร.ปรีดี เกษมทรัพย.

รวบรวมบทความเกษียณอายุราชการ. กรุงเทพมหานคร : พีเค พริ้นติ้ง เฮาส, 2531 : 98.

เอกสารวิชาการกองควบคุมอาหารเรื่องการแสดงฉลากของ. Food Allergen. 2552 : 1.

เอกสารอื่น ๆWoffgang Freihen Von Marschall. ความรับผิดเพื่อผลิตภัณฑ : ขอคิดบางประการใน

แงกฎหมายเปรียบเทียบ. แปลโดย กิตติศักดิ์ ปรกติ.ความรับผิดเพื่อผลิตภัณฑ : ขอคิดบาง

ประการในแงกฎหมายเปรียบเทียบ. วารสารนิติศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. ปที่ 18

(ฉบับที่ 1 ป 2531 ). หนา 172-173.

Page 271: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

254

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2540

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550

ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 420.

ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา 84/1

ประมวลกฎหมายอาญา

พระราชบัญญัติอาหาร พุทธศักราช 2522

พระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภค พ.ศ. 2522 (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2541

พระราชบัญญัติความรับผิดตอความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินคาที่ไมปลอดภัย พ.ศ.2551

ระเบียบสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาวาดวยการดําเนินการเกี่ยวกับเลข

สารบบอาหาร (ฉบับที่ 6)

ประกาศกระทรวงสาธารณสุข(ฉบับที่ 367) พ.ศ.2557 เรื่อง การแสดงฉลากของอาหาร

ในภาชนะบรรจุ

ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 182 ) พ.ศ.2541 เรื่อง ฉลากโภชนาการ

พระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีผูบริโภค พ.ศ. 2551

คําพิพากษาฎีกาที ่75/2538

คําพิพากษาศาลปกครองคดีแดงที ่1820/2545

คําพิพากษาฎีกาที ่5220/2539

คําพิพากษาฎีกาที่ 1745/2535

คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 556/2530

Page 272: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

255

คําพิพากษาฎีกาที่ 634/2501

คําพิพากษาฎีกาที่ 1666/2514

คํา พิพากษาฎีกาที่ 14/2517

คําพิพากษาฎีกาที่ 420/2516

คําพิพากษาฎีกาที่ 829/2509

กฎหมายของสหรัฐอเมริการัฐบัญญัติเรื่องฉลากอาหารกอโรคภูมิแพและการคุมครองผูบริโภคป พ.ศ.2547(Food

Allergen Labeling and Consumer Protection Act of 2004:FALCPA (Public Law108-

282)

รัฐบัญญัติอาหารยาและเครื่องสําอาง(The Federal Food, Drug, and Cosmetic Act

of 1938:FDCA)

กฎระเบียบเรื่องการปดฉลากอาหารกอภูมิแพภายใตกฎหมายThe Food Allergen

Labeling and Consumer Protection Act หรือFALCPA)

http://www.fda.gov/Food/Guidance Regulation/Guidance Documents

Regulatory Information/Allergens/ucm106187.htm (Food Allergen Labeling and

Consumer Protection Act of 2004 (Public Law 108-282, Title II)

กฎหมายของประเทศแคนนาดาประกาศระเบียบใหม เรื่อง “การแสดงฉลากอาหารที่มีสวนประกอบของสารกอภูมิแพ

กลูเต็น และซัลไฟต ภายใตกฎหมายความปลอดภัยสินคาผูบริโภค (Consumer Product

Safety Act)

Page 273: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

256

กฎหมายของประเทศสหภาพยุโรปประกาศกฎเกณฑกลาง Commission Directive 2007/29/EC of 30 May 2007

amending Directive96/8/EC as regards labelling, advertising or

presenting foods intended for use in energy-restricted diets for weight

reduction ไวใน Official Journal L 139 Volume 22

ประกาศกฎเกณฑกลาง COMMISSION DIRECTIVE 2006/142/EC of 22

December 2006 amending Annex IIIa of Directive 2000/13/EC

Regulation 1169/2011 on Food Information to Consumers Article 21.

กฎหมายของประเทศอังกฤษพระราชบัญญัติ Communications Act 2003 ม ีOffice of Communication Office of

Communication (Ofcom)

กฎหมายการคา Trade Description Act of 1986 ปรับปรุงป 1972 มีหนวยงาน

Officer of Trade Officer of Trade

กฎหมาย The Consumer Protection from Unfair Trading Regulations and the

business Protection from Misleading Marketing Regulations 2008

Sale of Goods Act 1979

กฎหมายของประเทศญี่ปุนThe Product Liability Act 1994

กฎหมายคุมครองผูบริโภค (The Consumer Protection Fundamental Act, 1968)

Food Allergy Labeling in Japan

สารสนเทศจากสื่ออิเล็กทรอนิกสกฎหมายเกี่ยวกับการคุมครองผูบริโภค กฎหมายคุมครองผูบริโภค.สืบคนเมื่อวันที่ 20

กันยายน 2557.จาก.http://www.oknation.net/blog/print.php?id=893860.

Page 274: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

257

Food Allergen และกฎระเบียบของประเทศคูคาไทย.สืบคนเมื่อวันที่ 23 มกราคม

2557.จาก.

http://www.tistrfoodprocess.net:8080/download/should_know/Food_Allergens.htm.

การติดฉลากสินคาอาหารเพื่อคุมครองผูบริโภคในญี่ปุน. สืบคนเมื่อ 5 เมษายน 2557.

จาก. http://www.depthai.go.th/DEP/DOC/53/53000576.pdf.

กฎระเบียบการติดฉลากอาหารของประเทศญี่ปุน. สืบคนเมื่อวันที่ 20กรกฏาคม 2558.

จาก. http://www.acfs.go.th/news/docs/simina_label/acfs_21-07- 10_1.pdf.

ฉลากภูมิแพของประเทศแคนาดา.สืบคาเมื่อวันที่3 เมษายน 2557. จาก

.http://www.inspection.gc.ca/english/fssa/labeti/guide/toce.shtml.

ฉลากอาหารกอโรคภูมิแพของอเมริกา.สืบคนเมื่อวันที่ 10 เมษายน 2558. จาก. ที่มา

www.fda.gov,(ขอมูล 5/10/2548).

Food Allergen.อาหารที่กอใหเกิดภูมิแพ.(28 พฤศจิกายน 2556 ).สืบคนเมื่อวันที่ 2

กุมภาพันธ 2557.จาก.http://www.ifrpd-foodallergy.com/index.php/th.

พ.ญ.สิรินันท บุญยะลีพรรณ.แพอาหารเกือบตาย.สืบคนเมื่อวันที่ 30 เมษายน 2558.

จาก. http://www.inderm.go.th/inderm_sai/skin/skin28.html.

บทความศูนยทดสอบฉลาดซื้อ ประเภทอาหาร/สุขภาพ ฉบับที่ 134 ฉลากอาหารกับความเขาใจของ

ผูบริโภค.ศูนยคุมครองสิทธิผูบริโภค มูลนิธิเพื่อผูบริโภค.จาก.

http://www.chaladsue.com/index.php/Food-health/1150-test134.html.

ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 367) พ.ศ. 2557 .เรื่อง การแสดงฉลากของอาหารในภาชนะ

บรรจุ.สืบคนเมื่อวันที่ 25 กันยายน 2557.

จาก. http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2557/E/102/32.PDF

Page 275: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

258

น.พ ปรีดา สงาเจริญกิจ,กุมารแพทยโรคภูมิแพและวิทยาภูมิคุมกัน โรงพยาบาลพญาไทย1, สืบคน

เมื่อวันที่ 10 เมษายน 2559,จาก

http://www.phyathai.com/medicalcenterdetail_article/24/260/PYT2/th.

รวมพระราชบัญญัติอาหารพ.ศ.2522 พรอมกฎกระทรวงและประกาศกระทรวงสาธารณะสุขฉบับที่

พ.ศ.2556-2557.(รวมรวมโดยสํานักอาหาร สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา มีนาคม

2557),หนา15.

แนวทางการดําเนินงานของคณะกรรมาธิการการคุมครองผูบริโภค สภาผูแทนราษฎร.

(2550). สืบคนเมื่อ 5 เมษายน 2557. จาก. http://web.parliament.go.th/parcy/sapa_db/committee-upload/6-

20110928111705_Operating%20guidelines.pdf .

แนวทางการดําเนินงานคณะกรรมาธิการการคุมครองผูบริโภค. สืบคนเมื่อ 5 เมษายน

2557. จาก. http://www.parliament.go.th/parcy/sapa_db/committee-upload/6-

20110928111705_Operating%20guidelines.pdf .

ที่มา ศูนยอัจฉริยะเพื่ออุตสาหกรรมอาหาร แผนกวิเคราะหขอมูล ฝายวิจัยและบริหาร

ขอมูล สถาบันอาหาร.สืบคนเมื่อวันที่ 7 เมษายน 2557. จาก. www.foodnavigator-

usa.com/Legislation/Canada-reveals-allergen-labeling-plans และ www.hc-

sc.gc.ca/fn-an/label-etiquet/allergen/project_1220_differ-eng.php .

นพ.วรวุฒิ เจริญศิริ.ศูนยขอมูลสุขภาพกรุงเทพ.สืบคนเมื่อวันที่ 23 มกราคม 2558.

จาก. http://www.bangkokhealth.com/index.php/health/health-

นายแพทย ฉัตรชัย ศรีบัณฑิต.(สืบคนเมื่อวันที่ 15 เมษายน 2557).จาก.

http://absolute-health.org/thai/article-th-028.htm.

มาตรการคุมครองในดานฉลากภูมิแพ,สถาบันคนควาและพัฒนาผลิตภัณฑ

อาหาร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.(สืบคนเมื่อวันที่ 10เมษายน 2557).จาก.

http://www.ifrpd-foodallergy.com/index.php/th/news/49-japan-food-allergen-

labeling-regulation-history-and-evaluation.

Page 276: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

259

หลักความปลอดภัยทางดานอาหารของแคนาดา.สืบคนเมื่อวันที่ 25 กันยายน 2557.

จาก. http://www.hc-sc.gc.ca/fn-an/securit/index-eng.php.

สถาบันอาหาร กระทรวงอุตสาหกรรม.(สืบคนเมื่อวันที่ 10 เมษายน 2557).จาก.

http://fic.nfi.or.th/foodsafety.

สหภาพยุโรป สถาบันอาหาร: กฎหมายอาหาร .สืบคนเมื่อวันที่ 3 มีนาคม 2557. จาก.

สถาบันอาหาร.http://fic.nfi.or.th/law.

สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา.สืบคนเมื่อวันที่ 10 เมษายน 2557. จาก

.http://www.fda.moph.go.th.

สํานักงานคณะกรรมการคุมครองผูบริโภค.กฎหมายเกี่ยวกับการคุมครองผูบริโภค.(สิบ

คนเมื่อวันที่10 เมษายน 2557.จาก.http://www.ocpb.go.th/list_law.asp April 20 2011.

สํานักงานคณะกรรมการคุมครองผูบริโภค.สืบคนเมื่อวันท่ี 10 มกราคม 2558.จาก.

http://www.ocpb.go.th/main.php?filename=index.

สํานักงานคณะกรรมการคุมครองผูบริโภค.กฎหมายเกี่ยวกับการคุมครองผูบริโภค.

สืบคนเมื่อวันที่ 10/4.2557.จาก.http://www.ocpb.go.th/list_law.asp April 20 2011.

สมาคมโภชนาการแหงประเทศไทย.สืบคนเมื่อวันที่ 10 เมษายน2558.จาก.

http://www.nutritionthailand.or.th/scripts/index.asp.

อานใหรูดูใหเปนกับฉลากโภชนาการ ฉลากโภชนาการสําคัญไฉนของสํานักงาน

คณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข,จาก.

http://www.fda.moph.go.th).

Page 277: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

260

ภาษาตางประเทศBOOKSVenezia v. Miller Brewing Co http://openjurist.org/626/f2d/188/venezia-v-miller-

brewing-company. Labeling and Consumer Protection Act of 2004.( SEC. 204.

Report On Food Allergens)

Food Allergen Labeling and Consumer Protection Act of 2004 Public Law 108-

282 Report to The Committee on Health.

Page 278: มาตรการทางกฎหมายในการบังคับให มีข อความเตือนภัยจากโรคภูมิ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2559/F_upachai_

ประวัติผูเขียน

ชื่อ – สกุล นายศุภชัย หนองชาง

วัน เดือน ปเกิด 4 มกราคม พ.ศ.2527

สถานที่เกิด จังหวัดแพร

ประวัติการศึกษาพ.ศ.2549 สําเร็จการศึกษานิติศาสตรบัณฑิต

มหาวิทยาลัยรามคําแหง

ประวัติการทํางาน พ.ศ.2553 ถึงปจจุบัน สวนงานดําเนินคดีทางกฎหมาย

บริษัทอยุธยา แคปปตอล ออโต ลีส จํากัด

(มหาชน)