คู่มือscience.swu.ac.th/portals/22/download/paperlessmanual...แสดงสถ ต...

24
ค่มอ การลดใช้กระดาษ คณะวิทยาศาสตร์ มศว Paperless Manual Faculty of Science, Srinakharinwirot University โดย สานกงานคณบด คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลยศร นครินทรวิโรฒ

Upload: others

Post on 14-Jul-2020

0 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: คู่มือscience.swu.ac.th/Portals/22/Download/PaperlessManual...แสดงสถ ต การใช งบประมาณ ด งน 167,348 127,972 206,724 สถ

คู่มือ

การลดใช้กระดาษ คณะวิทยาศาสตร์ มศว

Paperless Manual

Faculty of Science, Srinakharinwirot University

โดย ส านักงานคณบด ี

คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรนีครินทรวิโรฒ

Page 2: คู่มือscience.swu.ac.th/Portals/22/Download/PaperlessManual...แสดงสถ ต การใช งบประมาณ ด งน 167,348 127,972 206,724 สถ

ค าน า

ทรัพยากรกระดาษนั้น เป็นสิ่งที่จ าเป็นในทุก ๆ หน่วยงาน ในการใช้กระดาษ เพื่อเป็นการตอบสนองนโยบายของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ และคณะวิทยาศาสตร์ ในด้านการบริหารจัดการแบบลีน (Lean Management) เพื่อลดการใช้พลังงานในรูปแบบต่าง ๆ ภายใต้โครงการ “วิทยาศาสตร์สีเขียว” (Green Science) คณะวิทยาศาสตร์จึงได้ริเริ่มโครงการบริหารจัดการการใช้กระดาษภายในหน่วยงานขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์หลัก ดังนี้

1. เพื่อการจัดการใช้กระดาษให้เกดิประโยชนส์ูงสุด 2. เพื่อควบคุมและลดการใช้กระดาษในส านักงาน 3. เพื่อปลูกจติส านึกในการใช้วสัดุอุปกรณส์ านกังานให้เกดิประโยชนส์ูงสดุ 4. เพื่อรณรงค์ให้การควบคุมปริมาณการใช้กระดาษมผีลอย่างต่อเนื่องใน

ระยะยาว คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ได้มีกระบวนการในการ

บริหารจัดการทรัพยากรกระดาษในส่วนกลางของคณะวิทยาศาสตร์ โดยมีการรณรงค์ให้บุคลากรเห็นถึงความส าคัญในการใช้ทรัพยากรของหน่วยงานอย่างคุ้มค่า และเกิดประโยชน์สุงสุด ซึ่งได้จัดท าสถิติ และบันทึกการใช้กระดาษและมีเจ้าหน้าที่คอยรับผิดชอบ ให้ความร่วมมือในการจัดสรรทรัพยากร ประกอบด้วยพนักงานบริการอัดส าเนา เจ้าหน้าที่พัสดุ นักประชาสัมพันธ์ และบุคลากรทุกส่วนงาน เพื่อตระหนักถึงความส าคัญในการประหยัดทรัพยากร ทั้งนี้คณะวิทยาศาสตร์ได้ผลักดัน สนับสนุนให้บุคลากรน าเทคโนโลยีด้านสารสนเทศมาประยุกต์ในการปฏิบัติงานดา้นเอกสารอิเล็กทรอนิกส์มากยิ่งขึ้น

ส านักงานคณบดี คณะวิทยาศาสตร์

Page 3: คู่มือscience.swu.ac.th/Portals/22/Download/PaperlessManual...แสดงสถ ต การใช งบประมาณ ด งน 167,348 127,972 206,724 สถ

สารบญั

ท าไมต้องประหยัดทรัพยากรกระดาษ ..................................................................... 1

สถิติการใช้กระดาษคณะวิทยาศาสตร ์..................................................................... 6

สมมติฐาน ............................................................................................................... 9

แนวทางในการลดปรมิาณการใช้กระดาษ .............................................................10

ขั้นตอนการปฏิบตัิการ ..........................................................................................11

1. ส ารวจและวางแผน...................................................................................12

2. ประยุกต์การใช้เทคโนโลยฯี ......................................................................13

3. การใช้กระดาษให้คุม้ค่า ............................................................................14

4. ติดตามและประเมินผล .............................................................................15

5. การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ........................................................................16

แนวปฏิบัต ิ............................................................................................................17

แผนการด าเนินงาน/เป้าหมาย ในการลดใช้กระดาษ ............................................18

ผลที่คาดว่าจะไดร้ับ ..............................................................................................20

แบบสอบถาม ........................................................................................................21

Page 4: คู่มือscience.swu.ac.th/Portals/22/Download/PaperlessManual...แสดงสถ ต การใช งบประมาณ ด งน 167,348 127,972 206,724 สถ

ท าไมต้องประหยดัทรัพยากรกระดาษ

คนไทยใช้กระดาษเฉลี่ยปีละ 3.9 ล้านตัน หรือ คนละประมาณ 60

กิโลกรัมต่อปี ดังนั้นเพื่อตอบสนองความต้องการต่อการใช้กระดาษของคนไทย จะต้องตัดต้นไม้ถึง 66.3 ล้านต้นต่อปี หรือเท่ากับว่าทุก ๆ นาที ต้นไม้ 126 ต้นจะต้องถูกโค่นลง

กระดาษเก่า 1 ตัน สามารถทดแทนการตัดต้นไม้เพื่อมาท าเป็นกระดาษ

ได้ถึง 15 ต้น หากคนไทยทุกคนใช้กระดาษอย่างประหยัด โดยการใช้กระดาษท้ัง 2 หน้า จะช่วยรักษาชีวิตต้นไม้ได้ถึง 1.3 ล้านต้น หากคนไทยทุกคนหันมาใช้ผ้าเช็ดหน้าแทนการใช้กระดาษทิชชู เพื่อจะช่วยรักษาชีวิตต้นไม้ได้ 3,315,000 ต้น

Page 5: คู่มือscience.swu.ac.th/Portals/22/Download/PaperlessManual...แสดงสถ ต การใช งบประมาณ ด งน 167,348 127,972 206,724 สถ

P a g e | 2

กระดาษมีส่วนสัมพันธ์กับชีวิตประจ าวันของเราอย่างหลีกเลี่ยงไมได้ ยิ่งมี

ความต้องการกระดาษมากขึ้นใด เราก็ต้องตัดต้นไม้หรือถากถางพื้นที่ป่า เพื่อปลูกต้นไม้โตเร็วส าหรับน าเยื่อไม้มาท ากระดาษมากข้ึนเท่านั้น หากแต่ทุกวันนี้คนไทยใช้กระดาษเฉลี่ยคนละ 60 กิโลกรัม ต่อปี และมีอัตราเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ โดยทั่วประเทศมีความต้องการกระดาษทุกชนิดรวมกันประมาณ 3.25 ล้านตันต่อปี ในขณะที่มีก าลังผลิต 4 ล้านตันต่อปี

ในกระบวนการผลิตกระดาษ 1 ตันต้องใช้ต้นไม้มากถึง 17 ต้น ใช้กระแสไฟฟ้ามากถึง 4,100 กิโลวัตต์ต่อช่ัวโมง ใช้น้ าถึง 31,500 ลิตร และปล่อยคลอรีนที่ใช้ในการฟอกกระดาษเป็นของเสียกว่า 7 กิโลกรัม นั่นหมายความว่า ในการสนองตอบความต้องการใช้กระดาษของคนไทยให้เพียงพอ เราต้องตัดต้นไม้ถึงปีละประมาณ 55 ล้านต้น

ส าหรับการผลิตกระแสไฟฟ้า 1 กิ โลวัตต์ ช่ัวโมง จะปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ 0.71 กิโลกรัมและต้นไม้ 1 ต้นดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ได้ปีละ 15 กิโลกรัม ทว่าในความเป็นจริงแล้วเราทุกคนสามารถช่วยกันลดการตัดต้นไม้

Page 6: คู่มือscience.swu.ac.th/Portals/22/Download/PaperlessManual...แสดงสถ ต การใช งบประมาณ ด งน 167,348 127,972 206,724 สถ

P a g e | 3

รวมทั้งการใช้น้ าและพลังงานไฟฟ้าในการผลิตกระดาษลงได้ ด้วยการน ากระดาษที่ใช้แล้วหมุนเวียนกลับมาผลิตเป็นกระดาษใหม่ซึ่งจะช่วยประหยัดพลังงานไฟฟ้าได้ถึงร้อยละ 50 ซึ่งเป็นการช่วยลดปัญาหาโลกร้อนไปในตัว รวมทั้งช่วยลดปริมาณขยะในส านักงาน บ้านเรือน และกรุงเทพมหานครลงด้วย

ในบรรดาขยะที่คนไทยเราทิ้งกันทุกวันนี้เฉลี่ยคนละ 1 กิโลกรัมต่อวัน คิดขยะทั่ วประเทศวันละ 40,000 ตัน หรือปีละ 14.6 ล้ านตัน เฉพาะในกรุงเทพมหานครมีขยะเกือบ 10,000 ตันต่อวัน แต่ส านักงานกรุงเทพมหานครจัดเก็บได้ไม่หมด คงเหลือตกค้างตามที่ต่าง ๆ ส่งผลต่อสุขภาพอนามัยและเป็นมลภาวะต่อสภาพแวดล้อม

Page 7: คู่มือscience.swu.ac.th/Portals/22/Download/PaperlessManual...แสดงสถ ต การใช งบประมาณ ด งน 167,348 127,972 206,724 สถ

P a g e | 4

ทั้งนี้ ในกองขยะทั่วไป เกือบครึ่งหนึ่งเป็นขยะที่มีราคาสามารถน ากลับมาใช้ใหม่ได้ ซึ่งแยกเป็นกระดาษ 19% พลาสติก 13% แล้ว 8% โลหะ 5% จะเห็นว่าขยะกระดาษ มีจ านวนมากที่สุด คิดเป็นขยะที่เกิดขึ้นทั่วประเทศ ประมาณ 2.47 ล้านตัน ซึ่งเศษกระดาษเหล่านี้ ควรถูกรวบรวมป้อนให้แก่โรงงานผลิตกระดาษ เพื่อน าไปใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตกระดาษรีไซเคิล ซึ่งโรงงานผลิตกระดาษมีความต้องการเศษกระดาษปีละ 2.5 ล้านตัน แต่เรากลับสามารถหาเศษกระดาษภายในประเทศป้อนโรงงานได้ไม่ถึงร้อยละ 50 ที่เหลือต้องน าเข้าเศษกระดาษจากต่างประเทศ จึงเป็นเรื่องที่ไม่น่าเช่ือที่ประเทศไทยต้องน าเข้าเศษกระดาษกว่าปีละ 1 ล้านตัน ท้ังๆ ที่มีขยะกระดาษภายในประเทศถึงปีละ 2.7 ล้านตัน

ดังนั้นทางที่ดีที่จะท าให้มีการน ากระดาษใช้แล้วมาหมุนเวียนผลิตมาใช้ใหม่ (Recycle) มีปริมาณมากขึ้นก็คือ การรวบรวมเศษกระดาษใช้แล้วในส านักงานและบ้านเรือน โดยแยกเศษกระดาษเหล่านี้ออกจากขยะชนิดอื่นเพื่อสะดวกในการจัดเก็บและน ากลับไปรีไซเคิล เพื่อก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดทั้งในทาง เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรธรรมชาติ

ที่มา : โครงการกระดาษเพื่อต้นไม ้โดย มลูนิธิศูนยส์ื่อเพื่อการพัฒนา

Page 8: คู่มือscience.swu.ac.th/Portals/22/Download/PaperlessManual...แสดงสถ ต การใช งบประมาณ ด งน 167,348 127,972 206,724 สถ

P a g e | 5

กระดาษมีบทบาทส าคัญอย่างมากในกระบวนการเรียนการสอน ในรูปแบบต่าง ๆ ต่อคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ อาทิ ใช้พิมพ์ บันทึกข้อความ ส าเนา เอกสารประกอบการเรียนการสอน สื่อการเรียนการสอนการจัดท าข้อสอบ และการรายงานผลการด าเนินงานต่าง ๆ เป็นต้น

ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 - 2559 คณะวิทยาศาสตร์ได้มีการใช้กระดาษเป็นจ านวนมากในการเพื่อสนับสนุนด้านการเรียนการสอน โดยเอื้ออ านวยความสะดวกให้กับหน่วยงานภายในคณะวิทยาศาสตร์ ซึ่งประกอบไปด้วย 6 ภาควิชา 1 ส านักงาน ดังนี ้

1. ภาควิชาคณติศาสตร ์2. ภาควิชาคหกรรมศาตร ์3. ภาควิชาเคม ี4. ภาควิชาชีววิทยา 5. ภาควิชาฟิสิกส ์6. ภาควิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไป 7. ส านักงานคณบด ี

ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 คณะวิทยาศาสตร์ได้มีการปรับโครงสร้างการบริหารงาน โดยมีการเพิ่มหน่วยงานเพิ่มเพิ่มขึ้นอีก 3 ภาควิชา 1 ศูนย์ ดังนี้

8. ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร ์9. ภาควิชาจุลชีววิทยา 10. ภาควิชาวัสดุศาสตร ์11. ศูนย์วิทยาศาสตรศึกษา

ซึ่งจะเห็นได้ว่า การที่คณะวิทยาศาสตร์มีการปรับขยายโครงสร้างองค์กร เพื่อให้เกิดสภาพคล่องในการบริหารจัดการแล้ว ผลที่ตามมา คือ การขยายเพิ่มในส่วนของหน่วยงาน จ านวนบุคลากร และการเพิ่มปริมาณการจัดท าเอกสารต่าง ๆ อาทิ หนังสือเวียน หนังสือเชิญประชุม ค าสั่งแต่งตั้ง และบันทึกข้อความ เป็นต้น

Page 9: คู่มือscience.swu.ac.th/Portals/22/Download/PaperlessManual...แสดงสถ ต การใช งบประมาณ ด งน 167,348 127,972 206,724 สถ

P a g e | 6

สถิติการใชก้ระดาษคณะวิทยาศาสตร ์

คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒเป็นหน่วยงานที่มีการเรียนการสอน การท าวิจัย และการปฏิบัติการ เพื่อผลิตบัณฑิตด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ของคณะวิทยาศาสตร์ให้มีคุณธรรมจริยธรรมและมีจิตสาธารณะ ดังนั้น ส่วนหนึ่งของสื่อการเรียนการสอน คือ การใช้ทรัพยากรกระดาษที่มีปริมาณมากในการสนับสนุนด้านการเรียนการสอน ในแต่ละปีคณะวิทยาศาสตร์ได้ใช้กระดาษจ านวนมาก ดังตารางท่ี 1.1

1.1 ตารางแสดงสถิติการใช้กระดาษของส่วนกลางคณะวิทยาศาสตร์ ปีงบประมาณ จ านวนกระดาษทีส่ั่ง (รีม) คิดเป็นเงิน (บาท) ร้อยละ พ.ศ. 2558 1,700 167,348 33.33 พ.ศ. 2559 1,300 127,972 25.49 พ.ศ. 2560 2,100 206,724 41.18

รวม 5,100 502,044 100.00 ขอ้มูล : จากหน่วยงานคลังและพสัดุ คณะวิทยาศาสตร์

Page 10: คู่มือscience.swu.ac.th/Portals/22/Download/PaperlessManual...แสดงสถ ต การใช งบประมาณ ด งน 167,348 127,972 206,724 สถ

P a g e | 7

จากข้อมูลข้างต้น พบว่าคณะวิทยาศาสตร์ได้มีการใช้ปริมาณกระดาษในปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 - 2559 นั้น มีปริมาณการใช้กระดาษลดลง คิดเป็นร้อยละ 7.80 ซึ่งการพิจารณาจากจ านวนนิสิตในแต่ละปีการศึกษาที่มีการเรียนการสอนนั้นลดลงเล็กน้อย แสดงให้เห็นว่ามาตรการในการใช้กระดาษเป็นไปตามแผนการด าเนินงานของคณะวิทยาศาสตร์

ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 น้ัน พบว่ามีการสั่งกระดาษเพื่อการใช้ในการสนับสนุนการเรียนการสอนมีปริมาณที่เพ่ิมขึ้นอย่างมาก คิดเป็นร้อยละ 15.69 จากข้อสังเกตุเบื้องต้นพบว่า เกิดจากการที่คณะวิทยาศาสตร์ได้มีการปรับเปลี่ยนโครงสร้างองค์กรจาก 7 หน่วยงาน (6 ภาควิชา 1 ส านักงาน) เป็น 11 หน่วยงาน (9 ภาควิชา 1 ศูนย์ 1 ส านักงาน *รายละเอียดหน้า 5) ดังนั้นเอกสารในการด าเนินงานทุกส่วนงานจึงมีผลกระทบต่อการใช้ปริมาณกระดาษอย่างมาก สถิติแสดงผล ดังนี้

รูป 1 กราฟแสดงสถติิการใช้ปริมาณกระดาษในปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 - 2560

0

500

1,000

1,500

2,000

2,500

พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2560

1,7001,300

2,100

จ ำนวน (รีม

)

ปีงบประมำณ

กำรใช้ปริมำณกระดำษ (รีม)

Page 11: คู่มือscience.swu.ac.th/Portals/22/Download/PaperlessManual...แสดงสถ ต การใช งบประมาณ ด งน 167,348 127,972 206,724 สถ

P a g e | 8

คณะวิทยาศาสตร์ใช้งบประมาณในการจัดซื้อกระดาษเพื่อสนับสนุนด้าน

การเรยีนการสอน การวิจัย การประกันคณุภาพการศึกษา และอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง

ระหว่างปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 - 2560 เป็นจ านวนเงินทั้งสิ้น 502,044 บาท

(ห้าแสนสองพันสีส่ิบสี่บาทถ้วน) ซึ่งถือว่ามีการใช้กระดาษเป็นจ านวนมาก ดังกราฟ

แสดงสถิติการใช้งบประมาณ ดังนี ้

167,348

127,972

206,724

สถิติงบประมำณที่ใช้ในกำรซือ้กระดำษ (บำท)

พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2560

Page 12: คู่มือscience.swu.ac.th/Portals/22/Download/PaperlessManual...แสดงสถ ต การใช งบประมาณ ด งน 167,348 127,972 206,724 สถ

P a g e | 9

สมมติฐาน

จากสมมติฐานพบว่า การใช้ทรัพยากรกระดาษ/หมึกพิมพ์/อื่น ๆ ภายใน

ส่วนกลางของคณะวิทยาศาสตร์นั้น ส่งผลให้เกิดการสิ้นเปลืองทั้งทรัพยากร เวลา และงบประมาณค่าใช้จ่ายที่สูญเสียไปอย่างมาก

ปริมาณการ

ใช้กระดาษทรัพยากร

ค่าใช้จ่าย/

งบประมาณ

Page 13: คู่มือscience.swu.ac.th/Portals/22/Download/PaperlessManual...แสดงสถ ต การใช งบประมาณ ด งน 167,348 127,972 206,724 สถ

P a g e | 10

แนวทางในการลดปริมาณการใช้กระดาษ

เพื่อให้การประหยัดทรัพยากรกระดาษส่วนกลางของคณะวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลยัศรีนครินทรวิโรฒ ให้เป็นไปอย่างเป็นระบบและเป็นรูปธรรมในการลดใช้ปริมาณกระดาษ โดยพิจารณาหลักแนวทางไดด้ังนี้

1. ส ารวจและวางแผน 2. ประยุกต์การใช้เทคโนโลยี เพิ่มช่องทางอิเล็กทรอนิกส์

ในการปฏิบัติงานแทนกระดาษ 3. การใช้กระดาษให้คุม้ค่า 4. ติดตามและประเมินผล 5. ปรับเปลีย่นพฤติกรรมของบุคลากร

จากสมมตฐิานขา้งตน้ :

คณะวทิยาศาสตรจ์ึงได้มีการประชุมและแลกเปลี่ยนความ

คิดเห็นและวิเคราะห์ปัญหา พบว่าแนวทางในการแก้ไข คือ “การน า

ระบบ/วิธีการทางเทคโนโลยีสารสนเทศมาประยุกต์ใช้แทนการจดัเก็บ

แบบเดิมและการติดต่อสื่อสารภายในส านักงานจะชว่ยลดปรมิาณการใช้

กระดาษได้อยา่งเป็นรูปธรรม”

Page 14: คู่มือscience.swu.ac.th/Portals/22/Download/PaperlessManual...แสดงสถ ต การใช งบประมาณ ด งน 167,348 127,972 206,724 สถ

P a g e | 11

ขั้นตอนการปฏิบตัิการ

ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของบุคลากร

ส ารวจและวางแผน

เผยแพร่แผนการด าเนินงานและแนวปฏิบัต/ิก าหนดเปา้หมาย

ติดตามและประเมินผล/สถิติ

ประยุกต์ใช้เทคโนโลยแีละ

เพิ่มช่องทางอิเล็กทรอนิกส์

ในการปฏิบัติงาน

รายงานผลต่อผู้บริหารและมหาวทิยาลัยฯ

เริ่มต้น

สิ้นสุด

Yes

No

ทบทวนการปฏิบัติงาน เพื่อปรับลดการใช้กระดาษ

Page 15: คู่มือscience.swu.ac.th/Portals/22/Download/PaperlessManual...แสดงสถ ต การใช งบประมาณ ด งน 167,348 127,972 206,724 สถ

P a g e | 12

1. ส ารวจและวางแผน

ส ารวจข้อมูลการใช้กระดาษในแต่ละปีโดยพิจารณาจากจ านวนนิสิต บุคลากร หน่วยงาน และสิ่งสนับสนุนด้านการเรียนการสอน ซึ่งในแต่ละปีงบประมาณฯ นั้นมีการใช้กระดาษเพิ่ม-ลด อย่างไรบ้าง และด าเนินการวางแผนการใช้กระดาษให้ชัดเจน โดยวางแผนให้ปริมาณกระดาษลดลงในปีงบประมาณละ 5-10 เปอร์เซน ของปริมาณกระดาษในแต่ละปี พร้อมท้ังผลักดันให้บุคลากรประยุกต์การปฏิบัติงานด้วยระบบสารสนเทศหรือเทคโนโลยีสารสนเทศมากยิ่งขึ้น

Page 16: คู่มือscience.swu.ac.th/Portals/22/Download/PaperlessManual...แสดงสถ ต การใช งบประมาณ ด งน 167,348 127,972 206,724 สถ

P a g e | 13

2. ประยุกต์การใช้เทคโนโลยีฯ

การสนับสนุนและผลักดัน ส่งเสริมให้บุคลากรน าเทคโนโลยีสารสนเทศในการประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานมากขึ้น อาทิ การส่งหนังสือ เผยแพร่

ข้อมูล ความรู้อื่น ๆ ผ่านทางอิเล็กทรอนิกส์มากขึ้น เพื่อให้การด าเนินการเป็นไปตามแผนการลดการใช้กระดาษของคณะวิทยาศาสตร์ โดยมีการผลักดันกิจกรรม ดังนี ้

- งานด้านการประชุมโดยใช้ระบบการประชุมอิเล็กทรอนิกส์

(e-meeting) เอกสารการประชุม/การอบรมที่มีจ านวนมาก

ให้ใช้วิธีการ Upload บนเว็บไซต์ ส่งทางอีเมล หรือ บันทึกลง

ซีดี แฟลซไดรฟ์ แจกผู้เข้าร่วมประชุมแทน

- การรับ - ส่งเอกสาร อาทิ การเวียนหนังสือท่ีเร่งด่วน โดยการ

แชร์ข้อมูลทาง Google Drive Group Line / Facebook หรือ

สังคมออนไลน์อ่ืน ๆ

- จัดเก็บส าเนาหนังสือเข้า - ออกด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์

(Scan) แทนการถ่ายส าเนาเอกสาร โดยใช้วิธีการ share file

ในส านัก/กอง/กลุ่มงาน แทนการ พิมพ์และการท าส าเนา

Page 17: คู่มือscience.swu.ac.th/Portals/22/Download/PaperlessManual...แสดงสถ ต การใช งบประมาณ ด งน 167,348 127,972 206,724 สถ

P a g e | 14

3. การใช้กระดาษให้คุ้มค่า

เพื่อให้การประหยัดทรัพยากรกระดาษมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นควรเริ่มต้นง่าย ๆ จากการคัดแยกเอกสารที่ใช้งานไปเพียงหน้าเดียว หรือคัดแยกกระดาษสี จากนน้ั ด าเนินการ ดังนี ้

- จัดตั้งและก าหนดจุดเก็บกระดาษใช้แล้วหน้าเดียว ในพื้นที่ส่วนกลาง

- ประชาสัมพันธ์ให้ทุกคนในหน่วยงานรับทราบถึงบริเวณหรือสถานที่ที่ใช้ส าหรับการรวบรวมกระดาษใช้แล้วหน้าเดียว

- รณรงค์ให้คนในหน่วยงานน ากระดาษที่ได้จากการรวบรวมไปใช้กระดาษหน้าสอง

- Reused เป็นกระดาษโน้ต/สมุดโน้ต แทนการใช้โพสต์อิท - บันทึกข้อความที่ไม่เป็นทางการหรือบันทึกข้อความที่ท า

เพื่อติดต่อภายในส านัก/กอง/กลุ่ม ให้พิจารณาน ากระดาษที่ใช้งานไปเพียงหน้าเดียวมาใช้

Page 18: คู่มือscience.swu.ac.th/Portals/22/Download/PaperlessManual...แสดงสถ ต การใช งบประมาณ ด งน 167,348 127,972 206,724 สถ

P a g e | 15

4. ติดตามและประเมินผล

เพื่อให้กระบวนการลดปริมาณการใช้กระดาษมีประสิทธิภาพ และเป็นรูปธรรมมากขึ้น คณะวิทยาศาสตร์ได้ด าเนินการติดตามและตรวจสอบข้อมูลการใช้ปริมาณกระดาษในแต่ละงาน พร้อมทั้งน าข้อมูลมาวิเคราะห์และน าเข้าที่ประชุมประจ าคณะฯ เพื่อเป็นข้อมูลประกอบการใช้ในการจัดสรรงบประมาณจัดซื้อกระดาษในงบประมาณปีถัดไป

Page 19: คู่มือscience.swu.ac.th/Portals/22/Download/PaperlessManual...แสดงสถ ต การใช งบประมาณ ด งน 167,348 127,972 206,724 สถ

P a g e | 16

5. การปรบัเปลี่ยนพฤติกรรม

สิ่งส าคัญที่สุดในการลดปริมาณการใช้กระดาษให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดต้องเริ่มจากการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของบุคลากรในหน่วยงานให้มีทัศนคติและให้ความร่วมมือในการปฏิบัติอย่างจริงจัง อาทิ

- การคัดแยกประเภทของกระดาษ (สี/ขาว) ที่ใช้แล้ว โดยแบ่งออกเป็น 3 R ดังนี้ คือ

1. Reduce ลดปริมาณ/ขนาด 2. Reuse น ากลับมาใช้ใหม่ 3. Recycle น ากลับไปใช้ทดแทน/จ าหน่าย

- การพิมพ์ (Print) เอกสารส าหรับการตรวจสอบให้ใช้กระดาษที่ใช้งานไปเพียงหน้าเดียวมาใช้แทนกระดาษดี และลดความละเอียดของหมึกลง (Economy Mode)

- ทบทวนกิจกรรมที่ด า เนินงานว่ ามีส่ วนไหนบ้า งที่จ าเป็นต้องปรับปรุงการด าเนินการเพื่อให้เกิดความเหมาะสม หรือปรับเกณฑ์การใช้กระดาษของแต่ละส่วนงานให้สอดคล้องกับการปฏิบัติงานจริงและเกิดประโยชน์สูงสุด

Page 20: คู่มือscience.swu.ac.th/Portals/22/Download/PaperlessManual...แสดงสถ ต การใช งบประมาณ ด งน 167,348 127,972 206,724 สถ

P a g e | 17

แนวปฏิบัต ิ

รายการ แนวทางการแก้ไข มาตรการ เป้าหมาย/ตัวช้ีวัด

1. การลดลง (REDUCE)

ใช้ระบบการส่งเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ และเก็บข้อมูลโดยผ่าน Google Drive

การจัดเก็บเอกสาร แบบฟอร์มโดยใช้ SHAREPOINT

การประชุมโดยใช้ระบบอิเล็กทรอนิกส์ e-meeting

การสั่งพิมพ์เอกสาร 2 หน้า/อัดส าเนา ก าหนดการพิมพ์เป็นแบบ ECONOMY ลดขนาดของแบบฟอร์ม ลดการใช้ แบบสอบถามจากกระดาษ ลดการแจกเอกสารการอบรม โดยใช้

ช่องทางอิเล็กทรอนิกส์ทดแทน

เน้นการใช้ SHARING FILE ลดการใช้เอกสารเวียนที่ไม่จ าป็น

ประสานงานและประชาสัมพันธ์จุดศูนย์รวมเอกสาร/แบบฟอร์ม SHARING INFO ให้บุคลากรทุกคนใช้

ลดการจัดซื้อจัดหาเครื่องพิมพ์ รายบุคคลเปลี่ยนมาใช้เครื่องพิมพ์แบบกลุ่ม

จัดหา /ใช้งานเครื่องพิมพ์ แบบ สองหน้าอัตโนมัติและต้ังค่าการพิมพ์แบบ ประหยัดหมึก

ลดขนาดของแบบฟอร์ม จาก A4 เป็น A5 ใช้แบบสอบถามออนไลน์ กรอกผ่านระบบ

อินเทอร์เน็ต e-survey แจกเอกสารการบรรยายโดยการ

DOWNLOAD ผ่าน WEBSITE หรือ ส่งทาง Google Drive

พัฒนาระบบการกรอกแบบฟอร์มร่วมกับ Google Form

ลดค่าใช้จ่ายการพิมพ์กระดาษและหมึกลง

10 %

2. การน ากลับมาใช้ใหม่ (REUSE)

ใช้กระดาษที่ใช้แล้วหน้าเดียว น ากลับมาใช้ใหม่

กระดาษสี กระดาษแข็ง ที่ใช้แล้วน ากลับมาท าปก สัน มุมของเอกสาร ฯลฯ

จัดกระบวนการแยกกระดาษ กระดาษใหม่ / กระดาษใช้แล้ว น าไปใช้งานต่อได้

3. การน ากลับมาใช้อีก(RECYCLE)

แยกกระดาษที่ต้องการทิ้งออกจากกระดาษทั่วไป

เก็บลังกระดาษส าหรับใช้ประโยชน์อื่น

จัดกิจกรรมการลดใช้กระดาษอย่างต่อเนื่อง

Page 21: คู่มือscience.swu.ac.th/Portals/22/Download/PaperlessManual...แสดงสถ ต การใช งบประมาณ ด งน 167,348 127,972 206,724 สถ

P a g e | 18

แผนการด าเนนิงาน/เป้าหมาย ในการลดใชก้ระดาษ

เป้าหมาย ตัวช้ีวัดความส าเร็จ ค่าเป้าหมาย

ผลการด าเนินงาน

หมายเหตุ พ.ศ. 2560

พ.ศ. 2561

พ.ศ. 2562

- ประชาสัมพันธ์ให้ทุกคนในหน่วยงานรับทราบถึงบริเวณหรือสถานที่ที่ใช้ส าหรับการรวบรวมกระดาษใช้แล้วหน้าเดียว

ร้อยละของบุคลากรทราบถึ งน โ ยบ ายก า ร ล ด ใ ช้ปริมาณกระดาษของคณะวิทยาศาสตร์

90 95 100

ร้อยละของบุคลากรทราบถึงจุดเก็บกระดาษใช้แล้วห น้ า เ ดี ย ว ใ น พื้ น ที่ส่ ว น ก ล า ง ข อ ง ค ณ ะวิทยาศาสตร์

90 95 100

- การน าเทคโนโลยีมาประยุกต์

ในการปฏิบัติงาน โดยช่องทาง

อิเล็กทรอนิกส์แทนการใช้

กระดาษ

ร้อยละของงานประชุมใช้ระบบการประชุมแบบอิเล็กทรอนิกส์ และลดป ริ ม า ณ ก ร ะ ด า ษ (Paperless)

80 85 90

ร้ อยละของบุคลากรที่ป ฏิ บั ติ ง า น ผ่ า น ร ะ บ บอิเล็กทรอนิกส์ เช่น อีเมล Facebook หรือ Google Drive อื่น ๆ เป็นต้น

80 85 90

ร้อยละของหน่วยงานที่จัดเก็บส าเนาหนังสือด้วยอิเล็กทรอนิกส์ เช่น วิธีการ Share File ในกลุ่มงาน/ภาควิชา แทนการถ่ายเอกสารหรือการท าส าเนา

80 85 90

Page 22: คู่มือscience.swu.ac.th/Portals/22/Download/PaperlessManual...แสดงสถ ต การใช งบประมาณ ด งน 167,348 127,972 206,724 สถ

P a g e | 19

เป้าหมาย ตัวช้ีวัดความส าเร็จ ค่าเป้าหมาย

ผลการด าเนินงาน

หมายเหตุ พ.ศ. 2560

พ.ศ. 2561

พ.ศ. 2562

- งานที่ใช้ปริมาณกระดาษลดลง (การใช้กระดาษให้คุ้มค่า)

ร้อยละของการใช้ปริมาณกระดาษลดลงในแต่ละงาน ดังนี้

- งานสารบรรณ ≥ 30 ≥ 40 ≥ 50

- งานบริกาการศึกษา ≥ 20 ≥ 30 ≥ 40

- งานนโยบายและแผน ≥ 40 ≥ 50 ≥ 60

- งานคลังและพัสดุ ≥ 10 ≥ 20 ≥ 30

- การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ร้อยละของบุคลากรที่

พิมพ์เอกสาร/ส าเนา โดย

การน ากระดาษหน้าเดียว

มาใช้ประโยชน์

90 95 100

ร้อยละของบุคลากรคัด

แยกประเภทของกระดาษ

ที่ใช้งาน คัดแยกประเภท

กระดาษสี และกระดาษ

ขยะ ทุกครั้งก่อนทิ้ง

90 95 100

- สถิติการใช้กระดาษ/ผลการลด

ปริมาณกระดาษใน

ปีงบประมาณ

ร้อยละของจ านวนการสั่ง

กระดาษมาใช้งานในแต่

ละปีงบประมาณมีจ านวน

ลดลง

≥ 10 ≥ 15 ≥ 20

Page 23: คู่มือscience.swu.ac.th/Portals/22/Download/PaperlessManual...แสดงสถ ต การใช งบประมาณ ด งน 167,348 127,972 206,724 สถ

P a g e | 20

ผลที่คาดว่าจะไดร้ับ

1. ปริมาณการใช้กระดาษลดลงอย่างต่อเนื่องและเป็นรูปธรรม

2. ปริมาณขยะประเภทกระดาษลดลง

3. ความรวดเร็วในการปฏิบัติงาน

4. บุคลากรตระหนักถึงความส าคัญในการควบคุมปริมาณการใช้กระดาษ

มากขึ้น

Page 24: คู่มือscience.swu.ac.th/Portals/22/Download/PaperlessManual...แสดงสถ ต การใช งบประมาณ ด งน 167,348 127,972 206,724 สถ

P a g e | 21

แบบสอบถาม

แบบสอบถามการใช้ทรัพยากรกระดาษและการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศสนับสนุนการปฏิบัติงาน ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ