ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕8 ๒๕60 · 8....

29
แผนอัตรากาลัง แผนอัตรากาลัง ปี ปี ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕8 ๒๕60 องค์การบริหารส่วนตาบลลาเหย อาเภอดอนตูม จังหวัดนครปฐม

Upload: others

Post on 21-Sep-2020

3 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕8 ๒๕60 · 8. โครงสร้างการก าหนดส่วนราชการ 8 - 12 9. ภาระค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับเงินเดือน

แผนอัตราก าลัง แผนอัตราก าลัง ๓ ๓ ปีปี ปีงบประมาณ

พ.ศ. ๒๕๕8 – ๒๕60

องค์การบริหารส่วนต าบลล าเหย อ าเภอดอนตูม จังหวัดนครปฐม

Page 2: ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕8 ๒๕60 · 8. โครงสร้างการก าหนดส่วนราชการ 8 - 12 9. ภาระค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับเงินเดือน

ค าน า องค์การบริหารส่วนต าบลล าเหยได้มีการจัดท าแผนอัตราก าลัง ๓ ปี โดยมีโครงสร้างการแบ่งงาน และระบบงานที่เหมาะสมไม่ซ าซ้อน จ าแนกภารกิจก าหนดต าแหน่ง การจัดอัตราก าลังโครงสร้างให้เหมาะสมกับอ านาจหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนต าบล ตามพระราชบัญญัติสภาต าบลและองค์การบริหารส่วนต าบล พ.ศ. ๒๕๓๗ แก้ไขเพ่ิมเติม ฉบับที่ ๕ พ.ศ. ๒๕๔๖ และตามพระราชบัญญัติก าหนดแผนและขั นตอนการกระจายอ านาจให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๒ เป็นแนวทางในการด าเนินการวางแผนการใช้อัตราก าลังและการพัฒนาบุคลากรขององค์การบริหารส่วนต าบลล าเหย เพ่ือให้คณะกรรมการพนักงานส่วนต าบล (ก.อบต. จังหวัด) ตรวจสอบการก าหนดต าแหน่งและการใช้ต าแหน่งพนักงานส่วนต าบลให้เหมาะสม

ทั งนี ใช้เป็นแนวทางในการด าเนินการวางแผนการใช้อัตราก าลัง การพัฒนาบุคลากรขององค์การบริหารส่วนต าบลล าเหย ให้เหมาะสมอีกด้วย

องค์การบริหารส่วนต าบลล าเหย จึงได้มีการวางแผนอัตราก าลัง ใช้ประกอบในการจัดสรรงบประมาณและบรรจุแต่งตั งพนักงานส่วนต าบล เพ่ือให้การบริหารงานขององค์การบริหารส่วนต าบลเกิดประโยชน์ต่อประชาชน เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจตามอ านาจหน้าที่ มีประสิทธิภาพ มีความคุ้มค่า สามารถลดขั นตอนการปฏิบัติงาน และมีการลดภารกิจ และยุบเลิกหน่วยงานที่ไม่จ าเป็น การปฏิบัติภารกิจสามารถตอบสนองความต้องการของประชาชนได้เป็นอย่างดี

องค์การบริหารส่วนต าบลล าเหย

Page 3: ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕8 ๒๕60 · 8. โครงสร้างการก าหนดส่วนราชการ 8 - 12 9. ภาระค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับเงินเดือน

สารบัญ เรื่อง หน้า

1. หลักการและเหตุผล 1 2. วัตถุประสงค์ 2 3. ขอบเขตและแนวทางในการจัดท าแผนอัตราก าลัง 3 ปี 2 4. สภาพปัญหา ความต้องการของประชาชนในเขตพื นที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 3 5. ภารกิจ อ านาจหน้าที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 5 - 7 6. ภารกิจหลัก และภารกิจรอง 7 7. สรุปปัญหาและแนวทางในการบริหารงานบุคคลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 7 8. โครงสร้างการก าหนดส่วนราชการ 8 - 12 9. ภาระค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับเงินเดือน และผลประโยชน์ตอบแทนอื่น 13 - 15 10. แผนภูมิโครงสร้างการแบ่งส่วนราชการตามแผนอัตราก าลัง 3 ปี 16 – 21 11. บัญชีแสดงจัดคนลงสู่ต าแหน่งและการก าหนดเลขที่ต าแหน่งในส่วนราชการ 22 - 25 12. แนวทางการพัฒนาข้าราชการ หรือพนักงาน หรือลูกจ้างขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 26 13. ประกาศคุณธรรม จริยธรรมของข้าราชการ พนักงาน ลูกจ้างขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 27 ๑๔. ประกาศ ก าหนดโครงสร้างส่วนราชการขององค์การบริหารส่วนต าบลล าเหย 28 - 31 ๑๕. ประกาศ ใช้แผนอัตราก าลัง ๓ ปี ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ – ๒๕๖๐ 32 ๑๖. ค าสั่งจัดพนักงานส่วนต าบลลงสู่ต าแหน่งตามโครงสร้างส่วนราชการใหม่ 33

*** เอกสารประกอบ ***

๑. ค าสั่งองค์การบริหารส่วนต าบลล าเหย เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการจัดท าแผนอัตราก าลัง ๓ ปี (พ.ศ. ๒๕๕๘ - ๒๕๖๐) พร้อมรายงานการประชุม 2. ค าแถลงประกอบงบประมาณรายจ่ายประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ (รายรับ-รายจ่าย)

๔. ประกาศโครงสร้างองค์การบริหารส่วนต าบลล าเหย (ฉบับปัจจุบัน) *ข้อ ๘.๒* พ.ศ.๒๕๕๕-๒๕๕๗

Page 4: ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕8 ๒๕60 · 8. โครงสร้างการก าหนดส่วนราชการ 8 - 12 9. ภาระค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับเงินเดือน

การจัดท าแผนอัตราก าลัง 3 ปี ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 - 2560

องค์การบริหารส่วนต าบลล าเหย อ าเภอดอนตูม จังหวัดนครปฐม

**************************************

ในการจัดท าแผนอัตราก าลัง 3 ปี โดยมีเนื อหาสาระที่เกี่ยวข้องกับระเบียบ กฎหมาย ที่ท าให้องค์การบริหารส่วนต าบล มีความจ าเป็นต้องจัดท าแผนอัตราก าลัง 3 ปี ขึ น ดังต่อไปนี

๑.๑ ตามประกาศคณะกรรมการกลางข้าราชการท้องถิ่นหรือพนักงานส่วนต าบล (ก.อบต.) เรื่อง มาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับอัตรา ต าแหน่ง และมาตรฐานของต าแหน่ง ลงวันที่ ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๔๔ ข้อ ๕ ก าหนดให้คณะกรรมการพนักงานส่วนต าบล (ก.อบต.จังหวัด) ก าหนดต าแหน่งพนักงานส่วนต าบลว่าจะมีต าแหน่งใด ระดับใด อยู่ในส่วนราชการใด จ านวนเท่าใด ให้ค านึงถึงภารกิจหน้าที่ความรับผิดชอบ ลักษณะงานที่ต้องปฏิบัติ ความยากและคุณภาพของงาน ปริมาณ ตลอดจนกระทั่งภาระค่าใช้จ่ายขององค์การบริหารส่วนต าบลที่จะต้องจ่ายในด้านบุคคล โดยให้องค์การบริหารส่วนต าบลจัดท าแผนอัตราก าลังของพนักงานส่วนต าบล เพ่ือใช้ในการก าหนดต าแหน่งโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการพนักงานส่วนต าบล จัดท าแผนอัตราก าลังของพนักงานส่วนต าบล เพ่ือใช้ในการก าหนดต าแหน่งโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการพนักงานส่วนต าบล (ก.อบต.จังหวัด) ทั งนี ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่คณะกรรมการกลางพนักงานส่วนต าบล (ก.อบต.) ก าหนด

๑.๒ ประกาศคณะกรรมการพนักงานส่วนต าบลจังหวัดนครปฐม เรื่อง หลักเกณฑ์และเงื่อนไขเกี่ยวกับพนักงานจ้าง ลงวันที่ ๒๒ กรกฎาคม ๒๕๔๗ โดยหลักเกณฑ์และเงื่อนไขเกี่ยวกับพนักงานจ้างส าหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดังกล่าว ก าหนดเพ่ือเป็นการปรับปรุงแนวทางการบริหารงานบุคคลของลูกจ้าง ให้เกิดความเหมาะสมและให้การปฏิบัติหน้าที่ราชการขององค์การบริหารส่วนต าบล เกิดความคล่องตัว มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผลและประโยชน์สูงสุดในการบริหารงานบุคคลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พร้อมทั้งให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ด าเนินการจัดท าแผนอัตราก าลัง ๓ ปี ตามประกาศคณะกรรมการพนักงานส่วนต าบลจังหวัดนครปฐม เรื่อง หลักเกณฑ์และเงื่อนไขเกี่ยวกับพนักงานจ้าง (ฉบับที่ ๓) ลงวันที่ ๒๔ กรกฎาคม ๒๕๕๗

๑.๓ ประกาศคณะกรรมการพนักงานส่วนจังหวัดนครปฐม เรื่อง หลักเกณฑ์และเงื่อนไขเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลขององค์การบริหารส่วนต าบล ลงวันที่ ๓๑ ตุลาคม ๒๕๔๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ ๑๘ โดยก าหนดให้องค์การบริหารส่วนต าบลจัดท าแผนอัตราก าลังขององค์การบริหารส่วนต าบลเป็นกรอบในการก าหนดต าแหน่งและการใช้ต าแหน่งพนักงานส่วนต าบล ลูกจ้างประจ า และพนักงานจ้าง โดยให้เสนอให้คณะกรรมการพนักงานส่วนต าบล(ก.อบต.จังหวัด) พิจารณาให้ความเห็นชอบ โดยได้ก าหนดให้องค์การบริหารส่วนต าบล แต่งตั้งคณะกรรมการจัดท าแผนอัตราก าลัง วิเคราะห์อ านาจหน้าที่และภารกิจขององค์การบริหารส่วนต าบล วิเคราะห์ความต้องการก าลังคน วิเคราะห์การวางแผนการใช้ก าลังคน จัดท ากรอบอัตราก าลัง และก าหนดหลักเกณฑ์และเงื่อนไข ในการก าหนดต าแหน่งพนักงานส่วนต าบลตามแผนอัตราก าลัง ๓ ปี

๑.หลักการและเหตุผล

Page 5: ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕8 ๒๕60 · 8. โครงสร้างการก าหนดส่วนราชการ 8 - 12 9. ภาระค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับเงินเดือน

จากหลักการและเหตุผลดังกล่าว องค์การบริหารส่วนต าบลล าเหย อ าเภอดอนตูม จังหวัดนครปฐม จงึได้จัดท าแผนอัตราก าลัง 3 ปี ส าหรับปีงบประมาณ พ.ศ.2558 - 2560 ขึ น

2

2.1 เพ่ือให้องค์การบริหารส่วนต าบลล าเหย มีโครงสร้างการแบ่งงานและระบบงานที่เหมาะสม ไม่ซ าซ้อน

2.2 เพ่ือให้องค์การบริหารส่วนต าบลล าเหย มีการก าหนดต าแหน่งการจัดอัตราก าลังโครงสร้างให้เหมาะสมกับอ านาจหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนต าบล ตามพระราชบัญญัติสภาต าบลและองค์การบริหารส่วนต าบล พ.ศ.2537 แก้ไขเพ่ิมเติม ฉบับที่ 5 พ.ศ.2546 และตามพระบัญญัติก าหนดแผนและขั นตอนการกระจายอ านาจให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 2.3 เพ่ือให้คณะกรรมการข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่น(ก.อบต.จังหวัด) สามารถตรวจสอบการก าหนดต าแหน่งและการใช้ต าแหน่งข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่นว่าถูกต้องเหมาะสม หรือไม่ 2.4 เพ่ือเป็นแนวทางในการด าเนินการวางแผนการใช้อัตราก าลังการพัฒนาบุคลากรขององค์การบริหารส่วนต าบลล าเหย ให้เหมาะสม

2.5 เพ่ือให้องค์การบริหารส่วนต าบลล าเหย สามารถวางแผนอัตราก าลัง ในการบรรจุแต่งตั งข้าราชการเพ่ือให้การบริหารงาน ขององค์การบริหารส่วนต าบลล าเหย เกิดประโยชน์ต่อประชาชนเกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจตามอ านาจหน้าที่ มีประสิทธิภาพมีความคุ้มค่า สามารถลดขั นตอนการปฏิบัติงาน และมีการลดภารกิจและยุบเลิกหน่วยงานที่ไม่จ าเป็นการปฏิบัติภารกิจสามารถตอบสนองความต้องการของประชาชนได้เป็นอย่างดี 2.6 เพ่ือให้องค์การบริหารส่วนต าบลล าเหย สามารถควบคุมภาระค่าใช้จ่ายด้านการบริหารงานบุคคลให้เป็นไปตามที่กฎหมายก าหนด ค า คณะกรรมการจัดท าแผนอัตราก าลังขององค์การบริหารส่วนต าบลล าเหย ซึ่งมีนายกองค์การบริหารส่วนต าบลล าเหยเป็นประธาน เห็นควรให้จัดท าแผนอัตราก าลัง ๓ ปี โดยให้มีขอบเขตเนื อหาครอบคลุมในเรื่องต่าง ๆ ดังต่อไปนี 3.1 วิเคราะห์ภารกิจ อ านาจหน้าที่ความรับผิดชอบขององค์การบริหารส่วนต าบลล าเหย ตามพระราชบัญญัติสภาต าบลและองค์การบริหารส่วนต าบล พ.ศ.2537 และตามพระราชบัญญัติแผนและขั นตอนการกระจายอ านาจให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ .ศ. 2542 และแผนการกระจายอ านาจให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่ 2) พ.ศ. ๒๕51 ตลอดจนกฎหมายอ่ืนให้สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ แผนพัฒนาจังหวัด แผนพัฒนาอ าเภอ แผนพัฒนาต าบล นโยบายของรัฐบาล และสภาพปัญหาของต าบลล าเหย 3.2 ก าหนดโครงสร้างการแบ่งส่วนราชการภายในและการจัดระบบงาน เพ่ือรองรับภารกิจ ตามอ านาจหน้าที่ความรับผิดชอบ ให้สามารถแก้ปัญหาของต าบลล าเหย ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

๒.วัตถุประสงค ์

๓.ขอบเขตและแนวทางในการจัดท าแผนอัตราก าลัง ๓ ป ี

Page 6: ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕8 ๒๕60 · 8. โครงสร้างการก าหนดส่วนราชการ 8 - 12 9. ภาระค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับเงินเดือน

3.3 ก าหนดต าแหน่งในสายงานต่างๆ จ านวนต าแหน่ง และระดับต าแหน่ง ให้เหมาะสมกับ ภาระหน้าที่ความรับผิดชอบ ปริมาณงาน และคุณภาพของงาน รวมทั งสร้างความก้าวหน้าในสายอาชีพของ กลุ่มงานต่างๆ

3 3.4 จัดท ากรอบอัตราก าลัง ๓ ปี ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๘ – ๒๕๖๐ โดยภาระค่าใช้จ่ายด้านการบริหารงานบุคคลต้องไม่เกิน ร้อยละ ๔๐ ของงบประมาณรายจ่าย 3.5 ให้พนักงานส่วนต าบล ลูกจ้างประจ า และพนักงานจ้าง ทุกคนได้รับการพัฒนาความรู้ความสามารถอย่างน้อยปีละ ๑ ครั้ง เพ่ือให้การวางแผนอัตราก าลัง 3 ปี ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘-๒๕๖๐ ขององค์การบริหารส่วนต าบลล าเหย มีความครบถ้วนครอบคลุมสามารถด าเนินการตามอ านาจหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และวิเคราะห์สภาพปัญหาในเขตพื นที่องค์การบริหารส่วนต าบลว่ามีปัญหาอะไรและความจ าเป็นพื นฐาน และความต้องการของประชาชนในเขตพื นที่ที่ส าคญั ซึ่งสามารถวิเคราะห์ได้ดังนี

สภาพปัญหาของต าบลล าเหย ๔.๑ สภาพปัญหาขององค์การบริหารส่วนต าบล ๔.๑.๑ ด้านโครงสร้างพ้ืนฐาน 1.1 การคมนาคมขนส่งไม่สะดวก ถนนมีสภาพเป็นหลุมเป็นบ่อ 1.2 มีป้ายจราจร เช่น กระจกโค้ง ป้ายระวังเนินสะดุด ไม่ครอบคลุมทุกจุดอันตราย 1.3 ไฟฟ้าสาธารณะไม่เพียงพอ 1.4 ไฟฟ้าไม่พอให้ประชาชนใช้ได้ครบทุกครัวเรือน 2.5 น าท่วมขังที่อยู่อาศัยและพื นที่ท าการเกษตร

๔.๑.๒ ด้านเศรษฐกิจ 2.1 นักเรียน นักศึกษาที่มีฐานะยากจน ไม่มีรายได้พิเศษในช่วงปิดเทอม 2.2 ปัญหาความยากจน มีรายได้ไม่พอรายจ่าย มีหนี สินมาก 2.3 ต้นทุนการผลิตภาคการเกษตรมีราคาสูง 2.4 ผลผลิตทางการเกษตรมีสารพิษตกค้าง เนื่องจากเกษตรกรมีการใช้สารเคมีมากขึ น 2.5 ขาดเงินทุนในการประกอบอาชีพ 2.6 ข้าวของแพง 2.7 ขาดการส่งเสริมการรวมกลุ่มอาชีพอย่างจริงจัง ๔.๑.๓ ด้านสังคม

๑. ปัญหาขาดแคลนแหล่งข้อมูลข่าวสารด้านการสาธารณสุขและอนามัย ๒. ปัญหาการแพร่ระบาดของยาเสพติด ๓. ปัญหาการแพร่ระบาดและการป้องกันโรคไข้เลือดออก

๔. ปัญหาโรคติดต่อ ประชาชนยังขาดความรู้ ความเข้าใจในการป้องกันโรคติดต่อ

๔.สภาพปัญหาของพื้นที่และความต้องการของประชาชน

Page 7: ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕8 ๒๕60 · 8. โครงสร้างการก าหนดส่วนราชการ 8 - 12 9. ภาระค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับเงินเดือน

๕. ปัญหาความเข้มแข็งของชุมชน ประชาชนยังขาดการมีส่วนร่วม และการรวมกลุ่มในการท ากิจกรรมกัน เช่น การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย

๔.๑.๔ ด้านการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ๑. ปัญหาการขาดแคลนสถานที่ ส าหรับให้บริการด้านข้อมูลข่าวสารแก่ประชาชน ๒. ปัญหาการส่งเสริมด้านศาสนา ขาดการส่งเสริมประเพณีและวัฒนธรรมภูมิปัญญาท้องถิ่น

4 ๓. ปัญหาการขาดความรู้ด้านกฎหมาย สิทธิหน้าที่ของประชาชน ๔.๑.๕ ด้านการบริหารจัดการที่ดี ๑. การมีส่วนร่วมของประชาชนยังในต าบลมีน้อย ๒. ปัญหาทางด้านประสิทธิภาพในการท างาน พนักงานส่วนต าบล พนักงานจ้าง ยังขาดความรู้ความเข้าในในบทบาทหน้าที่และระเบียบกฎหมายในทางปฏิบัติงาน ๔.๑.๖ ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ๑. ปัญหาด้านการก าจัดขยะมูลฝอย การเก็บขยะไม่ทันความต้องการของประชาชน ๒. ปัญหาประชาชนขาดจิตส านึกในการรักษาความสะอาดโดยรวม ๓. ปัญหาคุณภาพน้ าเสื่อมโทรมจากน้ าเสียของโรงงานอุตสาหกรรม ๔. ปัญหาคูคลองตื้นเขินและมีวัชพืชปกคลุมเต็มพ้ืนที่

4.2 ความต้องการของประชาชน

๔.๒.๑ ความต้องการด้านโครงสร้างพ้ืนฐาน 1. ปรับปรุงหรือซ่อมแซมถนนให้อยู่ในสภาพดี

2. ก่อสร้างถนนลาดยางแอสฟัลท์ติกคอนกรีตหรือถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก 3. ติดตั งป้ายจราจรเพิ่มขึ น 4. ติดตั งสัญญาณไฟกระพริบ 5. ซ่อมแซมไฟฟ้าสาธารณะ 6. ติดตั งไฟฟ้าสาธารณะเพ่ิมขึ น โดยเฉพาะบริเวณท่ีเปลี่ยวหรือจุดเสี่ยงต่อการเกิด

อาชญากรรม 7. ประสานความร่วมมือกับการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคในการแก้ไขเรื่องการติดตั งไฟฟ้าสาธารณะ 8. ขยายเขตไฟฟ้า 9. ขุดลอกคลองระบายน า และวางท่อระบายน าทิ ง

๔.๒.๒ ความต้องการด้านเศรษฐกิจ 1. หางานพิเศษให้นักเรียน นักศึกษาท างานช่วงปิดเทอม เพ่ือหารายได้ช่วยเหลือครอบครัว 2. ส่งเสริมการฝึกอาชีพระยะสั น เพื่อหารายได้เสริม

Page 8: ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕8 ๒๕60 · 8. โครงสร้างการก าหนดส่วนราชการ 8 - 12 9. ภาระค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับเงินเดือน

3. ส่งเสริมการออม การท าบัญชีครัวเรือน ลดรายจ่ายและเพ่ิมรายได้ 4. ส่งเสริมการน าหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในชีวิตประจ าวัน

5. ลดต้นทุนการผลิตภาคการเกษตร 6. ส่งเสริมให้เกษตรกรหันมาใช้ปุ๋ยชีวภาพหรือท าเกษตรอินทรีย์แทนการใช้ปุ๋ยเคมี 7. ส่งเสริมให้เกษตรกรน าหลักเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่มาเป็นแนวปฎิบัติ 8. ส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษ 9. จัดหาเงินทุนให้กู้ยืมเพ่ือใช้ในการประกอบอาชีพ 10. ส่งเสริมการผลิตของใช้เอง เช่น น ายาล้างจาน น ายาซักผ้า ฯลฯ 11. ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดตั งกลุ่มอาชีพและผลักดันให้กลุ่มมีความเข้มแข็ง

5

๔.๒.๓ ความต้องการด้านสังคม 1. จัดให้มีการลาดตระเวน ดูแลความเรียบร้อยในเวลากลางคืนเพิ่มขึ น

2. จัดโครงการรณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนรู้จักโทษของยาเสพติด ๔.๒.4 ความต้องการด้านสาธารณสุขฯ 1. รณรงค์ให้ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันโรคไข้เลือดออกอย่างจริงจัง

๔.๒.5 ความต้องการด้านทรัพยากรธรรมชาติ 1. ขุดลอกคลองเพ่ือก าจัดวัชพืช 2. จัดท าข้อบัญญัติห้ามปล่อยน าเสียและทิ งขยะลงในแหล่งน า 3. รณรงค์ปลูกจิตส านึกในการอนุรักษ์น า 4. รณรงค์ให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ ในการร่วมรักษาสิ่งแวดล้อม

๔.๒.6 ความต้องการด้านการบริหารจัดการบ้านเมืองท่ีดี ๑. ส่งเสริมให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอ านาจหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนต าบล, จัดกิจกรรม,โครงการต่างๆส่งเสริมให้ความรู้ความเข้าใจในด้านต่างๆแก่ประชาชนและจัดประชุมประชาคมเพ่ือสร้างความเข้มแข็งให้กับองค์กรต่างๆ ๔.๒.7 ความต้องการด้านการศึกษา 1. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านล าเหยผ่านเกณฑ์ประเมินภายนอกของส านักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) ครบทั ง 24 มาตรฐาน ภายในปี พ.ศ. 2557 2. ขยายพื นที่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านล าเหย 3. ปรับปรุงพื นท่ีใช้สอยของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านล าเหยให้เป็นสัดส่วน

เพ่ือให้องค์การบริหารส่วนต าบลล าเหย ได้เข้าไปด าเนินการแก้ไขปัญหาในเขตพื นที่ของ ต าบลล าเหย ตามความต้องการของประชาชน จึงก าหนดภารกิจตามอ านาจหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนต าบล ล าเหย ตามพระราชบัญญัติสภาต าบลและองค์การบริหารส่วนต าบล พ.ศ. 2537และตามพระราชบัญญัติก าหนด

๕.ภารกิจ อ านาจหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนต าบล

Page 9: ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕8 ๒๕60 · 8. โครงสร้างการก าหนดส่วนราชการ 8 - 12 9. ภาระค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับเงินเดือน

แผนและขั นตอนการกระจายอ านาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ .ศ. 2542 และกฎหมายอ่ืน ออกเป็น 7 ด้านดังนี

5.1 ด้านโครงสร้างพ้ืนฐาน มีภารกิจที่เกี่ยวข้อง ดังนี้ 1.จัดให้มีและบ ารุงรักษาทางน าและทางบก

2.ให้มีน าเพ่ือการอุปโภค บริโภค และการเกษตร 3.ให้มีและบ ารุงการไฟฟ้าหรือแสงสว่างโดยวิธีอ่ืน 4.ให้มีและบ ารุงรักษาทางระบายน า 5.การสาธารณูปโภคและการก่อสร้างอ่ืนๆ 6.การสาธารณูปการ

5.2 ด้านส่งเสริมคุณภาพชีวิต มีภารกิจที่เกี่ยวข้อง ดังนี้ 1.รักษาความสะอาดของถนน ทางน า ทางเดิน และสวนสาธารณะ 2.ป้องกันโรคและระงับโรคติดต่อ

6

3.ส่งเสริมการศึกษาศาสนา และวัฒนธรรม 4.ส่งเสริการพัฒนาสตรี เด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุ และผู้พิการ 5.ให้มี และบ ารุงสถานที่ประชุม การกีฬา การพักผ่อนหย่อนใจ และสวนสาธารณะ

6.บ ารุง และส่งเสริมการประกอบอาชีพราษฎร 7.การส่งเสริมประชาธิปไตย ความเสมอภาค และสิทธิเสรีภาพของประชาชน

5.3 ด้านการจัดระเบียบชุมชน สังคม และการรักษาความสงบเรียบร้อย มีภารกิจที่เกี่ยวข้อง ดังนี้

๑. การส่งเสรมิประชาธิปไตย ความเสมอภาค และสิทธิเสรีภาพของประชาชน ๒. การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 3. การจัดให้มีระบบรักษาความสงบเรียบร้อยในจังหวัด ๔. การรักษาความสงบเรียบร้อยและศีลธรรมอันดีของประชาชนในเขตต าบล

5.4 ด้านการวางแผน การส่งเสริมการลงทุน พาณิชกรรมและการท่องเที่ยว มีภารกิจที่เกี่ยวข้อง ดังนี้ ๑. การจัดท าแผนพัฒนาองค์การบริหารส่วนต าบล และประสานการจัดท าแผนพัฒนาจังหวัดตามระเบียบที่คณะรัฐมนตรีก าหนด

๒. การส่งเสรมิการท่องเที่ยว

๕.๕ ด้านการบริหารจัดการและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มีภารกิจที่เกี่ยวข้อง ดังนี้ ๑. การคุ้มครอง ดูแล และบ ารุงรักษา ป่าไม้ ที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ๒. การจัดตั้งและการดูแลระบบบ าบัดน้ าเสียรวม ๓. การก าจัดมูลฝอยและสิ่งปฏิกูลรวม ๔. การก าจัดมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล ๕. การจัดการสิ่งแวดล้อมและมลพิษต่างๆ

5.6 ด้านการศาสนา ศิลปวัฒนธรรม จารีตประเพณี และภูมิปัญญาท้องถิ่น

Page 10: ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕8 ๒๕60 · 8. โครงสร้างการก าหนดส่วนราชการ 8 - 12 9. ภาระค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับเงินเดือน

มีภารกิจที่เกี่ยวข้อง ดังนี้ ๑. การจัดการศึกษา ๒. บ ารุงรักษาศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น และวัฒนธรรมอันดีงามของท้องถิ่น ๓. การส่งเสริมกีฬา จารีตประเพณี และวัฒนธรรมอันดีงามของท้องถิ่น ๔. การศึกษา การท านุบ ารุงศาสนา และการส่งเสริมวัฒนธรรม

5.7 ด้านการบริหารจัดการและการสนับสนุนการปฏิบัติภารกิจของส่วนราชการ และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีภารกิจที่เกี่ยวข้อง ดังนี้

1. สนับสนุนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอ่ืนในการพัฒนาท้องถิ่น สนับสนุนหรือช่วยเหลือส่วนราชการหรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอ่ืนในการพัฒนาท้องถิ่น

2.ประสานและให้ความร่วมมือในการปฏิบัติหน้าที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอ่ืน 3.การให้บริการแก่เอกชน ส่วนราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอ่ืน

7

ภารกิจทั้ง ๗ ด้าน ตามที่กฎหมายก าหนดให้อ านาจองค์การบริหารส่วนต าบลสามารถ จะแก้ไขปัญหาได้เป็นอย่างดี มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล โดยค านึงถึงความต้องการของประชาชนในเขตพ้ืนที่ ประกอบด้วย การด าเนินการขององค์การบริหารส่วนต าบล จะต้องสอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ แผนพัฒนาจังหวัด แผนพัฒนาอ าเภอ แผนพัฒนาต าบล นโยบายของรัฐบาล และนโยบายของผู้บริหารขององค์การบริหารส่วนต าบลเป็นส าคัญ

องค์การบริหารส่วนต าบลล าเหย ได้น าภารกิจที่ได้วิเคราะห์มาตามข้อ ๕ จ านวน ๗ ภารกิจ น ามาก าหนดภารกิจหลักและภารกิจรองที่จะด าเนินการตามแผนพัฒนาก าลัง ๓ ปี โดยองค์การบริหารส่วนต าบลล าเหย มีภารกิจหลัก และภารกิจรองที่ต้องด าเนินการ ดังนี้ ๖.๑ ภารกิจหลัก - การปรับปรุงด้านโครงสร้างพ้ืนฐาน - ด้านการส่งเสริมคุณภาพชีวิต - ด้านการศาสนา ศิลปวัฒนธรรม จารีตประเพณีและภูมิปัญญาท้องถิ่น - ด้านการจัดระเบียบชุมชน สังคม และการรักษาความสงบเรียบร้อย ๖.๒ ภารกิจรอง - การพัฒนาสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ - การพัฒนาและปรับปรุงแหล่งท่องเที่ยว

๖.ภารกิจหลัก และภารกจิรอง ที่องคก์ารบริหารส่วนต าบลจะด าเนินการ

Page 11: ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕8 ๒๕60 · 8. โครงสร้างการก าหนดส่วนราชการ 8 - 12 9. ภาระค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับเงินเดือน

- การพัฒนาการเมืองและการบริหาร - การฟ้ืนฟูวัฒนธรรมและส่งเสริมประเพณีท้องถิ่น - การส่งเสริมการเกษตร - การสนับสนุนและส่งเสริมอุตสาหกรรมในครอบครัว

องค์การบริหารส่วนต าบลล าเหย เดิมเป็นองค์การบริหารส่วนต าบลขนาดเล็ก และได้ปรับเป็นองค์กาบริหารส่วนต าบลขนาดกลาง ตามที่คณะกรรมการกลางพนักงานส่วนต าบลได้ก าหนดขึ นใหม่ โดยได้ก าหนดโครงสร้างการแบ่งราชการออกเป็น 5 ส่วน และ 1 หน่วยงาน ดังนี

1. ส านักงานปลัด อบต. 2. กองคลัง 3. กองช่าง 4. ส่วนการศึกษา ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม 5. ส่วนสวัสดิการสังคม 6. หน่วยงานตรวจสอบภายใน

8

ทั งนี ได้ก าหนดกรอบอัตราก าลังพนักงานส่วนต าบล จ านวนทั งสิ น 29 อัตรา ลูกจ้างประจ า

จ านวน 1 อัตรา พนักงานจ้าง จ านวน 23 อัตรา รวมก าหนดต าแหน่งเกี่ยวกับบุคลากรทั งสิ น จ านวน 53 อัตรา แต่เนื่องจากท่ีผ่านจ านวนบุคลากรที่มีอยู่ไม่เพียงพอต่อการปฏิบัติภารกิจให้ส าเร็จลุล่วงได้อย่างมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล จึงมีความจ าเป็นต้องก าหนดต าแหน่งพนักงานจ้างเพ่ิมขึ น จ านวน ๒ อัตรา เพ่ือรองรับปริมาณงานที่เพ่ิมมากขึ น และแก้ไขปัญหาการบริหารงาน ประกอบกับมีความจ าเป็นต้องยุบเลิกและ ปรับลดต าแหน่งบางต าแหน่งที่ไม่มีความจ าเป็นต่อภารกิจบางภารกิจ เพ่ือลดภาระค่าใช้จ่ายด้านบุคลากร โดยแบ่งเป็นยุบเลิกพนักงานส่วนต าบล จ านวน 5 อัตรา เพ่ือให้สอดคล้องกับพระราชบัญญัติการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๓๕

8.1 โครงสร้างการก าหนดส่วนราชการ

๗. สรุปปัญหาและแนวทางในการก าหนดโครงสร้างส่วนราชการและกรอบอัตราก าลัง

๘.โครงสร้างการก าหนดส่วนราชการ

Page 12: ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕8 ๒๕60 · 8. โครงสร้างการก าหนดส่วนราชการ 8 - 12 9. ภาระค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับเงินเดือน

องค์การบริหารส่วนต าบลล าเหย เป็นองค์การบริหารส่วนต าบลขนาดเล็ก และได้ปรับเป็นองค์กาบริหารส่วนต าบลขนาดกลาง ตามที่คณะกรรมการกลางพนักงานส่วนต าบลได้ก าหนดขึ นใหม่ โดยได้ก าหนดโครงสร้างการแบ่งราชการออกเป็น 5 ส่วน และ 1 หน่วยงาน ดังนี

1. ส านักงานปลัด อบต. 2. หน่วยงานตรวจสอบภายใน 3. กองคลัง 4. กองช่าง 5. ส่วนการศึกษา ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม 6. ส่วนสวัสดิการสังคม

9

โครงสร้างตามแผนอัตราก าลังปัจจุบัน โครงสร้างตามแผนอัตราก าลังใหม่ หมายเหตุ 1.ส านักงานปลัด 1.ส านักงานปลัด 1.1 งานบริหารทั่วไป 1.2 งานนโยบายและแผน 1.3 งานกฎหมายและคดี 1.4 งานส่งเสริมสุขภาพและสาธารณสุข 1.5 งานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย

1.1 งานบริหารทั่วไป 1.2 งานนโยบายและแผน 1.3 งานกฎหมายและคดี 1.4 งานส่งเสริมสุขภาพและสาธารณสุข 1.5 งานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย

2. หน่วยตรวจสอบภายใน 2. หน่วยตรวจสอบภายใน 2.1 งานตรวจสอบภายใน 2.1 งานตรวจสอบภายใน 3.กองคลัง 3.กองคลัง 3.1 งานการเงิน 3.2 งานบัญชี 3.3 งานพัฒนาและจัดเก็บรายได ้

3.1 งานการเงิน 3.2 งานบัญชี 3.3 งานพัฒนาและจัดเก็บรายได้

Page 13: ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕8 ๒๕60 · 8. โครงสร้างการก าหนดส่วนราชการ 8 - 12 9. ภาระค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับเงินเดือน

3.4 งานทะเบียนทรัพย์สินและพัสดุ 3.4 งานทะเบียนทรัพย์สินและพัสดุ

4.กองช่าง 4.กองช่าง

4.1 งานก่อสร้าง 4.2 งานออกแบบและควบคุมอาคาร

4.1 งานก่อสร้าง 4.2 งานออกแบบและควบคุมอาคาร

5.ส่วนการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 5.ส่วนการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 5.1 งานบริหารการศึกษา 5.2 งานส่งเสริมการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม

5.1 งานบริหารการศึกษา 5.2 งานส่งเสริมการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม

6. ส่วนสวัสดิการสังคม 6. ส่วนสวัสดิการสังคม 6.1 งานสังคมสงเคราะห์ 6.2 งานสวัสดิการและพัฒนาชุมชน

6.1 งานสังคมสงเคราะห์ 6.2 งานสวัสดิการและพัฒนาชุมชน

8.2 องค์การบริหารส่วนต าบลล าเหย ได้มีภารกจิและปริมาณงาน และ ได้จัดท ากรอบ โครงสร้างอัตราก าลังใหม่และได้ท าการวิเคราะห์เพ่ือประมาณการ การใช้อัตราก าลังข้าราชการ พนักงานส่วนท้องถิ่นและลูกจ้าง ในอนาคตว่าในระยะเวลา 3 ปี ต่อไปข้างหน้า จะมีการใช้จ านวนข้าราชการ พนักงานส่วนท้องถิ่นและลูกจ้าง จึงจะเหมาะสมกับภารกิจ และปริมาณงาน และเพ่ือให้คุ้มค่าต่อการใช้จ่ายงบประมาณ ขององค์การบริหารส่วนต าบลล าเหย ทั งนี เพ่ือให้สามารถบริหารงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล โดยน าผลการวิเคราะห์ต าแหน่งมากรอกข้อมูลลงในกรอบอัตราก าลัง 3 ปี ดังนี

Page 14: ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕8 ๒๕60 · 8. โครงสร้างการก าหนดส่วนราชการ 8 - 12 9. ภาระค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับเงินเดือน

10

8.2 การจัดท ากรอบอัตราก าลัง 3 ปี (พ.ศ. 2558 – 2560)

ส่วนราชการ

กรอบอัตรา ก าลังเดิม

กรอบอัตราต าแหน่งที่คาดว่าจะต้องใช้ในช่วง

ระยะเวลา 3 ปขี้างหน้า

อัตราก าลังคน เพ่ิม / ลด

หมายเหตุ

2558 2559 2560 2558 2559 2560

ปลัดองค์การบริหารส่วนต าบล ( นักบริหารงาน อบต. 8 ) รองปลัดองค์การบริหารส่วนต าบล ( นักบริหารงาน อบต. 7 )

1

1

1

1

1

1

1

1

- -

- -

- -

นายเทพกาญจน์ เกียรติศิริ นายสุชาญ เอี่ยมพิทักษ์พร

หน่วยตรวจสอบภายใน - - - เจ้าหน้าที่ตรวจสอบภายใน 3-5 , 6ว

1 1 1 1 - - - ว่างเดิม

รวม 3 3 3 3 - - - ส านักงานปลัด อบต. นักบริหารงานทั่วไป 6 บุคลากร 3-5 , 6 ว เจ้าหน้าที่วิเคราะห์ ฯ 3-5 , 6 ว นิติกร 3-5 , 6 ว จพง.ป้องกันและบรรเทาสาธาร 2-4 ,5 เจ้าพนักงานสาธารสุขชุมชน 2-4 , 5 เจ้าหน้าที่ธุรการ 1- 3 , 4 เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล 1- 3 , 4 พนักงานจ้างตามภารกิจผู้มีคุณวุฒิ ผู้ช่วยบุคลากร ผู้ช่วยเจ้าหน้าที่วิเคราะห์ฯ ผู้ช่วยนักวิชาการประชาสัมพันธ์ พนักงานตรวจโรคสัตว์ พนักงานจ้างตามภารกิจผู้มีทักษะ พนักงานขับรถยนต์ พนักงานขับรถยนต์ พนักงานขับเครื่องจักรกลขนาดเบา พนักงานขับเครื่องจักรกลขนาดเบา พนักงานจ้างท่ัวไป คนงานประจ ารถขยะ คนงานประจ ารถขยะ คนงานประจ ารถขยะ คนงานประจ ารถขยะ

1 1 1 1 1 1 1 1

1 1 1 1

1 1 1 1

1 1 1 -

1 1 1 1 1 1 1 -

1 1 1 1

1 1 1 1

1 1 1 1

1 1 1 1 1 1 1 -

1 1 1 1

1 1 1 1

1 1 1 1

1 1 1 1 1 1 1 -

1 1 1 1

1 1 1 1

1 1 1 1

- - - - - - -

-1 - - - - - - - - - - -

+1

- - - - - - - - - - - - - - - - - - - -

- - - - - - - - - - - - - - - - - - - -

นางรพีพร แสงสมเรือง นายอ านาจ วัฒนบงกช นายวรพันธุ์ เฉลยวาเรศ นายฟูเผ่า ปัดภัย

ว่างเดิม ว่างเดิม

นางสุภัสรา รอดเหม้น ยุบเลิก

นายชิษณุพงศ์ กลิ่นขจร น.ส.อณัญญา สามชูสิน น.ส.อาริษา สุขส ี

ว่างเดิม นายธวัฒน์ชัย พันธ์โชติ นายวรพงษ์ พรไกรเนตร นายตะวัน แตงจั่น นายสุระชัย ค ากงลาด

นายยุทธวี แจ้งธรรมมา นายเฉลิมพล หมวกเพ็ชร นายเทอดพงษ ์ ด้วงเดช

ก าหนดเพ่ิม

Page 15: ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕8 ๒๕60 · 8. โครงสร้างการก าหนดส่วนราชการ 8 - 12 9. ภาระค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับเงินเดือน

11

ส่วนราชการ

กรอบอัตรา ก าลังเดิม

กรอบอัตราต าแหน่งที่คาดว่าจะต้องใช้ในช่วง

ระยะเวลา 3 ปขี้างหน้า

อัตราก าลังคน เพ่ิม / ลด

หมายเหตุ

2558 2559 2560 2558 2559 2560

พนักงานจ้างท่ัวไป นักการภารโรง ยาม

1 1

1 1

1 1

1 1

- -

- -

- -

นางอ าภา ศิลารักษ์ นายสุนทร เนียมเกาะเพชร

รวมส านักงานปลัด 21 21 21 21 - - -

กองคลัง นักบริหารงานการคลัง 7 นักวิชาการเงินและบัญชี 3-5 , 6 ว เจ้าพนักงานพัสดุ 2-4 , 5 นักวิชาการพัสดุ 3-5 , 6 ว นักวิชาการจัดเก็บรายได้ 3-5 , 6 ว เจ้าพนักงานจัดเก็บรายได้ 2-4 , 5 ลูกจ้างประจ า พนักงานการเงินและบัญชี พนักงานจ้างตามภารกิจผู้มีทักษะ ผู้ช่วยเจ้าพนักงานจัดเก็บรายได้ ผู้ช่วยเจ้าหน้าที่ธุรการ

1 1 1 1 1 1

1

1 1

1 1 1 1 1 -

1

1 1

1 1 1 1 1 -

1

1 1

1 1 1 1 1 -

1

1 1

- - - - -

-1 -

- -

- - - - - - -

- -

- - - - - - -

- -

นางสุมาลี ผ่องอ าไพ นางอรปภา ดอนจอมไพร นายวรัตถ์เอก จอกลอย นางสุภาพร วิเชียรตนนท ์นางวาสนา แท่นทอง

ยุบเลิก

นางพัชรินทร์ สามงามดี น.ส.พัชรินทร์ โชคจินดาทอง น.ส.อภิญญา กลิ่นขจร

รวมกองคลัง 9 8 8 8 -1 - - กองช่าง นักบริหารงานช่าง 7 ฝ่ายก่อสร้าง นักบริหารงานช่าง 6 นายช่างโยธา 2 - 4 , 5 นายช่างโยธา 2 - 4 , 5 นายช่างไฟฟ้า 2 - 4 , 5 พนักงานจ้างตามภารกิจผู้มีทักษะ ผู้ช่วยนายช่างไฟฟ้า ผู้ช่วยเจ้าหน้าที่ธุรการ ผู้ช่วยนายช่างโยธา พนักงานจ้างท่ัวไป คนงาน

1

1 1 1 1

1 1 -

1

1

1 1 - -

1 1 1

1

1

1 1 - -

1 1 1

1

1

1 1 - -

1 1 1

1

- - -

-1 -1 - -

+1 -

- - - - - - - - -

- - - - - - - - -

นางนุสรา ดีค า นายมนูญ ศรีวิโน

ว่างเดิม ยุบเลิก ยุบเลิก

นายก่อเกียรติ สว่างตา น.ส.จุฑารัตน์ พันธ์ม ี

ก าหนดเพิ่ม

นายโกศล อัครไพบูลย์

รวมกองช่าง 8 7 7 7 -1 - -

Page 16: ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕8 ๒๕60 · 8. โครงสร้างการก าหนดส่วนราชการ 8 - 12 9. ภาระค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับเงินเดือน

12

ส่วนราชการ กรอบอัตรา

ก าลังเดิม

กรอบอัตราต าแหน่งที่คาดว่าจะต้องใช้ในช่วง

ระยะเวลา 3 ปขี้างหน้า

อัตราก าลังคน เพ่ิม / ลด

หมายเหตุ

2558 2559 2560 2558 2559 2560

ส่วนการศึกษา ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม นักบริหารการศึกษา 6 นักวิชาการศึกษา 3-5 , 6ว เจ้าพนักงานการเงินและบัญชี 2-4,5

ครูผู้ดูแลเด็ก ครูผู้ดูแลเด็ก พนักงานจ้างตามภารกิจผู้มีคุณวุฒิ ผู้ช่วยครูผู้ดูแลเด็ก พนักงานจ้างตามภารกิจผู้มีทักษะ ผู้ช่วยเจ้าหน้าที่ธุรการ พนักงานจ้างท่ัวไป ผู้ดูแลเด็ก คนงาน

1 1 1 1 -

1

1

1 1

1 1 1 1 1

1

1

1 1

1 1 1 1 1

1

1

1 1

1 1 1 1 1

1

1

1 1

- - - -

+1 - - - -

- - - - - - - - -

- - - - - - - - -

นางสาวยุพารัตน์ สมศรี

ว่างเดิม ว่างเดิม

นางนพนภา มากงลาด ก าหนดเพิ่ม

น.ส.มนสันันท์ ห้วยหงส์ทอง น.ส.ศศิวิมล เพ็ชรป้อม น.ส.อรณิช สมศร ีน.ส.กัลยา บุม ี

รวมส่วนศึกษา ศาสนาฯ 8 9 9 9 - - - ส่วนสวัสดิการสังคม นักบริหารงานสวัสดิการสังคม 6 นักพัฒนาชุมชน 3-5 , 6ว นักพัฒนาชุมชน 3-5 , 6ว พนักงานจ้างตามภารกิจผู้มีทักษะ ผู้ช่วยเจ้าหน้าที่ธุรการ

1 1 1

1

1 1 -

1

1 1 -

1

1 1 -

1

- - -1 -

- - - -

- - - -

น.ส.จุรีรัตน์ เปลี่ยมทรัพย์ นายเสกสรร เดชป้อง

ยุบเลิก

น.ส.ประกายนภา ภริมยเ์พ็ง

รวมส่วนสวัสดิการสังคม 4 3 3 3 - - - รวมทั้งหมด 53 51 51 51 -2 - -

Page 17: ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕8 ๒๕60 · 8. โครงสร้างการก าหนดส่วนราชการ 8 - 12 9. ภาระค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับเงินเดือน

ภาระค่าใช้จ่ายด้านเงินเดือนและงบประมาณ อยู่ในไฟล์เอ็กเซลนะคะ

Page 18: ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕8 ๒๕60 · 8. โครงสร้างการก าหนดส่วนราชการ 8 - 12 9. ภาระค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับเงินเดือน

16

กรอบโครงสร้างส่วนราชการองค์การบริหารส่วนต าบล

๑๐. แผนภูมิโครงสร้างการแบ่งส่วนราชการตามแผนอัตราก าลัง ๓ ป ี

ปลัด อบต. ( นักบริหารงาน อบต. 8 )

ส านักงานปลัด อบต. ( นักบริหารงานทั่วไป 6 )

กองคลัง ( นักบริหารงานการคลัง 7 )

กองช่าง ( นักบริหารงานช่าง 7 )

1. งานบริหารทั่วไป 2. งานนโยบายและแผน 3. งานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 5. งานกฎหมายและคดี 6. งานสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม

1. งานการเงินละบัญชี 2. งานพัฒนาและจัดเก็บรายได้ 3. งานทะเบียนทรัพย์สินและพัสดุ

1.งานก่อสร้าง 2. งานออกแบบและควบคุมอาคาร

หน่วยตรวจสอบภายใน (เจ้าหน้าท่ีตรวจสอบภายใน 3-5,6 ว)

1. งานบริหารจัดการศึกษา 2. งานส่งเสริมศาสนาและวัฒนธรรม

ส่วนการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

( นักบริหารการศึกษา 6 )

รองปลัด อบต. ( นักบริหารงาน อบต. 7 )

ฝ่ายก่อสร้าง (นักบริหารงานช่าง 6)

ส่วนสวัสดิการและสังคม (นกับรหิารงานสวัสดกิารสังคม 6)

1. งานสวัสดกิาร และพัฒนาชมุชน 2. งานสังคมสงเคราะห ์

Page 19: ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕8 ๒๕60 · 8. โครงสร้างการก าหนดส่วนราชการ 8 - 12 9. ภาระค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับเงินเดือน

17

โครงสร้างส านักงานปลัด อบต.

-บุคลากร 5 (1) - นิติกร 4 ( 1 ) - เจ้าหน้าที่วิเคราะห์ ฯ 6ว ( 1 ) - จพง.ป้องกันและบรรเทา -เจ้าหน้าท่ีธุรการ 4 (1) - ผช.จนท.วิเคราะห์นโยบายฯ ( 1 ) สาธารณภัย 2-4,5 (1) -เจ้าพนักงาสาธารณสุขชุมชน 2 – 4,5 (1) -ผู้ช่วยนักวิชาการประชาสัมพันธ์ (พนง.ภารกิจ ผู้มีคณุวุฒิ ) (1) -ผู้ช่วยบุคลากร (พนง.ภารกิจ ผูม้คีุณวุฒิ ) (1) -พนักงานตรวจโรคสัตว์ (พนง.ภารกิจ ผู้มีคณุวุฒิ ) (1) -พนักงานขบัรถยนต์ (พนง.จ้างตามภารกจิ ทักษะ) (2) -พนักงานขับเครื่องจักรกลขนาดเบา (พนง.จ้างตามภารกิจ ทักษะ) (2) -คนงานประจ ารถขยะ (พนักงานจ้างทั่วไป) (4) -นักการภารโรง (พนักงานจ้างทั่วไป) (1) -ยาม (1)

ระดับ 7 7ว 6 6ว 5 4 3 2 1 พนักงานส่วนต าบล ลูกจ้างประจ า พนักงานจ้าง รวม จ านวน - - 1 1 1 2 - 2 - 7 - 14 21

หัวหน้าส านักปลัด อบต. (นักบริหารงานทั่วไป) 6 (1)

งานบริหารงานทั่วไป

งานกฏหมายและคด ี

งานนโยบายและแผน งานป้องกันและ

บรรเทาสาธารณภัย

21๑

16๑

๑ 2 1

Page 20: ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕8 ๒๕60 · 8. โครงสร้างการก าหนดส่วนราชการ 8 - 12 9. ภาระค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับเงินเดือน

18

โครงสร้างกองคลัง

- นักวิชาการเงินและบัญชี 6 ว ( 1 ) - นักวิชาการจัดเก็บรายได้ 5 ( 1 ) - นักวิชาการพัสดุ 5 ( 1 ) - พนักงานการเงินและบัญชี ( ลูกจ้างประจ า ) ( 1 ) - ผู้ช่วยเจ้าพนักงานจัดเก็บรายได้ - เจ้าพนักงานพัสดุ 4 ( 1 ) (พนง.จ้างตามภารกิจ ทักษะ) ( 1 ) - ผู้ช่วยเจ้าหน้าที่ธุรการ ( 1 ) (พนง.จ้างตามภารกิจ ทักษะ)

ระดับ 7 7ว 6 6ว 5 4 3 2 1 พนักงานส่วนต าบล ลูกจ้างประจ า พนักงานจ้าง รวม จ านวน 1 - - 1 2 1 - - - 5 1 2 8

ผู้อ านวยการกองคลัง (นักบริหารงานการคลัง 7) (1)

งานการเงินและบัญช ี

งานพัฒนาและจัดเก็บรายได ้

งานทะเบียนทรัพย์สินและพัสดุ

8

2 2 3

Page 21: ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕8 ๒๕60 · 8. โครงสร้างการก าหนดส่วนราชการ 8 - 12 9. ภาระค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับเงินเดือน

19

โครงสร้างกองช่าง

- นายช่างโยธา 2 – 4 , 5 6 ว ( 1 ) - ผู้ชว่ยนายช่างโยธา ( 1 ) - ผู้ช่วยนายช่างไฟฟ้า (พนง.จ้างตามภารกิจ ทักษะ) ( 1 ) (พนง.จ้างตามภารกิจ ทักษะ) - ผู้ช่วยเจ้าหน้าที่ธุรการ (พนง.จ้างตามภารกิจ ทักษะ) ( 1 ) - คนงาน (พนง.จ้างทั่วไป) ( 1 )

ระดับ 7 7ว 6 6ว 5 4 3 2 1 พนักงานส่วนต าบล ลูกจ้างประจ า พนักงานจ้าง รวม จ านวน 1 - 1 - - - - 1 - 3 - 4 7

ผู้อ านวยการกองช่าง (นักบริหารงานช่าง 7) (1)

งานก่อสร้าง

งานออกแบบและควบคุมอาคาร

หัวหน้าฝ่ายก่อสร้าง (นักบริหารงานช่าง 6) (1)

7

5

1

Page 22: ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕8 ๒๕60 · 8. โครงสร้างการก าหนดส่วนราชการ 8 - 12 9. ภาระค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับเงินเดือน

20

โครงสร้างส่วนการศึกษา ศาสนา และวฒันธรรม

- นักวิชาการศึกษา 3-5 , 6 ว ( 1 ) - เจ้าพนักงานการเงินและบัญชี 2-4 , 5 ( 1 ) - ครูผู้ดูแลเด็ก คศ. 1 ( 1 ) - ครูผู้ดูแลเด็ก 3 ( 1 ) - ผช.ครูผู้ดูแลเด็ก (พนง.ภารกิจ ผู้มีคุณวุฒิ ) ( 1 ) - ผูช้่วยเจ้าหน้าที่ธุรการ (พนง.จ้างตามภารกิจ ทักษะ) ( 1 ) - ผู้ดูแลเด็ก (พนง.จ้างทั่วไป) ( 1 ) - คนงาน (พนง.จ้างทั่วไป) ( 1 )

ระดับ 7 7ว 6 6ว 5 4 3 2 1 พนักงานส่วนต าบล ลูกจ้างประจ า พนักงานจ้าง รวม จ านวน - - 1 - - - 4 1 - 5 - 4 9

หัวหน้าส่วนการศึกษา นักบริหารการศึกษา 6 (1)

งานบริหารจัดการศึกษา

งานส่งเสริมศาสนา และวัฒนธรรม

9

7 1

Page 23: ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕8 ๒๕60 · 8. โครงสร้างการก าหนดส่วนราชการ 8 - 12 9. ภาระค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับเงินเดือน

21

โครงสร้างส่วนสวสัดิการสังคม

- นักพัฒนาชุมชน 5 ( 1 ) - ผู้ช่วยเจ้าหน้าที่ธุรการ (พนง.จ้างตามภารกิจ ทักษะ) ( 1 )

ระดับ 7 7ว 6 6ว 5 4 3 2 1 พนักงานส่วนต าบล ลูกจ้างประจ า พนักงานจ้าง รวม จ านวน - - 1 - 1 - - - - 2 - 1 3

หัวหน้าส่วนสวัสดกิารสังคม (นักบริหารสวัสดิการสังคม 6) (1)

งานสวัสดิการและพัฒนาชุมชน

งานสังคมสงเคราะห ์

3

1 1

Page 24: ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕8 ๒๕60 · 8. โครงสร้างการก าหนดส่วนราชการ 8 - 12 9. ภาระค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับเงินเดือน

26

องค์การบริหารส่วนต าบลล าเหย ได้ก าหนดแนวทางการพัฒนาพนักงานส่วนต าบล ลูกจ้างประจ า และพนักงานจ้าง เพ่ือเพ่ิมพูนความรู้ ทักษะทัศนคติ ที่ดีมีคุณธรรมและจริยธรรม อันจะท าให้การปฏิบัติหน้าที่ของพนักงานส่วนต าบล ลูกจ้างประจ า และพนักงานจ้าง ของทุกคน ทุกต าแหน่ง ได้มีโอกาสได้รับการพัฒนา ซ่ึงก าหนดแนวทางการพัฒนาพนักงานส่วนต าบล ลูกจ้างประจ า และพนักงานจ้าง ไว้ในแผนอัตราก าลัง ๓ ปี พ.ศ. ๒๕๕๘-พ.ศ.๒๕๖๐ โดยค านึงยุทธศาสตร์การพัฒนาข้าราชการส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๕๗-๒๕๖๐ ในการเสริมสร้างธรรมาภิบาล ดังนี้ ยุทธศาสตร์ที่ ๑ ก าหนดมาตรฐานคุณธรรมและจริยธรรมเพื่อสร้างกลุ่มผู้น าและองค์การสุจริตธรรมท่ีมีศักดิ์ศรี (Organization Integrity)

กลยุทธ์ที่ ๑.๑ ยกย่องข้าราชการ/ผู้น ารุ่นใหม่ในการขับเคลื่อนคุณธรรม กลยุทธ์ที่ ๑.๒ สร้างองค์การสุจริตธรรมที่มีศักดิ์ศรี (Organization Integrity) กลยุทธ์ที่ ๑.๓ ก าหนดมาตรฐานคุณธรรม จริยธรรมของนักการเมืองท้องถิ่น ยุทธศาสตร์ที่ ๒ การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ สร้างทักษะ และพัฒนาข้าราชการส่วน

ท้องถิ่นในรูปแบบต่างๆ กลยุทธ์ที่ ๒.๑ ปลูกจิตส านึกผ่านพระราชกรณียกิจ พระราชจริยวัตร และพระบรมราโชวาท กลยุทธ์ที่ ๒.๒ ก าหนดหลักสูตรฝึกอบรมและโครงการพัฒนาภาคบังคับแก่ข้าราชการ

ทุกระดับ กลยุทธ์ที่ ๒.๓ สร้างศูนย์กลางในการวิจัย ส ารวจ ให้ค าปรึกษาแนะน าและข้อมูลข่าวสาร ด้านธรรมาภิบาล กลยุทธ์ที่ ๒.๔ พัฒนาและปฐมนิเทศข้าราชการอย่างเข้มข้น กลยุทธ์ที่ ๒.๕ ก าหนดหลักสูตรฝึกอบรมและโครงการพัฒนาเพื่อรองรับประชาคมอาเซียน และสู่มาตรฐานสากล ยุทธศาสตร์ที่ ๓ การปรับปรุงระบบบริหารทรัพยากรบุคคล กลยุทธ์ที่ ๓.๑ ปรับปรุงแนวทางและกฎระเบียบในการสรรหา บรรจุ แต่งตั้ง โอน ย้าย โดยยึดหลักธรรมาภิบาล กลยุทธ์ที่ ๓.๒ ขับเคลื่อนจรรยาบรรณข้าราชการไปสู่การปฏิบัติ กลยุทธ์ที่ ๓.๓ ขับเคลื่อนระบบสวัสดิการและประโยชน์เกื้อกูลแก่ข้าราชส่วนท้องถิ่น ยุทธศาสตร์ที่ ๔ การสร้างการมีส่วนร่วมในระบบสนับสนุนและโครงสร้างพ้ืนฐาน

ทางด้านคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาล กลยุทธ์ที่ ๔.๑ เปิดโอกาสให้ข้าราชการเข้าไปมีส่วนร่วมในการก าหนดนโยบายและ กฎระเบียบที่เก่ียวข้อง กลยุทธ์ที่ ๔.๒ เปิดให้ประชาชน และหน่วยงานอื่นเข้ามามีส่วนร่วมและการติดตาม

11. แนวทางการพัฒนาข้าราชการ พนักงาน และลูกจ้างของ องค์การบริหารส่วนต าบล

Page 25: ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕8 ๒๕60 · 8. โครงสร้างการก าหนดส่วนราชการ 8 - 12 9. ภาระค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับเงินเดือน

สถานการณ์การท างานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รายละเอียดเป็นไปตามแผนพัฒนาบุคลากร ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๘-พ.ศ.๒๕๖๐

ขององค์การบริหารส่วนต าบลล าเหย อ าเภอดอนตูม จังหวัดนครปฐม

27

เพ่ือให้พนักงานส่วนต าบล ลูกจ้างประจ า และพนักงานจ้างของ องค์การบริหารส่วนต าบลล าเหย ได้มีกรอบและแนวทางในการมีจริยธรรมเพ่ือยึดถือเป็นหลัก และแนวทางปฏิบัติ เป็นเครื่องก ากับ ความประพฤติของพนักงานส่วนต าบล ลูกจ้างประจ า และพนักงานจ้าง ขององค์การบริหารส่วนต าบลล าเหย ให้ปฏิบัติหน้าที่และด าเนินงานตามภารกิจต่างๆ ให้เป็นไปตามกฎหมาย และระเบียบที่ก าหนด เพ่ือรักษาประโยชน์ส่วนรวมและประเทศชาติ อ านวยความสะดวก และให้บริการประชาชนตามหลักธรรมาภิบาล โดยจะต้องยึดมั่นในค่านิยมหลักของมาตรฐานจริยธรรม ดังนี้

๑. การยึดมั่นในคุณธรรมและจริยธรรม ๒. การมีจิตส านึกที่ดี ซื่อสัตย์ สุจริต และรับผิดชอบ ๓. การยึดถือประโยชน์ของประเทศชาติเหนือกว่าประโยชน์ส่วนตน และไม่มีผลประโยชน์

ทับซ้อน ๔. การยืนหยัดท าในสิ่งที่ถูกต้อง เป็นธรรม และถูกกฎหมาย ๕. การให้บริการแก่ประชาชนด้วยความรวดเร็ว มีอัธยาศัย และไม่เลือกปฏิบัติ ๖. การให้ข้อมูลข่าวสารแก่ประชาชนอย่างครบถ้วน ถูกต้อง และไม่บิดเบือนข้อเท็จจริง ๗. การมุง่ผลสัมฤทธิ์ของงาน รักษามาตรฐาน มีคุณภาพโปร่งใส และตรวจสอบได้ ๘. การยึดมั่นในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ๙. การยึดมั่นในหลักจรรยาวิชาชีพขององค์กร

ทั้งนี้ การฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานทางจริยธรรม ให้ถือว่าเป็นการกระท าผิดทางวินัย

***************************************

12. ประกาศคุณธรรม จริยธรรมของข้าราชการ พนักงาน และลูกจ้างของ องคก์ารบริหารส่วนต าบล

Page 26: ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕8 ๒๕60 · 8. โครงสร้างการก าหนดส่วนราชการ 8 - 12 9. ภาระค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับเงินเดือน

ส่วนที่ 5 การปรับปรุงแผนอัตราก าลัง 3 ปี

Page 27: ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕8 ๒๕60 · 8. โครงสร้างการก าหนดส่วนราชการ 8 - 12 9. ภาระค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับเงินเดือน

ส่วนที่ 5

การปรับปรุงแผนอัตราก าลัง 3 ปี

ในระหว่างการประกาศใช้บังคับแผนอัตราก าลัง 3 ปี องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จะต้องท า การปรับปรุงแผนอัตราก าลัง 3 ปี กรณีมีเหตุผลและความจ าเป็นที่จะต้องด าเนินการในเรื่อง ดังต่อไปนี

1. การก าหนดต าแหน่งข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่นเพิ่มขึ นใหม่ นอกเหนือจากที่ ก าหนดในแผนอัตราก าลัง เพ่ือรองรับภารกิจหน้าที่ความรับผิดชอบ ลักษณะงานหรือปริมาณงานที่เพ่ิมมากขึ น 2. มีการยุบเลิกต าแหน่งและเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับต าแหน่งข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่น ดังนี

2.1 การยุบเลิกต าแหน่ง หมายถึง การยุบเลิกต าแหน่งที่ว่างและไม่มีความจ าเป็นต่อ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

2.2 การเปลี่ยนแปลงเก่ียวกับต าแหน่ง ดังนี (1) การปรับปรุงต าแหน่ง หมายถึง การปรับปรุงสายงานของต าแหน่ง แต่อยู่ในงานเดิม

ส่วนราชการเดิม เช่น ปรับปรุงต าแหน่ง เจ้าหน้าที่ธุรการ 1-3 (05-1-002) เป็นเจ้าพนักงานธุรการ 2-4 เลขที่ต าแหน่งเดิม และงานเดิม ส่วนราชการเดิม เป็นต้น

(2) การปรับขยายระดับต าแหน่ง หมายถึง การปรับขยายระดับต าแหน่งในสายงานเดิม สังกัดงานและส่วนราชการเดิม เช่น ปรับขยายระดับ เจ้าหน้าที่การเงินและบัญชี 1-3 (03-4-003) เป็นเจ้าหน้าที่การเงินและบัญชี 4 เลขที่ต าแหน่งงานส่วนราชการเดิม เป็นต้น

(3) การปรับลดระดับต าแหน่ง หมายถึง การปรับลดระดับต าแหน่งในสายงานเดิม สังกัด งานและส่วนราชการเดิม เช่น ปรับลดระดับ พยาบาลวิชาชีพ 6 (05-6-002) เป็นพยาบาลวิชาชีพ 3-5 เลขที่ต าแหน่งงานและส่วนราชการเดิม เป็นต้น

(4) การตัดโอนต าแหน่ง หมายถึง การตัดโอนต าแหน่งเดิม จากงานหนึ่งไปไว้อีกงานหนึ่ง เช่น การตัดโอนต าแหน่งช่างโยธา 1-3 (04-2-002) งานวิศวกรรม กองช่าง ไปไว้ในงานแผนที่ภาษี กองคลัง (03-2-02) เป็นต้น

(5) การเปลี่ยนแปลงเลขท่ีต าแหน่ง หมายถึง การเปลี่ยนแปลงเลขที่ต าแหน่งของต าแหน่ง เดิมในงานเดียวกัน เช่นเปลี่ยนเลขท่ีต าแหน่งของเจ้าหน้าที่บริหารงานทะเบียนและบัตร 3-5 จาก 01-5-002 เป็น 01-5-001 เป็นต้น

(6) การปรับปรุงและตัดโอนต าแหน่ง หมายถึง การเกลี่ยต าแหน่งที่ว่างจากงานหนึ่งไปไว้อีก งานหนึ่ง (ส่วนราชการเดียวกันหรือไม่ก็ได้) ซึ่งจะเป็นการปรับปรุงทั งชื่อต าแหน่งและเลขที่ต าแหน่ง เช่น เกลี่ยต าแหน่งนักวิชาการสุขาภิบาล 3-5 (05-2-002) งานสุขาภิบาลและอนามัยสิ่งแวดล้อม กองสาธารณสุขและ สิ่งแวดล้อม ไปเป็นนักวิชาการคลัง 3-5 (03-2-003 ) งานแผนที่ภาษี กองคลัง เป็นต้น 3.ให้คณะกรรมการข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่น (ก.จังหวัด) เป็นผู้พิจารณาให้ความเห็นชอบการยุบเลิกต าแหน่งผู้ปฎิบัติและเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับต าแหน่ง ตามข้อเสนอขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หากคณะกรรมการข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่น (ก.จังหวัด) เห็นชอบตามข้อเสนอขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ถือได้ว่าคณะกรรมการกลางข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่น (ก.กลาง) ได้ให้ความเห็นชอบแล้ว หากคณะกรรมการข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่น (ก.จังหวัด) ไม่เห็นชอบกับข้อเสนอของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นยืนยันข้อเสนอนั น ให้เสนอผ่านคณะกรรมการ ข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่น (ก.จงัหวัด) ให้คณะกรรมการกลางข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่น (ก.กลาง) ให้ความเห็นชอบต่อไป

Page 28: ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕8 ๒๕60 · 8. โครงสร้างการก าหนดส่วนราชการ 8 - 12 9. ภาระค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับเงินเดือน

4. การพิจารณาขออนุมัติยุบเลิกต าแหน่งและเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับต าแหน่งพนักงานประจ าปี ให้ด าเนินการโดยยึดกรอบอัตราก าลังตามแผนอัตราก าลัง 3 ปี ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นเกณฑ์ หากมีเหตุผลและความจ าเป็นที่จะขออนุมัตินอกเหนือจากกรอบฯ ก็ให้ขออนุมัติเป็นกรณีพิเศษ 5.การขออนุมัติยุบเลิกต าแหน่งและเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับต าแหน่ง ให้พิจารณาถึงเหตุผลและความจ าเป็นในด้านปริมาณงานและคุณภาพของงานเป็นส าคัญ 6.การขออนุมัติยุบเลิกต าแหน่งและเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับต าแหน่ง นอกจากจะพิจารณาเหตุผลด้านปริมาณงานและคุณภาพของงานแล้ว ให้ค านึงถึงจ านวนของลูกจ้างทั งประจ าและชั่วคราวที่ปฎิบัติงานในงานนั นด้วย ทั งนี เพ่ือมิให้เกิดปัญหางานล้นมือ หรือปัญหาอื่นตามมา 7.การขออนุมัติยุบเลิกต าแหน่งและเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับต าแหน่งให้พิจารณาถึงความส าคัญกับความเหมาะสมและถูกต้องของกรอบต าแหน่งในงานนั นด้วย 8.ในการเสนอขอก าหนดต าแหน่งและการเสนอขอปรับปรุงการก าหนดต าแหน่ง ให้องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นชี แจงเหตุผลและความจ าเป็นให้คณะกรรมการข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่น (ก.กลาง) พิจารณาโดยมีรายละเอียด ดังนี

1) สภาพทั่วไปขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 2) เหตุผลและความจ าเป็นการการขอก าหนดต าแหน่งเพ่ิมใหม่ หรือขอปรับปรุงการ

ก าหนดต าแหน่ง 3) ชื่อต าแหน่ง สายงาน ระดับต าแหน่ง และจ านวนต าแหน่งที่ขอก าหนดใหม่ และขอ

ปรับปรุงการก าหนดต าแหน่ง 4) ลักษณะงาน หน้าที่ความรับผิดชอบที่จะมอบหมายให้ต าแหน่งที่ขอก าหนดใหม่ และ

ต าแหน่งที่ขอปรับปรุงการก าหนดต าแหน่งใหม่ ปฎิบัติมีอะไรบ้าง 5) ความยากและคุณภาพของงาน และปริมาณงานหรือภารกิจที่เพ่ิมมากขึ นจากเดิมถึง

ขนาดที่มีความจ าเป็นต้องก าหนดต าแหน่งเพ่ิมใหม่ หรือมีการปรับปรุงการก าหนดต าแหน่ง โดยให้ท าการเปรียบเทียบให้เห็นว่า ภารกิจปัจจุบันมีอะไร จ านวนเท่าใดบ้าง และภารกิจที่เพ่ิมมากขึ นหรือลดลงมีอะไรบ้าง

6) กรอบโครงสร้างส่วนราชการ และต าแหน่งขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทั งหมด 7) กรอบโครงสร้างส่วนราชการและกรอบโครงสร้างอัตราก าลังปัจจุบัน ของส่วนราชการ

ทีข่อก าหนดต าแหน่งใหม่ และที่ขอปรับปรุงการก าหนดต าแหน่ง และกรอบโครงสร้างส่วนราชการและกรอบ โครงสร้างอัตราก าลัง ภายหลังจากท่ีได้มีการขอก าหนดต าแหน่งใหม่ และที่ขอปรับปรุงการก าหนดต าแหน่ง 8) ตารางการวิเคราะห์ภาระค่าใช้จ่ายด้านการบริหารงานบุคคลปัจจุบัน และภายหลังจากที่ได้มีการขอก าหนดต าแหน่งใหม่ และที่ขอปรับปรุงการก าหนดต าแหน่ง 9.การขอก าหนดต าแหน่งใหม่ และการขอปรับปรุงการก าหนดต าแหน่งใหม่ เมื่อได้รับความเห็นชอบจากผู้มีอ านาจแล้วให้ถือว่าเป็นการปรับปรุงแผนอัตราก าลัง 3 ปี ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นนั น โดยให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นด าเนินการแก้ไขปรับปรุงรายละเอียดในแผนอัตราก าลังต่อไป

Page 29: ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕8 ๒๕60 · 8. โครงสร้างการก าหนดส่วนราชการ 8 - 12 9. ภาระค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับเงินเดือน

เอกสารประกอบ