พระพุทธศาสนาacademic.obec.go.th/textbook/web/images/book/1004119_example.pdf ·...

9
สงวนลิขสิทธิสำ�นักพิมพ์ บริษัทพัฒน�คุณภ�พ วิช�ก�ร (พว.) จำ�กัด พ.ศ. ๒๕๕๘ สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) ๗๐๑ ถนนนครไชยศรี แขวงถนน นครไชยศรี เขตดุสิต กรุงเทพฯ ๑๐๓๐๐ โทร. ๐-๒๒๔๓-๘๐๐๐ (อัตโนมัติ ๑๕ ส�ย), ๐-๒๒๔๓-๑๘๐๕ แฟกซ์ : ทุกหม�ยเลข, แฟกซ์อัตโนมัติ : ๐-๒๒๔๑-๔๑๓๑, ๐-๒๒๔๓-๗๖๖๖ ชั้นประถมศึกษ�ปีท่ ๔ กลุ่มส�ระก�รเรียนรู้สังคมศึกษ� ศ�สน� และวัฒนธรรม ต�มหลักสูตรแกนกล�งก�รศึกษ�ขั้นพื้นฐ�น พุทธศักร�ช ๒๕๕๑ หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน website : www.iadth.com พระระพิน พุทฺธิส�โร พระมห�มนัส กิตฺติส�โร ผู้เรียบเรียง ผู้ตรวจ บรรณาธิการ รองศ�สตร�จ�รย์ว�รินทร์ ม�ศกุล ผู้ช่วยศ�สตร�จ�รย์บรรเทิง พ�พิจิตร อ�จ�รย์แหวนทอง บุญคำ� รองศ�สตร�จ�รย์ศรชัย ท้�วมิตร ดร.สุทธิพงษ์ ศรีวิชัย พระพุทธศาสนา

Upload: others

Post on 12-Sep-2019

5 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: พระพุทธศาสนาacademic.obec.go.th/textbook/web/images/book/1004119_example.pdf · หน้า ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม

สงวนลิขสิทธิ์

สำ�นักพิมพ์ บริษัทพัฒน�คุณภ�พ

วิช�ก�ร (พว.) จำ�กัด

พ.ศ. ๒๕๕๘

สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.)

๗๐๑ ถนนนครไชยศรี แขวงถนน

นครไชยศรี เขตดุสิต กรุงเทพฯ

๑๐๓๐๐ โทร. ๐-๒๒๔๓-๘๐๐๐

(อัตโนมัติ ๑๕ ส�ย),

๐-๒๒๔๓-๑๘๐๕

แฟกซ์ : ทุกหม�ยเลข,

แฟกซ์อัตโนมัติ :

๐-๒๒๔๑-๔๑๓๑,

๐-๒๒๔๓-๗๖๖๖

ชั้นประถมศึกษ�ปีที่ ๔

กลุ่มส�ระก�รเรียนรู้สังคมศึกษ� ศ�สน� และวัฒนธรรม

ต�มหลักสูตรแกนกล�งก�รศึกษ�ขั้นพื้นฐ�น พุทธศักร�ช ๒๕๕๑

หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน

website : www.iadth.com

พระระพิน พุทฺธิส�โร

พระมห�มนัส กิตฺติส�โร

ผู้เรียบเรียง

ผู้ตรวจ

บรรณาธิการ

รองศ�สตร�จ�รย์ว�รินทร์ ม�ศกุล

ผู้ช่วยศ�สตร�จ�รย์บรรเทิง พ�พิจิตร

อ�จ�รย์แหวนทอง บุญคำ�

รองศ�สตร�จ�รย์ศรชัย ท้�วมิตร

ดร.สุทธิพงษ์ ศรีวิชัย

พระพุทธศาสนา

Page 2: พระพุทธศาสนาacademic.obec.go.th/textbook/web/images/book/1004119_example.pdf · หน้า ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม

หน้า

ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม ๕

หน่วยการเรียนรู้ที่๑ ความสำาคัญของพระพุทธศาสนาและ

พุทธประวัติ ๖

หน่วยการเรียนรู้ที่๒ พุทธสาวกชาดกและพุทธศาสนิกชน

ตัวอย่าง ๑๗

หน่วยการเรียนรู้ที่๓ หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ๒๙

หน่วยการเรียนรู้ที่๔ หน้าที่ชาวพุทธและมรรยาท

ของชาวพุทธ ๔๖

หน่วยการเรียนรู้ที่๕ การบริหารจิตและเจริญปัญญา ๕๖

หน่วยการเรียนรู้ที่๖ ศาสนพิธี ๖๔

หน่วยการเรียนรู้ที่๗ ประวัติศาสดาของศาสนาต่างๆ

ที่คนไทยนับถือ ๗๓

จุดประกายโครงงาน ๘๗

บรรณานุกรม ๘๘

คำ�นำ�

หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐานพระพุทธศาสนา ชั้นประถมศึกษา

ปีที่๔กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมได้จัดทำาขึ้น

เพื่อใช้เป็นสื่อการเรียนการสอนในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่๔ซึ่งมีเนื้อหา

ครบถ้วนตามมาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วัดที่กำาหนดในหลักสูตร

แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช๒๕๕๑ โดยมุ่งให้ผู้เรียนเกิด

ความศรัทธาในพระพุทธศาสนา และนำาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา

ไปปฏิบัติในการดำาเนินชีวิต โดยมีการนำาเสนอเนื้อหาที่เหมาะสมกับ

พัฒนาการของผู้เรียน และใช้ภาพประกอบที่สวยงาม เพื่อให้เกิดความ

น่าสนใจ กระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดกระบวนการคิดและเกิดความสนใจศึกษา

เพิ่มเติมนอกจากนี้ยังช่วยหล่อหลอมให้ผู้เรียนมีจิตสำานึกในการปฏิบัติตน

เพื่อให้สังคมเกิดความสงบสุข

ในหนังสือเรียนมีองค์ประกอบดังนี้ผังสาระการเรียนรู้สาระสำาคัญ

เนื้อหาและข้อเท็จจริงที่ถูกต้อง ข้อมูลด้านอาชีพที่น่ารู้ เว็บไซต์แนะนำา

ความรู้เพิ่มเติม ปลอดภัยไว้ก่อน กิจกรรมการเรียนรู้ คำาถามพัฒนา

กระบวนการคิดและจุดประกายโครงงาน

ผู้เขียนหวังเป็นอย่างยิ่งว่า หนังสือเรียนเล่มนี้จะเป็นประโยชน์

ต่อการเรียนการสอนและบรรลุตามจุดมุ่งหมายของหลักสูตรแกนกลาง

การศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช๒๕๕๑

คณะผู้จัดทำา

สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.)

Page 3: พระพุทธศาสนาacademic.obec.go.th/textbook/web/images/book/1004119_example.pdf · หน้า ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม

สาระที่ ๑ ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม

ผังสาระการเรียนรู้

ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม

ตัวชี้วัดข้อ ๒

สรุปพุทธประวัติตั้งแต่บรรลุธรรมจนถึง

การประกาศธรรม หรือประวัติศาสดา

ที่ตนนับถือตามที่กำาหนด

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑

ความสำาคัญของพระพุทธศาสนา

และพุทธประวัติ

ตัวชี้วัดข้อ ๓

เห็นคุณค่าและปฏิบัติตนตามแบบอย่าง

การดำาเนินชีวิตและข้อคิดจากประวัติสาวก

ชาดก เรื่องเล่าและศาสนิกชนตัวอย่าง

ตามที่กำาหนด

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒

พุทธสาวก ชาดก และ

พุทธศาสนิกชนตัวอย่าง

ตัวชี้วัดข้อ ๔

แสดงความเคารพพระรัตนตรัย ปฏิบัติ

ตามไตรสิกขาและหลักธรรมโอวาท ๓

ในพระพุทธศาสนาหรือหลักธรรมของ

ศาสนาที่ตนนับถือตามที่กำาหนด

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๓

หลักธรรมทาง

พระพุทธศาสนา

ตัวชี้วัดข้อ ๕

ชื่นชมการทำาความดีของตนเอง บุคคล

ในครอบครัว โรงเรียน และชุมชนตาม

หลักศาสนา พร้อมทั้งบอกแนวปฏิบัติ

ในการดำาเนินชีวิต

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๓

หลักธรรมทาง

พระพุทธศาสนา

ตัวชี้วัดข้อ ๗

ปฏิบัติตนตามหลักธรรมของศาสนา

ที่ตนนับถือ เพื่อการอยู่ร่วมกันเป็นชาติ

ได้อย่างสมานฉันท์

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๓

หลักธรรมทาง

พระพุทธศาสนา

ตัวชี้วัดข้อ ๘

อธิบายประวัติศาสดาของศาสนาอื่น ๆ

โดยสังเขป

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๗

ประวัติศาสดาของศาสนาต่าง ๆ

ที่คนไทยนับถือ

ตัวชี้วัดข้อ ๑

อภิปรายความสำาคัญและมีส่วนร่วม

ในการบำารุงรักษาศาสนสถานของ

ศาสนาที่ตนนับถือ

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔หน้าที่ชาวพุทธและมรรยาท

ของชาวพุทธ

ตัวชี้วัดข้อ ๒

มีมรรยาทของความเป็นศาสนิกชนที่ดี

ตามที่กำาหนด

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔หน้าที่ชาวพุทธและมรรยาท

ของชาวพุทธ

ตัวชี้วัดข้อ ๓

ปฏิบัติตนในศาสนพิธี พิธีกรรม และ

วันสำาคัญทางศาสนาตามที่กำาหนด

ได้ถูกต้อง

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ศาสนพิธี

ตัวชี้วัดข้อ ๖

เห็นคุณค่าและสวดมนต์ แผ่เมตตา มีสติ

ที่เป็นพื้นฐานของสมาธิในพระพุทธศาสนา

หรือการพัฒนาจิตตามแนวทางของศาสนา

ที่ตนนับถือตามที่กำาหนด

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๕

การบริหารจิต

และเจริญปัญญา

ส ๑.๒

ตัวชี้วัดข้อ ๑

อธิบายความสำาคัญของพระพุทธศาสนา

หรือศาสนาที่ตนนับถือในฐานะเป็น

ศูนย์รวมจิตใจของศาสนิกชน

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑

ความสำาคัญของพระพุทธศาสนา

และพุทธประวัติ

ส ๑.๑

Page 4: พระพุทธศาสนาacademic.obec.go.th/textbook/web/images/book/1004119_example.pdf · หน้า ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม

๑. ความสำาคัญของพระพุทธศาสนา

พระพุทธศาสนาเป็นศาสนาที่คนไทยส่วนใหญ่นับถือ และเป็นรากฐาน

ของวัฒนธรรมไทย พระมหากษัตริย์ไทยทุกพระองค์ทรงเป็นพุทธมามกะ

พระพุทธศาสนาจึงเป็นศูนย์รวมจิตใจและมีความสำาคัญต่อวิถีชีวิตของคนไทย

จุดประกายความคิด

พุทธประวัติความสำาคัญของพระพุทธศาสนา

ความสำาคัญของ

พระพุทธศาสนาและ

พุทธประวัติ

7ความสำาคัญของพระพุทธศาสนาและพุทธประวัติ

ความสำาคัญของพระพุทธศาสนา

และพุทธประวั ติ

ตัวชี้วัด

ผังสาระการเรียนรู้

สาระสำาคัญ

๑. อธิบายความสำาคัญของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือในฐานะเป็นศูนย์รวมจิตใจของ

ศาสนิกชน(ส๑.๑ป.๔/๑)

๒. สรุปพุทธประวัติตั้งแต่บรรลุธรรมจนถึงการประกาศธรรมหรือประวัติศาสดาที่ตนนับถือตามที่กำาหนด

(ส๑.๑ป.๔/๒)

๑. พระพทุธศาสนาเปน็ศาสนาทีค่นไทยสว่นใหญน่บัถอืและมคีวามผกูพนัอยูก่บัวถิชีวีติของพทุธศาสนกิชน

เป็นสิ่งที่ยึดเหนี่ยวจิตใจให้พุทธศาสนิกชนทำาความดีตามหลักธรรมส่งผลให้สังคมเกิดความสงบสุข

๒. พระพทุธเจา้เปน็ศาสดาของพระพทุธศาสนาการแสวงหาหนทางแหง่การพน้ทกุข์และเผยแผพ่ระพทุธ-

ศาสนาส่งผลให้พุทธศาสนิกชนมีหลักธรรมที่ใช้สำาหรับการดำารงชีวิต

หน่วยการเรียนรู้ที่

พระพุทธศาสนา

เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจ

ของพุทธศาสนิกชน

พระพุทธศาสนา

เป็นศูนย์รวมการทำาความดี

และพัฒนาจิตใจ

พระพุทธศาสนามีศาสนสถาน

เป็นแหล่งปฏิบัติกิจกรรม

ทางสังคม

สรุปพุทธประวัติ

การตรัสรู้

การประกาศธรรม

พระพุทธศาสนา

มีศาสนสถานเป็นที่

ประกอบศาสนพิธี

ในชีวิตประจำ�วันของนักเรียน

มีคว�มเกี่ยวข้องกับพระพุทธศ�สน�

อย่�งไรบ�้ง

Page 5: พระพุทธศาสนาacademic.obec.go.th/textbook/web/images/book/1004119_example.pdf · หน้า ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม

พระพุทธศาสนาเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจของพุทธศาสนิกชน

๑.๑ พระพุทธศาสนาเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจของ

พุทธศาสนิกชน

๑.๒ พระพุทธศาสนาเป็นศูนย์รวมการทำาความดีและ พัฒนาจิตใจ

หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา

กอ่ใหเ้กดิความประพฤตทิีด่ ีพฒันาคณุภาพ

ชีวิตและจิตใจ ให้มีคุณธรรม การบริหารจิต

และการเจริญปัญญา โดยการสวดมนต์

ไหวพ้ระ ทำาสมาธเิจรญิภาวนาสง่ผลใหจ้ติใจ

ผ่องใสบริสุทธิ์

พระพุทธศาสนาจึงเป็นศูนย์รวม

การทำ าความดี และพัฒนาจิต ใจของ

พุทธศาสนิกชน พระพุทธศาสนาเป็นศูนย์รวมจิตใจของพุทธศาสนิกชน

ก า ร นำ า ห ลั ก ธ ร ร ม คำ า ส อ น ใ น

พระพุทธศาสนามาปฏิบัติในการดำาเนินชีวิต

จะทำาให้ดำาเนินชีวิตได้อย่างมีความสุข

สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่าง

สันติสุข พระพุทธศาสนาจึงเป็นเครื่อง

ยึดเหนี่ยวจิตใจของพุทธศาสนิกชน

๑.๓ พระพุทธศาสนามีศาสนสถานเป็นที่ประกอบศาสนพิธี

วัดเป็นศาสนสถานของพระพุทธศาสนา และเป็นสถานที่ประกอบ

พิธีกรรมทางพระพุทธศาสนา เช่น การทำาบุญ การทอดกฐิน การทอดผ้าป่า

การประกอบพิธีกรรมทางศาสนา

๑.๔ พระพุทธศาสนามีศาสนสถานเป็นแหล่งปฏิบัติ

กิจกรรมทางสังคม

พระพุทธศาสนามีความผูกพันกับสังคมไทย วิถีชีวิตของคนไทย

ส่วนใหญ่จึงเกี่ยวข้องกับพระพุทธศาสนา พุทธศาสนิกชนจึงมีความใกล้ชิด

กับวัดซึ่งเป็นศาสนสถานของพระพุทธศาสนา การจัดงานหรือจัดกิจกรรม

วัดเป็นศูนย์กลางของชุมชน

ตา่ง ๆ จงึจดัขึน้ภายในบรเิวณ

วัด เช่น การจัดงานประเพณี

ท้องถิ่นการเผยแพร่ข้อมูล

ขา่วสาร ในชมุชน การสง่เสรมิ

พัฒนาชุมชน

การบรรพชา การอุปสมบท โดย

พุทธศาสนิกชนจะเข้าไปมีส่วนร่วม

ในพิธีกรรมต่าง ๆ เพื่อแสดงถึงความ

เคารพในพระรัตนตรัย และเป็นการ

สืบทอดพระพุทธศาสนา ให้คงอยู่

สืบต่อไป

8 พระพุทธศาสนา ป.๔ 9ความสำาคัญของพระพุทธศาสนาและพุทธประวัติ

Page 6: พระพุทธศาสนาacademic.obec.go.th/textbook/web/images/book/1004119_example.pdf · หน้า ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม

๒. พุทธประวัติ

๒.๑ สรุปพุทธประวัติ

คือ คนแก่ คนเจ็บ คนตาย ทรงสังเวชสลดพระทัย และเห็นนักบวช ซึ่งอยู่ในอาการที่สงบก็ทรงพอพระทัย และเป็นสาเหตุที่ให้ตัดสินพระทัยออกผนวชในคืนที่พระโอรสพระนามว่า ราหุลประสูติ ซึ่งขณะนั้นพระองค์ มีพระชนมายุ ๒๙ พรรษา

พุทธประวัติ คือ ประวัติของพระพุทธเจ้า ซึ่งเป็นศาสดาและผู้ก่อตั้งพระพุทธศาสนา พระพุทธเจ้ามีพระนามว่า เจ้าชายสิทธัตถะ ประสูติเมื่อ วันเพ็ญขึ้น ๑๕ ค่ำ� เดือน ๖ ก่อนพุทธศักราช ๘๐ ปี พระบิดาคือ พระเจ้า สุทโธทนะกษัตริย์แห่งกรุงกบิลพัสดุ์ พระมารดาคือ พระนางสิริมหามายา เมื่อพระชนมายุได้ ๗ พรรษา ได้ทรงศึกษาศิลปวิทยาการต่าง ๆ เพื่อเตรียมเป็นกษัตริย์ในอนาคต คราวหนึ่งเสด็จประพาสอุทยานได้พบเทวทูตทั้ง ๔

๒.๒ การตรัสรู้

เจา้ชายสทิธตัถะเสดจ็ออกผนวชรมิฝัง่แม่น้ำ�อโนมา เมือ่ผนวชแลว้ไดไ้ปศกึษาอยูท่ีส่ำานกัของอาฬารดาบสกาลามโคตร และอทุทกดาบสรามบตุร จนสำาเร็จก็ทรงเห็นว่ายังไม่ใช่หนทางแห่งการตรัสรู้ จึงเสด็จแสวงหาธรรมด้วยพระองค์เอง

เจา้ชายสทิธตัถะไดแ้สวงหาหนทางตรสัรูโ้ดยการบำาเพญ็ทกุรกริยิา (ทุก-กะ-ระ-กิ-ริ-ยา) คือ การทรมานร่างกาย เช่น กลั้นลมหายใจ อดอาหารจนร่างกายซูบผอม

เทวทูตทั้ง ๔

เมื่อยังไม่พบหนทางพ้นทุกข์ จึงทรงเลิกวิธีทรมานร่างกาย เหล่าปัญจวัคคีย์ที่คอยปรนนิบัติพระองค์ขณะบำาเพ็ญทุกรกิริยาเห็นว่า พระองค์ เลิกบำาเพ็ญเพียร จึงพากันทิ้งพระองค์หนีไปอยู่อิสิปตนมฤคทายวัน (อิ-สิ-ปะ-ตะ-นะ-มะ-รึก-คะ-ทา-ยะ-วัน) พระองค์ทรงดำาเนินทางสายกลาง

พระพุทธเจ้าตรัสรู้อริยสัจ ๔ ใต้ต้นพระศรีมหาโพธิ์

โดยการหันมาเสวยอาหารเพื่อให้ร่างกายแข็งแรง และบำาเพ็ญเพียรโดยการนั่งสมาธิ จนเกิดปัญญาบรรลุญาณขั้นต่าง ๆ และตรัสรู้อริยสัจ ๔ เป็น พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ณ ใต้ต้นพระศรีมหาโพธิ์

เกดิดวงตาเหน็ธรรมและขออปุสมบทเป็นพระสงฆ์สาวก ต่อจากนั้นได้มี ผู้เลื่อมใสเข้ามาขออุปสมบท จนมีพระสงฆ์สาวก ๖๐ รูป พระองค์จึงส่งสาวกเหล่านั้นไปเผยแผ่ศาสนายังเมืองต่าง ๆ ส่วนพระองค์ได้เสด็จ ไปแสดงธรรมโปรดชฎิล ๓ พี่น้อง ณ ตำาบลอุรุเวลาเสนานิคมพระพุทธเจ้าแสดงธรรมโปรดปัญจวัคคีย์

๒.๓ การประกาศธรรม เมื่อพระองค์ตรัสรู้แล้ว ประสงค์จะเผยแผ่พระพุทธศาสนาจึงได้เดินทางไปยังอิสิปตนมฤคทายวัน เพื่อโปรดปัญจวัคคีย์ โดยการแสดงปฐมเทศนา ที่เรียกว่า “ธัมมจักกัปปวัตนสูตร” และทำาให้อัญญาโกณฑัญญะ หนึง่ในปญัจวคัคยี ์ไดด้วงตาเหน็ธรรมและขออปุสมบทเปน็พระภกิษรุปูแรก ในพระพุทธศาสนา และทรงแสดงธรรมต่อไปจนปัญจวัคคีย์ทั้ ง ๔

ใกล้ฝั่งแม่น้ำ�เนรัญชรา เมื่อวันขึ้น ๑๕ ค่ำ� เดือน ๖ ขณะที่มีพระชนมายุ ๓๕พรรษา

10 พระพุทธศาสนา ป.๔ 11ความสำาคัญของพระพุทธศาสนาและพุทธประวัติ

Page 7: พระพุทธศาสนาacademic.obec.go.th/textbook/web/images/book/1004119_example.pdf · หน้า ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม

๑) โปรดชฎิล๓พี่น้อง

พระพทุธเจา้ทรงดำาร ิทีจ่ะเผยแผ่พระพุทธศาสนา และเห็นว่าการเผยแผจ่ะใหไ้ดร้วดเรว็นัน้ ตอ้งเผยแผ่กับเจ้าลัทธิที่มีผู้นับถือจำานวนมากอยู่แล้ว พระองค์เห็นว่าชฎิลสามพี่น้องตระกูลกัสสปะ ที่มีบริวารรวมกัน

พระพุทธเจ้าทรงแสดงธรรมโปรดพระเจ้าพิมพิสาร

ชฎิล ๓ พี่น้องพร้อมทั้งบริวารอุปสมบทเป็นพระภิกษุในพระพุทธศาสนา

พ ร ะ พุ ท ธ เ จ้ า ท ร ง พ าพระอรหันต์จำานวน ๑,๐๐๓ องค์ ไปยังกรุงราชคฤห์ เมื่อพระเจ้าพิมพิสาร ทรงทราบข่าว จึงได้เสด็จพระราชดำาเนิน พร้อมด้วยข้าราชบริพารไปเข้ า เฝ้ า พระพุทธเจ้าทรงโปรดให้พระอุรุเวล- กัสสปะชี้แจงถึงเหตุที่เปลี่ยนมานับถือ

๑,๐๐๐ คน น่ าจะเหมาะที่ จะช่วยในการเผยแผ่พระพุทธศาสนา พระองค์จึงเดินทางไปพบชฎิลผู้พี่ คือ อุรุเวลกัสสปะ โดยขอเข้าไปอาศัย พักแรม แต่อุรุเวลกัสสปะได้ให้พระพุทธเจ้าเข้าไปพักในโรงบูชาไฟ ซึ่งมีพญานาคอาศัยอยู่ แต่พระองค์ได้ปราบให้พญานาคที่ดุร้ายขดอยู่ในบาตรได้ จนชฎิลเกิดความเลื่อมใสลอยเครื่องบูชาไฟและขออุปสมบทเป็นพระภิกษุ ฝ่ายชฎิลผู้น้องทั้งสองเมื่อเห็นเครื่องบริขารของชฎิลผู้พี่ลอยมาตาม กระแสน้ำ� จึงพาบริวารเดินทางไปพบพี่ชาย เมื่อเห็นพี่ชายถือเพศเป็น พระภิกษุจึงขออุปสมบทด้วย จากนั้นพระพุทธเจ้า ทรงแสดงธรรมเทศนา ชื่อว่า อาทิตตปริยายสูตร (อา-ทิด-ตะ-ปะ-ริ-ยา-ยะ-สูด) แด่พระภิกษุเหล่านั้น พระภิกษุทั้งหมดได้ปฏิบัติธรรมจนบรรลุเป็นพระอรหันต์ในเวลาต่อมา

๒)โปรดพระเจ้าพิมพิสาร

พระพุทธศาสนาให้แก่ชาวเมืองราชคฤห์ได้ทราบ จากนั้นพระพุทธเจ้า

ทรงแสดงพระธรรมเทศนาโปรดพระเจ้าพิมพิสาร ข้าราชบริพาร และ

ชาวเมืองจนเกิดความเลื่อมใสและศรัทธาในพระพุทธศาสนา โดยพระเจ้า-

พิมพิสารได้ประกาศตนเป็นพุทธมามกะ และถวายพระราชอุทยานเวฬุวัน

ให้เป็นที่ประทับของพระพุทธเจ้า

๓)การแต่งตั้งพระอัครสาวก

พระสารีบุตร และพระโมคคัลลานะ อัครสาวกของ พระพุทธเจ้าผู้เป็นพุทธสาวก และเป็นกำาลังสำาคัญในการเผยแผ่พระพุทธ-ศาสนา

ในช่วงที่พระพุทธเจ้าประทับอยู่ที่กรุงราชคฤห์มีสำานักของอาจารย์สัญชัย เวลัฏฐบุตร (สัน-ชัย-เว-ลัด-ถะ-บุด) ตั้งอยู่บริเวณใกล้เคียงกับกรุงราชคฤห์ มีลูกศิษย์ประมาณ ๕๐๐ คน อุปติสสะและโกลติะไดเ้ปน็ศษิยอ์ยูใ่นสำานกั ทา่นทัง้สองเป็นผู้มีสติปัญญาดีเมื่อศึกษาจนจบความรู้ของอาจารย์สัญชัยแล้ว ทั้งสองก็ยังไม่พบหลักธรรมที่จะทำาให้พ้นทุกข์ จึงได้แยกกันไป

เพื่อออกแสวงหาผู้ที่สามารถแสดงสัจธรรมที่จะนำาไปปฏิบัติ ให้พ้นทุกข์ได้ โดยสัญญากันว่า ถ้าผู้ใดพบเห็นธรรมก่อนก็จะมาบอกแก่กัน เช้าวันหนึ่งอุปติสสะกำาลังเดินไปตามถนนในกรุงราชคฤห์ ก็ได้พบพระอัสสชิกำาลังเดินบิณฑบาต อุปติสสะได้เกิดความเลื่อมใส จึงเดินเข้าไปสนทนาถึงผู้เป็นเจ้าลัทธิและขอให้พระอัสสชิแสดงธรรมให้ฟัง พระอัสสชิได้แสดงธรรมโดยย่อ มีใจความว่า “ธรรมเหล่าใดเกิดแต่เหตุ พระศาสดา

12 พระพุทธศาสนา ป.๔ 13ความสำาคัญของพระพุทธศาสนาและพุทธประวัติ

Page 8: พระพุทธศาสนาacademic.obec.go.th/textbook/web/images/book/1004119_example.pdf · หน้า ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม

ใจความสำาคัญของโอวาทปาติิโมกข์ คือ ๑. ละเว้นความชั่ว คือ งดเว้นจากการประพฤติชั่วทางกาย วาจา ใจ ๒. ทำาความดี คือ ประพฤติดีทั้งทางกาย วาจา ใจ ๓. ทำาจิตใจให้ผ่องใสบริสุทธิ์ คือ การบริหารจิตและเจริญปัญญา ปฏิบัติตาม

หลักทาน ศีล และภาวนา

ทรงแสดงเหตุแห่งธรรมนั้น และความดับแห่งธรรมนั้น พระศาสดาทรง สั่งสอนอย่างนี้” อุปติสสะได้ฟังจึงเกิดดวงตาเห็นธรรม จึงกลับไปบอก โกลิตะ เมื่อโกลิตะได้ฟังธรรมก็ได้ดวงตาเห็นธรรม ทั้งสองจึงชวนกันไปเฝ้าพระพุทธเจ้าและขออุปสมบทเป็นพระภิกษุในพระพุทธศาสนา และได้สำาเร็จเป็นพระอรหันต์ อุปติสสะ หรือ พระสารีบุตร ได้รับการแต่งตั้งเป็นเอตทัคคะ คือ เป็นผู้เลิศกว่าภิกษุอื่นในทางปัญญา และเป็นอัครสาวกเบื้องขวาของพระพุทธเจ้า โกลิตะ หรือ พระโมคคัลลานะ ได้รับการแต่งตั้งเป็นเอตทัคคะ คือ เป็นผู้เลิศกว่าภิกษุอื่นในทางที่มีฤทธิ์มากและเป็นอัครสาวกเบื้องซ้าย

๔) ทรงแสดงโอวาทปาติโมกข์ หลังจากพระพุทธเจ้าประกาศธรรม และเผยแผ่พระพุทธ-

พระพุทธเจ้าทรงแสดงโอวาทปาติโมกข์ในวันมาฆบูชา

ศาสนาจนมพีทุธศาสนกิชน นบัถอืเปน็จำ านวนมาก พระองค์ได้ประกาศ หลักธรรมคำาสอนซึ่งเป็นหัวใจสำาคัญของพระพุทธศาสนา คือ โอวาท-ปาติโมกข์ ในวันเพ็ญขึ้น ๑๕ ค่ำ� เดือน ๓ หรือ วันมาฆบูชา

พุทธประวัติ www.learntripitaka.com/History/Buddhist.html

เว็บไซต์แนะนำา

พระเจ้าพิมพิสาร กษัตริย์แห่งกรุงราชคฤห์ ได้ถวายอุทยานเวฬุวัน

ให้เป็นที่ประทับของพระพุทธเจ้า วัดเวฬุวันจึงถือเป็นวัดแห่งแรกใน

พระพุทธศาสนา

ความรู้เพิ่มเติม

ผงัสรปุสาระสำาคญั

14 พระพุทธศาสนา ป.๔ 15ความสำาคัญของพระพุทธศาสนาและพุทธประวัติ

ความสำาคัญของพระพุทธศาสนาและพุทธประวัติ

พระพทุธศาสนามหีลกัธรรมคำาสอนทีส่ามารถนำามาใชเ้ปน็แนวทางในการ

ดำาเนนิชวีติและเปน็เครือ่งยดึเหนีย่วจติใจของพทุธศาสนกิชน หลกัธรรม

ทางพระพุทธศาสนาก่อให้เกิดความประพฤติที่ดี ช่วยพัฒนาจิตใจของ

ผู้ปฏิบัติ นอกจากนี้ยังมีวัด ซึ่งเป็นศาสนสถานสำาคัญที่ใช้ประกอบ

พิธีกรรมทางศาสนา และเป็นศูนย์รวมจิตใจของคนในชุมชน

พระพุทธเจ้าทรงตัดสินพระทัยเสด็จออกผนวชหลังจากที่ได้พบเทวทูต

ทั้ง ๔ และทรงตั้งพระทัยที่จะแสวงหาหนทางดับทุกข์ โดยการบำาเพ็ญ

ทกุรกริยิา แตไ่มพ่บหนทางแหง่การดบัทกุข ์จงึหนัมาดำาเนนิทางสายกลาง

และทรงตรัสรู้อริยสัจ ๔ หลังจากนั้นทรงเผยแผ่หลักธรรมที่ทรงค้นพบ

แก่ปัญจวัคคีย์ จนโกณฑัญญะขออุปสมบทเป็นพระภิกษุรูปแรกใน

พระพุทธศาสนา หลังจากนั้นทรงแสดงธรรมโปรดชฎิิล ๓ พี่น้อง และ

พระเจ้าพิมพิสารจนมีพระสาวกเพิ่มมากขึ้น ทรงแต่งตั้งให้พระสารีบุตร

และพระโมคคัลลานะเป็นพระอัครสาวก พระพุทธเจ้าทรงประกาศ

หลักธรรมที่เป็นหัวใจสำาคัญของพระพุทธศาสนา คือ โอวาทปาติิโมกข์

ความสำาคัญของพระพุทธศาสนา

พุทธประวัติ

Page 9: พระพุทธศาสนาacademic.obec.go.th/textbook/web/images/book/1004119_example.pdf · หน้า ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม

๑. ให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายความสำาคัญของพระพุทธศาสนา

ในฐานะเป็นศูนย์รวมจิตใจของพุทธศาสนิกชน

๒. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มกลุ่มละ๔-๖คนศึกษาข้อคิดที่ได้จากการศึกษา

พุทธประวัติตั้งแต่บรรลุธรรมจนถึงการประกาศธรรมและออกมา

นำาเสนอหน้าชั้นเรียน

๓. ให้นักเรียนจัดทำาแผนภาพสรุปพุทธประวัติตั้งแต่บรรลุธรรมจนถึง

การประกาศธรรมเป็นแผนภาพความคิด

๑. พระพุทธศาสนามีความสำาคัญต่อวิถีชีวิตนักเรียนอย่างไร

๒. การเผยแผ่พระพุทธศาสนาของพระพุทธเจ้ามีผลต่อปัจจุบันอย่างไร

๓. นักเรียนจะนำาข้อคิดที่ได้จากการศึกษาพุทธประวัติไปปฏิบัติ

ในชีวิตประจำาวันได้อย่างไร

๔. การเลื่อมใสในพระพุทธศาสนาของชฎิล๓พี่น้องส่งผลต่อ

พระพุทธศาสนาอย่างไร

๕. การแต่งตั้งอัครสาวกมีความสำาคัญอย่างไร

บรรลุธรรม การประกาศธรรม

๔. ให้นักเรียนสืบค้นเกี่ยวกับศาสนาประจำาชาติของประเทศสมาชิก

อาเซียนและนำาข้อมูลที่ได้มานำาเสนอหน้าชั้นเรียน

16 พระพุทธศาสนาป.๔

กิจกรรมการเรียนรู้

คำาถามพัฒนากระบวนการคิด

พุทธศาสนิกชนตัวอย่าง

ชาดกพุทธสาวก

พุทธสาวก ชาดกและ

พุทธศาสนิกชนตัวอย่าง

พุทธสาวก ชาดก

และพุทธศาสนิกชนตัวอย่าง

ตัวชี้วัด

ผังสาระการเรียนรู้

สาระสำาคัญ

• เห็นคุณค่าและปฏิบัติตนตามแบบอย่างการดำาเนินชีวิตและข้อคิดจากประวัติสาวกชาดกเรื่องเล่า

และศาสนิกชนตัวอย่างตามที่กำาหนด(ส๑.๑ป.๔/๓)

๑. พระอุรุเวลกัสสปะ เป็นพุทธสาวกที่ได้รับการยกย่องว่าเป็นผู้มีบริวารมากและช่วยในการเผยแผ่

พระพุทธศาสนา

๒. ชาดกเป็นนิทานทางพระพุทธศาสนาที่เป็นเรื่องราวของพระพุทธเจ้าในอดีตชาติมีข้อคิดสอนใจที่

สามารถนำามาใช้ในชีวิตประจำาวันได้

๓. พุทธศาสนิกชนตัวอย่างเป็นบุคคลที่นำาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนามาปฏิบัติในการดำาเนินชีวิต

หน่วยการเรียนรู้ที่

สมเด็จพระศรีนครินทรา-

บรมราชชนนี

กุฏิทูสกชาดก : ลิงเกเรกับนกขมิ้น

มหาอุกกุสชาดก : สัตว์สี่สหาย

สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม

พระบรมราชชนก

พระอุรุเวลกัสสปะ