รายงานการศึกษาค นคว าอิสระ เรื่อง...

20
รายงานการศึกษาคนควาอิสระ เรื่อง การศึกษาผลการนิเทศแบบ PIDRE ในการใชระบบสารสนเทศ (Kahoot! And Google Forms) ในการจัดการเรียนรู : กรณีศึกษาโรงเรียนบานครัว สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสระบุรี เขต ๑ โดย นายยศพัฒน ธนอัครสวัสดิผูฝกประสบการณนิเทศการศึกษา รายงานการศึกษาคนควาอิสระนี้ เปนสวนหนึ่งของการฝกประสบการณนิเทศการศึกษา กอนแตงตั้งใหดํารงตําแหนงศึกษานิเทศก สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยนาท

Upload: others

Post on 09-Oct-2019

1 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

รายงานการศึกษาคนควาอิสระ เร่ือง การศึกษาผลการนิเทศแบบ PIDRE ในการใชระบบสารสนเทศ

(Kahoot! And Google Forms) ในการจัดการเรียนรู : กรณีศึกษาโรงเรียนบานครัว สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสระบุรี เขต ๑

โดย

นายยศพัฒน ธนอัครสวัสด์ิ ผูฝกประสบการณนิเทศการศึกษา

รายงานการศึกษาคนควาอิสระน้ี เปนสวนหน่ึงของการฝกประสบการณนิเทศการศึกษา กอนแตงตั้งใหดํารงตําแหนงศึกษานิเทศก สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยนาท

คํานํา

การปฏิรูปการเรียนรูตามแนวพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ กําหนดใหมีการจัดการศึกษาตองยึดหลักวาผูเรียนทุกคนสามารถเรียนรูและพัฒนาตนเองได และถือวาผูเรียนมีความสําคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาตองสงเสริมใหผูเรียน สามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ การจัดการศึกษาทั้งการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย ตองเนนความสําคัญทั้งความรู คุณธรรม กระบวนการเรียนรูและบูรณาการตามความเหมาะสมของแตละระดับการศึกษา ผูเรียนมีสิทธิไดรับการพัฒนาขีดความสามารถ ในการใชเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาในโอกาสแรกที่ทําได เพ่ือใหมีความรูและทักษะเพียงพอที่จะใชเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ในการแสวงหาความรูดวยตนเองไดอยางตอเนื่องตลอดชีวิต

ยศพัฒน ธนอัครสวัสดิ ์

สารบัญ

เรื่อง หนา

คํานํา ..................................................………………………………………………….………………… ก

สารบัญ .....................................…………………………………………………………………………….. ข บทนํา ……………………………………………………………………………………………………………….. ๑ วัตถุประสงค ………………………………………………………………………………………………… ๒ เปาหมาย …………………………………………………………………………………………………….. ๒ นิยามศัพทเฉพาะ ...................................................................................................... ๒ หลักการ ทฤษฎี แนวคิด ……………………………………………………………………………………… ๔ การนิเทศแบบ PIDRE ………………………………………………………………………….……….. ๔ ความหมายและบทบาทของระบบสารสนเทศ ………………………………………………….. ๗ การนําไปพัฒนางาน/การเชื่อมโยงประยุกตใช ……………………………………………………….. ๑๐ กระบวนการนิเทศแบบ PIDRE ………………………………………………………………………. ๑๔ ผลที่เกิดขึ้น ……………………………………………………………………………………….………………. ๑๖ เอกสารอางอิง ……………………………………………………………………………………………………. ๑๗

บทที่ ๑ บทนํา

การจัดการเรียนรูตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ครูผูสอนตอง

วิเคราะหมาตรฐานการเรียนรู/ตัวชี้วัด สมรรถนะสําคัญของผูเรียนในการจัดการเรียนรู ตามกลุมสาระการเรียนรูและคุณลักษณะอันพึงประสงค โดยมีหลักการจัดการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ การจัดการเรียนรู ที่คํานึงถึงความแตกตางระหวางบุคคล การจัดการเรียนรูที่สอดคลองกับพัฒนาการทางสมองและการจัดการเรียนรูที่เนนคุณธรรม จริยธรรม ซ่ึงเขตพ้ืนที่การศึกษาและสถานศึกษาอาจเพ่ิมเติมขึ้นได ในการจัดการเรียนรูที่เนนเปนสําคัญ ผูสอนตองจัดกระบวนการที่หลากหลาย เพ่ือใหผูเรียนเกิดการเรียนรูไดดี บรรลุตามเปาหมายของหลักสูตร กระบวนการเรียนรูที่จําเปนสําหรับผูเรียน เชน กระบวนการเรียนรูแบบบูรณาการ กระบวนการสรางความรู กระบวนการคิด กระบวนการทางสังคม กระบวนการเผชิญสถานการณและแกปญหา กระบวน การเรียนรูจากประสบการณจริง กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการจัดการ กระบวนการวิจัย การเรียนรูของตนเองและกระบวนการพัฒนาลักษณะนิสัย เปนตน ทั้งน้ีตองใหความสําคัญกับการใชสื่อ การพัฒนาสื่อ การใชแหลงเรียนรู ภูมิปญญาทองถิ่น การวัดและประเมินผลที่หลากหลายเพ่ือใหเกิดการพัฒนาผูเรียนอยางตอเน่ือง

สื่อการเรียนรูเปนเคร่ืองมือสําคัญในการพัฒนาผูเรียน ใหเกิดการเรียนรูตามความมุงหวังของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ครูผูสอนมีบทบาทสําคัญยิ่งในการจัดทําหลักสูตรในการจัดทําพัฒนาและเลือกใชสื่อการเรียนที่ดี และมีประสิทธิภาพเหมาะสมตามความแตกตางของผูเรียนดวยเหตุน้ีสถานศึกษาควรใหการสงเสริม สนับสนุนใหมีการนําสื่อไปใชในการพัฒนาการเรียนรูที่สงผลตอผูเรียนอยางหลากหลายและเพียงพอ โดยการจัดใหมีแหลงเรียนรู ศูนยการเรียนรู ระบบสารสนเทศ และเครือขายการเรียนรูที่มีประสิทธิภาพทั้งในสถานศึกษาและชุมชน รวมทั้งการศึกษา คนควาวิจัย พัฒนาสื่อการเรียนรูใหสอดคลองกับกระบวนการเรียนรูตามศักยภาพของผูเรียน ปจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศไดพัฒนาไปอยางรวดเร็วทุกคนสามารถเขาถึงระบบอินเทอรเน็ตไดงาย ซึ่งมีผูใชงานที่มีจํานวนเพิ่มมากขึ้นทุกวัน ทุกคนมีอิสระ ที่จะเขาไปแบงปนความรูและเลือกเคร่ืองมือที่ดีที่สุด เพื่อนําไปเผยแพรความรูดวยตนเอง ตองการสื่อสารและเสนอความคิดใหมๆ ไดโดยไมถูกปดก้ัน แนวคิดการนําระบบสารสนเทศมาประยุกตใชในการจัดการเรียนการสอน นับเปนกลยุทธที่สําคัญซึ่งจําเปนอยางยิ่งที่โรงเรียนควรสงเสริม สนับสนุนใหเกิดเปนรูปธรรมที่ชัดเจน เพราะปจจุบันระบบสารสนเทศไดกลายเปนเคร่ืองมือที่สําคัญในการสรางสื่อใหเกิดเปนเครือขายเชื่อมโยงกันในโลกออนไลน ที่เปดโอกาสให ทุกคนสามารถใชเปนชองทางในการเขาถึงกลุมเปาหมายไดอยางงายและสะดวกรวดเร็ว ซึ่งจะทําใหเกิดประโยชนอยางมากโดยไมเสียคาใชจายในการซ้ือลิขสิทธิ์แตอยางใด ดังน้ัน การนําระบบสารสนเทศมาใชเปนเคร่ืองมือในการจัดการเรียนการสอนเปนการผลักดันครูใหกาวทันยุคปจจุบัน และสามารถเขาถึงเยาวชนยุคใหมไดอยางทันทวงที ซึ่งจะทําใหเกิดระบบแลกเปลี่ยนเรียนรูบนระบบเครือขายอินเทอรเน็ต ผูวิจัยไดเล็งเห็นความสําคัญในการพัฒนาครูใหสามารถเขาถึงเทคโนโลยีระบบสารสนเทศและสามารถนํามาใชในการจัดการเรียนรู ตามแนวทางการจัดการเรียนรูตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช ๒๕๕๑ และยังเปนการสงเสริม สนับสนุน ใหครูสามารถนําเคร่ืองมือออนไลนมาประยุกตใชในการจัดกิจกรรมการเรียนรูไดอยางเปนรูปธรรม

วัตถุประสงค ๑. พัฒนาความสามารถในการใชระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการเรียนรู ๒. พัฒนาความสามารถในการใชระบบการศึกษาทางไกลผานดาวเทียม (DLTV) เพื่อการจัดการเรียนรู เปาหมาย ครูผูสอนคอมพิวเตอร โรงเรียนบานครัว อําเภอบานหมอ สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาสระบุรี เขต ๑ จํานวน ๓ คน และครูผูสอนคอมพิวเตอร โรงเรียนวัดสมปอย อําเภอพระพุทธบาท สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาสระบุรี เขต ๑ จํานวน ๓ คน นิยามศัพทเฉพาะ

กระบวนการในการนิเทศการศึกษา หมายถึง แบบแผนของการนิเทศการศึกษาที่จัด ลําดับไวอยาง

ตอเน่ือง เปนระเบียบแบบแผน มีลําดับขั้นตอนในการดําเนินงานไวชัดเจน มีเหตุผลและสามารถดําเนินการได

โดยมีนักการศึกษาหลายทานไดนําเสนอกระบวนการในการนิเทศไวหลายทาน แตในที่นี้ขอนําเสนอ

กระบวนการนิเทศที่สําคัญ ดังนี ้

กระบวนการนิเทศของสงัด อุทรานันท (2530) ซ่ึงเปนกระบวนการนิเทศที่สอดคลองกับสภาพ

สังคมไทย 5 ขั้นตอน เรียกวา “PIDRE” ดังน้ี

(1) การวางแผน (P-Planning) เปนขั้นตอนที่ผูบริหาร ผูนิเทศและผูรับการนิเทศจะทําการประชุม

ปรึกษาหารือ เพ่ือใหไดมาซ่ึงปญหาและความตองการจําเปนที่ตองมีการนิเทศ รวมทั้งวางแผนถึงขั้นตอนการ

ปฏิบัติเกี่ยวกับการนิเทศที่จัดขึ้น

(2) ใหความรูกอนดําเนินการนิเทศ (Informing-I) เปนขั้นตอนของการใหความรู ความเขาใจถึงสิ่งที่

จะดําเนินการวาตองอาศัยความรู ความสามารถอยางไรบาง จะมีขั้นตอนในการดําเนินการอยางไร และจะ

ดําเนินการอยางไรใหผลงานออกมาอยางมีคุณภาพ ขั้นตอนนี้จําเปน

ทุกคร้ังสําหรับเร่ิมการนิเทศที่จัดขึ้นใหม ไมวาจะเปนเร่ืองใดก็ตาม และเม่ือมีความจําเปนสําหรับงานนิเทศที่ยัง

เปนไปไมไดผล หรือไดผลไมถึงขั้นที่พอใจ ซึ่งจําเปนที่จะตองทบทวนใหความรู

ในการปฏิบัติงานที่ถูกตองอีกคร้ังหน่ึง

(3) การดําเนินการนิเทศ (Doing-D) ปะกอบดวยการปฏิบัติงาน 3 ลักษณะ คือการปฏิบัติงานของ

ผูรับการนิเทศ(ครู) การปฏิบัติงานของผูใหการนิเทศ(ผูนิเทศ) การปฏิบัติงานของผูสนับสนุนการนิเทศ

(ผูบริหาร)

(4) การสรางเสริมขวัญกําลังใจแกผูปฏิบัติงานนิเทศ (Reinforcing-R) เปนขั้นตอนของการเสริมแรง

ของผูบริหาร ซึ่งใหผูรับการนิเทศมีความม่ันใจและบังเกิดความพึงพอใจในการปฏิบัติงานขั้นน้ีอาจดําเนินไป

พรอม ๆ กับผูรับการนิเทศที่กําลังปฏิบัติงานหรือการปฏิบัติงานไดเสร็จสิ้นแลวก็ได

(5) การประเมินผลการนิเทศ (Evaluating-E) เปนขั้นตอนที่ผูนิเทศนําการประเมินผลการดําเนินงาน

ที่ผานไปแลววาเปนอยางไร หลังจากการประเมินผลการนิเทศ หากพบวามีปญหาหรือมีอุปสรรคอยางใดอยาง

หนึ่ง ที่ทําใหการดําเนินงานไมไดผล สมควรที่จะตองปรับปรุง แกไข ซ่ึงการปรับปรุงแกไขอาจทําไดโดยการให

ความรูเพ่ิมเติมในเร่ืองที่ปฏิบัติใหมอีกคร้ัง ในกรณีที่ผลงานยังไมถึงขั้นนาพอใจ หรือไดดําเนินการปรับปรุงการ

ดําเนินงานทั้งหมดไปแลว ยังไมถึงเกณฑที่ตองการ สมควรที่จะตองวางแผนรวมกันวิเคราะหหาจุดที่ควรพัฒนา

หลังใชนวัตกรรมดานการเรียนรูเขามานิเทศ

ระบบ (System) คือ สิ่งที่ประกอบขึ้นมาจากหนวยยอยหรือองคประกอบยอย ที่มีความสัมพันธและทําหนาที่รวมกัน เพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคที่กําหนดไว

สารสนเทศ (Information) คือ กลุมของขอมูลที่ผานการประมวลผลตามกฎเกณฑ เพื่อใหขอมูล

เหลาน้ันมีความหมายและมีประโยชนตามความตองการของผูใช

ระบบสารสนเทศ หมายถึง ขบวนการประมวลผลขาวสารที่มีอยูใหอยูในรูปของขาวสารที่เปนประโยชนสูงสุด เพื่อเปนขอสรุปที่ใชสนับสนุนการบริหารและการตัดสินใจทั้งในระดับปฏิบัติการ ระดับกลาง และระดับสูง ระบบสารสนเทศจึงเปนระบบที่ไดจัดตั้งขึ้นเพื่อปฏิบัติการเกี่ยวกับขอมูล

ระบบสารสนเทศเพ่ือการศึกษา (Education Information System) หมายถึง การประยุกตใชเทคโนโลยีสารสนเทศกับงานดานการศึกษา อันไดแก การจัดเก็บขอมูล และประมวลผลฐานขอมูล การพัฒนาระบบสารสนเทศชวยการเรียนการสอน การวางแผนและการบริหารการศึกษา การวางแผนหลักสูตร การแนะแนวและบริการ การทดสอบวัดผล การพัฒนาบุคลากร เทคโนโลยีสารสนเทศซึ่งเปนที่นิยมประยุกตใชในปจจุบัน เชน

1. ระบบสารสนเทศชวยในการเรียนการสอน 2. การสอนทางไกลผานดาวเทียม 3. การประชุมทางไกลระบบจอภาพ 4. ระบบฐานขอมูลการศึกษา 5. ระบบสารสนเทศเอกสาร

การจัดการความรู คือ การรวบรวมองคความรูที่มีอยูในสวนราชการซึ่งกระจัดกระจายอยูในตัวบุคคล

หรือเอกสาร มาพัฒนาใหเปนระบบเพ่ือใหทุกคนในองคกรสามารถเขาถึงความรูและพัฒนาตนเองใหเปนผูรู

รวมทั้งปฏิบัติงานไดอยางมีประสิทธิภาพ อันจะสงผลใหองคกรมีความสามารถในเชิงแขงขันสูงสุด โดยที่ความรู

มี 2 ประเภท คือ

1. ความรูที่ฝงอยูในคน (Tacit knowledge) เปนความรูที่ไดจากประสบการณ พรสวรรคหรือสัญชาตญาณของแตละบุคคลในการทําความเขาใจในสิ่งตาง ๆ เปนความรูที่ไมสามารถถายทอดออกมาเปนคําพูดหรือลายลักษณอักษรไดโดยงาย เชน ทักษะในการทํางาน งานฝมือ หรือการคิดเชิงวิเคราะห บางคร้ัง จึงเรียกวาเปนความรูแบบนามธรรม

2. ความรูที่ชัดแจง (Explicit Knowledge) เปนความรูที่สามารถรวบรวมถายทอดได โดยผานวิธี ตาง ๆ เชน การบันทึกเปนลายลักษณอักษร ทฤษฎี คูมือตาง ๆ และบางคร้ังเรียกวาเปนความรูแบบรูปธรรม

บทที่ ๒ หลักการ ทฤษฎี แนวคิด

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการการนิเทศแบบ PIDRE การนิเทศแบบ PIDRE

กระบวนการนิเทศการศึกษาสําหรับสังคมไทย จากประสบการณของ ดร. สงัด อุทรานันท ที่ไดควบคุมการฝกปฏิบัติงานทางการนิเทศการศึกษาของนิสิตปริญญามหาบัณฑิต สาขานิเทศการศึกษาและพัฒนาหลักสูตรเปนเวลาหลายป ไดนําเอาหลักการและแนวคิดเกี่ยวกับกระบวนการนิเทศการศึกษาของตางประเทศมา ใชไดพบวาสภาพพื้นฐานเก่ียวกับความเขาใจในแนวคิดทางการนิเทศสมัยใหมของ บุคลากรในประเทศไทยยังไมดีพอจึงทําใหการดําเนินงานสงเสริมการนิเทศการศึกษา ใหเกิดขึ้นในโรงเรียนและสถานศึกษาตาง ๆ ไมประสบผลสําเร็จเทาที่ควร สาเหตุที่การสงเสริมและสนับสนุนใหโรงเรียนและสถานศึกษาตางๆ ใหการนิเทศการศึกษาดวยตนเองไมบรรลุผลสําเร็จน้ันพอสรุป ไดดังนี ้

(1) คํานิยามของคําวา “การนิเทศ” ที่ใชกันในประเทศไทยนั้นยังไมชัดเจนพียงพอที่จะชี้แนะนําไปสู ภาคปฏิบัติ ได ดังน้ันจึงทําใหขาดกรอบความคิดที่จะนําไปเปนแนวทางในการปฏิบัติไดอยางถูกตอง

(2) ผูบริหารโรงเรียนหรือหัวหนาสถานศึกษา ไมเขาใจบทบาทหนาที่เก่ียวกับการนิเทศการศึกษาโดยคิดวาการนิเทศการศึกษาเปนงานของศึกษานิเทศกโดยเฉพาะ ดังน้ันผูบริหารจึงไมไดใหความสนใจแกการจัดการนิเทศการศึกษาอยางจริงจัง

(3) ขาดการเสริมแรงในการทํางานผูบริหาร สาเหตุขอน้ีมีความสําคัญอยางยิ่งตอความคงทนถาวรของ พฤติกรรมที่ไดรับการเปลี่ยนแปลงจากการนิเทศ ทั้งน้ีเพราะการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมใดๆ ก็ตามผูนิเทศและผูไดรับการนิเทศตางก็ตองใชความมานะพยายามเปนอยางมาก ถาหากไมไดรับการสนับสนุนจากผูบริหารก็ยอมจะหมดกําลังใจในที่สุด

จากจุดออนดังกลาวมาแลว ดร.สงัด อุทรานันท จึงไดพยายามพัฒนากระบวนการนิเทศการศึกษา ซ่ึงสะทอนแนวทางในการปฏิบัติ โดยการกระทําตอไปนี ้

(1) เสนอรูปแบบของการนิเทศในลักษณะของ “กระบวนการ” ซ่ึงตองทําอยางเปนขั้นตอนทําเปนระบบ มีความตอเน่ือง และไมมีการหยุดน่ิง หากยุติกระบวนการเม่ือใดก็ถอืวาไดหยุดการนิเทศเม่ือน้ัน

(2) ใหผูบริหารการศึกษาตระหนักถึงความรับผิดชอบตอการจัดการจัดนิเทศการศึกษา วาเปนงานของผูบริหารโดยตรง ซึ่งเรียกชื่อยอของกระบวนการนิเทศการศึกษาวา “PIDRE”

จากการวิจัยในตางประเทศ เชน ฟาวเลอร-ฟนน(Fowler Finn, 1980) และเฮดเลย (Hadley,1982) ไดพบวาการใหแรงเสริมกําลังใจจะมีสวนทําใหการนิเทศประสบผลสําเร็จสูงกวา ไมมีการเสริมแรงหากจะพิจารณาสภาพการทํางานในสังคมไทยซ่ึงเปนสังคมเกษตรกรรม มีความผูกพันฉันทมิตรสูงกวาสังคมตะวันตกก็ยอมจะมีความตองการแรงเสริม กําลังใจในการทํางานเปนอยางยิ่ง ดังนั้นจึงเห็นวาการเสริมกําลังใจของผูบริหารจะทําใหผูรับการนิเทศรวมทั้ง ผูใหการนิเทศมีกําลังใจในปฏิบัติงานจึงไดจัดใหมกีารเสริมแรงหรือการสงเสริมกําลังใจ(Reinforcement) เปนขั้นตอนหนึ่งในกระบวนการนิเทศการศึกษาสําหรับการศึกษาสังคมไทย

สําหรับกระบวนการนิเทศการศึกษาดังที่กลาวมาแลว มีขั้นตอนดังน้ี ขั้นที่ 1 วางแผนการนิเทศ (Planning-P) ขั้นที่ 2 ใหความรูความเขาใจในการทํางาน (Informing-I) ขั้นที่ 3 ลงมือปฏิบัติงาน (Doing-D) ขั้นที่ 4 สรางเสริมกําลังใจ (Reinforcing-R) ขั้นที่ 5 ประเมินการนิเทศ (Evaluating-E) (สงัด อุทรานันท, 2527)

จากรูปแบบกระบวนการนิเทศที่เสนอมาน้ี แสดงใหเห็นวาการนิเทศจะประสบผลสําเร็จไดจําเปนจะตองดําเนินการอยางเปน ขั้นตอนและตอเน่ืองกันดังนี้คือ

ข้ันที่ 1 วางแผนการนิเทศ (Planning-P) เปน ขั้นที่ผูบริหารผูนิเทศและผูรับการนิเทศจะทําการประชุมปรึกษาหารือเพ่ือ ใหไดมาซ่ึงปญหาและความตองการจําเปนที่จะตองมีการนิเทศ รวมทั้งวางแผนถึงขั้นตอนการปฏิบัติงานเกี่ยวกับการนิเทศที่จะจัดขึ้นอีกดวย

ข้ันที่ 2 ใหความรูในสิ่งที่จะทํา (Informing-I) เปนขั้นตอนของการใหความรูความเขาใจถึงสิ่งที่จะดําเนินงานวาจะตองอาศัย ความรูความสามารถอยางไรบาง จะมีขั้นตอนในการดําเนินการอยางไร และจะทําอยางไรจึงจะทําใหไดผลงานออกมาอยางมีคุณภาพ ขั้นน้ีจําเปนทุกคร้ังสําหรับการเร่ิมการนิเทศที่จัดขึ้นใหมไมวาจะเปน เร่ืองใดก็ตาม และก็มีความจําเปนสําหรับงานนิเทศที่ยังไมไดผล หรือไดผลไมถึงขั้นที่พอใจซ่ึงจําเปนจะตองทําการทบทวนใหความรูในการ ปฏิบัติงานที่ถูกตองอีกคร้ังหน่ึง

ข้ันที่ 3 การปฏิบัติงาน (Doing -D) ประกอบดวยงานใน 3 ลักษณะคือ 3.1 การปฏิบัติงานของผูรับนิเทศเปนขัน้ที่ผูรับการนิเทศลงมือปฏิบัติงานตาม ความรูความสามารถที ่

ไดรับมาจากดําเนินการในขั้นที่ 2 3.2 การปฏิบัติงานของผูใหการนิเทศ ขั้นนี้ผูใหการนิเทศจะทําการนิเทศและควบคุมคุณภาพใหงาน

สําเร็จออกมาทันตาม กําหนดเวลาและมีคุณภาพสูง 3.3 การปฏิบัติงานของผูสนับสนุนการนิเทศ ผูบริหารก็จะใหบริการสนับสนุนในเร่ืองวัสด ุอุปกรณ

ตลอดจนเคร่ืองใชตาง ๆ ที่จะชวยใหการปฏิบัติงานเปนไปอยางไดผล ข้ันที่ 4 การสรางขวัญและกําลังใจ (Reinforcing-R) ขั้นนี้เปนขั้นของการเสริมกําลังใจของผูบริหาร

เพ่ือใหผูรับการนิเทศมีความมั่นใจและบังเกิดความพึงพอใจ ในการปฏิบัติงานขั้นนี้อาจจะดําเนินการไปพรอม ๆกันกับผูที่รับการนิเทศกําลังปฏิบัติงานหรือการปฏิบัติงานไดเสร็จสิ้นลงไปแลวก็ได

ข้ันที่ 5 ประเมินผลผลิตของการดําเนินงาน (Evaluating-E) เปนขั้นที่ผูนิเทศทําการประเมินผลการดําเนินการซ่ึงผานไปแลววาเปนอยาง ไร หลังจากการประเมินผลการนิเทศหากพบวามีปญหาหรืออุปสรรคอยางหน่ึงอยางใด ที่ทําใหการดําเนินงานไมไดผลก็สมควรจะตองทําการปรับปรุงแกไข ซ่ึงการปรับปรุงแกไขอาจจะทําไดโดยการใหความรูในสิ่งที่ทําใหมอีกคร้ัง หนึ่งสําหรับกรณีที่ผลงาน ออกมายังไมถึงขั้นที่พอใจหรือดําเนินการปรับปรุงการดําเนินงานทั้งหมดสําหรับกรณีการดําเนินงานเปนไปไม ไดผลและ ถาหากการประเมินผลไดพบวาประสบผลสําเร็จตามที่ไดตั้งไวหากจะไดดําเนินการ นิเทศตอไปก็สามารถทําไปไดเลยโดยไมตองใหความรูในเร่ืองน้ันอีก การดําเนินการนิเทศตามวัฏจักรนี้จะเปนไปอยางตอเนื่องและไมหยุดน่ิงจนกวา จะบรรลุผลตามจุดมุงหมายที่วางไวหรือพัฒนาผูรับการนิเทศใหเปนไปตามตองการ หากบรรลุสําเร็จตามจุดมุงหมายแลวตองการจะหยุดกระบวนการทํางานก็ถือวาการ นิเทศไดสิ้นสุดลงแลวคร้ันตองการเร่ิมนิเทศในสิ่งใหมหรือตั้งเปาหมายใหมก็จะตองดําเนินการ ตั้งแตเร่ิมแรกอีกดังแสดงใหเห็นความตอเน่ืองของกระบวนการนิเทศการศึกษาในภาพดังตอไปนี ้

ดังนั้น วางแผนการทํางาน ใหความรูในสิ่งที่ทํา หลังจากน้ันจึงลงมือปฏิบตัิงานโดยมีการนิเทศควบคูไปดวยขณะเดยีวกันผูบริหารจะตองสรางขวัญกําลังใจระหวางการทํางานและหลังการทํา งานผานไปแลวและในขั้นสุดทายก็ทําการประเมินผลทําในลักษณะเชนนี้ จนกระทัง่บรรลุผลตามเปาหมายที่วางไวหากบรรลุผลแลวตองการจะหยุดก็ถือวาการนิเทศสิ้นสุดลงแลว ดังนี้เปนตน ความหมายและบทบาทของระบบสารสนเทศ ระบบสารสนเทศ (Information System หรือ IS) คือระบบแบบเฉพาะเจาะจงชนิดหนึ่ง ซึ่งอาจกลาวไดวาเปนกลุมของสวนประกอบพ้ืนฐานตางๆ ที่ทํางานเก่ียวของกันในการเก็บ (นําเขา), จัดการ (ประมวลผล) และเผยแพร (แสดงผล) ขอมูลและสารสนเทศและสนับสนุนกลไกลของผลสะทอนกลับเพ่ือใหบรรลุตามวัตถุประสงค สวนประกอบของระบบสารสนเทศ ระบบสารสนเทศประกอบดวย สวนหลักดังรูปที่ ๓

รูปที่ ๓ สวนประกอบของระบบสารสนเทศ

๑. สวนที่นําเขา (Inputs) ไดแกการรวบรวมและการจัดเตรียมขอมูลดิบ สวนที่นําเขานี้สามารถมีไดหลายรูปแบบไมวาจะเปนการโทรเขาเพ่ือขอขอมูลในระบบสอบถามเบอรโทรศัพท ขอมูลที่ลูกคากรอกในใบ สอบถามการใหบริการของรานคาฯลฯ ขึ้นอยูกับสวนแสดงผลที่ตองการ สวนที่นําเขาน้ีอาจเปนขบวนการที่ทําดวยตัวเองหรือเปนแบบอัตโนมัติก็ได เชน การอานขอมูลรายชื่อสินคาและรายราคาโดยเคร่ืองอานบารโคด ๒. การประมวลผล (Processing) เก่ียวของกับการเปลี่ยนและการแปลงขอมูลใหอยูในรูปของสวนแสดงผลที่มีประโยชน ตัวอยางของการประมวลผลไดแกการคํานวณ การเปรียบเทียบ การเลือกทางเลือกในการปฏิบัติงานและการเก็บขอมูลไวใชในอนาคต โดยการประมวลผลสามารถทําไดดวยตนเองหรือสามารถใชคอมพิวเตอรเขามาชวยก็ได ตัวอยางเชน ระบบคิดเงินเดือนพนักงาน สามารถคิดไดจากการนําจํานวนชั่วโมงการทํางานของพนักงานคูณเขากับอัตราคาจางเพ่ือใหไดยอดเงินรวมที่ตองจายรวม ถาชั่วโมงการทํางานรายสัปดาหมากกวา ๔๐ ชั่วโมงอาจมีการคิดเงินลวงเวลาให โดยเพ่ิมเขาไปกับเงินรวม จากน้ันอาจจะทําการหักภาษีพนักงาน โดยการนําเงินรวมมาคิดภาษีและนําเงินรวมมาลบดวยภาษีที่คํานวณได จะทําใหไดเงินสุทธิที่ตองจายใหกับพนักงาน ๓. สวนที่แสดงผล (Outputs) เก่ียวของกับการผลิตสารสนเทศที่มีประโยชน มักจะอยูในรูปของเอกสาร หรือรายงานหรืออาจะเปนเช็คที่จายใหกับพนักงาน รายงานที่นําเสนอผูบริหารและสารสนเทศที่ถูกผลิตออกมาใหกับผูถือหุน ธนาคาร หรือกลุมอื่นๆ โดยสวนแสดงผลของระบบหนึ่งอาจใชเปนสวนที่นําเขาเพื่อควบคุมระบบหรืออุปกรณอื่นๆ ก็ได เชนในขบวนการผลิตเฟอรนิเจอร พนักงานขาย ลูกคา และ นักออกแบบเฟอรนิเจอรอาจจะทําการออกแบบเฟอรนิเจอรซํ้าแลวซํ้าเลา เพื่อใหตรงตามความตองการของลูกคา โดยอาจจะใชซอฟตแวรหรือฮารดแวรคอมพิวเตอรเขามาชวยในการออกแบบน้ีดวย จนกระทั่งไดตนแบบที่ตรง

ความตองการมากที่สุด จึงสงแบบนั้นไปทําการผลิต จะเห็นวาแบบเฟอรนิเจอรที่ไดจากการออกแบบแตละคร้ังจะเปนสวนที่ถูกนําไปปรับปรุงการออกแบบในคร้ังตอๆ ไป จนกระทั่งไดแบบ สุดทายออกมาอาจอยูในรูปของสิ่งพิมพที่ออกมาจากเคร่ืองพิมพหรือแสดงอยูบนหนาจอคอมพิวเตอร ที่เปนอุปกรณแสดงผลตัวหน่ึงหรืออาจจะอยูในรูปของรายงานและเอกสารที่เขียนดวยมือก็ได ๔. ผลสะทอนกลับ (Feedback) คือสวนแสดงผลที่ใชในการทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงตอสวนที่นําเขาหรือสวนประมวลผล เชน ความผิดพลาดหรือปญหาที่เกิดขึ้น อาจจําเปนตองแกไขขอมูลนําเขาหรือทําการเปลี่ยนแปลงการประมวลผลเพ่ือใหไดสวนแสดงผลที่ถูกตอง ตัวอยางเชน ระบบการจายเงินเดือนพนักงาน ถาทําการปอนชั่วโมงการทํางานรายสัปดาหเปน ๔๐๐ แทนที่จะเปน ๔๐ ชั่วโมง ถาทําการกําหนดใหระบบตรวจสอบคาชั่วโมงการทํางานใหอยูในชวง ๐ - ๑๐๐ ชั่วโมง ดังน้ันเม่ือพบขอมูลน้ีเปน ๔๐๐ ชั่วโมง ระบบจะทําการสงผลสะทอนกลับออกมา อาจจะอยูในรูปของรายงานความผิดพลาด ซึ่งสามารถนําไปใชในการตรวจสอบและแกไขจํานวนชั่วโมงการทํางานที่นําเขามาคํานวณใหถูกตองได

สวนที่นําเขา คือ รถที่สกปรก นํ้า และน้ํายาตางๆ ที่ใชในการลางรถ เวลาและพลังงานถูกใชในการปฏิบัติการลางรถ ทักษะไดแกความสามารถเฉพาะอยางจะถูกนํามาใชในการฉีดสเปรย ขัดโฟม และเปาแหง ความรูถูกนํามาใชในการกําหนดขั้นตอนการทํางานของการลางรถใหทํางานไปตามขั้นตอนที่ถกูตอง

การประมวลผล ประกอบดวย ขั้นที่หน่ึง การเลือกประเภทการลางรถที่ตองการ เชน ลางอยางเดียว ลางและขัดเงา ลางและขัดเงาและเปาแหงฯลฯ และขั้นตอไปทําการนํารถเขาไปในเคร่ืองลางรถ (สังเกตวาในสวนนี้จะเกิดกลไกของผลสะทอนกลับขึ้น ไดแกการประเมินผลของเจาของรถที่มีตอขบวนการลางรถที่กําลังเกิดขึ้น)จากน้ันของฉีดของเหลวจะฉีดนํ้า สบูเหลวหรือครีมขัดเงาไปที่รถขึ้นอยูกับตัวเลือกที่เลือกไวในตอนตน

สวนที่แสดงผล คือรถที่สะอาดแลวจากตัวอยาง จะเห็นวาสวนประกอบอิสระตางๆ ในระบบลางรถอัตโนมัติ เชน เคร่ืองฉีดของเหลว แปลงสําหรับทางโฟมและเคร่ืองเปาแหงทํางานโตตอบกันเพ่ือใหรถสะอาดน่ันเอง ระบบสารสนเทศที่ใชคอมพิวเตอร (Computer-Based Information Systems : CBIS) ระบบสารสนเทศที่ใชคอมพิวเตอรประกอบดวย ฮารดแวร (Hardware), ซอฟตแวร (Software),

ขอมูล(Data), บุคคล (People), ขบวนการ (Procedure) และการสื่อสารขอมูล (Telecommunication)

ซ่ึงถูกกําหนดขึ้นเพื่อทําการรวบรวม, จัดการ จัดเก็บและประมวลผลขอมูลใหเปนสารสนเทศ

รูปที่ ๔ แสดงสวนประกอบของระบบสารสนเทศที่ใชคอมพิวเตอร

รูปที่ ๔ สวนประกอบของระบบสารสนเทศที่ใชคอมพิวเตอร

๑. ฮารดแวร คือ อุปกรณทางกายภาพ ที่ใชในการรวบรวม การนําเขา และการจัดเก็บขอมูล,

ประมวลผล ขอมูลใหเปนสารสนเทศ และแสดงสารสนเทศที่เปนผลลัพธออกมา ๒. ซอฟตแวร ประกอบดวย กลุมของโปรแกรมที่ใชในการปฏิบัติงานรวมกับฮารดแวรและใชในการ

ประมวลผลขอมูลเปนสารสนเทศ ๓. ขอมูล ในสวนน้ีหมายถึง ขอมูลและสารสนเทศที่ถูกเก็บอยูในฐานขอมูล โดยฐานขอมูล

(Database) หมายถึงกลุมของคาความจริงและสารสนเทศที่มีความเก่ียวของกันน่ันเอง ๔. บุคคล หมายถึง บุคคลที่ใชงานและปฏิบัติงานรวมกับระบบสารสนเทศ ๕. ขบวนการ หมายถึง กลุมของคําสั่งหรือกฎ ที่แนะนําวิธีการปฏิบัติงานกับคอมพิวเตอรในระบบ

สารสนเทศ ซ่ึงอาจไดแกการแนะนําการควบคุมการเขาใชงานคอมพิวเตอร, วิธีการสํารองสารสนเทศในระบบและวิธีจัดการกับปญหาที่อาจเกิดขึ้นได

๖. การสื่อสารขอมูล หมายถึง การสงสัญญาณอิเล็กทรอนิกสเพ่ือติดตอสื่อสาร และชวยใหองคกรสามารถเชื่อมระบบคอมพิวเตอรเขากับระบบเครือขาย (Network) ที่มีประสิทธิภาพได โดยเครือขายใชในการเชื่อมตอคอมพิวเตอรและอุปกรณคอมพิวเตอรไวดวยกัน อาจจะเปนภายในอาคารเดียวกัน ในประเทศเดียวกัน หรือทั่วโลก เพ่ือใหสามารถสื่อสารขอมูลอิเล็กทรอนิกสได

บทที่ ๓ การนําไปพัฒนางาน/การเช่ือมโยงประยุกตใช

การดําเนินการในการนิเทศการศึกษา โดยใชกระบวนการ PIDRE

ชวงที่ ๑ จากตารางปฏิทินการฝกประสบการณ การนิเทศการศึกษาในวันที่ ๑๔ กันยายน ๒๕๕๘ ตองลงฝก

ปฏิบัติการนิเทศโรงเรียนบานครัวเปนคร้ังแรก โดยมี นายสมนึก พรเจริญ ศึกษานิเทศกพี่เลี้ยงที่รับผิดชอบโรงเรียนบานครัวเปนผูประสานงาน จากการลงนิเทศทําใหรูวามีครูรับผิดชอบดานการสอน วิชาคอมพิวเตอร มีจํานวน ๓ คน ดังน้ี ๑. ครูธันฐกรณ เฉลิมวัฒน สอนนักเรียนระดับมัธยมศึกษา วิชาเพ่ิมเติม ๒. ครูกฤตนน กุศลสง สอนนักเรียนระดับประถมศึกษา วิชาพ้ืนฐาน ๓. ครูอนิรุทธ์ิ อุปจันทร สอนนักเรียนระดับมัธยมศึกษา วิชาพ้ืนฐาน

จากการนิเทศทําใหรูวาครูทั้ง ๓ ทานมีแนวการสอนที่แตกตางกัน โดยครูธันฐกรณ เฉลิมวัฒน ใชสื่อเทคโนโลยีสนับสนุนงานสอนไดอยางหลากหลายและเปนกระบวนการ และครูกฤตนน กุศลสง ใชกระบวนการสอนแบบเพ่ือนชวยเพ่ือน ซ่ึงสงผลใหนักเรียนทั้งชั้นสามารถเรียนรูไดอยางทั่วถึงกันแต ครูอนิรุทธิ์ อุปจันทร สอนหลากหลายวิชาและยังขาดกระบวนการใชเทคโนโลยีสารสนเทศเขาไปสนันสนุน สงเสริม การเรียนรูและภายในหองเรียนขาดการดูแลเอาใจใส มีสภาพแวดลอมไมเหมาะสมตอการเรียน การสอน ดวยการศึกษาบริบทของโรงเรียนและสภาพปญหาของครูทําใหรูวา ครูผูสอนมีปญหาดานการเขาเรียนของนักเรียน การสรางสิ่งเรากอนเขาสูบทเรียน การจัดทําระบบกระบวนการเรียนการสอน ดวยปญหาดังกลาวน้ีขาพเจาไดใชกระบวนการนิเทศแบบ PIDRE โดยใชระบบสารสนเทศเขามาแกปญหาดังกลาว

วันที่ ๑๕ กันยายน ๒๕๕๘ จากตารางปฏิทินการฝกประสบการณ การนิเทศการศึกษาในวันที่ ๑๕ กันยายน ๒๕๕๘ ตองลงฝกปฏิบัติการนิเทศโรงเรียนบานครัวเปนวันที่สอง โดยมี นายสมนึก พรเจริญ ศึกษานิเทศกพ่ีเลี้ยงที่รับผิดชอบโรงเรียนบานครัวเปนผูประสานงาน จากการลงนิเทศเปนวันที่สอง โดยการสนทนา ซักถามความรูพ้ืนฐาน ความเขาใจของครูเกี่ยวกับการใชสื่อเพ่ือพัฒนาการเรียนการสอน สังเกตการสอนและดูแผนการจัดการเรียนการสอน โดยพบวาการเรียนการสอนยังขาดหลักเกณฑที่แนนอนในรายวิชาในระดับมัธยมศึกษา โดยไดประสานกับงานหลักสูตร งานวิชาการ เพ่ือขอความชัดเจนในการจัดการเรียนการสอนในเบื้องตนแลว จากการลงสังเกตการณสอนพบวา หองเรียนขาดการดูแลเอาใจใส สภาพแวดลอมไมเหมาะสมตอการเรียน เชน ตองปดหนาตางสอนเพราะมีฝุนละอองเยอะ แสงสวางไมเพียงพอ พัดลมเพดานเสีย จอภาพขาดความชัดเจนและไมสวาง รวมถึงกระบวนการเรียนการสอนยังใชกระบวนการสอนแบบอธิบาย โดยการเรียนการสอนขาดสิ่งเราและขาดความสนใจ ดังนั้น ขาพเจาจึงรวม สนทนา พูดคุย วิเคราะหปญหารวมกันกับครูอนิรุทธิ์ อุปจันทร อยางเปนกัลยาณมิตร เพ่ือสะทอนปญหาและรวมวางแผนการแกปญหา โดยใชวิธีการแกปญหาโดยใชระบบสารสนเทศเขาชวยและใชระบบสารสนเทศสรางสิ่งเราและทบทวนบทเรียนในคร้ังที่ผานมาดวย Kahoot And Google Forms เขามาจัดรูปแบบกระบวนการการเรียนการสอน

วันที่ ๑๖ กันยายน ๒๕๕๘ จากตารางปฏิทินการฝกประสบการณ การนิเทศการศึกษาในวันที่ ๑๖ กันยายน ๒๕๕๘ ตองลงฝกปฏิบัติการนิเทศโรงเรียนบานครัวเปนวันที่สอง โดยมี นายสมนึก พรเจริญ ศึกษานิเทศกพ่ีเลี้ยงที่รับผิดชอบโรงเรียนบานครัวเปนผูประสานงาน จากการลงนิเทศเปนวันที่สาม โดยการลงนิเทศในชั่วโมงการเรียนการสอนที่สาม จากการนัดหมายการนิเทศในคร้ังที่สอง พบวาครูจัดสภาพการเรียนการสอนไดดีขึ้น แสงสวางมีมากขึ้นรวมถึงมีพัดลมที่พรอมใชงานมากขึ้น สงผลใหมีสภาพแวดลอมโดยรวมเหมาะสมกับการเรียนการสอนขึ้นมาก ดานกระบวนการเรียนการสอน ครูอนิรุทธิ์ อุปจันทร ไดใชกระบวนการสอนแบบ เรา-สอน-สอบ โดยสรางสิ่งเราโดยการหาเกมมาจัดอันดับการเรียนรู โดยใชบทเรียนที่ไดสอนไปแลวมาจัดทําเปนเกมเพ่ือกระตุนการเรียนรูและจัดอันดับเปนสถิติโดยใช Kahoot จัดทําสงผลใหนักเรียนเกิดการเรียนรูที่สนุกสนานสนใจเรียนเปนอยางยิ่ง และครูผูสอนไดจัดทําสื่อโดยใชภาพที่ชัดเจนมากขึ้น และใชการสืบคนเขาชวยเพ่ือพัฒนาองคความรูของนักเรียน สุดทายมีกระบวนการสอบผานระบบออนไลน โดยใช Google Forms จัดทําใหไดผลสัมฤทธิ์ที่มีความคลาดเคลื่อนนอย และนักเรียนไดปฏิบัติจริง หลังจากรวมพูดคุยหลังการเรียนการสอนแลว ครูมีความยินดียิ่งในการปรับเปลี่ยนรูปแบบการเรียนการสอนใหม และไดประเมินชี้แนะแบบกัลยาณมิตรอยางราบร่ืน โดยการใหกําลังใจเพ่ือสรางขวัญกําลังใจครูผูสอน

การนําไปพัฒนางาน/การเชื่อมโยงประยุกตใช นํากระบวนการไปศึกษาสภาพบริบทของการทํางาน การดํารงชีวิตเพ่ือคนหา จุดเนน จุดดอย สภาพปญหา ความตองการของการทํางาน โดยเรียนรูการวางแผน สนทนาซักถาม สังเกตการทํางานของผูรวมงาน เพ่ือศึกษาเรียนรู พบปะ ทบทวนภาระงาน รวมวิเคราะหการทํางานรวมกัน รวมหาองคความรูรวมกันเพ่ือพัฒนาการเรียนการสอนโดยสงเสริมสื่อการเรียนการสอน สรางขวัญและกําลังใจเพ่ือสงเสริมการทํางานและนําผลที่ไดไปพัฒนางานที่รับผิดชอบเพ่ือใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุด

กระบวนการนิเทศแบบ PIDRE โรงเรียนบานครัว

ข้ันที่ ๑ การวางแผน (Planning-P)

- ศึกษาสภาพบริบทโดยทั่วไปของทางโรงเรียน จุดเดน จุดดอย สภาพปญหา ความตองการ ศึกษา

เอกสารรายงาน SAR ขอมูลสารสนเทศโรงเรียนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ผลการทดสอบระดับชาติ ฯลฯ

- ศึกษาสภาพปญหาของครูเพ่ือพัฒนาทักษะการใชสื่อ เพ่ือพัฒนาการเรียนการสอนของครูผูสอนกลุม

สาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี(คอมพิวเตอร) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๑

- รวมวางแผนการแกปญหาของครูเพื่อพัฒนาทักษะการใชสื่อ เพ่ือพัฒนาการเรียนการสอนของ

ครูผูสอนกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี(คอมพิวเตอร) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๑

ข้ันที่ ๒ การใหความรูกอนการนิเทศ (Informing-I)

- สนทนาซักถามความรูพ้ืนฐาน/ความเขาใจของครู และใหความรูเกี่ยวกับการใชสื่อเพ่ือพัฒนาการ

เรียนการสอน

- นัดหมายการสังเกตการสอนในการนิเทศ ติดตามในคร้ังตอไป

ข้ันที่ ๓ การปฏิบัติงาน (Doing-D)

- สนทนา พูดคุย พบปะ ทบทวนภาระงานเม่ือคร้ังที่ผานมา แบบกัลยาณมิตร

- ขอดูแผนการจัดการเรียนการสอน

- สังเกตการสอน

- รวมวิเคราะห วิพากษ การใชสื่อเพ่ือพัฒนาการเรียนการสอน

- รวมวางแผนเพ่ือพัฒนาการใชสื่อของครู เพ่ือพัฒนาการเรียนการสอนของครูผูสอนกลุมสาระการ

เรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี(คอมพิวเตอร) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๑ นัดหมายในการนิเทศติดตามใน

คร้ังตอไป เพื่อรายงานผลการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นเกี่ยวกับการใชสื่อเพ่ือพัฒนาการเรียนการสอน

ข้ันที่ ๔ การสรางขวัญและกําลังใจ (Reinforcing-R)

- สนทนา พูดคุย พบปะ ทบทวนภาระงานเม่ือคร้ังที่ผานมา แบบกัลยาณมิตร

- การสรางเสริมขวัญกําลังใจ ครูผูสอน

ข้ันที่ ๕ ประเมินผลผลิตของการดําเนินงาน (Evaluating-E)

- สรุปผล ชี้แนะ ใหคําแนะนํา

กระบวนการจาก กรณีศึกษา

สอดคลองกับ กระบวนการ PDCA

สอดคลองกับ กระบวนการ PIDRE

เหตุผล สนับสนุน

- ศึกษาสภาพปจจุบัน - วางแผนการดําเนินการ

P = Plan P = Planning เพ่ือรูขอมูลทั่วไปของสถานศึกษาที่จะดําเนินการนิเทศเพ่ือจัดลําดับการดําเนินการและขั้นตอนใหชัดเจน

- การใหความรูกอนการนิเทศ

D = Do I = Informing ดําเนินการตามขั้นตอนที่ไดวางแผนไวอยางเปนระบบ

- การดําเนินการนิเทศ D = Doing ดําเนินการตามขั้นตอนที่ไดวางแผนไวอยางเปนระบบ

- การเสริมสรางขวัญและกําลังใจ

C = Check R = Reinforcing ทําการตรวจสอบ แลวพัฒนาปรับปรุง กระตุนใหมีขวัญและกําลังใจ

- การประเมินผล A = Act E = Evaluating ประเมินผล ปรับปรุง แกไข และเผยแพร

ชวงที่ ๒ จากตารางปฏิทินการฝกประสบการณ การนิเทศการศึกษาในวันที่ ๒๒ กันยายน ๒๕๕๘

ตองลงฝกปฏิบัติการนิเทศโรงเรียนวัดสมปอยโดยมี นายพิศิษฐ พันธดี ศึกษานิเทศกพ่ีเลี้ยงที่รับผิดชอบ โรงเรียนวัดสมปอยเปนผูประสานงาน จากการลงนิเทศทําใหรูวามีครูรับผิดชอบดานการสอน มีจํานวน ๓ คน ดังน้ี ๑. ครูสุมิตรา โกธรรม สอนนักเรียนระดับประถมศึกษาปที่ ๒ ๒. ครูประภาส ระมัดตน สอนนักเรียนระดับประถมศึกษาปที่ ๔ ๓. ครูลักษฎาปกรณ คงพินิจ สอนนักเรียนระดับประถมศึกษาปที่ ๖ จากการนิเทศทําใหรูวาครูทั้ง ๓ ทานมีกระบวนการสอนที่แตกตางกัน โดยครูสุมิตรา โกธรรม ใชสื่อเทคโนโลยีสนับสนุนงานสอนไดอยางหลากหลายและเปนกระบวนการ และครูลักษฎาปกรณ คงพินิจ ใชกระบวนการสอนที่ใกลชิดเพื่อชวยเหลือนักเรียนอยางจริงจัง ซ่ึงสงผลใหนักเรียนทั้งชั้นสามารถเรียนรูไดอยางทั่วถึงกัน แตครูประภาส ระมัดตน สอนหลากหลายวิชาและยังขาดกระบวนการจัดการอยางเปนระบบเขาไปสนับสนุน สงเสริม การเรียนรู ดวยการศึกษาบริบทของโรงเรียนและสภาพปญหาของครูทําใหรูวา ครูผูสอนมีปญหาดานการอานออกเขียนไดของนักเรียน การสรางกระบวนการจัดการอยางเปนระบบดวยปญหาดังกลาวน้ีขาพเจาไดใช การนิเทศแบบ PIDRE ในการใชการศึกษาทางไกลผานดาวเทียม (DLTV) เขามาแกปญหาดังกลาว วันที่ ๒๓ กันยายน ๒๕๕๘ จากตารางปฏิทินการฝกประสบการณ การนิเทศการศึกษาในวันที่ ๒๓ กันยายน ๒๕๕๘ ตองลงฝกปฏิบัติการนิเทศโรงเรียนวัดสมปอยเปนวันที่สอง โดยมี นายพิษิศฐ พันธดี ศึกษานิเทศกพ่ีเลี้ยงที่รับผิดชอบโรงเรียนวัดสมปอยเปนผูประสานงาน จากการลงนิเทศเปนวันที่สอง โดยการสนทนา ซักถามความรูพ้ืนฐาน ความเขาใจของครูเกี่ยวกับการจัดกระบวนการอยางเปนระบบเพ่ือพัฒนาการเรียนการสอน สังเกตการสอนและดูแผนการจัดการเรียนการสอน โดยพบวาการเรียนการสอนยังขาดหลักเกณฑที่แนนอน จากการลงสังเกตการณสอนพบวา หองเรียนขาดการจัดการอยางเปนระบบ เชน นักเรียนจะไมสนใจเรียนถาครูผูสอนไมยืนคุมดูแล รวมถึงกระบวนการจัดเก็บขอมูลยังใชกระบวนการจัดเก็บแบบเดิมๆ ดังนั้น ขาพเจาจึงรวม สนทนา พูดคุย วิเคราะหปญหารวมกันกับครูประภาส ระมัดตน อยางเปนกัลยาณมิตร เพ่ือสะทอนปญหาและรวมวางแผนการแกปญหา โดยใชวิธีการแกปญหาโดยใชการนเิทศแบบ PIDRE ในการใชการศึกษาทางไกลผานดาวเทียม (DLTV) เขาชวยมาจัดรูปแบบกระบวนการการเรียนการสอน วันที่ ๒๔ กันยายน ๒๕๕๘ จากตารางปฏิทินการฝกประสบการณ การนิเทศการศึกษาในวันที่ ๒๔ กันยายน ๒๕๕๘ ตองลงฝกปฏิบัติการนิเทศโรงเรียนวัดสมปอยสาม โดยมี นายพิศิษฐ พันธดี ศึกษานิเทศกพ่ีเลี้ยงที่รับผิดชอบ โรงเรียนวัดสมปอยเปนผูประสานงาน จากการลงนิเทศเปนวันที่สาม โดยการลงนิเทศในชั่วโมงการเรียนการสอน จากการนัดหมายการนิเทศในคร้ังที่สอง พบวาครูจัดกระบวนการเรียนการสอนไดดีขึ้น เปนระบบมากขึ้นสงผลใหมีสภาพแวดลอมโดยรวมเหมาะสมกับการเรียนการสอนขึ้นมาก สุดทาย หลังจากรวมพูดคุยหลังการเรียนการสอนแลว ครูมีความยินดียิ่งในการปรับเปลี่ยนรูปแบบการเรียนการสอนใหม และไดประเมินชี้แนะแบบกัลยาณมิตรอยางราบร่ืน โดยการใหกําลังใจเพ่ือสรางขวัญกําลังใจครูผูสอน

กระบวนการนิเทศแบบ PIDRE โรงเรียนวัดสมปอย

กระบวนการนิเทศแบบ PIDRE

ข้ันที่ ๑ การวางแผน (Planning-P) - ศึกษาสภาพบริบทโดยทั่วไปของทางโรงเรียน จุดเดน จุดดอย สภาพปญหา ความตองการ ศึกษา

เอกสารรายงาน SAR ขอมูลสารสนเทศโรงเรียนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ผลการทดสอบระดับชาติ ฯลฯ - ศึกษาสภาพปญหาของครูเพ่ือพัฒนากระบวนการจัดการศึกษาทางไกลผานดาวเทียม(DLTV)เพ่ือ

พัฒนาการเรียนการสอนของครูผูสอนกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลย(ีคอมพิวเตอร) ระดับชั้นประถมศึกษาปที่ ๔

- รวมวางแผนการแกปญหาของครูเพ่ือพัฒนากระบวนการศึกษาทางไกลผานดาวเทียม (DLTV) เพ่ือพัฒนาการเรียนการสอนของครูผูสอนกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลย(ีคอมพิวเตอร) ระดับชั้นประถมศึกษาปที่ ๔

ข้ันที่ ๒ การใหความรูกอนการนิเทศ (Informing-l) - สนทนาซักถามความรูพ้ืนฐาน/ความเขาใจของครู และใหความรูเกี่ยวกับการจัดการศึกษาทางไกล

ผานดาวเทียม (DLTV) เพื่อพัฒนาการเรียนการสอน - นัดหมายการสังเกตการสอนในการนิเทศ ติดตามในคร้ังตอไป

ข้ันที่ ๓ การปฏิบัติงาน (Doing-D) - สนทนา พูดคุย พบปะ ทบทวนภาระงานเม่ือคร้ังที่ผานมา แบบกัลยาณมิตร - ขอดูแผนการจัดการเรียนการสอน - สังเกตการสอน - รวมวิเคราะห วิพากษ การจัดการศึกษาทางไกลผานดาวเทียม (DLTV)เพ่ือพัฒนาการเรียนการสอน - รวมวางแผนเพ่ือพัฒนาการศึกษาทางไกลผานดาวเทียม (DLTV)ของครูเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน

ของครูผูสอนกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลย(ีคอมพิวเตอร) ระดับชั้นประถมศึกษาปที่ ๔ นัดหมายในการนิเทศติดตามในคร้ังตอไปเพ่ือรายงานผลการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นเกี่ยวกับการจัดการอยางเปนระบบเพ่ือพัฒนาการเรียนการสอน

ข้ันที่ ๔ การสรางขวัญและกําลังใจ (Reinforcing-R) - สนทนา พูดคุย พบปะ ทบทวนภาระงานเม่ือคร้ังที่ผานมา แบบกัลยาณมิตร - การสรางเสริมขวัญกําลังใจ ครูผูสอน

ข้ันที่ ๕ ประเมินผลผลิตของการดําเนินงาน (Evaluating-E)

- สรุปผล ชี้แนะ ใหคําแนะนํา

กระบวนการจาก กรณีศึกษา

สอดคลองกับ กระบวนการ PDCA

สอดคลองกับ กระบวนการ PIDRE

เหตุผล สนับสนุน

- ศึกษาสภาพปจจุบัน - วางแผนการดําเนินการ

P = Plan P = Planning เพ่ือรูขอมูลทั่วไปของสถานศึกษาที่จะดําเนินการนิเทศเพ่ือจัดลําดับการดําเนินการและขั้นตอนใหชัดเจน

- การใหความรูกอนการนิเทศ

D = Do I = Informing ดําเนินการตามขั้นตอนที่ไดวางแผนไวอยางเปนระบบ

- การดําเนินการนิเทศ D = Doing ดําเนินการตามขั้นตอนที่ไดวางแผนไวอยางเปนระบบ

- การเสริมสรางขวัญและกําลังใจ

C = Check R = Reinforcing ทําการตรวจสอบ แลวพัฒนาปรับปรุง กระตุนใหมีขวัญและกําลังใจ

- การประเมินผล A = Act E = Evaluating ประเมินผล ปรับปรุง แกไข และเผยแพร

บทที่ ๔

ผลที่เกิดข้ึน

จากการดําเนินการจัดกิจกรรมนิเทศการสงเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยใชระบบสารสนเทศ

(Kahoot! And Google Forms) ของครูพบวา มีความรู ความเขาใจในการจัดกิจกรรมการเรียนรู โดยใช

ระบบสารสนเทศ (Kahoot! And Google Forms) และการจัดการศึกษาทางไกลผานดาวเทียม (DLTV) เพ่ือ

พัฒนาการเรียนการสอน จํานวนทั้งสิ้น ๖ คน คิดเปนรอยละ ๑๐๐ น้ัน เนื่องจาก

๑. โรงเรียนบานครัวและโรงเรียนวัดสมปอย ไดจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยเนนผูเรียนเปนสําคัญและครู

ไดผานการแนะนํามาแลวจึงทําใหครูมีความรู ความเขาใจ อีกทั้งไดมีการทบทวนและรวมปรึกษากับผูวิจัยจึงทํา

ใหเกิดการเรียนรูเร็วยิ่งขึ้น

๒. ครูสามารถนําความรูที่ไดรับมาจัดทํากิจกรรมการเรียนรู โดยใชระบบสารสนเทศ (Kahoot! And

Google Forms) ทําใหผูเรียนเกิดการแลกเปลี่ยนสรางสังคมแหงการเรียนรูอยางตอเน่ือง อีกทั้งครูและผูเรียน

สามารถมีปฏิสัมพันธ (Interactive) ซึ่งกันและกันไดโดยตรงผานระบบสารสนเทศ (Kahoot! And Google

Forms)

๓. ครูสามารถนําความรูที่ไดรับมาจัดทํากิจกรรมการเรียนรู โดยใชการจัดการศึกษาทางไกลผาน

ดาวเทียม (DLTV) เพ่ือพัฒนาการเรียนการสอน ทําใหผูเรียนเกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรูอยางตอเนื่อง อีกทั้งครู

และผูเรียนสามารถมีปฏิสัมพันธ (Interactive) ซึ่งกันและกันไดโดยตรงผานการจัดการศึกษาทางไกลผาน

ดาวเทียม (DLTV)

เอกสารอางอิง

“กระบวนการนิเทศแบบ PIDRE” ๒๕๕๒. [ระบบออนไลน]. แหลงที่มา jukapat.com/portfolio/

กระบวนการนิเทศแบบ-pidre.html/ (๒๐ กันยายน ๒๕๕๘).

สงัด อุทรานันท. การนิเทศการศึกษา : หลักการ ทฤษฎี และปฏิบัต.ิ กรุงเทพฯ : ภาควิชาบริหารการศึกษา

คณะครุศาสตร, ๒๕๓๐.

สํานักเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน สพฐ. การพัฒนาศึกษานิเทศก ICT เพ่ือการเรียนการสอน. กรุงเทพฯ.

โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย จํากัด, ๒๕๕๔