รายละเอียดของหลูั...

21
มคอ. 2 มรรพ. รายละเอียดของหลักสูตร หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย ( 5 ) (หลักสูตรปรับปรุง .. 2554) ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา คณะครุศาสตร หมวดที1 ขอมูลทั่วไป รหัสและชื่อหลักสูตร 1. ภาษาไทย : หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย ภาษาอังกฤษ : Bachelor of Education Program in Early Childhood Education 2 . ชื่อปริญญาและสาขาวิชา ชื่อเต็มภาษาไทย : ครุศาสตรบัณฑิต (การศึกษาปฐมวัย) อักษรยอภาษาไทย : .. (การศึกษาปฐมวัย) ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ : Bachelor of Education (Early Childhood Education) อักษรยอภาษาอังกฤษ : B.Ed. (Early Childhood Education) 3. วิชาเอก ไมมี 4. จํานวนหนวยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร ไมนอยกวา 160 หนวยกิต 5. รูปแบบของหลักสูตร 5.1 รูปแบบ หลักสูตรระดับปริญญาตรี ตามเกณฑมาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา ภาษาที่ใช ภาษาไทย 5.2 การรับเขาศึกษา รับเฉพาะนักศึกษาไทย 5.3 ความรวมมือกับสถาบันอื่น เปนหลักสูตรเฉพาะของสถาบันที่จัดการเรียนการสอนโดยตรง 5.4 การใหปริญญาแกผูสําเร็จการศึกษา ใหปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว 5.5 ===================================================================== สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย 1

Upload: others

Post on 03-Mar-2020

2 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: รายละเอียดของหลูั ตรกสreg.rbru.ac.th/registrar/coursedetail/EarlyChildhoodEdu.pdf · 2012-07-31 · 1.1.2 กลุ ิชาภาษาไทยมว

มคอ. 2 มรรพ.

รายละเอียดของหลักสูตร

หลักสูตรครศุาสตรบัณฑติ สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย ( 5 ป )

(หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2554)

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี

วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา คณะครุศาสตร

หมวดที่ 1 ขอมูลทั่วไป

รหัสและชื่อหลักสูตร 1. ภาษาไทย : หลักสูตรครศุาสตรบัณฑติ สาขาวิชาการศึกษาปฐมวยั ภาษาอังกฤษ : Bachelor of Education Program in Early Childhood Education

2 . ชื่อปริญญาและสาขาวิชา ชื่อเต็มภาษาไทย : ครุศาสตรบัณฑิต (การศึกษาปฐมวัย)

อักษรยอภาษาไทย : ค.บ. (การศึกษาปฐมวัย) ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ : Bachelor of Education (Early Childhood Education)

อักษรยอภาษาอังกฤษ : B.Ed. (Early Childhood Education)

3. วิชาเอก ไมมี

4. จํานวนหนวยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร

ไมนอยกวา 160 หนวยกิต

5. รูปแบบของหลักสูตร 5.1 รูปแบบ หลักสูตรระดับปริญญาตรี ตามเกณฑมาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา

ภาษาที่ใช ภาษาไทย 5.2 การรับเขาศึกษา รับเฉพาะนักศึกษาไทย 5.3 ความรวมมือกับสถาบันอ่ืน เปนหลักสูตรเฉพาะของสถาบันที่จัดการเรียนการสอนโดยตรง 5.4 การใหปริญญาแกผูสาํเร็จการศึกษา ใหปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว 5.5

===================================================================== สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย 1

Page 2: รายละเอียดของหลูั ตรกสreg.rbru.ac.th/registrar/coursedetail/EarlyChildhoodEdu.pdf · 2012-07-31 · 1.1.2 กลุ ิชาภาษาไทยมว

มคอ. 2 มรรพ.

3. หลักสูตรและอาจารยผูสอน 3.1 หลักสูตร

3.1.1 จํานวนหนวยกิต รวมตลอดหลักสูตรไมนอยกวา 160 หนวยกิต 3.1.2 โครงสรางหลักสูตร

มีสัดสวนหนวยกิตแตละหมวดวิชาดังนี้ (1) 30 หนวยกิต หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ไมนอยกวา

12 หนวยกิต - กลุมวิชาภาษา 9 หนวยกิต - กลุมวิชามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 7 หนวยกิต - กลุมวิชาคณิตศาสตร วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 2 หนวยกิต - กลุมวิชาเลือก ไมนอยกวา

(2) หมวดวิชาเฉพาะดาน ไมนอยกวา 124 หนวยกิต 50 - วิชาชีพครู ไมนอยกวา หนวยกิต 14 หนวยกิต - ฝกประสบการณวิชาชีพ 30 หนวยกิต - วิชาชีพครูบังคับ

- วิชาชีพครูเลอืก ไมนอยกวา 6 หนวยกิต

- วิชาเอก 74 หนวยกิต 46 หนวยกิต - วิชาบังคับ ไมนอยกวา 28 หนวยกิต - วิชาเลือก ไมนอยกวา

(3) หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หนวยกิต

3.1.3 รายวิชา 1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ไมนอยกวา 30 หนวยกิต

1.1 กลุมวชิาภาษา 12 หนวยกิต 1.1.1 กลุมวชิาภาษาอังกฤษ 6 หนวยกิต จากรายวิชาตอไปน้ี จํานวนหนวยกิต (บรรยาย–ปฏิบัติ–ศึกษาดวยตนเอง) 0010101 ภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสาร 1

Communicative English 1 2 (2-0-4)

0010102 ภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสาร 2 Communicative English 2

2 (2-0-4)

0010103 ภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสาร 3 Communicative English 3

2 (2-0-4)

1.1.2 กลุมวชิาภาษาไทย 3 หนวยกิต

===================================================================== สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย 8

0010201 ภาษาไทยเพือ่การสื่อสาร Thai for Communication

3 (3-0-6)

Page 3: รายละเอียดของหลูั ตรกสreg.rbru.ac.th/registrar/coursedetail/EarlyChildhoodEdu.pdf · 2012-07-31 · 1.1.2 กลุ ิชาภาษาไทยมว

มคอ. 2 มรรพ.  

=====================================================================================สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย 97 

 

คําอธิบายรายวิชาหมวดวิชาเฉพาะดาน 1. วิชาชีพครู ไมนอยกวา 50 หนวยกิต 1.1 ฝกประสบการณวิชาชีพครู ไมนอยกวา 14 หนวยกิต 1003801

การสังเกตและการมีสวนรวม

Observation and Participation in School Practices

1 (60)

ศึกษาสังเกตสภาพทั่วไปของโรงเรียน งานในหนาที่ครูผูสอน งานในหนาที่ครูประจําชั้น พฤติกรรมการสอน สภาพทั่วไปของนักเรียนในโรงเรียน สภาพชุมชนและความสัมพันธระหวางโรงเรียนกับชุมชน งานบริหารและบริการของโรงเรียน การฝกเปนผูชวยครูทางดานธุรการชั้นเรียน ดานการเรียนการสอนหรือสนับสนุนการเรียนการสอน การพัฒนาชั้นเรียน โรงเรียนและชุมชน 1004802 การทดลองสอน

Teaching Practice Under Supervision in School Practices 1 (60)

การฝกเตรียมการสอนและทดลองสอนบทเรียนในรายวิชาเอกที่โรงเรียนฝกประสบการณวิชาชีพครู 1005801 การฝกประสบการณวิชาชีพครูเต็มรูป 1

Full Time Professional Experience 1 6 (450)

การฝกประสบการณวิชาชีพครูเต็มรูปในหนาที่ครูทั้งงานสอน งานพัฒนาการเรียน การสอน งานแนะแนวและงานศึกษาเด็กเปนรายบุคคล การแกปญหาและพัฒนาเด็กเปนรายบุคคล งานธุรการชั้นเรียน งานกิจกรรมนักเรียน การศึกษาชุมชน และการสัมมนาเพ่ือแกปญหาและพัฒนาการฝกประสบการณวิชาชีพครู 1005802 การฝกประสบการณวิชาชีพครูเต็มรูป 2

Full Time Professional Experience 2 6 (450)

การฝกประสบการณวิชาชีพครูเต็มรูปในหนาที่ครูอยางครบถวน ทั้ งงานสอน และงานพัฒนา การเรียนการสอน งานแนะแนวและงานศึกษาเด็กเปนรายบุคคล การแกปญหาและการพัฒนาเด็กเปนรายบุคคล การพัฒนาเด็กเปนกลุมตามความสามารถ การวิเคราะหผูเรียน เพ่ือการสอนซอมเสริม งานธุรการชั้นเรียน งานกิจกรรมนักเรียน งานวิจัยในชั้นเรียน งานพัฒนาโรงเรียน งานพัฒนาชุมชนและการ สัมมนาเพื่ อส รุปและเสนอแนะแนวทางการพัฒนา การฝกประสบการณวิชาชีพครู

Page 4: รายละเอียดของหลูั ตรกสreg.rbru.ac.th/registrar/coursedetail/EarlyChildhoodEdu.pdf · 2012-07-31 · 1.1.2 กลุ ิชาภาษาไทยมว

มคอ. 2 มรรพ.  

=====================================================================================สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย 98 

 

1.2 วิชาชพีครูบังคับ ไมนอยกวา 30 หนวยกิต

1012106 การศึกษาและการพัฒนาความเปนครูวิชาชพี Education and Teachers Professional Development

3 (3-0-6)

ศึกษาความหมาย ความมุงหมายและความสําคัญของการศึกษา แผนการศึกษา ปรัชญาการศึกษา พ.ร.บ.การศึกษาแหงชาติ กฎหมายที่เก่ียวของกับการศึกษา ความเปลี่ยนแปลงและแนวโนมที่มีผลกระทบตอการศึกษาและวิชาชีพครูไทยในปจจุบันและอนาคต การจัดและ การบริหารการศึกษาไทยเนนการจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ปจจัยที่มีอิทธิพลตอการพัฒนาครูและวิชาชีพครูในการเปนวิชาชีพชั้นสูง ความสําคัญของวิชาชีพครู บทบาท หนาที่ ภาระงานของครู และการพัฒนาการของวิชาชีพครู การเสริมสรางศักยภาพและสมรรถภาพความเปนครู การสรางทัศนคติที่ดีตอวิชาชีพครู คุณลักษณะของครูที่ดีตามเกณฑมาตรฐานวิชาชีพครู จรรยาบรรณของ วิชาชีพครู พัฒนาการเปนบุคคลแหงการเรียนรูและการเปนผูนําทางวิชาการ แนวทางการประเมินคุณภาพครูตลอดจนเทคนิคการประเมินตนเอง 1014004 การบริหารจัดการชั้นเรียน

Classroom Management 3 (3-0-6)

ศึกษาทฤษฎีและหลักการบริหารจัดการศึกษา ภาวะผูนําทางการศึกษา การคิด อยางเปนระบบ การเรียนรูวัฒนธรรมองคกร มนุษยสัมพันธในองคกร การติดตอส่ือสารในองคกร การบริหารจัดการชั้นเรียน การประกันคุณภาพการศึกษา การทํางานเปนทีม การจัดทําโครงงานทางวิชาการ การจัดทําโครงการฝกอาชีพ การจัดโครงการและกิจกรรมเพ่ือพัฒนา การจัดระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการ และการศึกษาเพื่อพัฒนาชุมชน 1023303 การจัดการเรียนรู

Learning Management 3 (2-2-6)

ศึกษาความหมายและความสําคัญของการจัดการเรียนรู ทฤษฎีการเรียนรูและการสอน ระบบการจัดการเรียนรู จุดประสงคการเรียนรู รูปแบบการเรียนรูและการพัฒนารูปแบบการเรียน การสอน ยุทธศาสตรและวิธีการจัดการเรียนรูแบบตางๆ การจัดกิจกรรมที่สงเสริมการเรียนรู ของผูเรียน การบูรณาการเน้ือหาในกลุมสาระการเรียนรู การบูรณาการการเรียนรูแบบเรียนรวม การจัดการเรียนรูแบบยึดผูเรียนเปนสําคัญ สื่อและแหลงการเรียนรู การวัดและประเมินผลการเรียนรูและการจําแนกระดับการเรียนรูของผูเรียนจากการประเมินผล ฝกปฏิบัติการออกแบบการจัด การเรียนรูและการจัดทําแผนการจัดการเรียนรู

Page 5: รายละเอียดของหลูั ตรกสreg.rbru.ac.th/registrar/coursedetail/EarlyChildhoodEdu.pdf · 2012-07-31 · 1.1.2 กลุ ิชาภาษาไทยมว

มคอ. 2 มรรพ.  

=====================================================================================สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย 99 

 

1032101 ภาษาและเทคโนโลยีสําหรับครู Language and Technology for Teachers

3 (3-0-6)

ศึกษาธรรมชาติของการสื่อสารและกระบวนการสื่อสารทั้งวัจนภาษาและอวัจนภาษา เชน การอธิบาย การอภิปราย การสรุปผล การขยายความ การใชภาษากาย โดยใชทักษะการฟง การพูด การอาน การเขียนภาษาไทยและภาษาอังกฤษระหวางบุคคลและหนวยงานตางๆ ที่ เกี่ยวของกับการศึกษา รวมทั้ งใหผูที่ จะเปนครูสามารถใช เทคโนโลยีในการส่ือสารได อยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการปฏิบัติงานตามหนาที่ของตน 1033101

นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา Educational Innovation and Information Technology

3 (2-2-6)

ศึกษาแนวคิดทฤษฎีเก่ียวกับระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ บทบาทความสําคัญของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา เทคนิคพ้ืนฐานของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่สงเสริม การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู ระบบการเรียนรูและกระบวนการสื่อความหมาย การแสวงหา การเลือกสรร การใช การเก็บรักษาและการพัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศกึษา การพัฒนาและการแสวงหาแหลงการเรียนรูและเครือขายการเรียนรู รวมทั้งการออกแบบ การสราง การนํานวัตกรรมการศึกษาไปใชในการเรียนการสอน การประเมินและการวิเคราะหปญหา ที่เกิดจากการใชนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาใหเหมาะสม 1042104

การวัดและประเมินผลการเรียนรู Measurement and Learning Evaluation

3 (3-0-6)

ศึกษาหลักการและเทคนิคการวัดและประเมินผลการศึกษา เนนการวัดและประเมินผลการเรียนรู การสรางและการใชเคร่ืองมือและวิธีการวัดและประเมินผล การประเมินตามสภาพจริง การประเมินจากแฟมสะสมผลงาน การประเมินภาคปฏิบัติ การประเมินแบบยอยและแบบรวม ฝกปฏิบัติสรางและใชวิธีการและเครื่องมือในการวัดและประเมินผลใหสามารถ วัดและประเมินผลไดตามสภาพความเปนจริง และสามารถนําผลการประเมินไปใชในการปรับปรุง การจัดการเรียนรูและหลักสูตร

Page 6: รายละเอียดของหลูั ตรกสreg.rbru.ac.th/registrar/coursedetail/EarlyChildhoodEdu.pdf · 2012-07-31 · 1.1.2 กลุ ิชาภาษาไทยมว

มคอ. 2 มรรพ.  

=====================================================================================สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย 100 

 

1052701

จิตวทิยาและการแนะแนวสําหรับครู Psychology and Guidance for Teacher

3 (3-0-6)

ศึกษาเกี่ยวกับความหมาย วิธีการศึกษาทางจิตวิทยา แนวทัศนะของนักจิตวิทยา กลุมตาง ๆ พัฒนาการของมนุษย การเรียนรูและองคประกอบการเรียนรู พฤติกรรมทางสังคม ของบุคคลและกลุมบุคลิกภาพและการปรับตัว ความหมาย ความสําคัญ ปรัชญาและหลักการ แนะแนว การจัดบริการแนะแนวในสถานศึกษา การใชกระบวนการแนะแนวเพื่อพัฒนา ความสามารถและศักยภาพของผูเรียน และการนํานวัตกรรมทางดานจิตวิทยาและการแนะแนว มาประยุกตใช ฝกปฏิบัติ เ ก่ียวกับการใช เครื่องมือในการศึกษาทางจิตวิทยาเ พ่ือศึกษาผู เรียน เปนรายบุคคล ตลอดจนฝกการจัดบริการแนะแนวที่จําเปนสําหรับครู 1073106

หลักสูตรและการพัฒนาหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย Curriculum and Curriculum Development

Of Early Childhood Education

3 (3-0-6)

ศึกษาความหมายและความสําคัญของหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย ทฤษฎีหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยแบบตาง ๆ พ้ืนฐานของการพัฒนาหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย องคประกอบของหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย การวิเคราะหมาตรฐานของหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย การพัฒนาหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยใหเหมาะสมกับสภาพทองถิ่น แหลงเรียนรูในทองถิ่น การบริหารหลักสูตรและการประเมินหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย ฝกปฏิบัติการพัฒนาหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย เนนหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยและหลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ปญหาและแนวโนมในการพัฒนาหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย 1074205 การจัดการเรียนรูการศึกษาปฐมวัย

Learning Management in Early Childhood Education 3 (2-2-6)

ความสําคัญของการจัดการเรียนรูการศึกษาปฐมวัย ปญหาการจัดการเรียนรูการศึกษาปฐมวัย รูปแบบการจัดการเรียนรูสําหรับเด็กปฐมวัย องคประกอบ เทคนิคและวิธีการจัดการเรียนรูสําหรับเด็กปฐมวัย การกําหนดสาระการเรียนรู การจัดทําแผนการจัดการเรียนรูที่เหมาะสม กับวัยและพัฒนาการเด็กปฐมวัย การฝกปฏิบัติการจัดการเรียนรูสําหรับเด็กปฐมวัย

Page 7: รายละเอียดของหลูั ตรกสreg.rbru.ac.th/registrar/coursedetail/EarlyChildhoodEdu.pdf · 2012-07-31 · 1.1.2 กลุ ิชาภาษาไทยมว

มคอ. 2 มรรพ.  

=====================================================================================สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย 101 

 

1.3 วิชาชีพครูเลือก ไมนอยกวา 6 หนวยกิต 1012201

การศึกษากับการพัฒนาชุมชน

Education and Community Development

3 (3-0-6)

ศึกษาความหมายของการพัฒนา ความหมายของชุมชน และลักษณะชุมชน หลักการพัฒนาชุมชน แนวความคิดใหมในการพัฒนาชุมชนตามนโยบายของรัฐบาล การจัดโรงเรียนเพ่ือเปนศูนยกลางในการพัฒนาชุมชน การสํารวจชุมชน การอนามัยโรงเรียนชุมชน การใชทรัพยากรในชุมชนใหเปนประโยชนตอการศึกษา ความรวมมือระหวางโรงเรียนกับชุมชน ในการแกปญหาชุมชน วิธีการศึกษาและสํารวจปญหาชุมชน กิจกรรมพัฒนาชุมชน การประเมินผลการพัฒนาชุมชน 1013501 การศึกษาทางเลือก

Alternative Education 2 (2-0-4)

ศึกษาความหมาย ความมุงหมาย ขอบเขตของการศึกษาทางเลือก การเปรียบเทียบการศึกษานอกระบบ ในระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย การบริหารและการจัดการศึกษาทางเลือก หลักสูตรและการศึกษาทางเลือกในประเทศไทยและตางประเทศ แนวโนมของการศึกษาทางเลือกในประเทศไทย ปญหาและขอเสนอแนะการแกปญหาการจัดการศึกษาทางเลือก 1014971 สัมมนาปญหาทางการศึกษา

Study Problem in Education 3 (3-0-6)

ศึกษากระบวนการจัดสัมมนาและปฏิบตัิการสัมมนาปญหาการศึกษา 1023301

ทักษะและเทคนิคการสอน Teaching Skills and Techniques of Teaching

3 (2-2-6)

ศึกษาความหมาย ขอบขาย และความสําคัญของทักษะและเทคนิคการสอน ทักษะ การนําเขาสูบทเรียน การเราความสนใจ การตั้งคําถาม การใชสื่อการเรียนการสอน การเลาเร่ือง การเสริมแรง การใชกิริยาทาทางและวาจา การใชกระดานดํา การอธิบายยกตัวอยาง และสรุปบทเรียน การสอนกลุมใหญ การสอนกลุมยอย การสอนรายบุคคล การใชเพลงประกอบการเรียนการสอน บทบาทสมมุติ เทคนิคการสอนแบบมีสวนรวม เทคนิคการสอนใชกระบวนการคิด ฝกปฏิบัติการสอนโดยใชทักษะและเทคนิคการสอนที่จําเปนสําหรับครู

Page 8: รายละเอียดของหลูั ตรกสreg.rbru.ac.th/registrar/coursedetail/EarlyChildhoodEdu.pdf · 2012-07-31 · 1.1.2 กลุ ิชาภาษาไทยมว

มคอ. 2 มรรพ.  

=====================================================================================สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย 102 

 

1024201 กิจกรรมพัฒนาผูเรียน Student Development Activity

3 (2-2-6)

ความหมาย ความสําคัญ จุดมุงหมาย ประเภทของกิจกรรมพัฒนาผูเรียน หลักการและกระบวนการจัดกิจกรรมพัฒนาผูเรียน บทบาทหนาที่ของบุคคลที่เก่ียวของกับการจัดกิจกรรมพัฒนาผูเรียน การประเมินผลการจัดกิจกรรมพัฒนาผูเรียน และฝกปฏิบัติการจัดกิจกรรมพัฒนาผูเรียน 1024951 โครงการศึกษาเอกเทศทางการศึกษา

Independent Study in Education 3 (1-4-6)

ศึกษาคนควาและรายงานผลการศึกษาคนควาเร่ืองที่นักศึกษาสนใจ 1024971 การสัมมนาทางการศึกษา

Seminar in Education 3 (1-4-6)

ศึกษาจุดมุงหมาย รูปแบบ และกระบวนการของการสัมมนา วางแผนการจัดสัมมนา วิเคราะหสภาพปญหาและแนวโนมของการศึกษาขั้นพ้ืนฐานทั้งในระดับทองถิ่นและระดับชาติ ในขอบขายของงานในระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน เนนการฝกทักษะการวิเคราะหปญหาดวยกระบวนการกลุม การอภิปราย และการแสดงความคิดเห็น วางแผนการพัฒนาแนวทางแกปญหาดวยกระบวนการทางวิทยาศาสตร แสวงหาแนวคิดใหมจากแหลงขอมูลตางๆ เชน วิทยากร ผลงานวิจัย วรรณกรรมทางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน 1032102 เทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือการศึกษา

Information Technology in Education 3 (3-0-6)

ศึกษาการทํางานของระบบสารสนเทศ การทํางานของอินเทอรเน็ต การใชงานอินเทอรเน็ต ไปรษณียอิเล็กทรอนิกส เวิลดไวดเว็บ การประชุมทางไกล (teleconference) อินเทอรเน็ต ในวงการศึกษาไทยเพ่ือพัฒนาและการศึกษาคนควาทางการศึกษา ฝกปฏิบัติสืบคนขอมูลจากอินเทอรเน็ตและฝกรับสงไปรษณียอิเล็กทรอนิกส 1034101 การศึกษาโดยระบบส่ือทางไกล

Telecommunication and Distance Learning 2 (2-0-4)

ศึกษาแนวคิดในการจัดการศึกษาสําหรับมวลชน (Mass Education) การศึกษา ตามอัธยาศัย การจัดการศึกษาโดยผานระบบส่ือทางไกลในรูปแบบตางๆ การใชเครือขายอินเทอรเน็ตในการสืบคน การติดตอส่ือสารดวยเทคโนโลยีสารสนเทศ การพัฒนาเว็บไซต เพ่ือการเรียนการสอน การสงและการดาวนโหลดขอมูล เทคโนโลยีสําหรับการศึกษาทางไกล ปญหาอุปสรรคของการจัดการศึกษาโดยระบบสื่อทางไกลและวิธีการแกปญหา

Page 9: รายละเอียดของหลูั ตรกสreg.rbru.ac.th/registrar/coursedetail/EarlyChildhoodEdu.pdf · 2012-07-31 · 1.1.2 กลุ ิชาภาษาไทยมว

มคอ. 2 มรรพ.  

=====================================================================================สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย 103 

 

1043102 การประเมินทางการศึกษา Education Evaluation

3 (3-0-6)

ศึกษาความหมาย ความมุงหมาย ความสําคัญ ขอบขาย และกระบวนการของการประเมินทางการศึกษา พัฒนาการของการประเมินทางการศึกษา รูปแบบการประเมินทางการศึกษา หลักการและแนวทางในการประเมินผลการเรียนการสอนในแตละกลุมสาระการเรียนรู การประเมินสถาบัน การประเมินงานและโครงการทางการศึกษา การวางแผนการประเมินทางการศึกษา บทบาท หนาที่ของครูและผูบริหารการศึกษากับการประเมินผลทางการศึกษา การประเมินผลโดยบุคคลหรือองคกรภายในและภายนอก แนวโนมความคิดใหมและปญหาในการประเมินทางการศึกษา ฝกปฏิบัติการเก็บรวบรวมขอมูลเพื่อประเมินโครงการทางการศึกษา วิเคราะหขอมูลและนําเสนอผล ที่ไดจากการประเมินไปใชใหเปนประโยชนทางการศึกษา 1044107 การประเมินโครงการ

Project Evaluation 3 (3-0-6)

ศึกษาองคประกอบที่สําคัญของโครงการและวงจรการวางแผนโครงการ พัฒนาการของการประเมินโครงการ รูปแบบการประเมินโครงการ การวิเคราะหความเปนไปไดของโครงการ เทคนิคการควบคุมและการติดตามงานและโครงการการประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผล ของโครงการ 1052103

จิตวทิยาวัยเด็ก Child Psychology

3 (3-0-6)

ศึกษาความหมายและความสําคัญของวัยเด็ก พัฒนาการของวัยเด็ก ทฤษฎีเก่ียวกับจิตวิทยาพัฒนาการและการประยุกตใชเพ่ือสงเสริมพัฒนาการทางรางกาย สติปญญา อารมณ สังคม และความฉลาดทางอารมณ บุคลิกภาพ ปจจัยที่มีอิทธิพลตอบุคลิกภาพของวัยเด็ก ปญหาและวิธีการแกปญหาวัยเด็ก 1053402

จิตวทิยาเด็กกลุมพิเศษ Special Child Psychology

2 (2-0-4)

ศึกษาความหมาย ขอบขาย และพฤติกรรมของเด็กกลุมพิเศษ สาเหตุของพฤติกรรมผิดปกติของเด็กกลุมพิเศษ องคประกอบทางดานกายภาพ สภาพและสังคมที่มีผลตอกลุมเด็กพิเศษ ประเภทของกลุมเด็กพิเศษ การดูแลสุขภาพของเด็กกลุมพิเศษขององคการ และหนวยงานที่ใหความชวยเหลือเด็กกลุมพิเศษ

Page 10: รายละเอียดของหลูั ตรกสreg.rbru.ac.th/registrar/coursedetail/EarlyChildhoodEdu.pdf · 2012-07-31 · 1.1.2 กลุ ิชาภาษาไทยมว

มคอ. 2 มรรพ.  

=====================================================================================สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย 104 

 

1064101

ธุรกิจการศึกษา Educational Business

2 (2-0-4)

ศึกษาความหมาย ขอบขาย ประเภทและประโยชนของธุรกิจการศึกษา วิวัฒนาการ ของธุรกิจการศึกษา ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับเศรษฐกิจการศึกษา การใชประโยชนจากสถิติทางการศึกษา การระดมทรัพยากรมาใชในการจัดการศึกษา ความสัมพันธระหวางการศึกษากับธุรกิจ วิเคราะหแนวโนมธุรกิจศึกษา การบริหารและการจัดการทางธุรกิจศึกษาในโรงเรียน ประสิทธิภาพของการจัดการศึกษา การสรางเสริมฐานะของโรงเรียนและบุคลากรในโรงเรียน การจัดโครงการ ที่มีคุณคาทางการศึกษา บทบาทหนาที่ของบุคคลที่มีสวนเก่ียวของกับธุรกิจการศึกษา การควบคุมการดําเนินการประเมินผลและติดตามผลการจัดการศึกษา การศึกษาผลงานและปญหาเก่ียวกับธุรกิจดานการศึกษา 1065463 หลักการบริหารการศึกษา

Principles of Educational Administration 3 (3-0-6)

ศึกษาความหมาย การบริหารการศึกษา แนวคิดและทฤษฎีเบื้องตนเก่ียวกับการบริหารการศึกษา กระบวนการบริหารการศึกษา ระบบบริหารการศึกษา และการจัดระบบภายในหนวยงานทางการศึกษา มนุษยสัมพันธในการบริหาร ภาวะผูนํากับการบริหาร การประชาสัมพันธหนวยงานทางการศึกษา การนิเทศการศึกษาและการพัฒนาหลักสูตร บทบาทของผูบริหารตอการนิเทศการศึกษา หลักและเทคนิคการนิเทศการศึกษา การนิเทศการสอน ปญหาตางๆ และวิธีการแกปญหาเก่ียวกับการบริหารการศึกษาของไทย 1065464 การประกันคุณภาพการศึกษา

Educational Quality Assurance 2 (2-0-4)

ศึกษาความหมาย ความสําคัญ แนวคิด ทฤษฎีที่เก่ียวของกับการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ร.บ.การศึกษาแหงชาติกับการประกันคุณภาพการศึกษา ศึกษาปจจัย ตัวชี้วัด และระบบการประกันคุณภาพการศึกษา แนวปฏิบัติในการดําเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา ดานตาง ๆ ปญหาและขอเสนอแนะการแกปญหาการประกันคุณภาพการศึกษา 1065465 การนิเทศการศึกษา

Educational Supervision 3 (3-0-6)

ความหมาย ความสําคัญ และความมุงหมายของการนิเทศการศึกษา ขอบขายของการนิเทศการศึกษา บทบาทของผูบริหารตอการนิเทศการศึกษา หลักการและเทคนิควิธีการนิเทศการศึกษา การพัฒนาการเรียนการสอน การนิเทศภายใน การนิเทศการสอน บทบาทของผูนิเทศการสอน รูปแบบการนิเทศการสอน หลักการและเทคนิคในการนิเทศการสอน การประเมินผล การสอน ฝกปฏิบัติจัดทําส่ือประกอบการนิเทศ และนิเทศการจัดการศึกษา

Page 11: รายละเอียดของหลูั ตรกสreg.rbru.ac.th/registrar/coursedetail/EarlyChildhoodEdu.pdf · 2012-07-31 · 1.1.2 กลุ ิชาภาษาไทยมว

มคอ. 2 มรรพ.  

=====================================================================================สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย 105 

 

1065466 กฎหมายการศึกษา Education Laws

3(3-0-6)

ศึกษาเกี่ยวกับกฎหมายการศึกษาไทย วิเคราะหและนําความรูเก่ียวกับกฎหมายการศึกษาไทยไปใชประกอบวิชาชีพครูและพัฒนาวิชาชีพครู 1071501 จิตวทิยาพัฒนาการสําหรับเด็กปฐมวยั

Development Psychology for Early Childhood Children 3(3-0-6)

ความหมาย ความสําคัญ ทฤษฎี หลักการและแนวคิดที่ เกี่ยวของกับจิตวิทยาพัฒนาการและพัฒนาการทางรางกาย อารมณ – จิตใจ สังคม และสติปญญา วิธีการสงเสริมพัฒนาการดานตาง ๆ ของเด็กปฐมวัย รูปแบบการอบรมเลี้ยงดูและอิทธิพลที่มีตอพัฒนาการ เด็กปฐมวัย บทบาทของครูและผูปกครองในการสงเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย 1074206 การศึกษาแบบเรียนรวมสําหรับเด็กปฐมวัย

Inclusive Education for Early Childhood Children 3(3-0-6)

ความหมาย ความสําคัญ ทฤษฎี หลักการและแนวคิดที่เ ก่ียวของกับการศึกษาแบบเรียนรวม ความรูที่เก่ียวของกับเด็กที่มีความตองการพิเศษ จิตวิทยาเด็กพิเศษ การเตรียมการเพ่ือการจัดการศึกษาแบบเรียนรวม เทคนิคการสอนในชั้นเรียนรวม แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP) บทบาทของครูในการจัดการศึกษาแบบเรียนรวมสําหรับเด็กปฐมวัย ความรวมมือกับผูปกครองและชุมชน ตลอดจนผูที่ มีสวนเกี่ยวของในการจัดการศึกษาแบบเรียนรวมสําหรับ เด็กปฐมวัย                     

Page 12: รายละเอียดของหลูั ตรกสreg.rbru.ac.th/registrar/coursedetail/EarlyChildhoodEdu.pdf · 2012-07-31 · 1.1.2 กลุ ิชาภาษาไทยมว

มคอ. 2 มรรพ.  

=====================================================================================สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย 106 

 

2. วิชาเอก 74 หนวยกิต 2.1 วิชาบงัคับ ไมนอยกวา 46 หนวยกิต

1071101 การศึกษาปฐมวัย 3(3-0-6) Early Childhood Education

ความหมาย ความสําคัญ ทฤษฎี หลักการ และแนวคิดที่เก่ียวของกับการศึกษาปฐมวัย นโยบายของการศึกษาปฐมวัย นักการศึกษาที่มีอิทธิพลตอการจัดการศึกษาปฐมวัย ประวัติความเปนมาของการศึกษาปฐมวัยในประเทศไทย และตางประเทศ รูปแบบและลักษณะการจัดการศึกษาปฐมวัยในประเทศไทย แนวโนมทางการศึกษาปฐมวัยของไทยและตางประเทศ

1071102 ปรัชญาและมโนทัศนในการอบรมเลีย้งดูเด็กปฐมวัย 3(3-0-6) Philosophy and Concepts in Child Rearing

ความหมาย ความสําคัญและจุดมุงหมายของปรัชญาและมโนทัศนที่เก่ียวของกับการ อบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยในประเทศไทย ความสัมพันธระหวางปรัชญาและมโนทัศนกับหลักการและวิธีการ อบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัย บทบาทของครูและผูปกครองในการพัฒนาเด็กและความรวมมือของพอแม ผูเลี้ยงดูเด็ก ครูและชุมชนในการสนับสนุนพัฒนาการของเด็ก ทั้งดานรางกาย อารมณ-จิตใจสังคม และ สติปญญา ศึกษาเกี่ยวกับครอบครัวและโครงสรางการนําทรัพยากรชุมชนมาใชเพ่ือประโยชนและ ความสําเร็จในการอบรมเลี้ยงดูเด็กในสังคมไทย

1071201 33การจัดโปรแกรมการพัฒนาเด็กบริบาล 3(2-2-6) Management of Infant and Toddler Programs

ความหมาย ความสําคัญ ทฤษฎี หลักการและแนวคิดของการจัดโปรแกรม เพ่ือพัฒนาเด็กบริบาล ทฤษฎีพัฒนาการเด็กวัย ๐ – ๓ ป แนวทางการอบรมเลี้ยงดูเด็กบริบาล การจัดสภาพแวดลอมที่เอ้ือตอการอบรมเลี้ยงดูเด็กบริบาล บทบาทของพอ แม ผูปกครอง ครู และ ผูที่เก่ียวของ การสรางและการจัดโปรแกรมเพ่ือสงเสริมพัฒนาการและการเรียนรูสําหรับเด็กบริบาล การประเมินพัฒนาการเด็กบริบาล

Page 13: รายละเอียดของหลูั ตรกสreg.rbru.ac.th/registrar/coursedetail/EarlyChildhoodEdu.pdf · 2012-07-31 · 1.1.2 กลุ ิชาภาษาไทยมว

มคอ. 2 มรรพ.  

=====================================================================================สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย 107 

 

1071301 44ศิลปะสําหรับเด็กปฐมวัย 3(2-2-6) Art for Early childhood Children

ความหมาย ความสําคัญ ทฤษฎี หลักการและแนวคิดที่เก่ียวของกับศิลปะสําหรับเด็กปฐมวัย พัฒนาการทางศิลปะของเด็กปฐมวัย หลักการจัดกิจกรรมศิลปะ เพ่ือสงเสริมพัฒนาการตามความแตกตางระหวางบุคคลของเด็กปฐมวัย การเลือกวัสดุ อุปกรณ เทคนิคและวิธีการสงเสริมการจัดกิจกรรมศิลปะสรางสรรค การเขียนแผนการจัดประสบการณกิจกรรมศิลปะ การเก็บผลงานและการนําเสนอผลงานทางศิลปะของเด็กปฐมวัย การประเมินผลพัฒนาการทางศิลปะของเด็กปฐมวัย

1071302 กิจกรรมเคลือ่นไหวและจงัหวะสําหรับเด็กปฐมวัย 2(1-2-4) Movement and Rhythm for Early Childhood Children

ความหมาย ความสําคัญ ทฤษฎี หลักการและแนวคิดที่เก่ียวกับพัฒนาการทางเคล่ือนไหวและจังหวะสําหรับเด็กปฐมวัย รูปแบบการเคลื่อนไหว และจังหวะพื้นฐานแนวการจัดประสบการณการเคลื่อนไหวและจังหวะสําหรับเด็กปฐมวัย สื่อ อุปกรณ การจัดสภาพแวดลอมและการประเมินพัฒนาการทางการเคลื่อนไหวและจังหวะสําหรับเด็กปฐมวัย

1072306 66การจัดประสบการณทางภาษาสําหรับเด็กปฐมวัย

2(1-2-4)

Language Experiences Management for Early Childhood Children ความหมาย ความสําคัญ ทฤษฏี หลักการและแนวคิดที่เก่ียวของกับพัฒนาการทางภาษาเด็กปฐมวัย การสังเกต บันทึกและวิเคราะหพัฒนาการทางภาษาของเด็กปฐมวัย การจัดประสบการณเพ่ือสงเสริมทักษะทางภาษาทั้งดานการฟง พูด อานและเขียนสําหรับเด็กปฐมวัย การผลิตสื่อและของเลนเพ่ือสงเสริมทักษะทางภาษาของเด็กปฐมวัย การเรียนรูภาษาถิ่น และภาษาที่ 2 ของเด็กปฐมวัย บทบาทของครูและผูปกครองในการสงเสริมพัฒนาการทางภาษา การประเมินพัฒนาการทางภาษาของเด็กปฐมวัย

1072307 การจัดประสบการณทางคณิตศาสตรสําหรับเด็กปฐมวัย 2(1-2-4) Mathematic Experiences Management for Early Childhood Children

ความหมาย ความสําคัญ ทฤษฏี หลักการและแนวคิดที่เก่ียวของกับทักษะทางคณิตศาสตร การจัดประสบการณเพ่ือสงเสริมทักษะคณิตศาสตร การผลิตสื่อและของเลน เพ่ือสงเสริมทักษะคณิตศาสตรของเด็กปฐมวัย บทบาทของครูและผูปกครองในการสงเสริมทักษะ ทางคณิตศาสตรสําหรับเด็กปฐมวัย การประเมินทักษะทางคณิตศาสตรสําหรับเด็กปฐมวัย

Page 14: รายละเอียดของหลูั ตรกสreg.rbru.ac.th/registrar/coursedetail/EarlyChildhoodEdu.pdf · 2012-07-31 · 1.1.2 กลุ ิชาภาษาไทยมว

มคอ. 2 มรรพ.  

=====================================================================================สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย 108 

 

1072308 การจัดประสบการณทางวิทยาศาสตรสําหรับเด็กปฐมวัย 2(1-2-4) Science Experiences Management for Early Childhood Children

ความหมาย ความสําคัญ ทฤษฏี หลักการ และแนวคิดที่เก่ียวของกับทักษะทางวิทยาศาสตร การจัดประสบการณเพ่ือสงเสริมทักษะทางวิทยาศาสตรสําหรับเด็กปฐมวัย การผลิตส่ือและของเลนเพ่ือสงเสริมทักษะทางวิทยาศาสตรสําหรับเด็กปฐมวัย บทบาทของครูและผูปกครองในการสงเสริมทักษะทางวิทยาศาสตรสําหรับเด็กปฐมวัย การประเมินทักษะทางวิทยาศาสตรสําหรับเด็กปฐมวัย

1072309 การจัดประสบการณพัฒนาการทางอารมณ และสังคมสําหรับเด็กปฐมวัย

2(1-2-4)

Emotional and Social Experiences for Early Childhood Children ความหมาย ความสําคัญ ทฤษฏี หลักการและแนวคิดที่ เ ก่ียวของกับพัฒนาการทางอารมณและสังคมของเด็กปฐมวัย การสังเกต บันทึกและวิเคราะหพัฒนาการทางอารมณและสังคมของเด็กปฐมวัย การจัดประสบการณเพ่ือสงเสริมพัฒนาการทางอารมณและสังคมของเด็กปฐมวัย การผลิตสื่อและของเลนเพ่ือสงเสริมพัฒนาการทางอารมณและสังคมของเด็กปฐมวัย บทบาทของครูและผูปกครองในการสงเสริมพัฒนาการทางอารมณและสังคมของเด็กปฐมวัย การประเมินพัฒนาการทางอารมณและสังคมของเด็กปฐมวัย

1073502 การศึกษาเด็กปฐมวัย 3(2-2-6)

Early Childhood Children Study

ความหมาย ความสําคัญ ทฤษฏี หลักการและแนวคิดที่เก่ียวของกับการศึกษาเพื่อทําความเขาใจเด็กปฐมวัย พัฒนาการเด็กปฐมวัย ประเภทของการศึกษาเด็ก แนวทางขั้นตอนและวิธีการศึกษาเด็ก การปฏิบัติการศึกษา การเขียนบันทึก การแปลความหมายขอมูลที่ศึกษามา การสะทอนตนเอง การรายงานผลการศึกษาเด็กปฐมวัยเปนรายบุคคล การนําผลการศึกษาไปปรับใชในการพัฒนาเด็ก

1072401 สื่อสรางสรรคสําหรับเด็กปฐมวัย 3(2-2-6)

Creative Materials for Early Childhood Children

ความหมาย ความสําคัญ ทฤษฏี หลักการและแนวคิดที่เก่ียวของกับ สื่อสรางสรรคสําหรับเด็กปฐมวัย ประเภทของส่ือสรางสรรค การเลือกใชสื่อใหเหมาะสมกับ เด็กปฐมวัย ประโยชนของสื่อในการพัฒนาเด็กปฐมวัย การเลือกซ้ือ การออกแบบและการผลิตสื่อสรางสรรคจากวัสดุในทองถิ่นและวัสดุเหลือใช การจัดส่ือวัสดุอุปกรณของเลน การจัดและ การใหบริการศูนยสื่อในสถานศึกษาปฐมวัย การประเมินผลและการตรวจสอบคุณภาพสื่อสําหรับ

Page 15: รายละเอียดของหลูั ตรกสreg.rbru.ac.th/registrar/coursedetail/EarlyChildhoodEdu.pdf · 2012-07-31 · 1.1.2 กลุ ิชาภาษาไทยมว

มคอ. 2 มรรพ.  

=====================================================================================สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย 109 

 

เด็กปฐมวัย

1073601 การประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย 3(2-2-6)

Assessment of Early Childhood Development

ความหมาย ความสําคัญ ทฤษฏี หลักการและแนวคิดที่เก่ียวของกับการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย เทคนิคการประเมินพัฒนาการดานตาง ๆ เชน ดานรางกาย อารมณ - จิตใจ สังคมและสติปญญา การวิเคราะหพัฒนาการเด็กปฐมวัย การสรางและการใชเครื่องมือสําหรับการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย การรวมมือกับผูปกครองในการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย และการรายงานผลการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย

1074203 การจัดและพัฒนาโปรแกรมการศึกษาสําหรับเด็กปฐมวัย 3(2-2-6) Management and Development of Early Childhood Education Programs

ความหมาย ความสําคัญ ทฤษฏี หลักการ และแนวคิดที่เก่ียวของกับ การจัดและพัฒนาโปรแกรมการอบรมเด็กปฐมวัย รูปแบบการจัดโปรแกรมสําหรับเด็กปฐมวัยโปรแกรมการศึกษาเพื่อสนองตอบความตองการของเด็กที่มีความแตกตางเปนรายบุคคล ปฏิบัติการออกแบบ และการจัดโปรแกรมพัฒนาเด็กปฐมวัย

Page 16: รายละเอียดของหลูั ตรกสreg.rbru.ac.th/registrar/coursedetail/EarlyChildhoodEdu.pdf · 2012-07-31 · 1.1.2 กลุ ิชาภาษาไทยมว

มคอ. 2 มรรพ.  

=====================================================================================สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย 110 

 

1074204 การใหการศึกษาแกผูปกครองเด็กปฐมวัย 3(2-2-6) Parents Education

2 6 2 6ความหมาย ความสําคัญ ทฤษฏี หลักการ และแนวคิดที่เก่ียวของกับการใหการศึกษาแกผูปกครองเด็กปฐมวัย รูปแบบ วิธีการใหความรูแกผูปกครอง ปญหาครอบครัว ปญหาพฤติกรรมเด็ก บทบาทของครู ผูปกครอง และชุมชนในการพัฒนาเด็ก สาระความรูสําหรับผูปกครองในการพัฒนาเด็กเพ่ือประสานงานรวมมือกับองคกรในชุมชน การแนะแนวใหความรูดานการพัฒนาเด็กแกพอแมผูปกครองการจัดโครงการรวมมือระหวางบานและโรงเรียน

1074701 การบริหารและจัดการสถานศึกษาปฐมวัย 3(3-0-6) Administration and Management

of Early Childhood Education

3131ความหมาย ความสําคัญ ทฤษฏี หลักการและแนวคิดที่เก่ียวของกับการบริหารและการจัดการสถานศึกษาสําหรับเด็กปฐมวัย ประเภทของสถานศึกษาเด็กปฐมวัย บทบาทหนาที่ของผูบริหาร หลักเบื้องตนของการบริหารสถานพัฒนาเด็ก บุคลิกภาพของผูบริหาร การดําเนินการจัดตั้งสถานศึกษาสําหรับเด็กปฐมวัย การนิเทศและติดตามการปฏิบัติงานของบุคลากร การทํางานรวมกับผูปกครองและชุมชน การจัดโครงสรางขององคการ การจัดระบบงานบริหาร และการประกันคุณภาพการศึกษา  

1075903 การวิจัยการศึกษาปฐมวัย 3(2-2-6)

Research in Early Childhood Education

ความหมาย ความสําคัญ ทฤษฏี หลักการ และแนวคิดที่เก่ียวของกับการวิจัยการศึกษาปฐมวัย ประเภทของการวิจัย ทักษะกระบวนการทางวิจัยในการแสวงหาความรู จรรยาบรรณและคุณธรรมในการวิจัย การศึกษาคนควางานวิจัย วิจัยเพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัยทั้งไทยและตางประเทศ ปฏิบัติการวิจัยทางการศึกษาปฐมวัยโดยไดรับความยินยอมคําแนะนําและอยูภายใตการนิเทศของอาจารย

1075471 การสัมมนาการศึกษาปฐมวัย 3(2-2-6)

Seminar in Early Childhood Education

ความหมาย ความสําคัญ ทฤษฏี หลักการและแนวคิดที่เก่ียวของกับการสัมมนาทางการศึกษาปฐมวัย รูปแบบการสัมมนา กระบวนการจัดการสัมมนาปฏิบัติการจัดสัมมนาการศึกษาปฐมวัยรูปแบบตาง ๆ

Page 17: รายละเอียดของหลูั ตรกสreg.rbru.ac.th/registrar/coursedetail/EarlyChildhoodEdu.pdf · 2012-07-31 · 1.1.2 กลุ ิชาภาษาไทยมว

มคอ. 2 มรรพ.  

=====================================================================================สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย 111 

 

1071103

2.2 วิชาเลือก ไมนอยกวา

บุคลิกภาพและมนุษยสัมพันธสําหรับครูปฐมวัย

28 หนวยกิต

3(3-0-6)

Personality and Relationship for Early Childhood Teachers ความหมาย ความสําคัญ ทฤษฏี หลักการ และแนวคิดที่เก่ียวของกับมนุษย

และสังคมความเขาใจเก่ียวกับตนเองและผูอ่ืน บุคลิกภาพและการพัฒนาบุคลิกภาพของครูปฐมวัย การสื่อสารของครูปฐมวัยกับผูอ่ืนที่เก่ียวของกับการดําเนินชีวิต และการปฏิบัติงานของครูปฐมวัย

1071104 สุขภาพอนามัยสําหรับมารดาและเดก็ปฐมวัย 2(2-0-4) Health for Mother and Early Childhood Children ความหมาย ความสําคัญ ทฤษฏี หลักการ และแนวคิดที่เก่ียวของกับสุขภาพอนามัยของมารดาและเด็กปฐมวัย ปญหาสุขภาพของมารดาและเด็กปฐมวัย การสงเสริมสุขภาพของมารดาและเด็กปฐมวัย บทบาทของครูในการใหการแนะนํา และดูแลสุขภาพกับมารดาและเด็กปฐมวัย

1072202 สิ่งแวดลอมศึกษาสําหรับเด็กปฐมวยั 2(1-2-4) Environmental Education for Early Childhood

Children

ความหมาย ความสําคัญ ทฤษฎี หลักการและแนวคิดที่เก่ียวกับส่ิงแวดลอมในชีวิตประจําวันของเด็กปฐมวัย ประเภทของสิ่งแวดลอม ความสัมพันธระหวางสิ่งแวดลอมกับชีวิตประจําวัน การปลูกฝงจิตสํานึกในการรับผิดชอบตอส่ิงแวดลอม บทบาทของครู ผูปกครองในการสงเสริมการอนุรักษสิ่งแวดลอม การจัดประสบการณสงเสริมการอนุรักษสิ่งแวดลอม การประเมินผลการจัดประสบการณดานสิ่งแวดลอม

1072303 นาฏศิลปสําหรับเด็กปฐมวัย 2(1-2-4 ) Dramatics for Early Childhood Children ความรูเก่ียวกับนาฏศิลปเบื้องตน การจัดกิจกรรมนาฏศิลปสําหรับเด็กปฐมวัย เทคนิคการเลือกเคร่ืองแตงกาย และการจัดชุดการแสดงใหเหมาะสมกับโอกาสตาง ๆ ฝกปฏิบัติ การจัดการแสดงนาฏศิลปที่เหมาะสมกับเด็กปฐมวัย

Page 18: รายละเอียดของหลูั ตรกสreg.rbru.ac.th/registrar/coursedetail/EarlyChildhoodEdu.pdf · 2012-07-31 · 1.1.2 กลุ ิชาภาษาไทยมว

มคอ. 2 มรรพ.  

=====================================================================================สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย 112 

 

1072305 ดนตรีและเพลงสําหรับเดก็ปฐมวัย 2(1-2-4) Musical and Song for Early Childhood Children ความหมาย ความสําคัญ ทฤษฏี หลักการและแนวคิดทางดนตรีที่เก่ียวของกับเด็กปฐมวัย พัฒนาการและการรับรูทางดนตรีและเพลงของเด็กปฐมวัย สื่อ / อุปกรณและรูปแบบการจัดกิจกรรมที่ส ง เสริมสุนทรียภาพทางดนตรีและเพลงสําหรับเด็กปฐมวัย การแตงเพลงสําหรับ เด็กปฐมวัย การประเมินพัฒนาการทางดนตรีและเพลงของเด็กปฐมวัย 1072402 สุนทรียภาพทางศลิปะสําหรับครูปฐมวัย 2(1-2-4) Art Appreciation for Early Childhood Teachers

ความหมาย ความสําคัญ ทฤษฏี หลักการ และแนวคิดพ้ืนฐานที่เก่ียวของกับความรูทางศิลปะและองคประกอบทางศิลปะ หลักการจัดกิจกรรมศิลปะ เทคนิค และวิธีการนําศิลปะมาใชทั้งภายในและภายนอกหองเรียน เชนการตกแตงหองเรียน การจัดปายนิเทศ การจัดกระบะทราย งานกระดาษ การสรางสรรคงานทางศิลปะ การเลือกวัสดุอุปกรณในทองถิ่น และการนําวัสดุเหลือใชมาประยุกตใชกับงานศิลปะ บทบาทและหนาที่ของครูในการสงเสริมศิลปะเด็กปฐมวัย

1072403 วรรณกรรมสําหรับเด็กปฐมวัย 2(1-2-4) Literature for Early Childhood Children ความหมาย ความสําคัญ ประเภทของวรรณกรรมที่เหมาะสําหรับเด็ก การเลือกวรรณกรรมสําหรับเด็ก หลักการสรางและเขียนหนังสือสําหรับเด็ก ปฏิบัติการเก่ียวกับ การใชเทคนิควิธีการเลาและการวิจารณวรรณกรรมสําหรับเด็ก การสงเสริมการใชและการรักษาหนังสือและบทบาทของครูในการสงเสริมนิสัยรักการอานใหกับเด็กปฐมวัย

1073310 ทักษะการคดิสําหรับเด็กปฐมวัย 2(1-2-4) Thinking Skills for Early Childhood Children

ความหมาย ความสําคัญ ทฤษฏี หลักการ และแนวคิดที่เก่ียวของกับการคิดสําหรับเด็กปฐมวัย พัฒนาการและการทํางานของสมองชวงอายุแรกเกิด - 6 ป การศึกษาองคความรูที่เก่ียวกับสมอง ประเภทของการคิด ลักษณะการคิด กระบวนการคิดสําหรับเด็กปฐมวัย การจัดประสบการณที่สงเสริมทักษะการคิด การประเมินพัฒนาการทางคิดของเด็กปฐมวัย 1073404 หุนสําหรับเด็กปฐมวัย 2(1-2-4)

Page 19: รายละเอียดของหลูั ตรกสreg.rbru.ac.th/registrar/coursedetail/EarlyChildhoodEdu.pdf · 2012-07-31 · 1.1.2 กลุ ิชาภาษาไทยมว

มคอ. 2 มรรพ.  

=====================================================================================สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย 113 

 

Puppets for Early Childhood Children ความหมาย ความสําคัญของหุน ประวัติความเปนมาของหุน ประเภทของหุน และการสรางหุนจากวัสดุชนิดตาง ๆ การสรางโรงหุนประเภทตาง ๆ การเขียนบทเชิดหุน หลักการเชิด และการพากยหุน และการฝกปฏิบัติการเชิดหุน การแสดงละครหุน 1073405 เกมและการเลนสําหรับเด็กปฐมวัย 2(1-2-6) Game and Playing for Early Childhood Children ความหมาย ความสําคัญ ทฤษฎี หลักการ และแนวคิดที่เก่ียวของกับ การเลนของเด็กปฐมวัย เกมและการเลนสําหรับเด็กปฐมวัยประเภทตาง ๆ เชน เกมเบ็ดเตล็ด เกมวิ่งผลัด เกมพัฒนาทักษะทางกีฬา เทคนิคการจัดกิจกรรมเกมและการเลนสําหรับเด็กปฐมวัย บทบาทของครูและผูปกครองในการจัดสภาพแวดลอมและส่ือเพ่ือสงเสริมพัฒนาการดานตาง ๆ ขอควรปฏิบัติเพ่ือความปลอดภัยในการเลน ฝกปฏิบัติการสรางเกมและการเลนสําหรับเด็กปฐมวัย การประเมินผลการเลนของเด็กปฐมวัย

1073406 ภาษาอังกฤษสําหรับครูปฐมวัย 3(2-2-6) English for Early Childhood Teachers

ศึกษาคําศัพทภาษาอังกฤษ อภิธานศัพท และนิยามศัพทที่ เกี่ยวของกับการศึกษาปฐมวัย การอานบทความ ขาวสาร ตํารา เอกสารและงานวิจัยภาษาอังกฤษที่เก่ียวของกับการศึกษาปฐมวัย การแปลเพลง นิทาน และบทกลอนภาษาอังกฤษสําหรับเด็กปฐมวัย การส่ือสารดวยภาษาอังกฤษขั้นพ้ืนฐาน การใชความรูภาษาอังกฤษเปนเคร่ืองมือในการสืบคนขอมูลทางวิชาการที่เก่ียวของกับการศึกษาปฐมวัยจากแหลงการเรียนรูตาง ๆ

Page 20: รายละเอียดของหลูั ตรกสreg.rbru.ac.th/registrar/coursedetail/EarlyChildhoodEdu.pdf · 2012-07-31 · 1.1.2 กลุ ิชาภาษาไทยมว

มคอ. 2 มรรพ.  

=====================================================================================สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย 114 

 

1073503 ความคิดสรางสรรคของเด็กปฐมวัย 3(2-2-6)

Creative Thinking for Early Childhood Children ความหมาย ความสําคัญ ทฤษฏี หลักการ และแนวคิดที่เก่ียวกับความคิดสรางสรรค กระบวนการของความคิดสรางสรรค พัฒนาการทางความคิดสรางสรรคของเด็กแรกเกิดถึง 6 ป การจัดกิจกรรมสรางสรรคสําหรับเด็กปฐมวัยการพัฒนาบทบาทของพอแมและครูในการจัดกิจกรรมที่สงเสริมความคิดสรางสรรค การประเมินความคิดสรางสรรคของเด็กปฐมวัย

1074105

โภชนาการสําหรับเด็กปฐมวัย

2(1-2-4)

Nutrition for Early Childhood Children ความหมาย ความสําคัญ ทฤษฏี หลักการและแนวคิดที่เก่ียวของกับโภชนาการของเด็กปฐมวัย ปญหาทางโภชนาการของเด็กปฐมวัย บทบาทของครูในการจัดใหบริการอาหารกลางวันในโรงเรียน การเลือก การจัดและการประกอบอาหารใหมีคุณคาครบถวนสําหรับ เด็กปฐมวัย การสงเสริมภาวะโภชนาการในเด็กปฐมวัย 1074304 กิจกรรมพลศึกษาและนันทนาการสําหรับเด็กปฐมวัย 3(2-2-6)

Physical Activities and Recreations for Early Childhood Children

6 4 6 4ความหมาย ความสําคัญ ทฤษฏี หลักการ และแนวคิดที่เก่ียวของกับกิจกรรมพลศึกษาและนันทนาการสําหรับเด็กปฐมวัย พัฒนาการและความพรอมทางกาย ทักษะพ้ืนฐานเคลื่อนไหวเบื้องตน การจัดกิจกรรมพลศึกษาและนันทนาการสําหรับเด็กปฐมวัย การเลนกีฬาและกิจกรรมกลางแจง การจัดสภาพแวดลอมที่เอ้ือตอการจัดกิจกรรมพลศึกษา การประเมินพัฒนาการกิจกรรมพลศึกษาและนันทนาการสําหรับเด็กปฐมวัย

1074407 คอมพิวเตอรสําหรับครูปฐมวัย 3(2-2-6) Computer for Early Childhood Teachers

ความหมาย ความสําคัญ ทฤษฏี หลักการและแนวคิดที่เก่ียวของกับคอมพิวเตอร ความรูพ้ืนฐานทางคอมพิวเตอรที่เก่ียวของกับการจัดการเรียนการสอน การเลือกและการจัดโปรแกรมคอมพิวเตอรเพ่ือสงเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย เทคนิคการสอนคอมพิวเตอรสําหรับเด็กปฐมวัย การประยุกตโปรแกรมคอมพิวเตอรมาใชในการเรียนการสอน การประเมินทักษะการใชคอมพิวเตอรของครูปฐมวัย

Page 21: รายละเอียดของหลูั ตรกสreg.rbru.ac.th/registrar/coursedetail/EarlyChildhoodEdu.pdf · 2012-07-31 · 1.1.2 กลุ ิชาภาษาไทยมว

มคอ. 2 มรรพ.  

=====================================================================================สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย 115 

 

1074408 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 3(2-2-6) Innovation of Early Childhood Education

7 0 7 0ความหมาย ความสําคัญ ทฤษฏี หลักการ และแนวคิดที่เก่ียวของกับนวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย ประเภทและรูปแบบของนวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัยทั้งของไทยและตางประเทศ การนํานวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัยมาปรับใชในการจัดกิจกรรมสําหรับเด็กปฐมวัย 1074702

การจัดการชั้นเรียนเด็กปฐมวัย

Early Childhood Classroom Management

2(1-2-4)

ความหมาย ความสําคัญ ทฤษฏี หลักการ และแนวคิดของการจัดการ ชั้นเรียนเด็กปฐมวัย การสงเสริมความพรอมของผูปกครองและเด็กกอนเขาสูโรงเรียนเทคนิคและวิธีการในการจัดการชั้นเรียน การปรับพฤติกรรมเด็ก การสรางเสริมลักษณะนิสัยและระเบียบวินัยใหกับเด็ก ปญหาท่ีเกิดขึ้นในชั้นเรียน และแนวทางการแกปญหา บทบาทครูในการจัดการชั้นเรียนเด็กปฐมวัย

1074451 การศึกษาเอกเทศการศึกษาปฐมวัย 1 1(0-2-3)

Individual Study in Early Childhood Education 1

การศึกษาคนควาองคความรูที่เก่ียวกับการศึกษาปฐมวัยตามความสนใจของผูเรียนเปนรายบุคคล ภายใตการแนะนําของอาจารยผูสอน 1074452 การศึกษาเอกเทศการศึกษาปฐมวัย 2 1(0-2-3)

Individual Study in Early Childhood Education 2

การศึกษาคนควาองคความรูที่เก่ียวกับการศึกษาปฐมวัยตามความสนใจของผูเรียนเปนรายบุคคล ภายใตการแนะนําของอาจารยผูสอน