วิชาเพิ่มเติม · โครงการสอน กลุ...

15
โครงการสอน กลุมสาระการเรียนรู .ภาษาไทย รหัส ท 21201 รายวิชา ฝกฝนการเขียนทั่วไป รายวิชา พื้นฐาน เพิ่มเติม เลือกเพิ่มเติม วิชาเอก กิจกรรม................................................... จํานวน 1 คาบ / สัปดาห / ภาค จํานวน 0.5 หนวยกิต อาจารยผูสอน 1. อาจารยนุช พุมเพชร 2. อาจารยอัจฉรา สุเสวี 3. อาจารยณัฐ ศรสําราญ ชั้นมัธยมศึกษาปที1 ภาคเรียนที1 ปการศึกษา 255 8 คําอธิบายรายวิชา ศึกษา ศึกษาการเขียนตัวอักษรรัตนโกสินทร ตัวเลขไทย ฝกเขียนคําที่มักสะกดผิด ภาษาสํานวนโวหาร เขียนนิยายประกอบ สํานวนโวหาร เขียนบรรยายภาพโดยใชพรรณนาโวหาร และฝกการเขียนบันทึก โดยใชกระบวนการสรางความตระหนัก กระบวนการเรียนรูความเขาใจ กระบวนการเรียนภาษา และกระบวนการ ปฏิบัติ เพื่อใหผูเรีนมีความสามารถในการคิด การแกปญหา และการสื่อสาร ใฝรูใฝเรียน สามารถใชภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร ปฏิบัติหนาที่ของตนเองไดอยางดีและทํางานรวมกับผูอื่นไดอยางเปนกัลยาณมิตร ตระหนักในคุณคาของศิลปะวัฒนธรรมและภูมิ ปญญาไทย การวัดและการประเมินผลตามสภาพจริง โดยการสังเกตพฤติกรรม การใหความรวมมือการมีสวนรวมในกิจกรรมการ เรียนการสอน การทําแบบฝกหัดและแบบทดสอบ ผลการเรียนรู 1 . เพื่อใหสามารถวางทานั่ง การจับดินสอ และวิธีเขียนใหถูกตองตามลักษณะการเขียน 2. เพื่อใหสามารถเขียนตัวอักษรไทยไดอยางประณีต สะอาด เปนระเบียบ ชัดเจนทําใหผูอานเขาใจงาย 3. เพื่อใหสามารถเขียนหนังสือไทยถูกตองตามหลักเกณฑ ตัวอักษรไทย วรรคตอนและตัวสะกด 4. เพื่อใหสามารถเขียนตัวอักษรแบบรัตนโกสินทร แบบอาลักษณ และตัวเลขไทยไดอยางถูกตอง 5. เพื่อใหสามารถรูปญหาและขอบกพรองเกี่ยวกับการคัดลายมือ การคัดลอกขอความ 6. เพื่อใหสามารถมีความรูเรื่องการสะกดคํา 7. เพื่อใหสามาถใชคําพองไดอยางถูกตอง 8. เพื่อใหนักเรียนสามาถเลือกใชโวหารการเขียนไดอยางเหมาะสม 9. เพื่อใหสามารถมีความรูเรื่องการใชภาษาและเขียนสื่อสารไดอยางเหมาะสม 10. เพื่อใหสามารถทราบวิธีการเขียนบรรยายภาพดวยรอยแกวและรอยกรอง 11. เพื่อใหสามารถทราบวิธีการเขียนบันทึกประจําวัน และเขียนบันทึกประจําวันได 12. เพื่อใหสามารถเขียนบันทึกชวยจําไดถูกตอง หนวยการเรียนรู หนวยการเรียนรูที1 การคัดลอกขอความและฝกหัดคัดไทย - คัดตัวอักษรไทยแบบราชบัณฑิตยสถาน แบบรัตโกสินทร แบบอาลักษณ และตัวเลขไทย หนวยการเรียนรูที2 ใสใจการเขียน - การเขียนสะกดคําที่ใชตัวสะกดไมตรงมาตรา - การเขียนสะกดคําที่เปนคําพองรูป - การเขียนสะกดคําที่เปนคําพองเสียง - การเขียนสะกดคําที่มีตัวการันต - การเขียนสะกดคําที่ประวิสรรชนีย และ ไมประวิสรรชนีย วิชาเพิ่มเติม

Upload: others

Post on 18-Sep-2019

5 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: วิชาเพิ่มเติม · โครงการสอน กลุ มสาระการเรียนรู .ภาษาไทย รหัส ท 21201 รายวิชา

โครงการสอน กลุมสาระการเรียนรู.ภาษาไทย

รหัส ท 21201 รายวิชา ฝกฝนการเขียนท่ัวไป รายวิชา พ้ืนฐาน √ เพ่ิมเติม เลือกเพ่ิมเติม วิชาเอก กิจกรรม................................................... จํานวน 1 คาบ / สัปดาห / ภาค จํานวน 0.5 หนวยกิต อาจารยผูสอน 1. อาจารยนุช พุมเพชร 2. อาจารยอัจฉรา สุเสวี 3. อาจารยณัฐ ศรสําราญ ชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 1 ภาคเรียนท่ี 1 ปการศึกษา 255 8 คําอธิบายรายวิชา ศึกษา ศึกษาการเขียนตัวอักษรรัตนโกสินทร ตัวเลขไทย ฝกเขียนคําท่ีมักสะกดผิด ภาษาสํานวนโวหาร เขียนนิยายประกอบสํานวนโวหาร เขียนบรรยายภาพโดยใชพรรณนาโวหาร และฝกการเขียนบันทึก

โดยใชกระบวนการสรางความตระหนัก กระบวนการเรียนรูความเขาใจ กระบวนการเรียนภาษา และกระบวนการปฏิบัติ

เพ่ือใหผูเรีนมีความสามารถในการคิด การแกปญหา และการสื่อสาร ใฝรูใฝเรียน สามารถใชภาษาไทยเพ่ือการสื่อสาร ปฏิบัติหนาท่ีของตนเองไดอยางดีและทํางานรวมกับผูอ่ืนไดอยางเปนกัลยาณมิตร ตระหนักในคุณคาของศิลปะวัฒนธรรมและภูมิปญญาไทย การวัดและการประเมินผลตามสภาพจริง โดยการสังเกตพฤติกรรม การใหความรวมมือการมีสวนรวมในกิจกรรมการเรียนการสอน การทําแบบฝกหัดและแบบทดสอบ ผลการเรียนรู 1 . เพ่ือใหสามารถวางทาน่ัง การจับดินสอ และวิธีเขียนใหถูกตองตามลักษณะการเขียน 2. เพ่ือใหสามารถเขียนตัวอักษรไทยไดอยางประณีต สะอาด เปนระเบียบ ชัดเจนทําใหผูอานเขาใจงาย 3. เพ่ือใหสามารถเขียนหนังสือไทยถูกตองตามหลักเกณฑ ตัวอักษรไทย วรรคตอนและตัวสะกด 4. เพ่ือใหสามารถเขียนตัวอักษรแบบรัตนโกสินทร แบบอาลักษณ และตัวเลขไทยไดอยางถูกตอง 5. เพ่ือใหสามารถรูปญหาและขอบกพรองเก่ียวกับการคัดลายมือ การคัดลอกขอความ 6. เพ่ือใหสามารถมีความรูเรื่องการสะกดคํา 7. เพ่ือใหสามาถใชคําพองไดอยางถูกตอง 8. เพ่ือใหนักเรียนสามาถเลือกใชโวหารการเขียนไดอยางเหมาะสม 9. เพ่ือใหสามารถมีความรูเรื่องการใชภาษาและเขียนสื่อสารไดอยางเหมาะสม 10. เพ่ือใหสามารถทราบวิธีการเขียนบรรยายภาพดวยรอยแกวและรอยกรอง 11. เพ่ือใหสามารถทราบวิธีการเขียนบันทึกประจําวัน และเขียนบันทึกประจําวันได 12. เพ่ือใหสามารถเขียนบันทึกชวยจําไดถูกตอง หนวยการเรียนรู หนวยการเรียนรูท่ี 1 การคัดลอกขอความและฝกหัดคัดไทย

- คัดตัวอักษรไทยแบบราชบัณฑิตยสถาน แบบรัตโกสินทร แบบอาลักษณ และตัวเลขไทย หนวยการเรียนรูท่ี 2 ใสใจการเขียน

- การเขียนสะกดคําท่ีใชตัวสะกดไมตรงมาตรา - การเขียนสะกดคําท่ีเปนคําพองรูป - การเขียนสะกดคําท่ีเปนคําพองเสียง - การเขียนสะกดคําท่ีมีตัวการันต - การเขียนสะกดคําท่ีประวิสรรชนีย และ ไมประวิสรรชนีย

วิชาเพิ่มเติม

Page 2: วิชาเพิ่มเติม · โครงการสอน กลุ มสาระการเรียนรู .ภาษาไทย รหัส ท 21201 รายวิชา

หนวยการเรียนรูท่ี 3 เพียรเขียนบรรยาย - การเขียนแนะนําตัว - การเขียนบรรยายภาพท่ีกําหนด - การเขียนบรรยายภาพท่ีนักเรียนกําหนด

หนวยการเรียนรูท่ี 4 เสนสายบันทึก - การเขียนบันทึกชวยจํา - การเขียนบันทึกประจําวัน

กิจกรรมการเรียนการสอน

1. บรรยาย 2. ทําแบบฝกหัด 3. ใชสื่อผสม การวัดและประเมินผล

คะแนนเก็บระหวางภาค : คะแนนสอบปลายภาค เทากับ 80 : 20 ซ่ึงแบงคะแนนเปนดังนี้ คะแนนกิจกรรมระหวางเรียน 80 คะแนน คัดไทย การคัดลอกขอความ 20 คะแนน การเขียนแนะนําตัว 10 คะแนน การเขียนบันทึกชวยจํา (สมุดบันทึกชวยจํา) 10 คะแนน การทดสอบเรื่อง การเขียนสะกดคํา (ตัวสะกดไมตรงมาตรา /คําพองรูป-เสียง/ตัวการันต) 20 คะแนน การเขียนบรรยายภาพ 10 คะแนน การสงงานจากแบบฝกหัดและใบงาน 10 คะแนน

( การสงงาน /ตรงตอเวลา/ ความรับผิดชอบ/ความพยายาม /ความซื่อตรง ) คะแนนสอบปลายภาค วัน..........ท่ี...... .................................. 20 คะแนน เรื่อง............................................................

เอกสารประกอบการสอนและหนังสืออางอิง กระทรวงศึกษาธิการ. 2552.บรรทัดฐานภาษาไทบ เลม 4. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพองคการคาของ สก.สค. ฐะปะนีย นาครทรรพ. 2527.เอกสารการสอนชุดวิชาภาษาไทย 5 การอาน หนวยท่ี 6-10. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ประพนธ เรืองธนรงค , สมเกียรติ สุขรัตน และ สาวิสตรี สุขวัฒนาภรณ. 2545. ชุดปฏิรูปการเรียนหลักสูตรการศึกษา ขั้นพ้ืนฐาน. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพประสานมิตร , ราชบัณฑิตยสถาน. 2546. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542.กรุงเทพฯ : นานมีบุคสพับลิเคช่ันส. วันเนาว ยูเด็นท 2521. สนุกกับภาษาไทย.เอกสารนิเทศการศึกษา ฉบับท่ี 272. กรมการฝกหัดเครู. หมายเหตุ โครงการสอนน่ีอาจจะเปลี่ยนแปลงไดตามความเหมาะสม

Page 3: วิชาเพิ่มเติม · โครงการสอน กลุ มสาระการเรียนรู .ภาษาไทย รหัส ท 21201 รายวิชา

โครงการสอน กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย

รหัส ท22201 รายวิชาการอานงานประพันธรอยแกว รายวิชา o พ้ืนฐาน / เพ่ิมเติม o เลือกเพ่ิมเติม o วิชาเอก o กิจกรรม................................................... จํานวน 1 คาบ / สัปดาห / ภาค จํานวน 0.5 หนวยกิต อาจารยผูสอน อ.บุณฑริกา วิศวสมภพ

อ.ชนัยสุดา ทองอยู อ.อัจฉรา สุเสวี อ.ณัฐ ศรสําราญ อ.วรดร ใบพักตร

ชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 2 ภาคเรียนท่ี 1 ปการศึกษา 2558 คําอธิบายรายวิชา ศึกษาหลักการจับใจความสําคัญจากบทความ สารคดีและเรื่องสั้น การเขียนผังความคิดแสดงความเขาใจจากเรื่องท่ีอาน การอภิปรายแสดงความคิดเห็นและประเมินคุณคาจากเรื่องท่ีอาน การแสดงความคิดเห็นเชิงวิเคราะหและวิจารณเก่ียวกับงานประพันธและรูปแบบการเขียน การใชถอยคําสํานวน และวิธีการนําเสนอเรื่องอยางมีเหตุผล โดยการใชกระบวนการกลุม การบรรยาย การนําเสนอหนาหอง ทําแบบฝกหัด เพ่ือใหนักเรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห การคิดสังเคราะห และการคิดอยางสรางสรรค รวมท้ังมีการใฝรูใฝเรียน และมุงมั่นในการทํางาน ผลการเรียนรู

1. เพ่ือใหนักเรียนเห็นความสําคัญและคุณคาของการอานรอยแกว 2. เพ่ือใหนักเรียนบอกลักษณะของงานประเภทตางๆ รวมถึงเกณฑท่ีใชพิจารณางานรอยแกวแตละ ประเภทได 3. เพ่ือสงเสริมและสรางนิสัยรักการอาน 4. เพ่ือใหนักเรียนสามารถนําหลักการอานและการเลือกหนังสือไปใชในชีวิตประจําวันได

5. เพ่ือใหนักเรียนมีอุปนิสัยรักการอาน ชางคิด ชางสังเกต 6. เพ่ือใหนักเรียนสามารถใชภาษาไทยไดอยางถูกตองเหมาะสม หนวยการเรียนรูท่ี 1 : อานดีอานเปน (การอานอยางมีประสิทธิภาพ) - หลักพ้ืนฐานการอาน

- ประเภทและองคประกอบของงานประพันธ หนวยการเรียนรูท่ี 2 : เห็นแงคิดจากบทความ (การอานบทความ) - หลักการอานและพิจารณาบทความ - การอานและพิจารณาบทความ หนวยการเรียนรูท่ี 3 : ติดตามโลกจากสารคดี (การอานสารคดี) - หลักการอานและพิจารณาสารคดี - การอานและพิจารณาสารคดี

วิชาเพิ่มเติม

Page 4: วิชาเพิ่มเติม · โครงการสอน กลุ มสาระการเรียนรู .ภาษาไทย รหัส ท 21201 รายวิชา

หนวยการเรียนรูท่ี 4 : มีจินตนาการจากเรื่องสั้น (การอานเรื่องสั้น) - หลักการอานและพิจารณาเรื่องสั้น - การอานและพิจารณาเรื่องสั้น กิจกรรมการเรียนการสอน

1. บรรยาย 2. ทํากิจกรรมรายบุคคลและกิจกรรมกลุมเพ่ือฝกทักษะการอาน ฟง พูด 3. ใชสื่อการเรียนรู เชน วีดิทัศน ภาพน่ิง ผังความคิด เกม ฯลฯ

การวัดและประเมินผล คะแนนเก็บระหวางภาค : คะแนนสอบปลายภาค เทากับ 80 : 20 ซ่ึงแบงคะแนนเปนดังนี ้

คะแนนกิจกรรมระหวางเรียน 80 คะแนน 1. อานดีอานเปน (การอานอยางมีประสิทธิภาพ) 15 คะแนน - หลักพ้ืนฐานการอาน - ประเภทและองคประกอบของงานประพันธ 2. เห็นแงคิดจากบทความ (การอานบทความ) 15 คะแนน - หลักการอานและพิจารณาบทความ - การอานและพิจารณาสารคดี 3. ติดตามโลกจากสารคดี (การอานสารคดี) 20 คะแนน - หลักการอานและพิจารณาสารคดี - การอานและพิจารณาสารคดี 4. มีจินตนาการจากเรื่องสั้น (การอานเรื่องสั้น) 20 คะแนน - หลักการอานและพิจารณาเรื่องสั้น - การอานและพิจารณาเรื่องสั้น - การแสดงบทบาทสมมุติจากเรื่องสั้นของไทย คุณลักษณะท่ีพึงประสงคของนักเรียนตอการเรียน 10 คะแนน ( การสงงาน /ตรงตอเวลา/ ความรับผิดชอบ/ความพยายาม /ความซื่อตรง ) คะแนนสอบปลายภาค สอบปลายภาค 20 คะแนน - อานดีอานเปน (การอานอยางมีประสิทธิภาพ) - เห็นแงคิดจากบทความ (การอานบทความ) - ติดตามโลกจากสารคดี (การอานสารคดี) - มีจินตนาการจากเรื่องสั้น (การอานเรื่องสั้น) เอกสารประกอบการสอนและหนังสืออางอิง ขวัญดี อัตรวุฒิชัย และคณะ. 2536. เอกสารประกอบการสอนวิชาพ้ืนฐาน รายวิชา มนุษยและวรรณคดี. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร . เอกสารคัดสําเนา ธัญญา สังขพันธานนท. 2548. การเขียนสารคดีภาคปฏิบัติ. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม . บรรเทา กิตติศักดิ์. 2546. การอานคําประพันธเฉพาะเร่ือง . กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช. อิราวดี ไตลังคะ . 2543. ศาสตรและศิลปแหงการเลาเร่ือง . กรุงเทพ ฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร . * หมายเหตุ : โครงการสอนอาจเปลี่ยนแปลงไดตามความเหมาะสม

Page 5: วิชาเพิ่มเติม · โครงการสอน กลุ มสาระการเรียนรู .ภาษาไทย รหัส ท 21201 รายวิชา
Page 6: วิชาเพิ่มเติม · โครงการสอน กลุ มสาระการเรียนรู .ภาษาไทย รหัส ท 21201 รายวิชา

โครงการสอน กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย

รหัส ท ๒๓๒๐๑ รายวิชา นิทานพ้ืนบาน รายวิชา o พ้ืนฐาน P เพ่ิมเติม o เลือกเพ่ิมเติม o วิชาเอก o กิจกรรม........ จํานวน ๑ คาบ / สัปดาห / ภาค จํานวน ๐.๕ หนวยกิต อาจารยผูสอน ๑. อ.วรดร ใบพักตร ๒. อ.พรพรรณ เสริมพงษพันธ ๓. อ.ชนัยสุดา ทองอยู ๔. อ. กัญญา พานิชสกุล ชั้นมัธยมศึกษาปท่ี ๓ ภาคเรียนท่ี ๑ ปการศึกษา ๒๕๕ ๘ คําอธิบายรายวิชา

ศึกษาความหมาย ประเภทของนิทาน ความเช่ือจากนิทาน อานและวิเคราะหนิทานปรัมปรา นิทานอธิบาย นิทานเก่ียวกับความเช่ือ โดยการฟงคําบรรยายจากอาจารย ศึกษาจากแบบเรียน หนังสือ เอกสาร และสื่ออิเล็กทรอนิกส แสดงบทบาทสมมุติจากวรรณกรรมท่ีอาน คนควาดวตนเองและนําความรูท่ีไดมาอภิปรายและรายงานหนาช้ันเรียน

เพ่ือใหผูเรียนมีความใฝรูใฝเรียน มีความรูเรื่อง ความหมาย ประเภทของนิทาน ความเช่ือจากนิทาน อานและวิเคราะหนิทานปรัมปรา นิทานอธิบาย นิทานเก่ียวกับความเช่ือ มุงมั่นในการทํางาน ทํางานรวมกับผูอ่ืนไดอยางดี กลาแสดงออกและตระหนักในคุณคาของวัฒนธรรมและภูมิปญญาไทย ผลการเรียนรู ๑. นักเรียนสามารถอธิบายความหมายของนิทานพ้ืนบานและนิทานประเภทตางๆได ๒. นักเรียนสามารถวิเคราะหเน้ือหาของนิทานพ้ืนบานและนิทานประเภทตางๆได ๓. นักเรียนสามารถพิจารณาคติชน ความเช่ือของเน้ือหานิทานพ้ืนบานและนิทานประเภทตางๆได ๔. นักเรียนสามารถเลาเรื่องและตอบคําถามตามเน้ือเรื่องนิทานพ้ืนบานและนิทานประเภทตางๆได ๕. นักเรียนสามารถอธิบายประวัติความเปนมาของนิทานพ้ืนบานและนิทานประเภทตางๆได ๖. นักเรียนตระหนักและบงช้ีถึงความสําคัญของวัฒนธรรมไทยซึ่งมีนิทานพ้ืนบานเปนมรดกทางวัฒนธรรมและทางภาษาได ๗. นักเรียนสามารถเปรียบเทียบความเช่ือดานคติชนวิทยาท่ีแฝงอยูในนิทานพ้ืนบานและนิทานประเภทตางๆกับคติชนวิทยาในสังคมปจจุบันได ๘. นักเรียนมีความกลาแสดงออกโดยผานการเลาเรื่องหรือการแสดงหนาช้ันเรียนเก่ียวกับนิทานพ้ืนบาน ๙. นักเรียนมีความสามัคคีรูจักกระบวนการทํางานกลุม ๑๐. นักเรียนมีความคิดสรางสรรค ๑๑. นักเรียนสามารถบอกขอคิด คติ และความรูท่ีไดจากนิทานพ้ืนบาน และนิทานประเภทตางๆได ๑๒. นักเรียนสามารถนําความรูและขอคิดไปปรับใชในชีวิตประจําวันได

Page 7: วิชาเพิ่มเติม · โครงการสอน กลุ มสาระการเรียนรู .ภาษาไทย รหัส ท 21201 รายวิชา

หนวยการเรียนรู

๑ รูจักนิทานพ้ืนบาน ๓ นิทานอธิบายเหตุ ๑.๑ ความหมาย ๓.๑ ความหมาย ๑.๒ ประวัติ ความเปนมา ๓.๒ ประวัติความเปนมา ๓.๓ นิทานอธิบายเหตุเรื่องตางๆ ๒ นิทานปรัมปรา ๔ นิทานเกี่ยวกับความเชื่อ ๒.๑ ความหมาย ๓.๑ ความหมาย ๒.๒ ประวัติ ความเปนมา ๓.๒ ประวัติ ความเปนมา ๒.๓ นิทานปรัมปราเรื่องตางๆ ๓.๓ นิทานเก่ียวกับความเช่ือเรื่องตางๆ กิจกรรมการเรียนการสอน

๑. บรรยาย ๒. แบงกลุมแสดงละคร

๓. คนควารายงาน ๔. แตงนิทาน การวัดและประเมินผล คะแนนเก็บระหวางภาค : คะแนนสอบปลายภาค = ๘๐ : ๒๐ คะแนนกิจกรรมระหวางเรียน ๘๐ คะแนน แบบฝกหัด ๑๐ คะแนน ทํานิทานเลม ๒๐ คะแนน แสดงละคร ๒ ๐ คะแนน แตงนิทาน ๒ ๐ คะแนน คุณลักษณะอันพึงประสงค ๑๐ คะแนน คะแนนสอบปลายภาค วัน..........ท่ี...... .................................. ๒๐ คะแนน

เรื่อง ประวัติความเปนมานิทานพ้ืนบาน ความหมายและประเภทของนิทานพ้ืนบาน นิทานปรัมปรา นิทานอธิบายเหตุ นิทานเก่ียวกับความเช่ือ

เอกสารประกอบการสอนและหนังสืออางอิง โชติ ศรีสุวรรณ. นิทานพ้ืนบานไทย ๔ ภาค. สถาพรบุคส : กรุงเทพมหานคร, ๒๕๔๙. ประคอง นิมมานเหมินทร. นิทานพ้ืนบานศึกษา. โครงการตํารา และอักษรศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย : กรุงเทพมหานคร,

๒๕๔๓.

*** หมายเหตุ โครงการสอนน่ีอาจจะเปลี่ยนแปลงไดตามความเหมาะสม ***

Page 8: วิชาเพิ่มเติม · โครงการสอน กลุ มสาระการเรียนรู .ภาษาไทย รหัส ท 21201 รายวิชา

โครงการสอน

กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย

รหัส ท 31201 รายวิชา การเขียน

รายวิชา £พ้ืนฐาน Pเพ่ิมเติม £เลือกเพ่ิมเติม £วิชาเอก £กิจกรรม.................

จํานวน 2 คาบ / สัปดาห / ภาค จํานวน 1 หนวยกิต

อาจารยผูสอน อาจารยกาญจนา ถาวร

ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 4 ภาคเรียนท่ี 1 ปการศึกษา 2558

คําอธิบายรายวิชา

ศึกษา ความหมายและความสําคัญของการเขียน การเขียนรูปแบบตาง ๆ การเขียนบันทึก การเขียน

ยอความ การเลือกใชคํา ประโยค สํานวนโวหารใหเหมาะสมกับเนื้อเรื่องและโอกาส การเขียนลําดับความ

ใหผูอานไดรับสารอยางถูกตองชัดเจน การเขียนเรียงความ ตลอดจนการแตงบทรอยกรองอยางงาย ๆ

โดยการสอนแบบบรรยาย การใชเทคโนโลยีสารสนเทศ การศึกษาคนควาดวยตนเอง การเขียนสรุป

เนื้อหาจากการอานงานประพันธแบบตาง ๆ หรือการฟงขาวสาร เรื่องราวตาง ๆ อีกท้ังใหผูเรียนฝกเขียน

วิเคราะห แสดงความคิดเห็นและความรูสึกในเชิงสรางสรรค

เพ่ือใหมีความใฝรูใฝเรียนเพ่ิมพูนทักษะการเขียนในรูปแบบตาง ๆ สามารถเขียนแสดงความตองการ

ความคิดและความรูสึกไดถูกตองตามมารยาทและธรรมเนียมนิยม และมีความรับผิดชอบตอเรื่องท่ีเขียน

ผลการเรียนรู

1. เขียนหนังสือไดถูกตองตามหลักการเขียนหนังสือไทย

2. บอกหลักเกณฑและทักษะการเขียนได

3. เรียบเรียงประโยคไดสละสลวยและถูกตองตามหลักภาษา

4. สามารถถายทอดความรู ความคิด อารมณ ความรูสึกผานงานเขียนได

หนวยการเรียนรู

1. ความรูเบ้ืองตนเกี่ยวกับการเขียน

วิชาเพิ่มเติม

Page 9: วิชาเพิ่มเติม · โครงการสอน กลุ มสาระการเรียนรู .ภาษาไทย รหัส ท 21201 รายวิชา

- ความหมายและความสําคัญของการเขียน

2. การเขียนหนังสือไทยใหถูกแบบแผน

- การคัดลายมือและตัวอักษรแบบรัตนโกสินทร

- ตัวอักษรแบบอาลักษณ

3. การเขียนบันทึก

- การเขียนบันทึกเหตุการณท่ีนาสนใจ

- การเขียนบันทึกจากการอานหรือการฟง

- การเขียนบันทึกรายงานประชุม

4. การใชคําและประโยค

4.1 การใชคํา

- การสะกดการันต

- การใชคําใหตรงตามความหมาย

- การใชถอยคําใหเหมาะสมกับกาลเทศะและบุคคล

4.2 การใชประโยค

- ขอบกพรองในการใชประโยค

- การใชสํานวนภาษาตางประเทศ

- การใชภาษาฟุมเฟอย

- การใชคําหรือขอความท่ีกํากวม

- การเรียงลําดับคําในประโยค ประโยคท่ีไมสมบูรณ

5. การยอความ

- ความหมายและหลักเกณฑการยอความ

- รูปแบบของการยอความ

6. การใชโวหารตาง ๆ ในการเขียนเรียงความ

- บรรยายโวหาร

- พรรณนาโวหาร

- เทศนาโวหาร

- สาธกโวหาร

7. การเขียนเรียงความ การเขียนคํานํา และบทสรุป

Page 10: วิชาเพิ่มเติม · โครงการสอน กลุ มสาระการเรียนรู .ภาษาไทย รหัส ท 21201 รายวิชา

- ความรูเก่ียวกับการเขียนเรียงความ

- การเขียนบทนํา และบทสรุป

8. การเขียนบทรอยกรอง

- กลอน

- กาพย

- โคลง

- ฉันท

กิจกรรมการเรียนการสอน

1. ครูอธิบาย

2. นักเรียนคนควา

3. นักเรียนฝกเขียน

4. นําเสนอหนาหอง

การวัดและประเมินผล

คะแนนเก็บระหวางภาค : คะแนนสอบปลายภาค เทากับ 80 : 20 ซ่ึงแบงคะแนนเปนดังนี้

ทดสอบยอยครั้งท่ี 1 วัน................ท่ี.........มิถุนายน ..................คะแนน

เรื่อง......................................

สอบกลางภาค วัน................ท่ี........ .กรกฎาคม ..................คะแนน

เรื่อง......................................

ทดสอยอยครั้งท่ี 2 วัน................ท่ี.........สิงหาคม ..................คะแนน

เรื่อง......................................

คะแนนกิจกรรมระหวางเรียน 70 คะแนน

- การเขียนบันทึกประจําวัน 20 คะแนน

(การเขียนหนังสือไทย , การสะกดคํา)

- การเลือกใชคําและประโยค 10 คะแนน

- การเขียนเรียงความ 10 คะแนน

- การเขียนยอความ 10 คะแนน

Page 11: วิชาเพิ่มเติม · โครงการสอน กลุ มสาระการเรียนรู .ภาษาไทย รหัส ท 21201 รายวิชา

- การเขียนบทรอยกรองและการใชโวหาร 20 คะแนน

คุณลักษณะท่ีพึงประสงคของนักเรียนตอการเรียน 10 คะแนน

(ความรับผิดชอบ , ความตรงตอเวลา , การใฝรูใฝเรียน)

คะแนนสอบปลายภาค วัน................ท่ี.........กันยายน 20 คะแนน

เรื่อง หนวยการเรียนรูท่ี 1 – 8

เอกสารประกอบการสอนและหนังสืออางอิง

1. กระทรวงศึกษาธิการ. กรมวิชาการ. 2537. การพูดและการเขียนเชิงสรางสรรค. โรงพิมพคุรุสภา.

2. . กรมวิชาการ. 2542. วรรณสารวิจักษเลม 3 – 4. โรงพิมพคุรุสภา.

3. กําชัย ทองหลอ. 2509. หลักภาษาไทย. รวมสาสน.

4. บรรเทา กิตติศัพท. 2537. การเขียน 1. ไทยวัฒนาพานิช จํากัด.

5. วลัยรัตน อติแพทย. 2524. การเขียน 1. โรงพิมพคุรุสภา.

6. วิมล จิโรจพันธุและคณะ. 2538. ภาษาไทย 2. บรรณกิจเทรดดิ้ง.

7. ศรีจันทร พันธุพานิช. 2539. การเขียน. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร.

8. สุธีวงศ พงษไพบูลย และอุดม หนูทอง. 2537. การเขียน 1. ไทยวัฒนาพานิช จํากัด.

Page 12: วิชาเพิ่มเติม · โครงการสอน กลุ มสาระการเรียนรู .ภาษาไทย รหัส ท 21201 รายวิชา

1

โครงการสอน

กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย

รหัส ท 32201 รายวิชา วรรณกรรมปจจุบัน

รายวิชา £ พ้ืนฐาน Pเพ่ิมเติม £เลือกเพ่ิมเติม £วิชาเอก £กิจกรรม.................

จํานวน 2 คาบ / สัปดาห / ภาค จํานวน 1 หนวยกิต

อาจารยผูสอน 1. ผูชวยศาสตราจารยศรีจันทร พันธุพานิช

2. อาจารยดวงเดือน พัฒนวิริยะวาณิช

ชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 5 ภาคเรียนท่ี 1 ปการศึกษา 2558

ศึกษาการอานคําประพันธประเภทชีวประวัติ บทความ บทละครพูด เรื่องสั้น นวนิยาย บทรอยกรองขนาดสั้น

พิจารณาการใชคํา ขอความ สํานวน โวหาร ประเด็นสําคัญของเรื่อง แยกเน้ือหาท่ีแสดงอารมณ แสดงขอเท็จจริงและความ

คิดเห็น เพ่ือใหเขาใจสารของผูแตง เกิดจินตนาการเขาใจความไพเราะและความงามของวรรณกรรม

โดยการฟงคําบรรยายจากอาจารย หรือวิทยากร ศึกษาจากแบบเรียน เอกสาร คูมือ สื่อสารมวลชนรูปแบบตาง ๆ

สื่ออินเทอรเนต การสาธิต ทัศนศึกษา การเขารับอบรม การเขาคายวิชาการ และศึกษาคนควาดวยตนเองจาก เวบไซต

ตาง ๆ ท่ีเก่ียวของ

เพ่ือใหผูเรียนมีสมรรถนะดานการคิด การสื่อสาร การพูดและใชเทคโนโลยีแกปญหาตางๆ นํามาใชกับทักษะชีวิต

และเปนนักเรียนท่ีมีลักษระอันพึงประสงคคือ รักชาติ ศาสตร กษัตริย ซื่อสัตยท้ังตอตนเองและผูอ่ืนอีกท้ังยังเปนผูท่ีมีวินัย ใฝ

เรียนรู อยูอยางพอเพียง มุงมั่นการทํางาน รักความเปนไทยและมีจิตสาธารณะ

ผลการเรียนรูท่ีคาดหวัง

1. นักเรียนสามารถอานวรรณกรรมประเภทนวนิยาย เรื่องสั้น และกวีนิพนธในเชิงวิจักษได

2. นักเรียนนําความรู แนวคิด คานิยม ทรรศนะอันเปนประโยชน และแนวทางในการดําเนินชีวิตจากวรรณกรรม

มาประยุกตใชได

3. นักเรียนมีนิสัยรักการอานและสามารถเลือกอานหนังสือท่ีเปนประโยชนตอตนเองได

หนวยการเรียนรู

หนวยการเรียนรูท่ี 1 วรรณกรรมปจจุบัน (3 ช่ัวโมง)

- ความหมาย ความสําคัญของวรรณกรรมปจจุบัน

- ประเภทของวรรณกรรม

- วิวัฒนาการของวรรณกรรม

- วรรณกรรมกับรางวัล

วิชาเพิ่มเติม

Page 13: วิชาเพิ่มเติม · โครงการสอน กลุ มสาระการเรียนรู .ภาษาไทย รหัส ท 21201 รายวิชา

2

หนวยการเรียนรูท่ี 2 เร่ืองสั้น (8 ช่ัวโมง)

- ลักษณะของเรื่องสั้น

- องคประกอบของเรื่องสั้น

- การอานและพิจารณาเรื่องสั้น

หนวยการเรียนรูท่ี 3 นวนิยาย (6 ช่ัวโมง)

- ลักษณะของนวนิยาย

- องคประกอบของนวนิยาย

- การอานและพิจารณานวนิยาย

หนวยการเรียนรูท่ี 4 กวีนิพนธ (5 ช่ัวโมง)

- ประเภทของรอยกรองไทย

- ลักษณะของรอยกรองไทยแตละประเภท

- คุณคาของบทรอยกรอง

- การพิจารณาคุณคาของบทรอยกรอง

หนวยการเรียนรูท่ี 5 บทความ (5 ช่ัวโมง)

- ลักษณะของบทความ

- ประเภทของบทความ

- การอานและพิจารณาบทความ

- คุณคาและประโยชนของบทความ

การวัดและการประเมินผล

คะแนนเก็บระหวางป : การสอบกลางปและปลายภาค = 80 : 20

วรรณกรรมปจจุบัน 15 คะแนน

เรื่องสั้น 15 คะแนน

นวนิยาย 15 คะแนน

กวีนิพนธ 15 คะแนน

บทความ 10 คะแนน

จิตพิสัย 10 คะแนน

สอบปลายภาค 20 คะแนน

หนังสืออางอิงและเอกสารประกอบการสอน

เปลื้อง ณ นคร. ศิลปะแหงการประพันธ. พิมพครั้งท่ี 3, กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพขาวฟาง, 2551.

ยุพร แสงทักษิณ. วรรณกรรมปจจุบัน. พิมพครั้งท่ี 11, กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว, 2544.

รื่นฤทัย สัจจพันธุ. วรรณกรรมปจจุบัน. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพมหาวิทยาลัยรามคําแหง, 2552.

สัจภูมิ ละออ. ซีไรตไดอาร่ี : S.E.A. Write diary. กรุงเทพมหานคร : สุขภาพใจ, 2551.

หมายเหตุ โครงการสอนน้ีอาจเปลี่ยนแปลงไดตามความเหมาะสม

Page 14: วิชาเพิ่มเติม · โครงการสอน กลุ มสาระการเรียนรู .ภาษาไทย รหัส ท 21201 รายวิชา

1

โครงการสอน กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย

รหัส ท33206 รายวิชา ประวัติวรรณคดี 1 รายวิชา o พ้ืนฐาน üเพ่ิมเติม o เลือกเพ่ิมเติม o วิชาเอก o กิจกรรม................................................... จํานวน 2 คาบ / สัปดาห / ภาค จํานวน 1.0 หนวยกิต อาจารยผูสอน อ.ดวงเดือน พัฒนวิริยะวาณิช ชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี 1 ปการศึกษา 2558 คําอธิบายรายวิชา

ศึกษาการชําระหนังสือวรรณคดี ความเปนมาของวรรณคดีสมัยสุโขทัย อยุธยา ธนบุรี และรัตนโกสินทร (ร.1 – ร.2) ประวัติกวี และเน้ือหาโดยสังเขป รวมท้ังศึกษาคานิยม ลักษณะชีวิตของคนในสมัยน้ัน ความเปลี่ยนแปลงทางภาษาท่ีปรากฏอยูในวรรณคดี การถายทอดวัฒนธรรมและวรรณกรรมจากตางประเทศ การเปรียบเทียบวรรณคดีท่ีตางสมัยกัน โดยใชกระบวนการสรางความตระหนัก กระบวนการเรียนรูความเขาใจ กระบวนการเรียนภาษา และกระบวนการปฏิบัติ

เพ่ือใหผูเรียนมีความสามารถในการคิดและการแกปญหา ใฝรูใฝเรียน สามารถปฏิบัติหนาท่ีของตนไดอยางดี รวมท้ังตระหนักในคุณคาของศิลปะวัฒนธรรมและภูมิปญญาไทย ผลการเรียนรู

1. เพ่ือใหนักเรียนทราบท่ีมาของวรรณคดี ประวัติและผลงานของกวี

2. เพ่ือใหนักเรียนสังเกตความสัมพันธระหวางวรรณคดีกับวัฒนธรรม และเหตุการณบานเมือง ตลอดจนสภาพชีวิตท่ี

แฝงอยูในวรรณคด ี

3. เพ่ือใหนักเรียนสังเกตความเปลี่ยนแปลงทางภาษาท่ีปรากฏอยูในวรรณคดี รวมท้ังการถายทอดวัฒนธรรมและ

วรรณกรรมจากตางประเทศ

4. เพ่ือใหนักเรียนเปรียบเทียบวรรณคดีท่ีตางสมัยกัน

หนวยการเรียนรู

1. การศึกษาวรรณคดีและการชําระหนังสือ 2. วรรณคดีสมัยสุโขทัย 3. วรรณคดีสมัยอยุธยา

3.1 สมัยอยุธยาตอนตน 3.2 สมัยอยุธยาตอนกลาง 3.3 สมัยอยุธยาตอนปลาย

4. วรรณคดีสมัยธนบุร ี5. วรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร

5.1 สมัยรัชกาลท่ี 1 5.2 สมัยรัชกาลท่ี 2

Page 15: วิชาเพิ่มเติม · โครงการสอน กลุ มสาระการเรียนรู .ภาษาไทย รหัส ท 21201 รายวิชา

2

กิจกรรมการเรียนการสอน

การบรรยาย การทํางานกลุม

การวัดและประเมินผล

คะแนนเก็บระหวางภาค : คะแนนสอบปลายภาค = 80 : 20 ซึ่งแบงคะแนนเปนดังน้ี คะแนนกิจกรรมระหวางเรียน 70 คะแนน (การจดบันทึกความรูท่ีไดจากการฟงการบรรยายลงในใบงานท่ีกําหนดให , การทํางานกลุม) คุณลักษณะท่ีพึงประสงคของนักเรียนตอการเรียน 10 คะแนน (การเขาเรียนอยางสม่ําเสมอ การสงงานตรงเวลาและครบตามท่ีกําหนด) คะแนนสอบปลายภาค เดือนกันยายน 255 8 20 คะแนน เรื่องวรรณคดีสมัยสุโขทัย อยุธยา ธนบุรี และสมัยรัชกาลท่ี 1 ถึงรัชกาลท่ี 2 หนังสืออางอิง

เปลื้อง ณ นคร และปราณี บุญชุม. (๒๕๓๓). ประวัติวรรณคดี ๑. กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทัศน.