แนวทางการขับเคลื่อน เป...

196
Ensure health lives and promote well-being for all at all age GOOD HEALTH AND WELL-BEING 3 แนวทางการขับเคลื่อน กองยุทธศาสตรและแผนงาน สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข เปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน

Upload: others

Post on 11-Jul-2020

5 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

Ensure health

lives and promote

well-being for all at all age

GOOD HEALTH AND WELL-BEING3

แนวทางการขับเคลื่อน

กองยุทธศาสตรและแผนงาน สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

เปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน

Page 2: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

แผนที่นําทางขับเคล่ือนการพัฒนาที่ยั่งยนื เปาหมายที่ 3

คํานํา

เปาหมายการพัฒนาท่ียั่งยืน (SDGs) คือ ภาพฝนของโลกท่ีคนในโลกอยากเห็น เปนโลกท่ีปราศจากความยากจนทุกรูปแบบในทุกพ้ืนท่ี โลกท่ีไมมีคนหิวโหยและมีระบบการเกษตรกรรมและการผลิตอาหารท่ียั่งยืน โลกท่ีคนมีหลักประกันวาจะมีสุขภาพดีในทุกชวงวัย โลกท่ีคนไดรับการศึกษาอยางมีคุณภาพ ครอบคลุม เทาเทียม และมีโอกาสเรียนรูตลอดชีวิต โลกท่ีมีความเทาเทียมกันระหวางเพศ โลกท่ีทุกคนเขาถึงน้ําดื่มน้ําใชท่ีสะอาดและปลอดภัยและมีระบบการขับถายท่ีถูกสุขอนามัย โลกท่ีทุกคนเขาถึงพลังงานสมัยใหมท่ียั่งยืนในราคาท่ีเปนธรรม โลกท่ีการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจท่ีตอเนื่อง ครอบคลุมและยั่งยืน มีการจางงานเต็มท่ี มีงานท่ีเหมาะสมกับทุกคน มีโครงสรางพ้ืนฐานและการคมนาคมท่ีทนทานท่ัวถึง มีอุตสาหกรรมท่ีครอบคลุมและยั่งยืน มีการพัฒนานวัตกรรมใหมๆ อยางตอเนื่อง โลกท่ีความไมเสมอภาคในดานตางๆ ลดลงอยางตอเนื่องท้ังในระดับภายในประเทศและระหวางประเทศ โลกท่ีคนทุกคนไดอยูอาศัยในเมืองหรือชุมชนท่ีปลอดภัย ยั่งยืน และมีภูมิตานทานตอภัยพิบัติโลกท่ีรูปแบบการผลิตและบริโภคท่ีเปนมิตรตอสิ่งแวดลอมและใชทรัพยากรอยางมีประสิทธิภาพ โลกท่ีทุกคนรวมมือกันตอสูและตั้งรับปรับตัวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลกท่ีอนุรักษและใชประโยชนอยางยั่งยืนจากมหาสมุทรและระบบนิเวศบนบก โลกท่ีมีสันติภาพมีสถาบันท่ีเขมแข็งในทุกระดับ และผูคนเขาถึงความยุติธรรม ได โลกท่ีทุกภาคสวนและทุกประเทศในโลกชวยเหลือเก้ือกูลกันเพ่ือบรรลุภาพฝนนี ้

รวมไปถึงประเทศไทยท่ีกําลังเรงขับเคลื่อนทุกภาคสวนเพ่ือบรรลุเปาหมายการพัฒนาท่ียั่งยืนท้ัง 17 เปาหมายในอีก 15 ปขางหนา กระทรวงสาธารณสุขผูรับผิดชอบหลักในเปาหมายท่ี 3 สรางหลักประกัน วาคนมีชีวิตท่ีมีสุขภาพดีและสงเสริมสุขภาพสําหรับทุกคนในทุกวัย ไดจัดทํา Roadmap เปาหมายท่ี 3 ใหสอดคลองกับยุทธศาสตรชาติระยะ 20 ป (ดานสาธารณสุข) ในการกําหนดทิศทางการปฏิบัติงานของกระทรวงสาธารณสุข สวนราชการ หนวยงานในสังกัด รวมถึงภาคประชาสังคม ภาคประชาชน และภาคเอกชน ท่ีมีสวนเก่ียวของ รวมกันขับเคลื่อนประเทศไทยใหบรรลุเปาหมายการพัฒนาท่ียั่งยืน

กระทรวงสาธารณสุขหวังเปนอยางยิ่งวา Roadmap เปาหมายท่ี 3 จะเปนแนวทางการดําเนินงาน ในการนําประเทศไทยใหบรรลุเปาหมาย และ Roadmap นี้ จะไมสามารถดําเนินการไดเลยหากไมไดรับความรวมมือจากหนวยงานท่ีเก่ียวของ รวมไปถึงภาคประชาชน ภาคประชาสังคม และภาคเอกชน จึงขอขอบคุณมา ณ ท่ีนี้

กระทรวงสาธารณสุข

Page 3: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

แผนที่นําทางขับเคล่ือนการพัฒนาที่ยั่งยนื เปาหมายที่ 3

สารบัญ

เรื่อง หนา

คํานํา ก สารบัญ ข สารบัญตาราง ง เปาหมายการพัฒนาแหงสหัสวรรษ Millennium Development Goals (MDGs) 1 เปาหมายการพัฒนาท่ียั่งยืน เปาหมายท่ี 3 (SDGs) 6 แผนยุทธศาสตรชาติดานสาธารณสุขระยะ 20 ป 22 ความเชื่อมโยงแผนยุทธศาสตรชาติระยะ 20 ป (ดานสาธารณสุข) กับ แผนท่ีนําทางขับเคลื่อนเปาหมายการพัฒนาท่ียั่งยืน เปาหมายท่ี 3

26

การดําเนินการขับเคลื่อนของกระทรวงสาธารณสุขเพ่ือบรรลุเปาหมายการพัฒนาท่ียั่งยืน (SDGs) 31 แผนการดําเนินงานรายตัวช้ีวัด เปาประสงคท่ี 3.1 ตัวชี้วัด 3.1.1 อัตราการตายของมารดาตอการเกิดมีชีพ 100,000 คน 34 ตัวชี้วัด 3.1.2 สัดสวนของการคลอดบุตรท่ีดูแลโดยบุคคลากรดานสาธารณสุขท่ีมีความชํานาญ 34 เปาประสงคท่ี 3.2 ตัวชี้วัด 3.2.1 อัตราการตายของทารกอายุต่ํากวา 5 ป (อัตราการตายตอการเกิด 1,000 คน) 37 ตัวชี้วัด 3.2.2 อัตราตายของทารกแรกเกิด (การตายตอการเกิด 1,000 คน) 41 เปาประสงคท่ี 3.3 ตัวชี้วัด 3.3.1 จํานวนผูติดเชื้อ HIV รายใหมตอประชากรท่ีไมมีการติดเชื้อ 1,000 คน (จําแนกตาม เพศ อายุ และประชากรหลัก)

45

ตัวชี้วัด 3.3.2 อัตราการเกิดโรควัณโรคตอประชากร 1,000 คน 50 ตัวชี้วัด 3.3.3 อัตราการเกิดโรคมาลาเรียตอประชากร 1,000 คน ตอป 58 ตัวชี้วัด 3.3.4 จํานวนของผูติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบี ตอประชากร 100,000 คน 62 ตัวชี้วัด 3.3.5 จํานวนผูท่ีรองขอความชวยเหลือตอการปองกันโรคเขตรอนท่ีถูกละเลย (Neglected tropical diseases)

68

เปาประสงคท่ี 3.4 ตัวชี้วัด 3.4.1 อัตราการตายของผูท่ีเปนโรคหัวใจและหลอดเลือด โรคมะเร็ง โรคเบาหวาน หรือโรค ระบบทางเดนิหายใจ

72

ตัวชี้วัด 3.4.2 อัตราการฆาตัวตาย 82 เปาประสงคท่ี 3.5 ตัวชี้วัด 3.5.1 ความครอบคลุมของการรักษา (การรักษาโดยใชยา ทางจิตวิทยาและการฟนฟูสมรรถภาพ และบริการการติดตามผลการรักษา) สําหรับผูท่ีใชสารเสพติด

89

ตัวชี้วัด 3.5.2 การดื่มแอลกอฮอลในระดับอันตราย นิยามตามบริบทของประเทศ คิดเปนปริมาณ แอลกอฮอลตอผูบริโภค (อายุตั้งแต 15 ปข้ึนไป) ในจํานวนลิตรของแอลกอฮอลบริสุทธิ์ ภายในปปฏิทิน

96

Page 4: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

แผนที่นําทางขับเคล่ือนการพัฒนาที่ยั่งยนื เปาหมายที่ 3

เรื่อง หนา

เปาประสงคท่ี 3.6 ตัวชี้วัด 3.6.1 อัตราผูเสียชีวิตจากการบาดเจ็บจากอุบัติเหตุทางถนน (จํานวนผูเสียชีวิตจากการบาดเจ็บ จากอุบัติเหตุทางถนน ภายในชวงระยะเวลา 30 วัน ตอประชากร 100,000 คน (อายุ มาตรฐาน))

98

เปาประสงคท่ี 3.7 ตัวชี้วัด 3.7.1 รอยละของหญิงวัยเจริญพันธุอาย(ุ15-49 ป) ท่ีพึงพอใจกับการวางแผนครอบครัวดวยวิธ ี สมัยใหม

103

ตัวชี้วัด 3.7.2 อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ (10-14 ป, 15-19 ป) ตอผูหญิงอายุ (10-14 ป 15-19 ป) 1,000 คน

108

เปาประสงคท่ี 3.8 ตัวชี้วัด 3.8.1 อัตราความครอบคลุมของบริการดานสุขภาพท่ีจําเปน (นิยามความครอบคลุมของบริการท่ี จําเปนเฉลี่ยโดยยึดการติดตามการรักษา ซ่ึงประกอบดวย การเจริญพันธุ มารดา เด็กเกิด ใหมและสุขภาพเด็ก โรคติดตอ โรคไมติดตอ และความสามารถในการเขาถึงบริการ ระหวางคนท่ัวไปและผูดอยโอกาส (ความท่ัวถึงของการติดตามการรักษา (เชน การฉีด วัคซีนแบบเต็มรูปแบบในเด็ก, การรักษาดวยยาตานไวรัส การรักษาวัณโรค การรักษา ความดันโลหิตสูง, การดูแลการคลอดโดยผูชํานาญ))

113

ตัวชี้วัด 3.8.2 จํานวนประชากรท่ีไดรับการคุมครองจากประกันภัยหรือระบบสาธารณสุขตอประชากร 1,000 คน

113

เปาประสงคท่ี 3.9 ตัวชี้วัด 3.9.1 อัตราการตายท่ีเกิดจากมลพิษทางอากาศในบานเรือนและในบรรยากาศ 119 ตัวชี้วัด 3.9.2 อัตราการตายท่ีเกิดจากน้ํา สุขอนามัย ท่ีไมปลอดภัย และปราศจากสุขลักษณะ (การ เปดเผยบริการชะลางท่ีไมปลอดภัย) (อัตราการตายเนื่องจากสารเคมีอันตราย มลภาวะใน น้ํา ในดิน และการปนเปอน)

136

ตัวชี้วัด 3.9.3 อัตราการตายท่ีเกิดจากการไดรับสารพิษโดยไมตั้งใจ 147 เปาประสงคท่ี 3.a ตัวชี้วัด 3.a.1 ความชุกของการปรับมาตรฐานอายุของผูท่ีสูบบุหรี่ในปจจุบันในจํานวนผูสูบบุหรี่ท่ีมีอายุ ตั้งแต 15 ปข้ึนไป

152

เปาประสงคท่ี 3.b ตัวชี้วัด 3.b.1 สัดสวนของประชากรท่ีเขาถึงยา และวัคซีน ในราคาท่ีสามารถหาซ้ือไดท่ีตั้งอยูบนหลัก ความยั่งยืน

165

ตัวชี้วัด 3.b.2 เงินชวยเหลือเพ่ือการพัฒนาอยางเปนทางการสุทธิรวม (Total net official development assistance-ODA) ตอการวิจัยทางการแพทย และดานสุขภาพข้ันพ้ืนฐาน

165

เปาประสงคท่ี 3.c ตัวชี้วัด 3.c.1 ความหนาแนนและการกระจายตัวของบุคลากรดานสาธารณสุข 177 เปาประสงคท่ี 3.d ตัวชี้วัด 3.d.1 ปริมาณของกฎอนามัยระหวางประเทศ (International Health Regulations : IHR) และการเตรียมความพรอมฉุกเฉินดานสุขภาพ

181

Page 5: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

แผนที่นําทางขับเคล่ือนการพัฒนาที่ยั่งยนื เปาหมายที่ 3

สารบัญตาราง

ตาราง หนา

ตารางท่ี 1 สรุปผลการพัฒนาตามเปาหมายการพัฒนาแหงสหัสวรรษ 1 ตารางท่ี 2 สถานการณของประเทศไทยในเปาหมายท่ี 3 จากขอมูลของ SEARO 12 ตารางท่ี 3 รายงานสถานการณประเทศไทยยอนหลัง 3 ป 16 ตารางท่ี 4 ตารางสรุปภาพรวมงบประมาณ 32

Page 6: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

SDG Goal 3 Targets 13 ขอ Indicators 26 ขอ ประเทศไทยป 2573

10 : Basic Need 10 : Well Being 6: Sustainable Development

(2560) (2561 - 2564) (2565 - 2573)

Service

Excellence

3.2 ยุติการตายที่ปองกันไดของทารกแรกเกิดและ

เด็กอายุต่ำกวา 5 ป

3.2.1 อัตราการตายของทารกอายุต่ำกวา 5 ป

= 12.3 ตอการเกิดพันคน (เกณฑ 25 ตอการเกิดพันคน)

3.2.2 อัตราตายของทารกแรกเกิด = 6.7 ตอการเกิด

พันคน (เกณฑ 12 ตอการเกิดพันคน)

3.4 ลดการตายกอนวัยอันควรจากโรคไมติดตอ

3.4.1 อัตราตายของผูท่ีเปนโรคหัวใจและหลอดเลือด

โรคมะเร็ง โรคเบาหวาน หรือโรคระบบทางเดิน หายใจ

= 16.24 ตอประชากรแสนคน (เกณฑลดลง 1 ใน 3)

3.4.2 อัตราการฆาตัวตาย = 15.99 ตอประชากร

แสนคน (เกณฑลดลง 1 ใน 3)

Governance

Excellence

3.8 บรรลุการมีหลักประกันสุขภาพถวนหนา

3.8.1 อัตราความครอบคลุมของบริการดานสุขภาพ

ที่จำเปน = รอยละ 99.87

3.8.2 จำนวนประชากรที่ไดรับการคุมครองจาก

ประกันภัยหรือระบบสาธารณสุขตอประชากร

1,000 คน = ไมมีขอมูล

3.b สนับสนุนการวิจัยและการพัฒนาวัคซีนและยา

สำหรับโรคติดตอและไมติดตอ

3.b.1 สัดสวนของประชากรที่เขาถึงยา และวัคซีน

ในราคาที่สามารถหาซื้อไดที่ตั้งอยูบนหลักความยั่งยืน

= ไมมีขอมูล

3.b.2 เงินชวยเหลือเพื่อการพัฒนาอยางเปนทางการ

สุทธิรวม (Total net official development

assistance-ODA) ตอการวิจัยทางการแพทย

และดานสุขภาพขั้นพื้นฐาน = 26.79 USD

(Million)

People

Excellence

3.c กำลังคนดานสุขภาพในประเทศ

3.c.1 ความหนาแนนและการกระจายตัวของบุคลากร

ดานสาธารณสุข = 2.47 ตอประชากรพันคน

แผน SDG

งบประมาณ 310,743 ลานบาท งบประมาณ 1,567,824 ลานบาท งบประมาณ 1,928,413 ลานบาท

P&P

Excellence

3.1 ลดอัตราการตายของมารดา

3.1.1 อัตราการตายของมารดา = 20 ตอการเกิดมีชีพ

แสนคน (เกณฑ 70 ตอการเกิดมีชีพแสนคน)

3.1.2 สัดสวนของการคลอดบุตรที่ดูแลโดยบุคลากร

ดาน สาธารณสุขที่มีความชำนาญ = รอยละ 99.6

3.3 ยุติการแพรกระจายของเอดส วัณโรค มาลาเรีย

3.3.5 จำนวนผูที่รองขอความชวยเหลือตอการ

ปองกันโรคเขตรอนที่ถูกละเลย (Neglected tropical

diseases) = 145,141 (เกณฑยุติการระบาด)

3.7 การเขาถึงบริการขอมูลการใหการศึกษาเกี่ยวกับ

อนามัยเจริญพันธุ

3.7.1 รอยละของหญิงเจริญพันธุอายุ (15-49 ป)

ที่พึงพอใจกับการวางแผนครอบครัวดวยวิธีสมัยใหม

= 89.2

3.9 ลดจำนวนการตายและการเจ็บปวยจากสารเคมี

อันตรายและจากมลพิษ

3.9.2 อัตราการตายที่เกิดจากน้ำสุขอนามัยที่ไม

ปลอดภัยและปราศจากสุขลักษณะ = 1.87

ตอประชากรแสนคน (เกณฑลดจำนวนการตาย

และการปวย)

3.d เสริมขีดความสามารถสำหรับทุกประเทศ

3.d.1 ปริมาณของกฎอนามัยระหวางประเทศ

(International Health Regulations : IHR)

และการเตรียมความพรอมฉุกเฉินดานสุขภาพ

= 97.8

3.3.1 จำนวนผูติดเชื้อ HIV รายใหม (จำแนกตามเพศ

ญ/ช) = 0.06,0.16 ตอประชากรที่ไมมีการติดเชื้อ

พันคน (เกณฑยุติการระบาด)

3.3.2 ตัวชี้วัดอัตราการเกิดโรควัณโรค

= 172 ตอประชากรพันคน (เกณฑยุติการระบาด)

3.3.3 อัตราการเกิดโรคมาลาเรีย = 2.65 ตอประชากร

พันคน (เกณฑยุติการระบาด)

3.5 การปองกันและการรักษาการใชสารในทางที่ผิด

3.5.2 การดื่มแอลกอฮอลในระดับอันตราย (อายุตั้งแต

15 ปขึ้นไป) = 7.2 ตอจำนวนลิตรของแอลกอฮอล

บริสุทธิ์ภายในปปฏิทิน

3.6 ลดจำนวนการตายและบาดเจ็บทางถนน

3.6.1 อัตราผูเสียชีวิตจากการบาดเจ็บทางถนน = 36.2

ตอประชากร 100,000 คน (เกณฑลดลงครึ่งหนึ่งของ

จำนวนผูเสียชีวิต)

3.a วาดวยการควบคุมยาสูบในทุกประเทศตามความ

เหมาะสม

3.a.1 ความชุกของการปรับมาตรฐานอายุของผูที่

สูบบุหรี่ในปจจุบันในจำนวนผูสูบบุหรี่ที่มีอายุตั้งแต 15

ปขึ้นไป = รอยละ 21.5

3.3 ยุติการแพรกระจายของเอดส วัณโรค มาลาเรีย

3.3.4 อัตราผูติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบี = 10.16

ตอประชากรแสนคน (เกณฑยุติการระบาด)

3.5 การปองกันและการรักษาการใชสารในทางที่ผิด

3.5.1 ความครอบคลุมของการรักษาสำหรับผูท่ีใช

สารเสพติด = ไมมีขอมูล

3.7 การเขาถึงบริการขอมูลการใหการศึกษาเกี่ยวกับ

อนามัยเจริญพันธุ

3.7.2 อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ 10 - 19 ป

= 60 ตอผูหญิงอายุ 10 - 19 ป พันคน

3.9 ลดจำนวนการตายและการเจ็บปวยจากสารเคมี

3.9.1 อัตราการตายที่เกิดจากมลพิษทางอากาศใน

บานเรือนและในบรรยากาศ = 6.48 ตอประชากรแสนคน

(เกณฑลดจำนวนการตายและการปวย)

3.9.3 อัตราการตายท่ีเกิดจากการไดรับสารพิษโดยไมต้ังใจ

= 0.53 ตอประชากรแสนคน (เกณฑลดจำนวนการตาย

และการปวย)

3.3 ยุติการแพรกระจายของเอดส วัณโรค มาลาเรีย

บรรลุแลว เกณฑไมชัดเจน

Page 7: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

แผน 20 ป กสธ

Service Excellence

4 Excellence Strategies(16 แผนงาน 48 โครงการ) 96 KPIs

1. พัฒนาคุณภาพชีวิตคนไทยทุกกลุมวัย

2. การปองกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ

3. การลดปจจัยเสี่ยงดานสุขภาพ

4. การบริหารจัดการสิ่งแวดลอมP&P Excellence

1. การพัฒนาระบบการแพทยปฐมภูมิ

2. การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ

3. ระบบการแพทยฉุกเฉินครบวงจรและการสงตอ

4. การพัฒนาคุณภาพหนวยงานบริการดานสุขภาพ

5. การพัฒนาตามโครงการพระราชดำริและพื้นที่เฉพาะ

6. ประเทศไทย 4.0 ดานสาธารณสุข

1. พัฒนาระบบธรรมาภิบาลและคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ

2. พัฒนาระบบขอมูลสารสนเทศดานสุขภาพ

3. การบริหารจัดการดานการเงินการคลังสุขภาพ

4. การพัฒนางานวิจัยและองคความรูดานสุขภาพ

5. การปรับโครงสรางและพัฒนากฎหมายดานสุขภาพ

1. พัฒนาระบบบริหารจัดการ

กำลังคนดานสุขภาพ

People ExcellenceGovernance Excellence

18 8

บรรลุ เกณฑไมชัดเจน

SDG Goal 3 26 ตัวชี้วัด

คาดการณป 2573 จำแนกตามสถานะ

SDG Roadmap Goal 3

“สรางหลักประกันวา

คนมีชีวิตที่มีสุขภาพดี

และสงเสริมสุขภาพ

สำหรับทุกคนในกลุมวัย”

Basic Need แผนระยะสั้น 1 ป

งบประมาณ = 325,160 ลานบาท

Well Beingแผนระยะกลาง 4 ป

งบประมาณ 4 ป = 1,680,277 ลานบาท

Sustainable Developmentแผนระยะยาว 9 ป

งบประมาณ 9 ป = 2,171,684 ลานบาท

2560

2561

2562

2563

25642565 -2573

Page 8: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

แผนท่ีนําทางการพัฒนาท่ียั่งยืน เปาหมายท่ี 3

เปาหมายการพัฒนาแหงสหัสวรรษ

(Millennium Development Goals : MDGs)

เปาหมายการพัฒนาแหงสหัสวรรษ เกิดข้ึนจากการประชุมสุดยอดสหัสวรรษของสหประชาชาติ

(Millennium Summit) เม่ือเดือนกันยายน พ.ศ. 2543 (ค.ศ. 2000) ผูนําประเทศตาง ๆ ท่ัวโลก 189 ประเทศ

รวมท้ังประเทศไทย ไดใหคํารับรองปฏิญญาแหงสหัสวรรษของสหประชาชาติ ซ่ึงกําหนดวาระการพัฒนา

เพ่ือสงเสริมการพัฒนาคนและลดชองวางการพัฒนาใหเปนจุดเริ่มตนศตวรรษใหม โดยปฏิญญาดังกลาวเปนท่ีมา

ของเปาหมายของการพัฒนาแหงสหัสวรรษ และท่ีประชุมไดตกลงรวมกันท่ีจะใชเปาหมายการพัฒนาท่ีกําหนด

กรอบระยะเวลาชัดเจนและวัดผลไดในการตอสูกับความยากจน ความอดอยากหิวโหย การไมรูหนังสือ โรคภัย

ตาง ๆ ความไมเทาเทียมกันทางเพศ และความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม โดยมี

หลักการสําคัญคือ การแบงสรรความรับผิดชอบระหวางประเทศท่ีพัฒนาแลวและประเทศท่ีกําลังพัฒนา เพ่ือให

บรรลุเปาหมายท่ีกําหนดรวมกันภายใน พ.ศ. 2558 (ค.ศ. 2015)

เปาหมายการพัฒนาแหงสหัสวรรษ ประกอบดวยเปาหมายหลัก 8 ขอ ดังนี้ เปาหมายท่ี 1 ขจัด

ความยากจนและความหิวโหย เปาหมายท่ี 2 ใหเด็กทุกคนไดรับการศึกษาระดับประถมศึกษา เปาหมายท่ี 3

สงเสริมความเทาเทียมกันทางเพศและสงเสริมบทบาทสตรี เปาหมายท่ี 4 ลดอัตราการตายของเด็ก เปาหมายท่ี

5 พัฒนาสุขภาพสตรีมีครรภ เปาหมายท่ี 6 ตอสูโรคเอดส มาลาเรีย และโรคติดตออ่ืน ๆ เปาหมายท่ี 7 รักษา

และจัดการสิ่งแวดลอมอยางยั่งยืน และเปาหมายท่ี 8 สงเสริมความเปนหุนสวนการพัฒนาในประชาคมโลก

จากรายงานเปาหมายการพัฒนาแหงสหัสวรรษ 2558 (MDGs Thailand 2015) ของสํานักงาน

คณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ จะเห็นวาประเทศไทยประสบความสําเร็จในการบรรลุ

เปาหมายยอยจํานวนมาก ภายใตแตละเปาหมายหลักของ MDGs ซ่ึงเปนเปาหมายความสําเร็จข้ันพ้ืนฐาน ตอมา

รัฐบาลไทยไดพัฒนาเปาหมาย MDG ‘Plus’ เพ่ิมเติมข้ึน โดยการสนับสนุนขององคการสหประชาชาติเพ่ือให

บรรลุการพัฒนาในระดับท่ีสูงข้ึน และเปนเปาหมาย ท่ีสอดคลองกับสภาพการณและบริบทเฉพาะของประเทศ

สามารถสรุปผลไดตามตาราง

ตารางท่ี 1 สรุปผลการพัฒนาตามเปาหมายการพัฒนาแหงสหัสวรรษ

เปาหมายท่ี 1 ขจัดความยากจนและหิวโหย MDG 1A การลดสัดสวนประชากรยากจนลงครึ่งหนึ่งในชวงป 2533 - 2558 บรรลุ MDG 1B ใหกําลังแรงงานท้ังหมดรวมผูหญิงและเยาวชนไดทํางานท่ีมีคุณคา มีโอกาสจะบรรลุ MDG 1C ลดสัดสวนประชากรท่ีหิวโหยลงครึ่งหนึ่งในชวงป 2533 – 2558 บรรลุ เปาหมายพิเศษ (MDG+) ในการลดสัดสวนคนจนใหเหลือรอยละ 4 ในป 2552 ไมบรรลุ เปาหมายท่ี 2 ใหเด็กทุกคนไดรับการศึกษาระดับประถม MDG 2A - อัตรานักเรียนตอประชากรวัยเรียนสุทธิระดับประถม - อัตราการคงอยูในระดับประถมศึกษา - อัตราการอานออกเขียนไดของเยาวชนอายุระหวาง 15-24 ป

มีโอกาสต่ําจะบรรลุ มีโอกาสต่ําจะบรรลุ มีโอกาสจะบรรลุ

1

Page 9: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

แผนท่ีนําทางการพัฒนาท่ียั่งยืน เปาหมายท่ี 3

เปาหมายท่ี 2 ใหเด็กทุกคนไดรับการศึกษาระดับประถม(ตอ) MDG+ อัตรานักเรียนตอประชากรวยัเรียนสุทธิระดับ ม.ตน ไมบรรลุ MDG+ อัตรานักเรียนตอประชากรวัยเรียนสุทธิระดับ ม.ปลาย มีโอกาสต่ําจะบรรล ุเปาหมายท่ี 3 สงเสริมความเทาเทียมทางเพศและสงเสริมบทบาทสตรี MDG 3A ขจัดความไมเทาเทียมทางเพศในการศึกษาระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาภายในป 2548 และทุกระดับการศึกษาภายในป 2558

บรรลุแลว

MDG+ เพ่ิมสัดสวนผูหญิงในรัฐสภา องคการบริหารสวนตําบล และตําแหนงผูบริหารระดับสูงของราชการเปนสองเทาในชวงป 2545 – 2549

ไมบรรลุ

เปาหมายท่ี 4 ลดอัตราการตายของเด็ก MDG 4A ลดอัตราการตายของเด็กอายุต่ํากวาหาปลงสองในสามในชวงป 2533-2558 มีโอกาสจะบรรลุ MDG+ ลดอัตราการตายทารกใหเหลือ 15 ตอการเกิดมีชีพพันคนภายในป 2549 บรรลุแลว MDG+ ลดอัตราการตายของเด็กอายุต่ํากวาหาปในเขตพ้ืนท่ีสูง จังหวัดภาคเหนือ บางแหงและสามจังหวัดชายแดนภาคใตลงครึ่งหนึ่งในชวงป 2548 – 2558

มีโอกาสต่ําจะบรรล ุ

เปาหมายท่ี 5 การพัฒนาสุขภาพของสตรีมีครรภ MDG 5A ลดอัตราสวนการตายของมารดาลงสามในสี่ในชวงป 2533 - 2558 ไมบรรลุ MDG+ ลดอัตราสวนการตายของมารดาใหเหลือ 18 ตอการเกิดมีชีพแสนคน ภายในป 2549

บรรลุแลว

MDG 5B ใหทุกคนเขาถึงบริการอนามัยการเจริญพันธุภายในป 2558 มีโอกาสสูงจะบรรลุ เปาหมายท่ี 6 การตอสูโรคเอดส มาลาเรีย และโรคสําคัญอ่ืนๆ MDG 6A ชะลอและลดการแพรระบาดของโรคเอดสภายในป 2558 มีโอกาสสูงจะบรรลุ MDG 6B ใหผูติดเชื้อเอชไอวีและผูปวยโรคเอดสไดรับการดูแลรักษาอยางท่ัวถึงภายในป 2553

มีโอกาสสูงจะบรรลุ

เปาหมายยอย MDG 6C ปองกันและลดการเกิดโรคมาลาเรีย และโรคสําคัญอ่ืนๆ ภายในป 2558 - มาลาเรีย - วัณโรค - หลอดเลือดหัวใจ

มีโอกาสบรรลุ มีโอกาสต่ําจะบรรลุ มีโอกาสต่ําจะบรรล ุ

MDG+ ลดอัตราการเกิดโรคมาลาเรียใน 30 จังหวัดชายแดนใหเหลือ 1.4 ตอประชากรพันคนภายในป 2549

บรรลุแลว

เปาหมายท่ี 7 การรักษาและจัดการส่ิงแวดลอมอยางย่ังยืน MDG 7A กําหนดนโยบายและแผนพัฒนาประเทศใหสอดคลองกับแนวทางการพัฒนาท่ียั่งยืนและลดการสูญเสียทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

มีโอกาสจะบรรลุ

MDG 7B ลดอัตราการสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ ภายในป 2553 ไมบรรลุ MDG+ เพ่ิมสัดสวนพลังงานหมุนเวียนใหเปนรอยละ 8 ของพลังงานเชิงพาณิชยข้ันสุดทายในป 2554

บรรลุ

MDG+ เพ่ิมสัดสวนการนําขยะมูลฝอยมาใชประโยชน เปนรอยละ 30 ภายในป 2549 ไมบรรลุ MDG 7C ลดสัดสวนประชากรท่ีไมสามารถเขาถึงแหลงน้ําสะอาดและสวมท่ีถูกสุขลักษณะครึ่งหนึ่งภายในป 2558

บรรลุแลว

2

Page 10: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

แผนท่ีนําทางการพัฒนาท่ียั่งยืน เปาหมายท่ี 3

เปาหมายท่ี 7 การรักษาและจัดการส่ิงแวดลอมอยางย่ังยืน(ตอ) MDG 7D ยกระดับคุณภาพชีวิตประชากรในชุมชนแออัด 100 ลานคนท่ัวโลกภายในป 2563

มีโอกาสสูงจะบรรลุ

เปาหมายท่ี 8 การสงเสริมการเปนหุนสวนเพ่ือการพัฒนาในประชาคมโลก MDG 8A การพัฒนาระบบการคาและการเงินใหเปนเสรี ตั้งอยูบนกฎระเบียบ คาดการณไดและไมแบงแยก -ดัชนีการเกิดประเทศ(Trade Openness Index)

บรรลุแลว

MDG 8B – 8C ใหความสําคัญกับประเทศท่ีมีการพัฒนานอยท่ีสุด ประเทศท่ีไมมีทางออกทะเลและรัฐกําลังพัฒนาขนาดเล็กท่ีเปนเกาะ -สัดสวนการใหความช วย เหลือเ พ่ือการ พัฒนาอยา ง เปนทางการ (Official Development Assistance: ODA) ตอรายไดมวลรวมประชาชาติ (GNI) -สัดสวนความชวยเหลือท่ีใหแกประเทศท่ีมีการพัฒนานอยท่ีสุดตอมูลคา ODA ท้ังหมด -สัดสวนความชวยเหลือท่ีใหแกประเทศท่ีไมมีทางออกทะเลและรัฐกําลังพัฒนาขนาดเล็กท่ีเปนเกาะตอมูลคา ODA ท้ังหมด

ไมบรรลุ บรรลุแลว บรรลุแลว

MDG 8D แกปญหาในประเทศกําลังพัฒนาผานนโยบายระดับประเทศและระหวางประเทศเพ่ือใหเกิดการพัฒนาท่ียั่งยืนในระยะยาว -สัดสวนภาระการชําระหนี้ตางประเทศตอรายไดจากการสงออกสินคาและบริการ (Debt Service Ratio)

บรรลุแลว

MDG 8E รวมมือกับบริษัทยาดําเนินการใหประเทศกําลังพัฒนาสามารถเขาถึงยาท่ีจําเปน -สัดสวนประชากรท่ีสามารถเขาถึงยาท่ีจําเปนอยางยั่งยืน

มีโอกาสสงูจะบรรลุ

MDG 8F รวมมือกับภาคเอกชนดําเนินการใหประชาชนเขาถึงเทคโนโลยีใหมๆ โดยเฉพาะอยางยิ่งเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร -จํานวนเลขหมายโทรศัพทพ้ืนฐานตอประชากร 100 คน -จํานวนเลขหมายโทรศัพทเคลื่อนท่ีตอประชากร 100 คน -สัดสวนประชากรท่ีสามารถใชอินเตอรเน็ต (รอยละ)

ไมบรรลุ บรรลุแลว มีโอกาสต่ําจะบรรล ุ

จากตารางเปาหมายการพัฒนาแหงสหัสวรรษท่ีกระทรวงสาธารณสุขเปนผูรับผิดชอบ คือ เปาหมายท่ี 4

ลดอัตราการตายของเด็ก เปาหมายท่ี 5 พัฒนาสุขภาพสตรีมีครรภ เปาหมายท่ี 6 ตอสูโรคเอดส มาลาเรีย และ

โรคติดตออ่ืน ๆ พิจารณารายตัวยอย พบวา

บรรลุแลว 3 ขอ ไดแก

• MDG+ ลดอัตราการตายทารกใหเหลือ 15 ตอการเกิดมีชีพพันคนภายในป 2549

• MDG+ ลดอัตราสวนการตายของมารดาใหเหลือ 18 ตอการเกิดมีชีพแสนคน ภายในป 2549

• MDG+ ลดอัตราการเกิดโรคมาลาเรียใน 30 จังหวัดชายแดนใหเหลือ 1.4 ตอประชากรพัน

คนภายในป 2549

3

Page 11: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

แผนท่ีนําทางการพัฒนาท่ียั่งยืน เปาหมายท่ี 3

มีโอกาสสูงจะบรรลุ 3 ขอ ไดแก

• MDG 5B ใหทุกคนเขาถึงบริการอนามัยการเจริญพันธุภายในป 2558

• MDG 6A ชะลอและลดการแพรระบาดของโรคเอดสภายในป 2558

• MDG 6B ใหผูติดเชื้อเอชไอวีและผูปวยโรคเอดสไดรับการดูแลรักษาอยางท่ัวถึงภายในป

2553

มีโอกาสบรรลุ 2 ขอ ไดแก

• MDG 4A ลดอัตราการตายของเด็กอายุต่ํากวาหาปลงสองในสามในชวงป 2533-2558

• MDG 6C ปองกันและลดการเกิดโรคมาลาเรีย และโรคสําคัญอ่ืนๆ ภายในป 2558 (มาลาเรีย)

มีโอกาสต่ําจะบรรลุ 3 ขอ

• MDG+ ลดอัตราการตายของเด็กอายุตํ่ากวาหาปในเขตพ้ืนท่ีสูง จังหวัดภาคเหนือบางแหง

และสามจังหวัดชายแดนภาคใตลงครึ่งหนึ่งในชวงป 2548 – 2558

• MDG 6C ปองกันและลดการเกิดโรคมาลาเรีย และโรคสําคัญอ่ืนๆ ภายในป 2558 (วัณโรค)

• MDG 6C ปองกันและลดการเกิดโรคมาลาเรีย และโรคสําคัญอ่ืนๆ ภายในป 2558 (หลอด

เลือดหัวใจ)

ไมบรรลุ 1 ขอ ไดแก

• MDG 5A ลดอัตราสวนการตายของมารดาลงสามในสี่ในชวงป 2533 - 2558

ถึงแมเปาหมายการพัฒนาแหงสหัสวรรษ (MDGs) สิ ้นสุดลงในป ค.ศ.2015 แตองคการ

สหประชาชาติไดริเริ่มกระบวนการหารือเพื่อกําหนดวาระการพัฒนาภายหลังป ค.ศ. 2015 (post-2015

development agenda) ตามกระบวนทัศน “การพัฒนาที่ยั่งยืน” โดยประเด็นสําคัญของวาระการพัฒนา

ภายหลังป ค.ศ. 2015 คือ การจัดทําเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals :

SDGs) เพื่อใหเกิดความตอเนื่องของการพัฒนาโดยอาศัยกรอบความคิดที่มองการพัฒนาเปนมิติ ทั้งดาน

เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอม ใหมีความเชื่อมโยงกัน ยังคงมีการแกปญหาเรื่องความยากจนตอไปและ

ขยายบทบาท ใหทุกภาคสวนมีบทบาทดานการพัฒนารวมกัน ท้ังนี้กระทรวงสาธารณสุขยังคงตองดําเนินการ

แกไขและพัฒนาในสวนที่ยังไมบรรลุเปาหมายการพัฒนาแหงสหัสวรรษ (MDGs) พรอมดําเนินการใหบรรลุ

เปาหมายการพัฒนาท่ียั่งยืน (Sustainable Development Goals–SDGs) ตอไป

4

Page 12: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

5

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

ภาพแสดงความเช่ือมโยง MDGs และ SDGs

Page 13: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

แผนท่ีนําทางการพัฒนาท่ียั่งยืน เปาหมายท่ี 3

เปาหมายการพัฒนาท่ีย่ังยืน เปาหมายท่ี 3 (SDGs)

นายกรัฐมนตรีของไทยพรอมคณะ เขารวมประชุมสมัชชาสหประชาชาติสมัยสามัญ ครั้งท่ี 70 เดือนกันยายน 2558 หัวขอในการประชุม คือ การพัฒนาท่ียั่งยืน (Sustainable Development Goals (SDGs)) รวมกับสมาชิกองคการสหประชาชาติประเทศอ่ืนอีก 193 ประเทศ พรอมกันนี้ผูนําจากประเทศสมาชิกเหลานี้ไดรวมรับรอง รางเอกสารเปาหมายการพัฒนาอยางยั่งยืนหลังป 2015 Sustainable Development Goals ท่ีเรียกวา Transforming Our World: the 2030 Agenda for Sustainable Development (การปรับเปลี่ยนโลกของเรา :วาระ 2030) เพ่ือการพัฒนาท่ียั่งยืนสําหรับเปาหมายการพัฒนาท่ียั่งยืนของโลก(Sustainable Development Goals: SDGs) ใน 15 ปขางหนาท่ีจะใชเปนทิศทางการพัฒนาของประชาคมโลก ตั้งแตเดือนกันยายน ป 2558 ถึงเดือนสิงหาคม 2573 ครอบคลุมระยะเวลา 15 ป โดยประกอบไปดวย 17 เปาหมาย (Goals) 169 เปาประสงค (Targets) ซ่ึงเปนการตอยอดจาก “เปาหมายการพัฒนาแหงสหัสวรรษ (Millennium Development Goals (MDGs))” มีรายละเอียดดังนี้ เปาหมายท่ี 1 การขจัดความยากจนในทุกรูปแบบทุกท่ี เปาหมายท่ี 2 การขจัดความหิวโหย บรรลุเปาความม่ันคงทางอาหาร ปรับปรุงโภชนาการ และสนับสนุนการทําเกษตรกรรมอยางยั่งยืน เปาหมายท่ี 3 การสรางหลักประกันใหคนมีชีวิตท่ีมีคุณภาพ และสรางเสริมสุขภาวะท่ีดีของทุกคนทุกเพศวัย เปาหมายท่ี 4 การสรางหลักประกันใหการศึกษาท่ีมีคุณภาพอยางเทาเทียมและครอบคลุม และสงเสริมโอกาสในการเรียนรูตลอดชีวิตสําหรับทุกคน เปาหมายท่ี 5 การบรรลุความเทาเทียมระหวางเพศ และเสริมสรางความเขมแข็งใหแกสตรีและเด็กหญิง เปาหมายท่ี 6 การสรางหลักประกันใหมีน้ําใช และมีการบริหารจัดการน้ําและการสุขาภิบาลอยางยั่งยืนสําหรับทุกคน เปาหมายท่ี 7 การสรางหลักประกันใหทุกคนสามารถเขาถึงพลังงานสมัยใหมในราคาท่ียอมเยา และยั่งยืน เปาหมายท่ี 8 การสงเสริมการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจท่ียั่งยืน และครอบคลุม และการจางงานเต็มอัตรา และงานท่ีมีคุณคาสําหรับทุกคน เปาหมายท่ี 9 การสรางโครงสรางพ้ืนฐานท่ีมีความตานทานและยืดหยุนตอการเปลี่ยนแปลง สงเสริมการพัฒนาอุตสาหกรรมท่ีครอบคลุมและยั่งยืน และสงเสริมนวัตกรรม เปาหมายท่ี 10 การลดความไมเทาเทียมท้ังภายในประเทศและระหวางประเทศ เปาหมายท่ี 11 การทําใหเมืองและการตั้งถ่ินฐานของมนุษยมีความปลอดภัย ความตานทางและยืดหยุนตอการเปลี่ยนแปลงอยางครอบคลุมและยั่งยืน เปาหมายท่ี 12 การสรางหลักประกันใหมีแบบแผนการบริโภคและการผลิตท่ียั่งยืน เปาหมายท่ี 13 การดําเนินการอยางเรงดวนเพ่ือตอสูกับสภาวะการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและผลกระทบ เปาหมายท่ี 14 การอนุรักษและใชมหาสมุทร ทะเล และทรัพยากรทางทะเลอ่ืน ๆ อยางยั่งยืนเพ่ือการพัฒนาอยางยั่งยืน เปาหมายท่ี 15 การปกปอง ฟนฟู และสงเสริมการใชระบบนิเวศบนบกอยางยั่งยืน การบริหารจัดการปาไมท่ียั่งยืน การตอตานการแปรสภาพเปนทะเลทราย หยุดยั้งการเสื่อมโทรมของดินและฟนฟูสภาพดินและหยุดยั้งการสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ เปาหมายท่ี 16 การสนับสนุนสังคมท่ีสงบสุขและครอบคลุมสําหรับการพัฒนาท่ียั่งยืน จัดใหมีการเขาถึงความยุติธรรมสําหรับทุกคน และสรางสถาบันท่ีมีประสิทธิภาพ มีความรับผิดชอบและมีความครอบคลุมในทุกระดับ และเปาหมายท่ี 17 การเสริมสรางความแข็งแกรงของกลไกการดําเนินงานและฟนฟูหุนสวนความรวมมือระดับโลกเพ่ือการพัฒนาท่ียั่งยืน

นายกรัฐมนตรีไดประกาศวาระการพัฒนาท่ียั่งยืนในป 2030 เพ่ือผลักดันใหเกิดการพัฒนาของโลกอยางสมดุล พรอมสนับสนุนใหประชาชนทุกกลุมวัยเขาถึงโอกาสและความเจริญอยางเสมอภาคเทาเทียมกัน และไมทอดท้ิงใครไวขางหลัง มอบหมายใหมีการนําการพัฒนาท่ียั่งยืน (Sustainable Development Goals : SDGs) มาพิจารณารวมในการจัดทํายุทธศาสตรชาติ 20 ป แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับท่ี 12

6

Page 14: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

แผนท่ีนําทางการพัฒนาท่ียั่งยืน เปาหมายท่ี 3

และขอเสนอการปฏิรูปแหงชาติ ใหสอดคลองกันอยางมีนัยสําคัญ พรอมท้ังไดมีการแตงตั้งคณะกรรมการเพ่ือการพัฒนาท่ียั่งยืนของประเทศ แตงตั้งคณะอนุกรรมการ 3 คณะ คือ คณะอนุกรรมการขับเคลื่อนเปาหมายการพัฒนาท่ียั่งยืน คณะอนุกรรมการสงเสริมความเขาใจและประเมินผลการพัฒนาท่ียั่งยืนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และคณะอนุกรรมการพัฒนาระบบขอมูลสารสนเทศเพ่ือสนับสนุนการพัฒนาท่ียั่งยืน ทําหนาท่ีขับเคลื่อนการทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพ ในการนี้กระทรวงสาธารณสุขพิจารณารายละเอียดเปาหมายของการพัฒนาท่ียั่งยืนมีจํานวนท้ังสิ้น 17 เปาหมาย ซ่ึงเปาหมายท่ี 3 คือ “สรางหลักประกันวาคนมีชีวิตท่ีมีสุขภาพดีและสงเสริมสวัสดิภาพสําหรับทุกคนในทุกวัย ” เปนภารกิจหลักของกระทรวงสาธารณสุข และเชื่อมโยงกับเปาหมายอ่ืน ๆ ในการนี้นายแพทยโสภณ เมฆธน ปลัดกระทรวงสาธารณสุข ไดผลักดันการดําเนินงานเก่ียวกับการพัฒนาท่ียั่งยืน ใหเกิดผลอยางเปนรูปธรรม โดยใหหนวยงานภายในกระทรวงสาธารณสุขจัดทําแนวทางการดําเนินงาน (Road Map) ท่ีสอดคลองกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับ 12 แผนยุทธศาสตร 20 ปของกระทรวงฯ แผนพัฒนาสุขภาพแหงชาติท่ี 12 และการพัฒนาท่ีย่ังยืน (SDGs) ใหสอดคลองกัน เพ่ือใหเกิดผลงานเปนรูปธรรม จากการศึกษาพบวาในเปาหมายท่ี 3 มีเปาประสงคท้ังสิ้นจํานวน 13 เปาประสงค และ 26 ตัวชี้วัด พรอมท้ังไดมีการวิเคราะหสถานการณของ แตละเปาประสงคตามตัวชี้วัดท่ีกําหนด สามารถแบงไดดังนี้ คือ

ตัวชี้วัดท่ีบรรลุเปาหมายแลวจํานวน 3 ตัวชี้วัด คือ Maternal Mortality Ratio Under-five Mortality Rate และ Neonatal Mortality Rate

ตัวชี้วัดท่ีคาดวาไมบรรลุเปาหมายในชวงเวลาท่ีกําหนด จํานวน 1 ตัวชี้วัด ไดแก Death rate due to road traffic injuries (Year : 2020)

ตัวชี้วัดยากท่ีจะบรรลุเปาหมาย จํานวน 3 ตัวชี้วัด คือ Hepatitis B incidence per 100,000 population, Number of new HIV infections per 1,000 uninfected population, Malaria incidence per 1,000 population

ตัวชี้วัดท่ีคาดวาจะบรรลุเปาหมายในเวลาท่ีกําหนด จํานวน 7 ตัวชี้วัด คือ 1)Tuberculosis incidence per 100,000 population 2)Number of people requiring interventions against neglected tropical diseases 3) Mortality rate attributed to cardiovascular disease, cancer, diabetes or chronic respiratory disease 4) Suicide mortality rate 5) Mortality rate attributed to household and ambient air pollution 6) Mortality rate attributed to unsafe water, unsafe sanitation and lack of hygiene (exposure to unsafe Water, Sanitation and Hygiene for All (WASH) services) และ 7) Mortality rate attributed to unintentional poisoning

ตัวชี้วัดท่ีไมมีรายละเอียด (Metadata) จํานวน 7 ตัวชี้วัด ไดแก 1)Malaria incidence per 1,000 population 2)Hepatitis B incidence per 100,000 population 3)Coverage of treatment interventions (pharmacological, psychosocial and rehabilitation and aftercare services) for substance use disorders 4)Coverage of essential health services (defined as the average coverage of essential services based on tracer interventions that include reproductive, maternal, newborn and child health, infectious diseases, non-communicable diseases and service capacity and access, among the general and the most disadvantaged population) 5)Number of people covered by health insurance or a public health system per 1,000 population 6)Age-standardized prevalence of current tobacco use among persons aged 15 years and older และ 7)Proportion of the population with access to affordable medicines and vaccines on a sustainable basis

7

Page 15: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

แผนท่ีนําทางการพัฒนาท่ียั่งยืน เปาหมายท่ี 3

จากการทบทวนวิเคราะหสถานการณขอมูลท่ีเก่ียวของกับการพัฒนาท่ียั่งยืน (SDGs) ของกระทรวงสาธารณสุขเก่ียวกับตัวชี้วัดของ 13 เปาหมาย มีรายละเอียดดังนี้

เปาหมายท่ี 1 ภายในป 2573 ลดอัตราการตายของมารดาท่ัวโลกใหต่ํากวา 70 ตอการเกิดมีชีพหนึ่งแสนคน ซ่ึงบรรลุเปาหมายแลว มีคาเทากับ 20 ตอการเกิดมีชีพแสนคน (World Bank) และสัดสวนของการคลอดบุตรท่ีดูแลโดยบุคลากรดานสาธารณสุขท่ีมีความชํานาญ เทากับรอยละ 99.6 (World Bank)

เปาหมายท่ี 2 ภายในป 2573 ยุติการตายท่ีปองกันไดของทารกแรกเกิดและเด็กอายุต่ํากวา 5 ป โดยทุกประเทศมุงลดอัตราการตายในทารกลงใหต่ําถึง 12 คน ตอ การเกิดมีชีพพันคน และลดอัตราการตายในเด็กอายุต่ํากวา 5 ป ลงใหต่ําถึง 25 คน ตอการเกิดมีชีพพันคน พบวา มีอัตราลดลง ในป 2558 อัตราการตายในเด็กอายุต่ํากวา 5 ป เทากับ 12.3 คน และ อัตราการตายของทารกแรกเกิด เทากับ 6.7 คน (World Bank)

เปาหมายท่ี 3 ภายในป 2573 ยุติการแพรกระจายของเอดส วัณโรค มาลาเรีย และโรคเขตรอนท่ีถูกละเลย และตอสูกับโรคตับอักเสบ โรคติดตอทางน้ํา และโรคติดตออ่ืนๆ พบวา

1. UNAIDS คาดการณอัตราผูปวย HIV รายใหมตอแสนประชากรท่ีไมติดเชื้อของไทยอยูระหวาง 0.06 – 0.16

2. ขอมูลคาดการณโดย WHO : Global Tuberculosis Database จะมีอัตราผูปวยวัณโรครายใหมตอประชากรแสนคน เทากับ 172

3. WHO คาดการณอัตราผูปวยโรคมาลาเรียรายใหมตอประชากรพันคน เทากับ 2.654. WHO : Global Health Observatory (GHO) , Preventive Chemotherapy and

Transmission control (PCT) Databank ประมาณคาจํานวนผูท่ีรองขอความชวยเหลือตอการปองกันโรคเขตรอนท่ีถูกละเลย (Neglected tropical diseases) จากขอมูลท่ีสงใหเทากับ 145,141 คน

5. ขอมูลอัตราผูปวยโรคตับอักเสบบี โดยกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข มีอัตราผูปวยตอประชากรแสนคน เทากับ 10.16 ยังไมมีรายงานหรือการคาดการณจาก WHO

เปาหมายท่ี 4 ภายในป 2573 เปาหมายท่ี 4 ลดการตายกอนวัยอันควรจากโรคไมติดตอใหลดลงหนึ่งในสาม ผานทางการปองกันและการรักษาโรค และสนับสนุนสุขภาพจิตและความเปนอยูท่ีด ี พบวา ในป 2555 WHO : Global Health Estimates 2013: Deaths by Cause, Age and Sex, by Country, 2000-2012. Geneva, World Health Organization, 2014. ประมาณการณอัตราการตายจากโรคหัวใจและหลอดเลือด โรคมะเร็ง โรคเบาหวานและโรคระบบทางเดินหายใจเรื้อรังตอประชากร (30 – 70 ป) แสนคน

เปาหมายท่ี 1

เปาหมายท่ี 2

เปาหมายท่ี 3

เปาหมายท่ี 4

8

Page 16: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

แผนท่ีนําทางการพัฒนาท่ียั่งยืน เปาหมายท่ี 3

เทากับ 16.24 และอัตราการฆาตัวตายตอประชากรแสนคน เทากับ 15.99 อัตราการเขาถึงบริการโรคซึมเศรา ในประชากรไทยอายุ 15 ปข้ึนไป มีแนวโนมสูงข้ึน โดยกลุมเสี่ยงท่ีควรคัดกรองโรคซึมเศรา ไดแก ผูปวยโรคเรื้อรัง ผูปวยสูงอายุ ผูท่ีตั้งครรภหรือหลังคลอด และผูท่ีมีปญหาสุรา สารเสพติด เปนตน

เปาหมายท่ี 5 เสริมสรางการปองกันและการรักษาการใชสารในทางท่ีผิด ซ่ึงรวมถึงการใชยาเสพติดในทางท่ีผิดและการใชแอลกอฮอลในทางอันตราย พบวา ความครอบคลุมของการรักษา (การรักษาโดยใชยา ทางจิตวิทยาและการฟนฟูสมรรถภาพ และบริการการติดตามผลการรักษา) สําหรับผูท่ีใชสารเสพติด ผลการบําบัดรักษาผูเสพ ผูติดยาเสพติด จะเห็นไดวาระหวางป 2556-2558 ระบบบําบัดแบบสมัครใจมีอัตราลดลงคิดเปนรอยละ 74.34, 73.67 และ 69.45 ตามลําดับ ระบบบําบัดแบบบังคับบําบัดมีอัตราสูงข้ึนคิดเปนรอยละ 25.09, 25.92 และ 30.40 ตามลําดับ และระบบบําบัดแบบตองโทษมีอัตราลดลงคิดเปนรอยละ 0.57, 0.41 และ 0.15 ตามลําดับ โดยรอยละของผูปวยยาเสพติดท่ีหยุดเสพตอเนื่อง 3 เดือน หลังจําหนายจากการบําบัดรักษามีแนวโนมเพ่ิมข้ึนคิดเปนรอยละ 84.68, 87.63 และ 88.90 ตามลําดับ การใชแอลกอฮอลในทางอันตราย นิยามตามบริบทของประเทศ คิดเปนปริมาณแอลกอฮอลตอผูบริโภค (อายุตั้งแต 15 ปข้ึนไป) ในจํานวนลิตรของแอลกอฮอลบริสุทธิ์ ภายในปปฏิทิน พบวา ในป 2553 ขอมูลจาก Global Status Report on Alcohol and Health 2014 เทากับ 7.1 ลิตรของแอลกอฮอลบริสุทธิ์ตอคนตอป

เปาหมายท่ี 6 ภายในป 2563 ลดจํานวนการตายและบาดเจ็บทางถนนท่ัวโลกลงครึ่งหนึ่ง พบวา อัตราผูเสียชีวิตจากการบาดเจ็บทางถนนตอประชากรแสนคน ในป 2555 ขอมูลจากการรายงาน WHO ประมาณคาเทากับ 36.2 ตอแสนประชากร และในประเทศไทยอัตราเสียชีวิตจากการบาดเจ็บทางถนน เทากับ 22.3 ตอแสนประชากร (สถิติสาธารณสุข พ.ศ.2558,สํานักนโยบายและยุทธศาสตร กระทรวงสาธารณสุข)

เปาหมายท่ี 7 ภายในป 2573 การสรางหลักประกันวามีการเขาถึงบริการ ขอมูล การใหการศึกษาเกี่ยวกับอนามัยเจริญพันธุโดยถวนหนา รวมถึงการวางแผนครอบครัว และการผสานอนามัยเจริญพันธุในยุทธศาสตรและแผนงานระดับชาติ พบวา รอยละของหญิงวัยเจริญพันธุอายุ (15 - 49 ป) ท่ีพึงพอใจกับการวางแผนครอบครัวดวยวิธีสมัยใหม จากขอมูลการสํารวจ Thailand 2012 Multiple Indicator Cluster Survey พบรอยละการคุมกําเนิดในสตรีวัยเจริญพันธุ อายุ 15 - 49 ป พ.ศ. 2555 เทากับรอยละ 89.2 อัตราการตั้งครรภในวัยรุน (10-14,15-19 ป ) ตอผูหญิงพันคนในแตละกลุมอายุ ท่ีกําหนดไว จากขอมูลการสํารวจ Thailand 2012 Multiple Indicator Cluster Survey มีผลเทากับรอยละ ๖๐ ซ่ึงมีอัตราเพ่ิมข้ึนทุกป

เปาหมายท่ี 5

เปาหมายท่ี 6

เปาหมายท่ี 7

9

Page 17: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

แผนท่ีนําทางการพัฒนาท่ียั่งยืน เปาหมายท่ี 3

เปาหมายท่ี 8 บรรลุการมีหลักประกันสุขภาพถวนหนา รวมถึงการปองกันความเส่ียงทางการเงิน การเขาถึงการบริการสาธารณสุขจําเปนท่ีมีคุณภาพ และเขาถึงยาและวัคซีนจําเปนท่ีปลอดภัย มีประสิทธิภาพ มีคุณภาพ และมีราคาท่ีสามารถซ้ือหาได พบวา ความท่ัวถึงของการติดตามการรักษา (เชน การฉีดวัคซีนแบบเต็มรูปแบบในเด็ก การรักษาดวยยาตานไวรัส การรักษาวัณโรค การรักษาความดันโลหิตสูง การดูแลการคลอดโดยผูชํานาญ) ในป 2558 รอยละของประชากรในทุกภาคสวนท่ีมีสิทธิประกันสุขภาพ รอยละ 99.81 ในป 2556 ความครอบคลุมของการไดรับวัคซีนแบบครบถวน (EPI program) รอยละ 90.3 – 100 การฉีดวัคซีนปองกันโรคไขหวัดใหญ รอยละ 78.47 เทียบกับเปาหมาย ผูติดเชื้อเอชไอวีและผูปวยเอดสเขาถึงยาตานไวรัส รอยละ 79.89 เทียบกับผูปวยลงทะเบียนสะสม ผูปวยโรคกลามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน ชนิด STEMI เขาถึงยาละลายลิ่มเลือดและ/หรือหัตถการ Primary PCI รอยละ 72.33 ผูปวยโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตัน เขาถึงยาละลายลิ่มเลือดได รอยละ 4.19 จากการวิเคราะหขอมูลการสํารวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือนป 2556 ทําการสํารวจโดย สํานักงานสถิติแหงชาติ และ ขอมูลเสนความยากจนจากสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและ สังคมแหงชาติ พบวา อุบัติการณของครัวเรือนท่ีตองกลายเปนครัวเรือนยากจนภายหลังจากการจายคารักษาพยาบาล คิดเปนรอยละ 0.47 ของครัวเรือนท้ังหมด

เปาหมายท่ี 9 ภายในป 2573 ลดจํานวนการตายและการปวยจากสารเคมีอันตรายและจากการปนเปอนและมลพิษทางอากาศ น้ํา และดิน ใหลดลงอยางมาก พบวา อัตราการตายในครัวเรือนและมลพิษทางอากาศตอประชากรแสนคน จากขอมูลในป 2556 ประมาณคาเทากับ 6.48 ตอแสนประชากร อัตราการตายเนื่องจากสารเคมีอันตราย มลภาวะในน้ําและในดิน และการปนเปอนตอประชากรแสนคน จากขอมูลในป 2558 WHO ประมาณการณไวเทากับ 1.87 ตอแสนประชากร และ อัตราการเสียชีวิตจากการไดรับสารพิษอันตรายและมลพิษท่ีเจือปนในสิ่งแวดลอมตอแสนประชากร จากขอมูลในป 2558 WHO ประมาณการณไวเทากับ 0.53 ตอแสนประชากร

เปาหมาย a เสริมการดําเนินงานของกรอบอนุสัญญาขององคการอนามัยโลกวาดวยการควบคุมยาสูบในทุกประเทศตามความเหมาะสม พบวา ความชุกของการปรับมาตรฐานอายุของผูท่ีสูบบุหรี่ในปจจุบันในจํานวนผูสูบบุหรี่ท่ีมีอายุตั้งแต 15 ปข้ึนไป พบวา พ.ศ. 2558 อัตราสูบเปนรอยละ 21.5

เปาหมาย b สนับสนุนการวิจัยและการพัฒนาวัคซีนและยาสําหรับโรคติดตอและไมติดตอ ท่ีสงผลกระทบโดยตรงตอประเทศกําลังพัฒนา ใหมีการเขาถึงยาและวัคซีนจําเปนในราคาท่ีสามารถซ้ือหาได ตามปฏิญญาโดฮาความตกลงวาดวยสิทธิในทรัพยสินทางปญญาเกี่ยวกับการคาและการสาธารณสุข ซ่ึงเนน

เปาหมายท่ี 8

เปาหมายท่ี 9

เปาหมายท่ี a

เปาหมายท่ี b

10

Page 18: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

แผนท่ีนําทางการพัฒนาท่ียั่งยืน เปาหมายท่ี 3

ยํ้าสิทธิสําหรับประเทศกําลังพัฒนาท่ีจะใชบทบัญญัติในความตกลงวาดวยสิทธิในทรัพยสินทางปญญาท่ีเกี่ยวกับการคาอยางเต็มท่ีในเรื่องการผอนปรนเพ่ือจะปกปองสุขภาพสาธารณะและโดยเฉพาะการเขาถึงยาโดยถวนหนา สัดสวนของประชากรท่ีเขาถึงยา และวัคซีน ในราคาท่ีสามารถหาซ้ือไดท่ีตั้งอยูบนหลักความยั่งยืน พบวา กระทรวงสาธารณสุขพิจารณาแลวเห็นวาวัคซีน เปนเครื่องมือหนึ่งในการควบคุมปองกันโรคท่ีมีประสิทธิภาพสูงท่ีสุด กระบวนการพัฒนาและผลิตวัคซีนใชเทคโนโลยีชั้นสูง มีความยุงยากซับซอน มีการควบคุมคุณภาพเขมงวด ใชเวลานาน จึงทําใหตนทุนสูง จํานวนผูประกอบการจึงมีนอย ดังนั้นเพ่ือลดความเสี่ยงของธุรกิจ บริษัทจึงมุงผลิตวัคซีนสําหรับประเทศท่ีมีกําลังซ้ือสูง และหยุด/ลดการผลิต หรือไมจําหนายวัคซีนใหแกประเทศท่ีมีกําลังซ้ือต่ํา ประเทศกําลังพัฒนา เชน ประเทศไทยยังผลิตวัคซีนใชเองไดนอย (วัคซีนสมัยใหม) กอปรกับมีปญหางบประมาณ และอ่ืน ๆ อีกหลายดานในการจัดซ้ือจัดหาวัคซีน จึงเกิดการขาดแคลน หรือไดรับวัคซีนไมทันเวลา ท้ังในภาวะปกติและภาวะฉุกเฉิน ทําใหมีความม่ันคงดานวัคซีนนอย (Vaccine security) ในสวนของ ยาเคมี ประเทศไทยยังไมพรอมในการเปนประเทศวิจัยพัฒนายาใหม อุตสาหกรรมยาในประเทศ สวนใหญเปนการผลิตยาสามัญ และกําลังเผชิญกับขอตกลงระหวางประเทศท่ีจะชะลอการผลิตยาสามัญ ทดแทนยาตนแบบท่ีผูกขาดในตลาด และตองพ่ึงพาวัตถุดิบจากตางประเทศ ยาตนแบบท่ีพัฒนาข้ึนจากตางประเทศมีราคาแพง กลไกในการควบคุมราคา และการใชสิทธิตามปฏิญญาโดฮายังมีขอจํากัด และเงินชวยเหลือเพ่ือการพัฒนาอยางเปนทางการสุทธิรวม (Total net official development assistance-ODA) ตอการวิจัยทางการแพทย และดานสุขภาพข้ันพ้ืนฐาน พบวา ป พ.ศ. 2557 เทากับ 32.92 จากขอมูล Based on OECD, CRS databased, 2016 และ Gross disbursements. Constant 2014 USD million

เปาหมาย c การเพ่ิมการใชเงินท่ีเกี่ยวกับสุขภาพ และการสรรหา การพัฒนา การฝกฝน และการเก็บรักษากําลังคนดานสุขภาพในประเทศกําลังพัฒนา โดยเฉพาะอยางย่ิงในประเทศพัฒนานอยท่ีสุดและรัฐกําลังพัฒนาท่ีเปนเกาะขนาดเล็ก พบวา จากขอมูล WHO : Global Health Workforce Statistics database, Global Health Observatory ความหนาแนนและการกระจายตัวของบุคลากรดานสุขภาพตอพันประชากร ในป พ.ศ. 2553 เทากับ 2.47

เปาหมาย d เสริมขีดความสามารถสําหรับทุกประเทศ โดยเฉพาะอยางย่ิงในประเทศกําลังพัฒนา ในเรื่องการแจงเตือนลวงหนา การลดความเส่ียง และการบริหารจัดการความเส่ียงดานสุขภาพใน ระดับประเทศและระดับโลก พบวา รอยละของคุณลักษณะความสามารถหลัก 13 ประการท่ีไดบรรลุแลวในชวงเวลานั้นๆ จากขอมูล World Health Organization ของประเทศไทยรายงานผลไว ป พ.ศ.2558 เทากับ 97.80

เปาหมายท่ี c

เปาหมายท่ี d

11

Page 19: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

12

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

ตารางท่ี 2 สถานการณของประเทศไทยในเปาหมายท่ี 3 จากขอมูลของ SEARO ซ่ึงเปนกลุม Southeast Asia ตามการแบงของ WHO จากขอมูลท่ีหามาไดนั้นมี

แค 24 ตัวชี้วัด ซ่ึงไมครบ 26 ตัวชี้วัดของ SDGs ดังตาราง

Health-related SDG indicators

SDG target

Year BAN BHU DPRK IND INO MAV MMR NEP SRL THA TLS

Maternal mortality ratio (per 100,000 live births)

3.1.1 2015 176 148 82 174 126 68 178 258 30 20 215

Proportion of births attended by skilled health personnel (%)

3.1.2 2006-2015

42.1 74.6 100 81.1 89 99 67.1 55.6 98.6 99.6 63

Under-five mortality rate (per 100,000 live births)

3.2.1 2015 37.6 32.9 24.9 47.7 27.2 8.6 50 35.8 9.8 12.3 52.6

Neonatal mortality rate (per 1,000 live births)

3.2.2 2015 23.3 18.3 13.5 27.7 13.5 4.9 26.4 22.2 5.4 6.7 22.3

New HIV infections among adults 15-49 years old (per 1,000 uninfected population)

3.3.1 2015 <0.1 - - <0.1 0.5 - 0.4 <0.1 <0.1 0.2 -

Tuberculosis incidence (per 1,000 population)

3.3.2 2015 225 155 561 217 395 53 365 156 65 172 498

Page 20: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

13

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

Health-related SDG indicators

SDG target

Year BAN BHU DPRK IND INO MAV MMR NEP SRL THA TLS

Malaria incidence (per 1,000 population at risk)

3.3.3 2014 4.3 0.06 0.36 0.89 3.8 - 10.5 0.12 - 1.2 0.3

Hepatitis B incidence 3.3.4 2014 - - - - - - - 9 - - -

Reported number of people requiring interventions against NTDs

3.3.5 2014 49,873,889 107,867 5,643,102 577,240,673 127,979,175 747 40,777,860 21,352,583 54,216 41,360 1,108,842

Suicide mortality rate (per 100,000 population)

3.5.1 2012 7.8 17.8 0 21.1 4.3 6.4 13.1 24.9 28.8 11.4 8

Total alcohol per capita (>15 years of age) consumption, in litres of pure alcohol

3.5.2 2015 0.2 1.1 4.4 4.6 0.6 1 0.7 2.1 4.5 8.3 1.2

Road traffic mortality rate (per 100,000 population)

3.6.1 2013 13.6 15.1 20.8 16.6 15.3 3.5 20.3 17 17.4 36.2 16.6

Demand for family planning satisfied with modern methods (%)

3.7.1 2006-2015

72.6 84.9 78.2 63.9 79 42.7 - 66.3 69.4 89.2 27

Page 21: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

14

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

Health-related SDG indicators

SDG target

Year BAN BHU DPRK IND INO MAV MMR NEP SRL THA TLS

Adolescent birth rate (per 1,000 women aged 15-19 years)

3.7.2 2006-2015

113 28.4 0.7 28.1 48.4 13.7 30.3 71 20.3 60 51

Coverage of essential health services

3.8.1 2006-2015

52 68 79 64 64 70 55 67 66 80 45

Financial protection when using health services

3.8.2 2010 14.2 - - - 4.4 - - - 8.5 2.3 0.9

Mortality rate attributed to household and ambient air pollution (per 100,000 population)

3.9.1 2012 68.2 59.9 234.1 130 83.9 20.5 127.4 104.2 119.4 65.3 89.6

Mortality rate attributed to exposure to unsafe WASH services (per 100,000 population)

3.9.2 2012 6 7.1 1.4 27.4 3.6 0.6 10.4 12.9 3.3 1.9 10.3

Mortality rate from unintentional poisoning (per 100,000 population)

3.9.3 2012 5.7 8.1 3.3 3.2 1.1 0.3 1.1 5.9 0.4 0.1 0.8

Page 22: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

15

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

Health-related SDG indicators

SDG target

Year BAN BHU DPRK IND INO MAV MMR NEP SRL THA TLS

Prevalence of tobacco use among persons 15 years and older (%)

3.a 2015 43 25 - 35 36 20 41 31 25 27 56

Proportion of the population with access to affordable medicines and vaccines on

3.b.1 2015 - - - - - - 43 - - - -

Skilled health professionals density (per 10,000 population)

3.c 2016 7.4 19.9 73.7 30.2 29.2 118.1 - 29.3 29.8 29.3 20.3

Average of 13 International Health Regulations core capacity scores

3.d2010-2015

88 68 73 94 96 61 86 77 71 98 71

ท่ีมา : World Health Organization (SEARO : South-East Asia Regional Office)

Page 23: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

16

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

ตารางท่ี 3 รายงานสถานการณตามตัวชี้วัดเปาประสงคท่ี 3 ของประเทศไทยยอนหลงั 3 ป

เปาประสงค/ตัวช้ีวัด เปาหมาย

ขอมูลประเทศไทย สถานะ

ณ ป 2560 สถานะ

ณ ป 2573 UN กระทรวงสาธารณสุข

2013 2014 2015 2556 2557 2558

เปาประสงคท่ี 3.1 ลดอัตราการตายของมารดาท่ัวโลกใหต่ํากวา 70 ตอการเกิดมีชีพ 1 แสนคน ภายในป 2573

3.1.1 อัตราการตายของมารดาตอการเกิดมีชีพ 100,000 คน

≤ 70 21 21 20 22.2 23.3 24.6 บรรลุ บรรลุ

3.1.2 สัดสวนของการคลอดบุตรท่ีดูแลโดยบุคคลากรดานสาธารณสุขท่ีมีความชํานาญ

ไมมีเปาหมาย

96.9 (2006)

99.4 (2009)

99.6 (2012)

97.3 99.6 99.1 - บรรลุ

เปาประสงคท่ี 3.2 ยุติการตายท่ีปองกันไดของทารกแรกเกิดและเด็กอายุต่ํากวา 5 ป โดยทุกประเทศมุงลดอัตราการตายในทารกลงใหต่ําถึง 12 คน ตอ การเกิดมีชีพ 1,000 คน และลดอัตราการตายในเด็กอายุต่ํากวา 5 ป ลงใหต่ําถึง 25 คน ตอการเกิดมีชีพ 1,000 คน ภายในป 2573 3.2.1 อัตราการตายของทารกอาย ุ ต่ํากวา 5 ป (อัตราการตายตอการเกิด 1,000 คน)

25 13.1 12.6 12.3 8.68 8.81 8.59 บรรลุ บรรลุ

3.2.2 อัตราตายของทารกแรกเกิด (การตายตอการเกิด 1,000 คน)

12 7.3 7 6.7 6.35 6.48 6.21 บรรลุ บรรลุ

เปาประสงคท่ี 3.3 ยุติการแพรกระจายของเอดส วัณโรค มาลาเรีย และโรคเขตรอนท่ีถูกละเลยและตอสูกับโรคตับอักเสบ โรคติดตอทางน้ํา และโรคติดตออ่ืนๆ ภายในป 2573 3.3.1 จํานวนผูติดเชื้อ HIV รายใหม ตอประชากรท่ีไมมีการติดเชื้อ 1,000 คน (จําแนกตาม เพศ อายุ และประชากรหลัก)

ยุติการระบาด

0.08 , 0.2 0.07 , 0.18 0.06 , 0.16 ไมมีขอมูล ยังไมบรรลุ บรรลุ ญ ช ญ ช ญ ช

Page 24: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

17

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาประสงค/ตัวช้ีวัด เปาหมาย

ขอมูลประเทศไทย สถานะ

ณ ป 2560 สถานะ

ณ ป 2573 UN กระทรวงสาธารณสุข

2013 2014 2015 2556 2557 2558

3.3.2 อัตราการเกิดโรควัณโรคตอประชากร 100,000 คน

ยุติการระบาด

170 171 172 98 104 96 ยังไมบรรลุ บรรลุ

3.3.3 อัตราการเกิดโรคมาลาเรียตอประชากร 1,000 คน ตอป **ยังไมมีรายละเอียด (Metadata)**

6.44 (2005)

6.31 (2010)

2.65 0.55 0.48 0.24 ยังไมบรรลุ บรรลุ

3.3.4 อัตราผูติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบี ตอประชากร 100,000 คน **ยังไมมีรายละเอียด (Metadata)**

ไมมีขอมูล 9.61 9.67 10.16 ยังไมบรรลุ บรรลุ

3.3.5 จํานวนผูท่ีรองขอความชวยเหลือตอการปองกันโรคเขตรอนท่ีถูกละเลย (Neglected tropical diseases)

154,968 41,297 145,141 ไมมีขอมูล ยังไมบรรลุ บรรลุ

เปาประสงคท่ี 3.4 ลดการตายกอนวัยอันควรจากโรคไมติดตอใหลดลงหนึ่งในสาม ผานทางการปองกันและการรักษาโรค และสนับสนุนสุขภาพจิตและความเปนอยูท่ีดี ภายในป 2573 3.4.1 อัตราการตายของผูท่ีเปนโรคหัวใจและหลอดเลือด โรคมะเร็ง โรคเบาหวาน หรือโรคระบบทางเดินหายใจ

ลดลง 1 ใน 3

17.37 (2005)

16.37 (2010)

16.24 2.5 2.8 2.9 ยังไมบรรลุ บรรลุ

3.4.2 ตัวชี้วัดอัตราการฆาตัวตาย 13.09 (2005)

15.77 (2010)

15.99 6.1 6.1 6.5 ยังไมบรรลุ บรรลุ

Page 25: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

18

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาประสงค/ตัวช้ีวัด เปาหมาย

ขอมูลประเทศไทย สถานะ

ณ ป 2560 สถานะ

ณ ป 2573 UN กระทรวงสาธารณสุข

2013 2014 2015 2556 2557 2558

เปาประสงคท่ี 3.5 เสริมสรางการปองกันและการรักษาการใชสารในทางท่ีผิด ซ่ึงรวมถึงการใชยาเสพติดในทางท่ีผิดและการใชแอลกอฮอลในทางอันตราย

3.5.1 ความครอบคลุมของการรักษา (การรักษาโดยใชยา ทางจิตวิทยาและการฟนฟูสมรรถภาพ และบริการการติดตามผลการรักษา) สําหรับผูท่ีใชสารเสพติด

ยังไมมีรายละเอียด (Metadata)

ไมมีขอมูล ไมมีขอมูล เกณฑไมชัดเจน เกณฑไมชัดเจน

3.5.2 การดื่มแอลกอฮอลในระดับอันตราย นยิามตามบริบทของประเทศ คิดเปนปริมาณแอลกอฮอลตอผูบริโภค(อายุตั้งแต 15 ปข้ึนไป) ในจํานวนลิตรของแอลกอฮอลบริสุทธิ์ ภายในปปฏิทิน

ยังไมชัดเจน 7.1

(2014) 8.3

(2015) 7.2

(2016) 6.91 6.95 - เกณฑไมชัดเจน

เกณฑไมชัดเจน

เปาประสงคท่ี 3.6 ลดจํานวนการตายและบาดเจ็บทางถนนท่ัวโลกลงครึ่งหนึ่ง ภายในป 2563

3.6.1 อัตราผูเสียชีวิตจากการบาดเจ็บทางถนน (จํานวนผูเสียชีวิตจากการบาดเจ็บทางถนน ภายในชวงระยะเวลา 30 วัน ตอประชากร 100,000 คน (อายุมาตรฐาน))

ลดลงครึ่งหนึ่งของ

จํานวนผูเสียชีวิต ท่ัวโลก

39.2 (2011)

36.0 (2012)

36.2 (2013)

22.9 23.2 22.3 ยังไมบรรลุ บรรลุ

Page 26: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

19

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาประสงค/ตัวช้ีวัด เปาหมาย

ขอมูลประเทศไทย สถานะ

ณ ป 2560 สถานะ

ณ ป 2573 UN กระทรวงสาธารณสุข

2013 2014 2015 2556 2557 2558

เปาประสงคท่ี 3.7 สรางหลักประกันวามีการเขาถึงบริการ ขอมูล การใหการศึกษาเกี่ยวกับอนามัยเจริญพันธุโดยถวนหนา รวมถึงการวางแผนครอบครัว และการผสานอนามัยเจริญพันธุในยุทธศาสตรและแผนงานระดับชาติ ภายในป 2573 3.7.1 รอยละของหญิงวัยเจริญพันธุอายุ (15-49 ป) ท่ีพึงพอใจกับการวางแผนครอบครัวดวยวิธีสมัยใหม

ยังไมชัดเจน - 94.8

(2006) 89.2

(2012) ไมมีขอมูล เกณฑไมชัดเจน บรรลุ

3.7.2 อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ (10-14 ป, 15-19 ป) ตอผูหญิงอายุ (10-14 ป 15-19 ป) 1,000 คน

ยังไมชัดเจน 50.9

(2010) 55.6

(2011) 60

(2012) 52.8 48.5 45.3 เกณฑไมชัดเจน

เกณฑไมชัดเจน

เปาประสงคท่ี 3.8 บรรลุการมีหลักประกันสุขภาพถวนหนา รวมถึงการปองกันความเส่ียงทางการเงิน การเขาถึงการบริการสาธารณสุขจําเปนท่ีมีคุณภาพ และเขาถึงยาและวัคซีนจําเปนท่ีปลอดภัย มีประสิทธิภาพ มีคุณภาพ และมีราคาท่ีสามารถซ้ือหาได 3.8.1 อัตราความครอบคลุมของบริการดานสุขภาพท่ีจําเปน

ยังไมมีรายละเอียด (Metadata)

96.25 (2005)

99.16 (2008)

99.87 (2013)

ไมมีขอมูล เกณฑไมชัดเจน บรรลุ

3.8.2 จํานวนประชากรท่ีไดรับการคุมครองจากประกันภัยหรือระบบสาธารณสุขตอประชากร 1,000 คน

เกณฑไมชัดเจน

ไมมีขอมูล ไมมีขอมูล เกณฑไมชัดเจน เกณฑไมชัดเจน

เปาประสงคท่ี 3.9 ลดจํานวนการตายและการเจ็บปวยจากสารเคมีอันตรายและจากมลพิษและการปนเปอนทางอากาศ น้ําและดิน ใหลดลงอยางมาก ภายในป 2573

3.9.1 อัตราการตายท่ีเกิดจากมลพิษทางอากาศในบานเรือนและในบรรยากาศ

ลดจํานวนการตายและ

การปวย 6.45 6.5 6.48 ไมมีขอมูล ยังไมบรรลุ บรรลุ

Page 27: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

20

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาประสงค/ตัวช้ีวัด เปาหมาย

ขอมูลประเทศไทย สถานะ

ณ ป 2560 สถานะ

ณ ป 2573 UN กระทรวงสาธารณสุข

2013 2014 2015 2556 2557 2558

3.9.2 อัตราการตายท่ีเกิดจากน้ํา สุขอนามัย ท่ีไมปลอดภัย และปราศจากสุขลักษณะ (การเปดเผยบริการชะลางท่ีไมปลอดภัย) (อัตราการตายเนื่องจากสารเคมีอันตราย มลภาวะในน้ําและในดิน และการปนเปอน)

- - 1.87 ไมมีขอมูล ยังไมบรรลุ

เกณฑไมชัดเจน

3.9.3 อัตราการตายท่ีเกิดจากการไดรับสารพิษโดยไมตั้งใจ

0.51 (2005)

0.53 (2010)

0.53 0.1 0.1 0.1 ยังไมบรรลุ บรรลุ

เปาประสงคท่ี 3.a เสริมการดําเนินงานของกรอบอนุสัญญาขององคการอนามัยโลกวาดวยการควบคุมยาสูบในทุกประเทศตามความเหมาะสม

3.a.1 ความชุกของการปรับมาตรฐานอายุของผูท่ีสูบบุหรี่ในปจจุบันในจํานวนผูสูบบุหรี่ท่ีมีอายุตั้งแต 15 ปข้ึนไป

ยังไมมีรายละเอียด (Metadata)

ไมมีขอมูล 21.2

(2550) 18.5

(2553) 21.5 เกณฑไมชัดเจน

เกณฑไมชัดเจน

เปาประสงคท่ี 3.b สนับสนุนการวิจัยและการพัฒนาวัคซีนและยาสําหรับโรคติดตอและไมติดตอท่ีสงผลกระทบโดยตรงตอประเทศกําลังพัฒนา ใหมีการเขาถึงยาและวัคซีนจําเปนในราคาท่ีสามารถซ้ือหาได ตามปฏิญญาโดฮาความตกลงวาดวยสิทธิในทรัพยสินทางปญญาเกี่ยวกับการคาและการสาธารณสุข ซ่ึงเนนยํ้าสิทธิสําหรับประเทศกําลังพัฒนาท่ีจะใชบทบัญญัติในความตกลงวาดวยสิทธิในทรัพยสินทางปญญาท่ีเกี่ยวกับการคาอยางเต็มท่ีในเรื่องการผอนปรนเพ่ือจะปกปองสุขภาพสาธารณะและโดยเฉพาะการเขาถึงยาโดยถวนหนา 3.b.1 สัดสวนของประชากรท่ีเขาถึงยา และวัคซีน ในราคาท่ีสามารถหาซ้ือไดท่ีตั้งอยูบนหลักความยั่งยืน

ยังไมมีรายละเอียด (Metadata)

ไมมีขอมูล ไมมีขอมูล เกณฑไมชัดเจน เกณฑไมชัดเจน

Page 28: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

21

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาประสงค/ตัวช้ีวัด เปาหมาย

ขอมูลประเทศไทย สถานะ

ณ ป 2560 สถานะ

ณ ป 2573 UN กระทรวงสาธารณสุข

2013 2014 2015 2556 2557 2558

3.b.2 เงินชวยเหลือเพ่ือการพัฒนาอยางเปนทางการสุทธิรวม (Total net official development assistance-ODA) ตอการวิจัยทางการแพทย และดานสุขภาพข้ันพ้ืนฐาน

ยังไมชัดเจน 23.97 29.06 26.79 ไมมีขอมูล เกณฑไมชัดเจน เกณฑไมชัดเจน

เปาประสงคท่ี 3.c เพ่ิมการใชเงินท่ีเกี่ยวกับสุขภาพ และการสรรหา การพัฒนา การฝกฝน และการเก็บรักษากําลังคนดานสุขภาพในประเทศกําลังพัฒนา โดยเฉพาะอยางย่ิงในประเทศพัฒนานอยท่ีสุดและรัฐกําลังพัฒนาท่ีเปนเกาะขนาดเล็ก 3.c.1 ความหนาแนนและการกระจายตัวของบุคลากรดานสาธารณสุข

ยังไมชัดเจน 1.92

(2008) 2

(2009) 2.47

(2010) ไมมีขอมูล เกณฑไมชัดเจน บรรลุ

เปาประสงคท่ี 3.d เสริมขีดความสามารถสําหรับทุกประเทศ โดยเฉพาะอยางย่ิงในประเทศกําลังพัฒนา ในเรื่องการแจงเตือนลวงหนา การลดความเส่ียง และการบริหารจัดการความเส่ียงดานสุขภาพในระดับประเทศและระดับโลก 3.d.1 ปริมาณของกฎอนามัยระหวางประเทศ (International Health Regulations : IHR) และการเตรียมความพรอมฉุกเฉินดานสุขภาพ

ยังไมชัดเจน 81.6

(2012) 93.1

(2013) 97.8

(2014) ไมมีขอมูล เกณฑไมชัดเจน บรรลุ

อางอิง : Global Database (WHO,GHO,OECD,UNAIDS,Country survey) และขอมูลจากหนวยงานสังกัดกระทรวงสาธารณสุข

Page 29: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

แผนท่ีนําทางการพัฒนาท่ียั่งยืน เปาหมายท่ี 3

แผนยุทธศาสตร 20 ป (ดานสาธารณสุข)

แผนยุทธศาสตรชาติดานสาธารณสุขระยะ 20 ป กระทรวงสาธารณสุขจัดทําข้ึนใหสอดรับกับ

การจัดทํายุทธศาสตรชาติระยะ 20 ป เ พ่ือการขับเคลื่อนและพัฒนาประเทศ ใหบรรลุตามวิสัยทัศน

“ประเทศไทยมีความม่ันคง ม่ังคั่ง ย่ังยืน เปนประเทศพัฒนาแลว ดวยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของ

เศรษฐกิจพอเพียง”ตามนโยบายรัฐบาลท่ีจะนําประเทศไทยกาวสู Thailand 4.0 รองรับอนาคตท่ีมีความเปน

สังคมเมือง สังคมผูสูงอายุซ่ึงในป 2573 ไทยจะมีผูสูงอายุถึง 1 ใน 4 ของประชากรท้ังหมด การเชื่อมตอการคา

และการลงทุน ความกาวหนาทางเทคโนโลยี และลดความเหลื่อมล้ําการเขาถึงระบบสุขภาพ

ในการจัดทําแผนยุทธศาสตรชาติระยะ 20 ป (ดานสาธารณสุข) ไดกําหนดยุทธศาสตรท่ีจะพัฒนา

ความเปนเลิศใน 4 ดาน (4 Excellence Strategies) หรือ ยุทธศาสตร 4E ซ่ึงประกอบดวย 1) สงเสริมสุขภาพและ

ปองกันโรคเปนเลิศ (Prevention & Promotion Excellence) 2) บริการเปนเลิศ (Service Excellence)

3) บุคลากรเปนเลิศ (People Excellence) และ 4) บริหารเปนเลิศดวยธรรมาภิบาล (Governance Excellence)

โดยวางกรอบแนวคิดโดยใหสอดคลองกับ ประเทศไทย 4.0 สรางเศรษฐกิจใหม กาวขามกับดักรายไดปานกลาง

เปาหมายการพัฒนาท่ียั่งยืน (Sustainable Development Goals – SDGs by 2030) ประเด็นปฏิรูปคณะรักษา

ความสงบแหงชาติ 11 ดาน นโยบายรัฐบาล 10 ขอ (นายกรัฐมนตรีพลเอกประยุทธ จันทรโอชา) รางรัฐธรรมนูญ

แหงราชอาณาจักรไทย 2559 รางยุทธศาสตรชาติระยะ 20 ป (พ.ศ.2560-2579) การบูรณาการระดับชาติ

การปฏิรูปประเทศไทยดานสาธารณสุขและสิ่งแวดลอม และปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เพ่ือขับเคลื่อนทุกหนวยงาน

ใหบรรลุเปาหมาย “ประชาชนสุขภาพดี เจาหนาท่ีมีความสุข ระบบสุขภาพย่ังยืน” จึงกําหนดทิศทางการวางแผน

เปน 4 ระยะ ระยะละ 5 ป และมีจุดเนนหนักในแตละระยะ คือ ระยะท่ี 1 พ.ศ. 2560 – 2564 ปฏิรูประบบ ระยะท่ี

2 พ.ศ. 2565 – 2569 สรางความเขมแข็ง ระยะท่ี 3 พ.ศ. 2570 – 2574 สูความยั่งยืน และระยะท่ี 4 พ.ศ. 2575 –

2579 เปน 1 ใน 3 ของเอเชีย

รายละเ อียดแผนยุทธศาสตรชาติ ระยะ 20 ป (ดานสาธารณสุข ) ภายใตยุทธศาสตร

พัฒนาความเปนเลิศ 4 ดาน ประกอบดวย 16 แผนงาน 48 โครงการ 96 ตัวชี้วัดตามยุทธศาสตร ดังนี้

ยุทธศาสตรท่ี 1 สงเสริมสุขภาพและปองกันโรคเปนเลิศ (Prevention & Promotion Excellence)

เพ่ือสงเสริมใหประชาชนทุกกลุมวัยมีสุขภาพดี ไดรับการสงเสริมสุขภาพ ปองกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพและ

ลดปจจัยเสี่ยงดานสุขภาพ โดยมีระบบตอบสนองตอภัยสุขภาพตางๆตลอดจนมีการคุมครองผูบริโภคดานสุขภาพ

ท่ีดี อยูในสภาพแวดลอมท่ีเอ้ือตอการมีสุขภาพดีสงผลใหอายุขัยเฉลี่ยและคุณภาพชีวิตดีข้ึน ประกอบดวย 4

แผนงาน 12 โครงการ 29 ตัวชี้วัดตามยุทธศาสตร ไดแก

แผนงานท่ี 1 การพัฒนาคุณภาพชีวิตคนไทยทุกกลุมวัย (ดานสุขภาพ)

1.โครงการพัฒนาและสรางเสริมศักยภาพคนไทยกลุมสตรีและเด็ก

2. โครงการพัฒนาและสรางเสริมศักยภาพคนไทยกลุมวัยเรียนและวัยรุน

3. โครงการพัฒนาและสรางเสริมศักยภาพคนไทยกลุมวัยทํางาน

4. โครงการพัฒนาและสรางเสริมศักยภาพคนไทยกลุมวัยผูสูงอายุ

22

Page 30: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

แผนท่ีนําทางการพัฒนาท่ียั่งยืน เปาหมายท่ี 3

แผนงานท่ี 2 การปองกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ

1.โครงการพัฒนาระบบการตอบโตภาวะฉุกเฉินและภัยสุขภาพ

2.โครงการควบคุมโรคติดตอ

3.โครงการควบคุมโรคไมติดตอและภัยสุขภาพ

แผนงานท่ี 3 การลดปจจัยเสี่ยงดานสุขภาพ

1.โครงการสงเสริมและพัฒนาความปลอดภัยดานอาหาร

2.โครงการลดปจจัยเสี่ยงดานสุขภาพ

3.โครงการคุมครองผูบริโภคดานผลิตภัณฑสุขภาพและบริการสุขภาพ

แผนงานท่ี 4 การบริหารจัดการสิ่งแวดลอม

1.โครงการบริหารจัดการขยะและสิ่งแวดลอม

2.โครงการคุมครองสุขภาพประชาชนจากมลพิษสิ่งแวดลอมในพ้ืนท่ีเสี่ยง (Hot Zone)

ยุทธศาสตรท่ี 2 บริการเปนเลิศ (Service Excellence) เพ่ือใหประชาชนไดรับการบริการท่ีมี

คุณภาพ ประสิทธิภาพครอบคลุมท่ัวถึงลดความเหลื่อมล้ําของผูรับบริการในดานการแพทยและสาธารณสุข

รวมท้ังมีระบบการสงตอท่ีมีคุณภาพเพ่ือใหประชาชนสามารถเขาถึงบริการไดอยางเทาเทียมกัน ประกอบดวย 6

แผนงาน 23 โครงการ 41 ตัวชี้วัดตามยุทธศาสตร ไดแก

แผนงานท่ี 1 การพัฒนาระบบการแพทยปฐมภูมิ (Primary Care Cluster)

1.โครงการพัฒนาระบบการแพทยปฐมภูมิและเครือขายระบบสุขภาพระดับอําเภอ (DHS)

แผนงานท่ี 2 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan)

1.โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาโรคไมติดตอเรื้อรัง

2.โครงการปองกันและควบคุมการดื้อยาตานจุลชีพและการใชยาอยางสมเหตุสมผล

3.โครงการพัฒนาศูนยความเปนเลิศทางการแพทย

4.โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาทารกแรกเกิด

5.โครงการดูแลผูสูงอายุ ผูพิการและผูดอยโอกาส แบบประคับประคอง

6.โครงการพัฒนาระบบบริการการแพทยแผนไทยฯ

7.โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาสุขภาพจิตและจิตเวช

8.โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ 5 สาขาหลัก

9.โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาโรคหัวใจ

10.โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาโรคมะเร็ง

11.โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาโรคไต

12.โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาจักษุวิทยา

13.โครงการพัฒนาระบบการดูแลสุขภาพชองปาก

14.โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาปลูกถายอวัยวะ

23

Page 31: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

แผนท่ีนําทางการพัฒนาท่ียั่งยืน เปาหมายท่ี 3

แผนงานท่ี 3 การพัฒนาระบบบริการการแพทยฉุกเฉินครบวงจรและระบบการสงตอ

1.โครงการพัฒนาระบบบริการการแพทยฉุกเฉินครบวงจรและระบบการสงตอ

แผนงานท่ี 4 การพัฒนาคุณภาพหนวยงานบริการดานสุขภาพ

1.โครงการพัฒนาและรับรองคุณภาพตามมาตรฐาน (HA) สําหรับสถานพยาบาล

2.โครงการพัฒนาคุณภาพ รพ.สต.

แผนงานท่ี 5 การพัฒนาตามโครงการพระราชดําริและพ้ืนท่ีเฉพาะ

1.โครงการพัฒนา รพ.เฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา และรพ.สมเด็จพระยุพราช

2.โครงการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษและสุขภาพแรงงานขามชาติ (Migrant Health)

3.โครงการเพ่ิมการเขาถึงบริการดานสุขภาพในชายแดนใต

แผนงานท่ี 6 ประเทศไทย 4.0 ดานสาธารณสุข

1.โครงการพัฒนาสถานบริการดานสุขภาพ

2.โครงการพัฒนาผลิตภัณฑสุขภาพและเทคโนโลยีทางการแพทย

ยุทธศาสตรท่ี 3 บุคลากรเปนเลิศ (People Excellence) เพ่ือใหมีกําลังคนดานสุขภาพท่ีเพียงพอ

และมีคุณภาพ มีการกระจายท่ีเหมาะสม เปนธรรมและท่ัวถึง เพ่ือตอบสนองตอความตองการดานสุขภาพ

ของประชาชนอยางแทจริง ประกอบดวย 1 แผนงาน 4 โครงการ 8 ตัวชี้วัดตามยุทธศาสตร ไดแก

แผนงานท่ี 1 การพัฒนาระบบบริหารจัดการกําลังคนดานสุขภาพ

1.โครงการพัฒนาการวางแผนกําลังคนดานสุขภาพ

2. โครงการผลิตและพัฒนากําลังคนดานสุขภาพสูความเปนมืออาชีพ

3.โครงการเพ่ิมประสิทธิภาพการบริหารจัดการกําลังคน

4.โครงการพัฒนาเครือขายกําลังคนดานสุขภาพ

ยุทธศาสตรท่ี 4 บริหารเปนเลิศดวยธรรมาภิบาล (Governance Excellence) เพ่ือลดคาใชจาย

ดานสุขภาพลงและยั่งยืน ดวยการบริหารจัดอยางอยางมีธรรมาภิบาล ระบบบริหารจัดการท่ีโปรงใสเปนธรรม

ตรวจสอบได ประกอบดวย 5 แผนงาน 9 โครงการ 18 ตวัชี้วัดตามยุทธศาสตร ไดแก

แผนงานท่ี 1 การพัฒนาระบบธรรมาภิบาลและคุณภาพการบริการจัดการภาครัฐ

1.โครงการประเมินคุณธรรมและความโปรงใส

2.โครงการพัฒนาระบบควบคุมภายในและบริหารความเสี่ยง

แผนงานท่ี 2 การพัฒนาระบบขอมูลสารสนเทศดานสุขภาพ

1.โครงการพัฒนาระบบขอมูลขาวสารเทคโนโลยีสุขภาพแหงชาติ (NHIS)

2.โครงการพัฒนาสุขภาพดวยเศรษฐกิจดิจิทัล (Digital Economy)

แผนงานท่ี 3 การบริหารจัดการดานการเงินการคลังสุขภาพ

1.โครงการลดความเหลื่อมล้ําของ 3 กองทุน

2.โครงการบริหารจัดการดานการเงินการคลัง

24

Page 32: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

แผนท่ีนําทางการพัฒนาท่ียั่งยืน เปาหมายท่ี 3

แผนงานท่ี 4 การพัฒนางานวิจัยและองคความรูดานสุขภาพ

1.โครงการพัฒนางานวิจัย

2.โครงการสรางองคความรูและการจัดการความรูดานสุขภาพ

แผนงานท่ี 5 การปรับโครงสรางและการพัฒนากฎหมายดานสุขภาพ

1.โครงการปรับโครงสรางและพัฒนากฎหมายดานสุขภาพ

25

Page 33: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

แผนท่ีนําทางการพัฒนาท่ียั่งยืน เปาหมายท่ี 3

ความเช่ือมโยงแผนยุทธศาสตรชาติระยะ 20 ป (ดานสาธารณสุข)

กับ แผนที่นําทางขับเคลื่อนเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

แผนยุทธศาสตรดานสาธารณสุขระยะ 20 ป ประกอบดวย 16 แผนงาน 48 โครงการ เม่ือพิจารณา

การพัฒนาท่ียั่งยืนเปาหมายท่ี 3 จะสอดคลองกับ 7 แผนงาน ดังภาพ

ยุทธศาสตรท่ี 1 สงเสริมสุขภาพและปองกันโรคเปนเลิศ (Prevention & Promotion Excellence)

กระทรวงสาธารณสุขใชมาตรการ PIRAB จากท่ีประชุมกฎบัตรกรุงเทพ (Bangkok Charter) ไดประกาศให

ทุกภาคสวนและทุกพ้ืนท่ี (Sector & Setting) นําไปใชเพ่ือเพ่ิมประสิทธิผลและประสิทธิภาพในการทํางาน

สงเสริมสุขภาพ ในการประชุมสงเสริมสุขภาพโลกครั้งท่ี 6 ท่ีกรุงเทพมหานคร โดย PIRAB ประกอบดวย

P : Partner ชักชวนพันธมิตรทุกภาคสวน ทุกระดับ ใหเห็นความสําคัญและรวมกันทํางานสงเสริม

สุขภาพแบบยั่งยืน โดยเฉพาะการกําหนดเรื่องสุขภาพเปนประเด็นสําคัญในทุกนโยบายสุขภาพ (Health in All

Policy)

I : Invest กระตุนใหเกิดการเกิดลงทุนโดยเฉพาะดานงบประมาณท่ีเพียงพอจากระดับนโยบายในทุกภาคสวนเพ่ือจัดการกับปจจัยกําหนดสุขภาพท้ังดานสังคม เศรษฐกิจ

R : Regulate and Legislate ใชการตรากฎและออกกฎหมาย เพ่ือคุมครองประชาชนจากความเสี่ยงตอสุขภาพทุกดาน

A : Advocate ชี้นํา ชูประเด็น และสนับสนุนใหการเมืองทุกระดับใหความสําคัญกับการสงเสริมสุขภาพบนพ้ืนฐานสิทธิมนุษยชนและความเทาเทียม สรางการทํางานรวมกันกับทุกภาคสวน

B : Build Capacity พัฒนาศักยภาพบุคลากรทุกภาคสวนใหสามารถพัฒนานโยบายทุกดานท่ีเก่ียวของ

กับสุขภาพ รวมท้ังการวิจัย การกระจายความรูเพ่ือความรอบรูดานสุขภาพของประชาชน

26

Page 34: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

แผนท่ีนําทางการพัฒนาท่ียั่งยืน เปาหมายท่ี 3

เม่ือพิจารณาตัวชี้วัดรายตัวสามารถนํามาเชื่อมโยงกับยุทธศาสตรท่ี 1 ดังนี้

แผนงานท่ี 1 การพัฒนาคุณภาพชีวิตคนไทยทุกกลุมวัย (ดานสุขภาพ)

โครงการท่ี 1 พัฒนาคุณภาพและสรางเสริมศักยภาพคนไทยกลุมสตรีและเด็กปฐมวัย

เปาประสงค 3.1 ลดอัตราการตายของมารดาท่ัวโลกใหต่ํากวา 70 ตอการเกิดมีชีพ 1 แสนคน

ภายในป 2573

ตัวชี้วัดท่ี 3.1.1 อัตราการตายของมารดาตอการเกิดมีชีพ 100,000 คน

ตัวชี้วัดท่ี 3.1.2 สัดสวนของการคลอดบุตรท่ีดูแลโดยบุคคลากรดานสาธารณสุขท่ีมีความชํานาญ

โครงการท่ี 2 พัฒนาคุณภาพและสรางเสริมศักยภาพคนไทยกลุมวัยเรียนและวัยรุน

เปาประสงค 3.7 สรางหลักประกันวามีการเขาถึงบริการ ขอมูล การใหการศึกษาเก่ียวกับอนามัย

เจริญพันธุโดยถวนหนา รวมถึงการวางแผนครอบครัว และการผสานอนามัยเจริญพันธุในยุทธศาสตรและ

แผนงานระดับชาติ ภายในป 2573

ตัวชี้วัดท่ี 3.7.1 รอยละของหญิงวัยเจริญพันธุอายุ (15-49 ป) ท่ีพึงพอใจกับการวางแผนครอบครัว

ดวยวธิีสมัยใหม

ตัวชี้วัดท่ี 3.7.2 อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ (10-14 ป, 15-19 ป) ตอผูหญิงอายุ (10-14 ป ,

15-19 ป) 1,000 คน

แผนงานท่ี 2 การปองกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ

โครงการท่ี 1 ควบคุมโรคติดตอ

เปาประสงค 3.3 ยุติการแพรกระจายของเอดส วัณโรค มาลาเรีย และโรคเขตรอนท่ีถูกละเลยและ

ตอสูกับโรคตับอักเสบ โรคติดตอทางน้ํา และโรคติดตออ่ืนๆ ภายในป 2573

ตัวชี้วัดท่ี 3.3.1 จํานวนผูติดเชื้อ HIV รายใหมตอประชากรท่ีไมมีการติดเชื้อ 1,000 คน

ตัวชี้วัดท่ี 3.3.2 อัตราการเกิดโรควัณโรคตอประชากร 1,000 คน

ตัวชี้วัดท่ี 3.3.3 อัตราการเกิดโรคมาลาเรียตอประชากร 1,000 คน ตอป

ตัวชี้วัดท่ี 3.3.4 อัตราผูติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบี ตอประชากร 100,000 คน

ตัวชี้วัดท่ี 3.3.5 จํานวนผูท่ีรองขอความชวยเหลือตอการปองกันโรคเขตรอนท่ีถูกละเลย

โครงการท่ี 2 ควบคุมโรคไมติดตอและภัยสุขภาพ

เปาประสงค 3.6 ลดจํานวนการตายและบาดเจ็บทางถนนท่ัวโลกลงครึ่งหนึ่ง ภายในป 2563

ตัวชี้วัดท่ี 3.6.1 อัตราผูเสียชีวิตจากการบาดเจ็บทางถนน (จํานวนผูเสียชีวิตจากการบาดเจ็บทาง

ถนน ภายในชวงระยะเวลา 30 วัน ตอประชากร 100,000 คน (อายุมาตรฐาน))

ตัวชี้วัดท่ี 3.d.1 ปริมาณของกฎอนามัยระหวางประเทศ (International Health Regulations :

IHR) และการเตรียมความพรอมฉุกเฉินดานสุขภาพ

แผนงานท่ี 3 การลดปจจัยเสี่ยงดานสุขภาพ

โครงการท่ี 2 ลดปจจัยเสี่ยงดานสุขภาพ

เปาประสงค 3.5 เสริมสรางการปองกันและการรักษาการใชสารในทางท่ีผิด ซ่ึงรวมถึงการใชยา

เสพติดในทางท่ีผิดและการใชแอลกอฮอลในทางอันตราย

27

Page 35: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

แผนท่ีนําทางการพัฒนาท่ียั่งยืน เปาหมายท่ี 3

ตัวชี้วัดท่ี 3.5.1 ความครอบคลุมของการรักษา (การรักษาโดยใชยา ทางจิตวิทยาและการฟนฟู

สมรรถภาพ และบริการการติดตามผลการรักษา) สําหรับผูท่ีใชสารเสพติด

ตัวชี้วัดท่ี 3.5.2 การดื่มแอลกอฮอลในระดับอันตราย นิยามตามบริบทของประเทศ คิดเปนปริมาณ

แอลกอฮอลตอผูบริโภค(อายุตั้งแต 15 ปข้ึนไป) ในจํานวนลิตรของแอลกอฮอล

บริสุทธิ์ ภายในปปฏิทิน

เปาประสงค 3.a เสริมการดําเนินงานของกรอบอนุสัญญาขององคการอนามัยโลกวาดวยการ

ควบคุมยาสูบในทุกประเทศตามความเหมาะสม

ตัวชี้วัดท่ี 3.a.1 ความชุกของการปรับมาตรฐานอายุของผูท่ีสูบบุหรี่ในปจจุบันในจํานวนผูสูบบุหรี่ท่ี

มีอายุตั้งแต 15 ปข้ึนไป

แผนงานท่ี 4 การบริหารจัดการสิ่งแวดลอม

โครงการท่ี 1 คุมครองสุขภาพประชาชนจากมลพิษสิ่งแวดลอมในพ้ืนท่ีเสี่ยง (Hot Zone)

เปาประสงค 3.9 ลดจํานวนการตายและการเจ็บปวยจากสารเคมีอันตรายและจากมลพิษและการ

ปนเปอนทางอากาศ น้ําและดิน ใหลดลงอยางมาก ภายในป 2573

ตัวชี้วัดท่ี 3.9.1 อัตราการตายท่ีเกิดจากมลพิษทางอากาศในบานเรือนและในบรรยากาศ

ตัวชี้วัดท่ี 3.9.2 อัตราการตายท่ีเกิดจากน้ํา สุขอนามัย ท่ีไมปลอดภัย และปราศจากสุขลักษณะ

(การเปดเผยบริการชะลางท่ีไมปลอดภัย) (อัตราการตายเนื่องจากสารเคมีอันตราย

มลภาวะในน้ําและในดิน และการปนเปอน)

โครงการท่ี 2 บริหารจัดการขยะและสิ่งแวดลอม

เปาประสงค 3.9 ลดจํานวนการตายและการเจ็บปวยจากสารเคมีอันตรายและจากมลพิษและการ

ปนเปอนทางอากาศ น้ําและดิน ใหลดลงอยางมาก ภายในป 2573

ตัวชี้วัดท่ี 3.9.3 อัตราการตายท่ีเกิดจากการไดรับสารพิษโดยไมตั้งใจ

ยุทธศาสตรท่ี 2 บริการเปนเลิศ (Service Excellence) กระทรวงสาธารณสุขใชกรอบแนวคิด

ระบบสุขภาพขององคการอนามัยโลก (WHO Health System Framework) โดยกรอบแนวคิดดังกลาวระบุ

ผลลัพธของ ระบบสุขภาพท่ีสําคัญ คือ การเขาถึง ความครอบคลุม คุณภาพและความปลอดภัย และผลสัมฤทธิ์

นอกจากจะทําใหประชาชนมีสุขดีข้ึนแลว ยังตองมีประสิทธิภาพ สรางความเปนธรรม ปกปองคุมครองความเสี่ยง

ท้ังดานสังคมและการเงิน และสามารถตอบสนองตอความตองการของประชาชนดวย โดยระบบสุขภาพท่ีจะ

บรรลุถึงเปาหมายเหลานี้ไดจะตองประกอบดวยองคประกอบพ้ืนฐานอยางนอย 6 ประการ (six building blocks)

ไดแก 1) การใหบริการ 2) บุคลากรดานสุขภาพ 3) สารสนเทศ 4) ผลิตภัณฑทางการแพทย วัคซีน และ

เทคโนโลยี 5) การเงิน 6) ภาวะผูนําและธรรมาภิบาล เม่ือพิจารณาตัวชี้วัดรายตัวสามารถนํามาเชื่อมโยงกับ

ยุทธศาสตรท่ี 2 ดังนี้

แผนงานท่ี 6 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan)

โครงการท่ี 4 พัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาทารกแรกเกิด

28

Page 36: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

แผนท่ีนําทางการพัฒนาท่ียั่งยืน เปาหมายท่ี 3

เปาประสงค 3.2 ยุติการตายท่ีปองกันไดของทารกแรกเกิดและเด็กอายุต่ํากวา 5 ป โดยทุก

ประเทศมุงลดอัตราการตายในทารกลงใหต่ําถึง 12 คน ตอ การเกิดมีชีพ 1,000 คน และลดอัตราการตายในเด็ก

อายุต่ํากวา 5 ป ลงใหต่ําถึง 25 คน ตอการเกิดมีชีพ 1,000 คน ภายในป 2573

ตัวชี้วัดท่ี 3.2.1 อัตราการตายของทารกอายุต่ํากวา 5 ป (อัตราการตายตอการเกิด 1,000 คน)

ตัวชี้วัดท่ี 3.2.2 ตัวชี้วัดอัตราตายของทารกแรกเกิด (การตายตอการเกิด 1,000 คน)

โครงการท่ี 7 พัฒนาระบบบริการสุขภาพสาขาสุขภาพจิตและจิตเวช

เปาประสงค 3.4 ลดการตายกอนวัยอันควรจากโรคไมติดตอใหลดลงหนึ่งในสาม ผานทางการ

ปองกันและการรักษาโรค และสนับสนุนสุขภาพจิตและความเปนอยูท่ีดี ภายในป 2573

ตัวชี้วัดท่ี 3.4.2 ตัวชี้วัดอัตราการฆาตัวตาย

โครงการท่ี 10 พัฒนาระบบบริการสุขภาพสาขาโรคไมติดตอเรื้อรัง/สาขาโรคหัวใจ และสาขาโรคมะเร็ง

เปาประสงค 3.4 ลดการตายกอนวัยอันควรจากโรคไมติดตอใหลดลงหนึ่งในสาม ผานทางการ

ปองกันและการรักษาโรค และสนับสนุนสุขภาพจิตและความเปนอยูท่ีดี ภายในป 2573

ตัวชี้วัดท่ี 3.4.1 อัตราการตายของผูท่ีเปนโรคหัวใจและหลอดเลือด โรคมะเร็ง โรคเบาหวาน หรือ

โรคระบบทางเดินหายใจ

ยุทธศาสตรท่ี 3 บุคลากรเปนเลิศ (People Excellence) เพื่อแกปญหาขาดแคลนบุคลากร

การวางแผนอัตรากําลังคน รวมมือกับมหาวิทยาลัยในแตละภู มิภาคผลิตและพัฒนาบุคลากร การปรับ

ระบบคาตอบแทนบุคลากรสาธารณสุข การสรางศักยภาพบุคลากรสาธารณสุขใหมีความเปนเลิศ (excellence) ใน

ทุกๆดาน พรอมท้ังมีความสุข โดยเนนงานดาน human resource planning, human resource development

และ human resource management เม่ือพิจารณาตัวชี้วัดรายตัวสามารถนํามาเชื่อมโยงกับยุทธศาสตรท่ี 3 ดังนี้

แผนงานท่ี 11 การพัฒนาระบบบริหารจัดการกําลังคนดานสุขภาพ

โครงการท่ี 1 เพ่ิมประสิทธิภาพการบริหารจัดการกําลังคน

เปาประสงค 3.c เพ่ิมการใชเงินท่ีเก่ียวกับสุขภาพ และการสรรหา การพัฒนา การฝกฝน และการ

เก็บรักษากําลังคนดานสุขภาพในประเทศกําลังพัฒนา โดยเฉพาะอยางยิ่งในประเทศพัฒนานอยท่ีสุดและรัฐกําลัง

พัฒนาท่ีเปนเกาะขนาดเล็ก

ตัวชี้วัดท่ี 3.c.1 ความหนาแนนและการกระจายตัวของบุคลากรดานสาธารณสุข

ยุทธศาสตรท่ี 4 บริหารเปนเลิศดวยธรรมาภิบาล (Governance Excellence) การพัฒนาระบบ

บริหารจัดการตางๆ ใหดีมีประสิทธิภาพ โดยเนนหนักดานขอมูลและระบบสารสนเทศ (information technology)

ท่ีทันสมัย ระบบการเงินการคลังท่ีมีประสิทธิภาพ เม่ือพิจารณาตัวชี้วัดรายตัวสามารถนํามาเชื่อมโยงกับยุทธศาสตร

ท่ี 3 ดังนี้

29

Page 37: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

แผนท่ีนําทางการพัฒนาท่ียั่งยืน เปาหมายท่ี 3

แผนงานท่ี 14 การบริหารจัดการดานการเงินการคลังสุขภาพ

โครงการท่ี 1 ลดความเหลื่อมล้ําของ 3 กองทุน

เปาประสงค 3.8 บรรลุการมีหลักประกันสุขภาพถวนหนา รวมถึงการปองกันความเสี่ยงทาง

การเงิน การเขาถึงการบริการสาธารณสุขจําเปนท่ีมีคุณภาพ และเขาถึงยาและวัคซีนจําเปนท่ีปลอดภัย มี

ประสิทธิภาพ มีคุณภาพ และมีราคาท่ีสามารถซ้ือหาได

ตัวชี้วัดท่ี 3.8.1 อัตราความครอบคลุมของบริการดานสุขภาพท่ีจําเปน (นิยามความครอบคลุมของ

บริการท่ีจําเปนเฉลี่ยโดยยึดการติดตามการรักษา ซ่ึงประกอบดวย การเจริญพันธุ มารดา เด็กเกิดใหมและสุขภาพเด็ก

โรคติดตอ โรคไมติดตอ และความสามารถในการเขาถึงบริการระหวางคนท่ัวไปและผูดอยโอกาส (ความท่ัวถึงของการ

ติดตามการรักษา (เชน การฉีดวัคซีนแบบเต็มรูปแบบในเด็ก, การรักษาดวยยาตานไวรัส การรักษาวัณโรค การรักษา

ความดันโลหิตสูง, การดูแลการคลอดโดยผูชํานาญ)

ตัวชี้วัดท่ี 3.8.2 จํานวนประชากรท่ีไดรับการคุมครองจากประกันภัยหรือระบบสาธารณสุขตอประชากร

1,000 คน

เปาประสงค 3.b บรรลุการมีหลักประกันสุขภาพถวนหนา รวมถึงการปองกันความเสี่ยงทาง

การเงิน การเขาถึงการบริการสาธารณสุขจําเปนท่ีมีคุณภาพ และเขาถึงยาและวัคซีนจําเปนท่ีปลอดภัย มี

ประสิทธิภาพ มีคุณภาพ และมีราคาท่ีสามารถซ้ือหาได

ตัวชี้วัดท่ี 3.b.1 สัดสวนของประชากรท่ีเขาถึงยาและวัคซีน ในราคาท่ีสามารถหาซ้ือไดท่ีตั้งอยูบน

หลักความยั่งยืน

ตัวชี้วัดท่ี 3.b.2 เงินชวยเหลือเพ่ือการพัฒนาอยางเปนทางการสุทธิรวม (Total net official

development assistance-ODA) ตอการวิจัยทางการแพทยและดานสุขภาพข้ัน

พ้ืนฐาน

30

Page 38: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

แผนท่ีนําทางการพัฒนาท่ียั่งยืน เปาหมายท่ี 3

การดําเนินการขับเคลือ่นของกระทรวงสาธารณสุขเพ่ือบรรลุเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs)

กระทรวงสาธารณสุขไดแบงการดําเนินงานเปน 3 ระยะ คือ ระยะสั้น ระยะกลาง และระยะยาว

โดยแตละระยะจะเนนหนักแตละตัวชี้วัดเพ่ือใหบรรลุเปาหมาย

ระยะส้ัน (พ.ศ.2560) เนนดําเนินการ ดังนี้

เปาประสงคท่ี 3.1 ลดอัตราการตายของมารดาท่ัวโลกใหตํ่ากวา 70 ตอการเกิดมีชีพ 1 แสนคน

ภายในป 2573

3.1.1 อัตราการตายของมารดาตอการเกิดมีชีพ 100,000 คน

3.1.2 สัดสวนของการคลอดบุตรท่ีดูแลโดยบุคลากรดานสาธารณสุขท่ีมีความชํานาญ

เปาประสงคท่ี 3.3 ยุติการแพรกระจายของเอดส วัณโรค มาลาเรีย และโรคเขตรอนท่ีถูกละเลย

และตอสูกับโรคตับอักเสบ โรคติดตอทางน้ํา และโรคติดตออ่ืนๆ ภายในป 2573

3.3.5 จํานวนผูท่ีรองขอความชวยเหลือตอการปองกันโรคเขตรอนท่ีถูกละเลย

(Neglected tropical diseases)

เปาประสงคท่ี 3.7 สรางหลักประกันวามีการเขาถึงบริการ ขอมูล การใหการศึกษาเก่ียวกับอนามัย

เจริญพันธุโดยถวนหนา รวมถึงการวางแผนครอบครัว และการผสานอนามัยเจริญพันธุในยุทธศาสตรและ

แผนงานระดับชาติ ภายในป 2573

3.7.1 รอยละของหญิงวัยเจริญพันธุอายุ (15-49 ป) ท่ีพึงพอใจกับการวางแผน

ครอบครัวดวยวิธีสมัยใหม

เปาประสงคท่ี 3.9 ลดจํานวนการตายและการเจ็บปวยจากสารเคมีอันตรายและจากมลพิษและ

การปนเปอนทางอากาศ น้ําและดิน ใหลดลงอยางมาก ภายในป 2573

3.9.2 อัตราการตายท่ีเกิดจากน้ํา สุขอนามัย ท่ีไมปลอดภัย และปราศจากสุขลักษณะ

(การเปดเผยบริการชะลางท่ีไมปลอดภัย) (อัตราการตายเนื่องจากสารเคมีอันตราย

มลภาวะในน้ําและในดิน และการปนเปอน)

เปาประสงคท่ี 3.d เสริมขีดความสามารถสําหรับทุกประเทศ โดยเฉพาะอยางยิ่งในประเทศกําลัง

พัฒนา ในเรื่องการแจงเตือนลวงหนา การลดความเสี่ยง และการบริหารจัดการความเสี่ยงดานสุขภาพใน

ระดับประเทศและระดับโลก

3.d.1 ปริมาณของกฎอนามัยระหวางประเทศ (International Health Regulations

: IHR) และการเตรียมความพรอมฉุกเฉินดานสุขภาพ

เปาประสงคท่ี 3.2 ยุติการตายท่ีปองกันไดของทารกแรกเกิดและเด็กอายุต่ํากวา 5 ป โดยทุก

ประเทศมุงลดอัตราการตายในทารกลงใหต่ําถึง 12 คน ตอ การเกิดมีชีพ 1,000 คน และลดอัตราการตายในเด็ก

อายุต่ํากวา 5 ป ลงใหต่ําถึง 25 คน ตอการเกิดมีชีพ 1,000 คน ภายในป 2573

3.2.1 อัตราการตายของทารกอายุต่ํากวา 5 ป (อัตราการตายตอการเกิด 1,000 คน)

3.2.2 ตัวชี้วัดอัตราตายของทารกแรกเกิด (การตายตอการเกิด 1,000 คน)

31

Page 39: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

แผนท่ีนําทางการพัฒนาท่ียั่งยืน เปาหมายท่ี 3

เปาประสงคท่ี 3.8 บรรลุการมีหลักประกันสุขภาพถวนหนา รวมถึงการปองกันความเสี่ยงทาง

การเงิน การเขาถึงการบริการสาธารณสุขจําเปนท่ีมีคุณภาพ และเขาถึงยาและวัคซีนจําเปนท่ีปลอดภัย มี

ประสิทธิภาพ มีคุณภาพ และมีราคาท่ีสามารถซ้ือหาได

3.8.1 อัตราความครอบคลุมของบริการดานสุขภาพท่ีจําเปน (นิยามความครอบคลุมของ

บริการท่ีจําเปนเฉลี่ยโดยยึดการติดตามการรักษา ซ่ึงประกอบดวย การเจริญพันธุ มารดา

เด็กเกิดใหมและสุขภาพเด็ก โรคติดตอ โรคไมติดตอ และความสามารถในการเขาถึง

บริการระหวางคนท่ัวไปและผูดอยโอกาส (ความท่ัวถึงของการติดตามการรักษา (เชน การ

ฉีดวัคซีนแบบเต็มรูปแบบในเด็ก, การรักษาดวยยาตานไวรัส การรักษาวัณโรค การรักษา

ความดันโลหิตสูง, การดูแลการคลอดโดยผูชํานาญ))

3.8.2 จํานวนประชากรท่ีไดรับการคุมครองจากประกันภยัหรอืระบบสาธารณสุขตอ

ประชากร 1,000 คน

ระยะกลาง (พ.ศ. 2561 – พ.ศ. 2564) เนนดําเนินการ ดังนี้

เปาประสงคท่ี 3.3 ยุติการแพรกระจายของเอดส วัณโรค มาลาเรีย และโรคเขตรอนท่ีถูกละเลย

และตอสูกับโรคตับอักเสบ โรคติดตอทางน้ํา และโรคติดตออ่ืนๆ ภายในป 2573

3.3.4 อัตราผูติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบี ตอประชากร 100,000 คน

เปาประสงคท่ี 3.5 เสริมสรางการปองกันและการรักษาการใชสารในทางท่ีผิด ซ่ึงรวมถึงการใชยา

เสพติดในทางท่ีผิดและการใชแอลกอฮอลในทางอันตราย

3.5.1 ความครอบคลุมของการรักษา (การรักษาโดยใชยา ทางจิตวิทยาและการฟนฟู

สมรรถภาพ และบริการการติดตามผลการรักษา) สําหรับผูท่ีใชสารเสพติด

เปาประสงคท่ี 3.7 สรางหลักประกันวามีการเขาถึงบริการ ขอมูล การใหการศึกษาเก่ียวกับอนามัย

เจริญพันธุโดยถวนหนา รวมถึงการวางแผนครอบครัว และการผสานอนามัยเจริญพันธุในยุทธศาสตรและ

แผนงานระดับชาติ ภายในป 2573

3.7.2 อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอาย ุ(10 - 14 ป, 15 - 19 ป) ตอผูหญิงอายุ (10-14 ป,

15-19 ป) 1,000 คน

เปาประสงคท่ี 3.9 ลดจํานวนการตายและการเจ็บปวยจากสารเคมีอันตรายและจากมลพิษและ

การปนเปอนทางอากาศ น้ําและดิน ใหลดลงอยางมาก ภายในป 2573

3.9.1 อัตราการตายท่ีเกิดจากมลพิษทางอากาศในบานเรือนและในบรรยากาศ

3.9.3 อัตราการตายท่ีเกิดจากการไดรับสารพิษโดยไมตั้งใจ

เปาประสงคท่ี 3.4 ลดการตายกอนวัยอันควรจากโรคไมติดตอใหลดลงหนึ่งในสาม ผานทางการ

ปองกันและการรักษาโรค และสนับสนุนสุขภาพจิตและความเปนอยูท่ีดี ภายในป 2573

3.4.1 อัตราการตายของผูท่ีเปนโรคหัวใจและหลอดเลือด โรคมะเร็ง โรคเบาหวาน

หรือโรคระบบทางเดินหายใจ

3.4.2 ตัวชี้วัดอัตราการฆาตัวตาย

32

Page 40: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

แผนท่ีนําทางการพัฒนาท่ียั่งยืน เปาหมายท่ี 3

เปาประสงคท่ี 3.c เพ่ิมการใชเงินท่ีเก่ียวกับสุขภาพ และการสรรหา การพัฒนา การฝกฝน และ

การเก็บรักษากําลังคนดานสุขภาพในประเทศกําลังพัฒนา โดยเฉพาะอยางยิ่งในประเทศพัฒนานอยท่ีสุดและรัฐ

กําลังพัฒนาท่ีเปนเกาะขนาดเล็ก

3.c.1 ความหนาแนนและการกระจายตัวของบุคลากรดานสาธารณสุข

เปาหมาย 3.b สนับสนุนการวิจัยและการพัฒนาวัคซีนและยาสําหรับโรคติดตอและไมติดตอท่ีสงผล

กระทบโดยตรงตอประเทศกําลังพัฒนา ใหมีการเขาถึงยาและวัคซีนจําเปนในราคาท่ีสามารถซ้ือหาได

ตามปฏิญญาโดฮาความตกลงวาดวยสิทธิในทรัพยสินทางปญญาเก่ียวกับการคาและการสาธารณสุข ซ่ึงเนนย้ํา

สิทธิสําหรับประเทศกําลังพัฒนาท่ีจะใชบทบัญญัติในความตกลงวาดวยสิทธิในทรัพยสินทางปญญาท่ีเก่ียวกับ

การคาอยางเต็มท่ีในเรื่องการผอนปรนเพ่ือจะปกปองสุขภาพสาธารณะและโดยเฉพาะการเขาถึงยาโดยถวนหนา

3.b.1 สัดสวนของประชากรท่ีเขาถึงยา และวัคซีน ในราคาท่ีสามารถหาซ้ือไดท่ีตั้งอยู

บนหลักความยั่งยืน

3.b.2 เงินชวยเหลือเพ่ือการพัฒนาอยางเปนทางการสุทธิรวม (Total net official

development assistance-ODA) ตอการวิจัยทางการแพทย และดานสุขภาพข้ัน

พ้ืนฐาน

ระยะยาว (พ.ศ. 2565 – พ.ศ. 2573)เนนดําเนินการ ดังนี้

เปาประสงคท่ี 3.3 ยุติการแพรกระจายของเอดส วัณโรค มาลาเรีย และโรคเขตรอนท่ีถูกละเลย

และตอสูกับโรคตับอักเสบ โรคติดตอทางน้ํา และโรคติดตออ่ืนๆ ภายในป 2573

3.3.1 จํานวนผูติดเชื้อ HIV รายใหมตอประชากรท่ีไมมีการติดเชื้อ 1,000 คน (จําแนก

ตาม เพศ อายุ และประชากรหลัก)

3.3.2 ตัวชี้วัดอัตราการเกิดโรควัณโรคตอประชากร 1,000 คน

3.3.3 อัตราการเกิดโรคมาลาเรียตอประชากร 1,000 คน ตอป

เปาประสงคท่ี 3.5 เสริมสรางการปองกันและการรักษาการใชสารในทางท่ีผิด ซ่ึงรวมถึงการใชยา

เสพติดในทางท่ีผิดและการใชแอลกอฮอลในทางอันตราย

3.5.2 การด่ืมแอลกอฮอลในระดับอันตราย นิยามตามบริบทของประเทศ คิดเปน

ปริมาณแอลกอฮอลตอผูบริโภค(อายุตั้งแต 15 ปข้ึนไป) ในจํานวนลิตรของแอลกอฮอล

บริสุทธิ์ ภายในปปฏิทิน

เปาประสงคท่ี 3.6 ลดจํานวนการตายและบาดเจ็บทางถนนท่ัวโลกลงครึ่งหนึ่ง ภายในป 2563

3.6.1 อัตราผูเสียชีวิตจากการบาดเจ็บทางถนน (จํานวนผูเสียชีวิตจากการบาดเจ็บทาง

ถนน ภายในชวงระยะเวลา 30 วัน ตอประชากร 100,000 คน (อายุมาตรฐาน))

เปาประสงคท่ี 3.a เสริมการดําเนินงานของกรอบอนุสัญญาขององคการอนามัยโลกวาดวยการ

ควบคุมยาสูบในทุกประเทศตามความเหมาะสม

3.a.1 ความชุกของการปรับมาตรฐานอายุของผูท่ีสูบบุหรี่ในปจจุบันในจํานวนผูสูบ

บุหรี่ท่ีมีอายุตั้งแต 15 ปข้ึนไป

33

Page 41: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

32

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

ตารางท่ี 4 ตารางสรุปภาพรวมงบประมาณในแตละระยะ

ชวงเวลาการขับเคล่ือน มาตรการ/แผนงาน/โครงการท่ีสําคัญ งบประมาณ (โดยประมาณ)

ระยะส้ัน (พ.ศ.2560)

• ยุทธศาสตรสงเสริมสุขภาพและปองกันโรคเปนเลิศ (Prevention & Promotion Excellence) แผนงานการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนไทยทุกกลุมวัย (ดานสุขภาพ) 1.โครงการพัฒนาและสรางเสริมศักยภาพคนไทยกลุมสตรีและเด็ก 2.โครงการพัฒนาและสรางเสริมศักยภาพคนไทยกลุมวัยเรียนและวัยรุน แผนงานการปองกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ 1.โครงการพัฒนาระบบการตอบโตภาวะฉุกเฉินและภัยสุขภาพ 2.โครงการควบคุมโรคติดตอ 3.โครงการควบคุมโรคไมติดตอและภัยสุขภาพ แผนงานการลดปจจัยเส่ียงดานสุขภาพ 1.โครงการลดปจจัยเสี่ยงดานสุขภาพ แผนงานการบริหารจัดการส่ิงแวดลอม 1.โครงการบริหารจัดการขยะและสิ่งแวดลอม 2.โครงการคุมครองสุขภาพประชาชนจากมลพิษสิ่งแวดลอมในพ้ืนท่ีเสี่ยง (Hot Zone)

• ยุทธศาสตรบริการเปนเลิศ (Service Excellence) แผนงานการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) 1.โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาทารกแรกเกิด 2.โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาสุขภาพจิตและจิตเวช 3.โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาโรคหัวใจ 4.โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาโรคมะเร็ง

325,160,281,972

ระยะกลาง (พ.ศ.2561–2564)

1,680,276,963,900

ระยะยาว (พ.ศ.2565-2573)

2,171,684,108,100

Page 42: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

33

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

ชวงเวลาการขับเคล่ือน มาตรการ/แผนงาน/โครงการท่ีสําคัญ งบประมาณ (โดยประมาณ)

• ยุทธศาสตรบุคลากรเปนเลิศ (People Excellence) แผนงานการพัฒนาระบบบริหารจัดการกําลังคนดานสุขภาพ 1.โครงการพัฒนาการวางแผนกําลังคนดานสุขภาพ 2.โครงการผลิตและพัฒนากําลังคนดานสุขภาพสูความเปนมืออาชีพ 3.โครงการเพ่ิมประสิทธิภาพการบริหารจัดการกําลังคน 4.โครงการพัฒนาเครือขายกําลังคนดานสุขภาพ

• ยุทธศาสตรบริหารเปนเลิศดวยธรรมาภิบาล (Governance Excellence) แผนงานการบริหารจัดการดานการเงินการคลังสุขภาพ 1.โครงการลดความเหลื่อมล้ําของ 3 กองทุน 2.โครงการบริหารจัดการดานการเงินการคลัง

Page 43: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

34

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

Roadmap SDG 3

เปาหมายท่ี 3 สรางหลักประกันวาคนมีชีวิตท่ีมีสุขภาพดีและสงเสริมสวัสดิภาพสําหรับทุกคนในทุกวัย เปาประสงคท่ี 3.1 ลดอัตราการตายของมารดาท่ัวโลกใหต่ํากวา 70 ตอการเกิดมีชีพ 1 แสนคน ภายในป 2573 ตัวช้ีวัดท่ี 3.1.1 อัตราการตายของมารดาตอการเกิดมีชีพ 100,000 คน

3.1.2 สัดสวนของการคลอดบุตรท่ีดูแลโดยบุคคลากรดานสาธารณสุขท่ีมีความชํานาญ

เปาหมาย 70 ตอการเกิดมีชีพ 1 แสนคน ภายในป 2573 สถานภาพ ตัวช้ีวัดท่ี 3.1.1

ขอมูลจาก World Bank ในป 2558 ประเทศไทยมีอัตราการตายของมารดาตอการเกิดมีชีพเทากับ 20 คน ตอการเกิดมีชีพ 100,000 คน โดยมีแนวโนมลดลง ในชวงป 2533 – 2558 ขอมูลจากกระทรวงสาธารณสุข 1. อัตรามารดาตายตอแสนการเกิดมีชีพ ป 2555-2557 มีอัตราท่ีเพ่ิมข้ึนจาก 17.6, 22.2 และ 23.3 ตามลําดับ 2. ขอมูลจากการศึกษาการตายมารดาไทย 2556 โดยกรมอนามัย พบอัตราการตายมารดา 31.2 ตอการเกิดมีชีพแสนคนและของเขตสุขภาพท่ี 12 มีอัตราการ

ตายมารดา 56.40 ตอการเกิดมีชีพพันคน 3. WHO ป 2558 พบอัตรามารดาตาย 20 ตอการเกิดมีชีพแสนคน ตัวช้ีวัดท่ี 3.1.2 ในป 2555 สัดสวนของการคลอดบุตรท่ีดูแลโดยบุคคลากรดานสาธารณสุขท่ีมีความชํานาญ คิดเปนรอยละ 99.6

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะสั้น (พ.ศ.2560) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) ลดอัตราการตายของมารดาท่ัวโลกใหต่ํากวา 70 ตอการเกิดมีชีพ 1 แสนคน

1.พัฒนาและเสริมสรางศักยภาพคน 2.พัฒนาแนวทางการใหบริการทางการแพทยดานการคลอดท่ีไดมาตรฐานและนําสูการปฏิบัติ

โครงการตั้งครรภคุณภาพเพ่ือลูกเกดิรอดแมปลอดภัย - พัฒนามาตรฐานอนามัยแมและเด็กเทียบเทาสากล (Safe Motherhood Baby Friendly Hospital)

กรมอนามัย 18,700,000

Page 44: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

35

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะสั้น (พ.ศ.2560) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท)

3.โรงพยาบาลแมขายใหบริการหญิงตั้งครรภอยางมีมาตรฐาน 4.สนับสนุนเครื่องมือ เวชภัณฑ ยาและการฝกอบรม 5.พัฒนาระบบสงตอ

- พัฒนาศักยภาพวิทยากรทีมประเมินมาตรฐานอนามัยแมและเด็กระดับเขต - พัฒนาโปรแกรมประเมินมาตรฐานอนามัยแมและเด็ก online - พัฒนาระบบเฝาระวังการตายมารดา/การจัดการความเสี่ยง/การสงตอสตรีท่ีมีความเสี่ยง - สํารวจสถานการณการตายมารดา(สาเหตุการตายมารดา) - กํากับติดตามประเมินหนวยบริการใหเปนไปตามมาตรฐาน

โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการทําหัตถการทางสูติกรรม สําหรับแพทยและพยาบาลในเขตบริการสุขภาพ

กรมการแพทย(โรงพยาบาลราช

วิถี)

1,500,000

โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ “การใชเสียงความถ่ีสูงในทาง สูต-ินรีเวช”

237,000

โครงการติดตามประเมินผลการคลอดมาตรฐานในเขตบริการสุขภาพ

820,000

โครงการประชุมวิชาการการคลอดมาตรฐาน 851,600 โครงการตั้งครรภคุณภาพเพ่ือลูกนอยในครรภเกิดรอด ครบ 32 สมองดี - สนับสนนุใหหนวยบริการสาธารณสุขทุกระดับพัฒนามาตรฐานบริการอนามัยแมและเด็กคุณภาพ - พัฒนาองคความรู นวัตกรรม แนวทางการพัฒนาอนามัยแมและเด็กอยางมีคุณภาพ - พัฒนาระบบเฝาระวังมารดาตาย

กรมอนามัย 11,550,000

Page 45: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

36

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะกลาง (พ.ศ. 2561 – 2564) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) ลดอัตราการตายของมารดาท่ัวโลกใหต่ํากวา 70 ตอการเกิดมีชีพ 1 แสนคน

1.พัฒนาและเสริมสรางศักยภาพคน 2.พัฒนาแนวทางการใหบริการทางการแพทยดานการคลอดท่ีไดมาตรฐานและนําสูการปฏิบัติ 3.โรงพยาบาลแมขายใหบริการหญิงตั้งครรภอยางมีมาตรฐาน 4.สนับสนุนเครื่องมือ เวชภัณฑ ยาและการฝกอบรม 5.พัฒนาระบบสงตอ

โครงการตั้งครรภคุณภาพเพ่ือลูกนอยในครรภเกิดรอด ครบ 32 สมองดี(พัฒนาคุณภาพอยางตอเนื่องและย่ังยืน) - สนับสนุนใหหนวยบริการสาธารณสุขทุกระดับพัฒนามาตรฐานบริการอนามัยแมและเด็กคุณภาพ - พัฒนาองคความรู นวัตกรรม แนวทางการพัฒนาอนามัยแมและเด็กอยางมีคุณภาพ - พัฒนาระบบเฝาระวังมารดาตาย

กรมอนามัย 16,000,000

- สถานบริการสุขภาพทุกระดับใหบริการหญิงตั้งครรภอยางมีมาตรฐาน

กรมการแพทย(โรงพยาบาลราชวิถี)

20,000,000

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะยาว (พ.ศ.2565 – 2573) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) ลดอัตราการตายของมารดาท่ัวโลกใหต่ํากวา 70 ตอการเกิดมีชีพ 1 แสนคน

1.พัฒนาและเสริมสรางศักยภาพคน 2.พัฒนาแนวทางการใหบริการทางการแพทยดานการคลอดท่ีไดมาตรฐานและนําสูการปฏิบัติ 3.โรงพยาบาลแมขายใหบริการหญิงตั้งครรภอยางมีมาตรฐาน 4.สนับสนุนเครื่องมือ เวชภัณฑ ยาและการฝกอบรม 5.พัฒนาระบบสงตอ

โครงการตั้งครรภคุณภาพเพ่ือลูกนอยในครรภเกิดรอด ครบ 32 สมองดี(พัฒนาคุณภาพอยางตอเนื่องและย่ังยืน) - สนับสนุนใหหนวยบริการสาธารณสุขทุกระดับพัฒนามาตรฐานบริการอนามัยแมและเด็กคุณภาพ - พัฒนาองคความรู นวัตกรรม แนวทางการพัฒนาอนามัยแมและเด็กอยางมีคุณภาพ - พัฒนาระบบเฝาระวังมารดาตาย

กรมอนามัย 35,000,000

- โรงพยาบาลแมขายใหบริการหญิงตั้งครรภอยางมีมาตรฐาน กรมการแพทย(โรงพยาบาล

ราชวิถี)

50,000,000

Page 46: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

37

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

Roadmap SDG 3

เปาหมายท่ี 3 สรางหลักประกันวาคนมีชีวิตท่ีมีสุขภาพดีและสงเสริมสวัสดิภาพสําหรับทุกคนในทุกวัย เปาประสงคท่ี 3.2 ยุติการตายท่ีปองกันไดของทารกแรกเกิดและเด็กอายุต่ํากวา 5 ป โดยทุกประเทศมุงลดอัตราการตายในทารกลงใหต่ําถึง 12 คน ตอ การเกิดมีชีพ

1,000 คน และลดอัตราการตายในเด็กอายุต่ํากวา 5 ป ลงใหต่ําถึง 25 คน ตอการเกิดมีชีพ 1,000 คน ภายในป 2573 ตัวช้ีวัดท่ี 3.2.1 อัตราการตายของทารกอายุต่ํากวา 5 ป (อัตราการตายตอการเกิด 1,000 คน)

เปาหมาย 25 คน ตอ การเกิดมีชีพ 1,000 คน สถานภาพ ขอมูลจาก world bank

ป 2558 อัตราการตายของทารกอายุต่ํากวา 5 ป เทากับ 12.3 คน ตอการเกิดมีชีพ 1,000 คน โดยมีแนวโนมลดลง ในชวงป 2503– 2558 ขอมูลจากกระทรวงสาธารณสุข ในป พ.ศ. 2547 ประเทศไทยมีอัตราการตายของเด็กอายุต่ํากวา 5 ป เทากับ 11.3 ตอการเกิดมีชีพ 1,000 คน และปรับตัวลดลงอยางตอเนื่องเหลือ 8.7 ตอการเกิดมีชีพ 1,000 คน ในป พ.ศ.2556

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะสั้น (พ.ศ.2560) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) 25 คน ตอ การเกิดมีชีพ 1,000 คน

1.พัฒนาขีดความสามารถในการดูแลทารกแรกเกิดวิกฤต 2.นิเทศติดตามประเมินผลคุณภาพเครือขายสุขภาพทารกแรกเกิด 3.สรางเครือขายการคัดกรองโรค หัวใจพิการแตกําเนิดท่ีรุนแรง เพ่ือลดอัตราการเสียชีวิตในทารกแรกเกิดและพัฒนาการดูแลรักษา เด็กโรคหัวใจระดับประเทศ

- แผนบูรณาการพัฒนาสุขภาพกลุมวัยเรียน (ลดตายจากสาเหตุท่ีปองกันได เชน การจมน้ํา อุบัติเหตุ) - ติดตามและประเมินผลการดําเนินงานตามแผนยุทธศาสตรแผนงานพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) สาขาทารกแรกเกิด - แผนงานสงเสริมสุขภาพและปองกันโรคกลุมเด็กวัยรุน (ลดการตั้งครรภในวัยรุน)โดยอางอิงยุทธศาสตรตามแผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 11 (พ.ศ. 2555 - 2559) แผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ.2560 – 2564) และยุทธศาสตรชาติ ระยะ 20 ป

กรมอนามัย

Page 47: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

38

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะสั้น (พ.ศ.2560) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) 4.มีบุคลากรท่ีใหการบริบาลทารก

ปวยตามเกณฑท่ีกําหนดไวของโรงพยาบาลแตละระดับ 5.มีฐานขอมูลเบื้องตนผูปวยท่ีหนวยบริการเขาถึงได/ใชรวมกันได 6.มีอุปกรณและครุภัณฑทางการแพทยเพ่ือรองรับการขยายเตียง NICU

- แผนบูรณาการพัฒนาสุขภาพกลุมวัยเรียน (ลดตายจากสาเหตุท่ีปองกันได เชน การจมน้ํา อุบัติเหตุ โรคติดเชื้อทางเดินหายใจ และทางเดินอาหาร) - ติดตามและประเมินผล การดําเนินงานตามแผนยุทธศาสตรแผนงานพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) สาขาทารกแรกเกิด - ติดตามและประเมินผลการดําเนินงานโครงการโรงพยาบาลสงเสริมการใชยาอยางสมเหตุผลเพ่ือลดอัตราเชื้อดื้อยา - แผนงานสงเสริมสุขภาพและปองกันโรคกลุมเด็กวัยรุน (การใหวัคซีนไขหวัดใหญในเด็กท่ีมีปญหาสุขภาพ, การรณรงคลดการตั้งครรภในวัยรุน)

กรมการแพทย (สถาบันสุขภาพเด็กแหงชาติมหาราชินี)

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะกลาง (พ.ศ. 2561 – 2564) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) 25 คน ตอ การเกิดมีชีพ 1,000 คน

1.พัฒนาขีดความสามารถในการดูแลทารกแรกเกิดวิกฤต 2.นิเทศติดตามประเมินผลคุณภาพเครือขายสุขภาพทารกแรกเกิด 3.สรางเครือขายการคัดกรองโรค หัวใจพิการแตกําเนิดท่ีรุนแรง เพ่ือลดอัตราการเสียชีวิตในทารกแรกเกิดและพัฒนาการดูแลรักษา เด็กโรคหัวใจระดับประเทศ

โครงการสรางองคความรูและอบรม การกูชีพทารกแรกเกิดและสงตอ ทารกแรกเกิดน้ําหนักนอยหรือวิกฤติ โครงการเครือขายทารกแรกเกิดและ ขอมูลระดับชาติ(National data base) โครงการบูรณาการและจัดการความรู การดูแลทารกแรกเกิด โครงการการอบรมหลักสูตรการ พยาบาลเฉพาะทาง สาขาการพยาบาล ทารกแรกเกิดวิกฤต

กรมการแพทย (สถาบันสุขภาพเด็กแหงชาติมหาราชินี)

Page 48: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

39

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะกลาง (พ.ศ. 2561 – 2564) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) 4.มีบุคลากรท่ีใหการบริบาลทารกปวยตามเกณฑท่ีกําหนดไวของโรงพยาบาลแตละระดับ 5.มีฐานขอมูลเบื้องตนผูปวยท่ีหนวยบริการเขาถึงได/ใชรวมกันได 6.มีอุปกรณและครุภัณฑทางการแพทยเพ่ือรองรับการขยายเตียง NICU

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะยาว (พ.ศ.2565 – 2573) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) 25 คน ตอ การเกิดมีชีพ 1,000 คน

1.พัฒนาขีดความสามารถในการดูแลทารกแรกเกิดวิกฤต 2.นิเทศติดตามประเมินผลคุณภาพเครือขายสุขภาพทารกแรกเกิด 3.สรางเครือขายการคัดกรองโรค หัวใจพิการแตกําเนิดท่ีรุนแรง เพ่ือลดอัตราการเสียชีวิตในทารกแรกเกิดและพัฒนาการดูแลรักษา เด็กโรคหัวใจระดับประเทศ 4.มีบุคลากรท่ีใหการบริบาลทารกปวยตามเกณฑท่ีกําหนดไวของโรงพยาบาลแตละระดับ

กรมการแพทย (สถาบันสุขภาพเด็กแหงชาติมหาราชินี)

Page 49: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

40

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะยาว (พ.ศ.2565 – 2573) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) 5.มีฐานขอมูลเบื้องตนผูปวยท่ีหนวยบริการเขาถึงได/ใชรวมกันได 6.มีอุปกรณและครุภัณฑทางการแพทยเพ่ือรองรับการขยายเตียง NICU

Page 50: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

41

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

Roadmap SDG 3

เปาหมายท่ี 3 สรางหลักประกันวาคนมีชีวิตท่ีมีสุขภาพดีและสงเสริมสวัสดิภาพสําหรับทุกคนในทุกวัย เปาประสงคท่ี 3.2 ยุติการตายท่ีปองกันไดของทารกแรกเกิดและเด็กอายุต่ํากวา 5 ป โดยทุกประเทศมุงลดอัตราการตายในทารกลงใหต่ําถึง 12 คน ตอ การเกิดมีชีพ

1,000 คน และลดอัตราการตายในเด็กอายุต่ํากวา 5 ป ลงใหต่ําถึง 25 คน ตอการเกิดมีชีพ 1,000 คน ภายในป 2573 ตัวช้ีวัดท่ี 3.2.2 อัตราตายของทารกแรกเกิด (การตายตอการเกิด 1,000 คน)

เปาหมาย 12 คน ตอ การเกิดมีชีพ 1,000 คน สถานภาพ ขอมูลจาก world bank

ป 2558 อัตราการตายของทารกแรกเกิดเทากับ 6.7 คน ตอการเกิดมีชีพ 1,000 คน โดยมีแนวโนมลดลง ในชวงป 2503 - 2558 ขอมูลจากการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข อัตราการตายในทารกแรกเกิดตอพันการเกิดมีชีพ พบวา มีอัตราคงท่ีในป 2556 - 2557 คือ 3.7 (ขอมูลสํานักนโยบายและยุทธศาสตรป 2559 มีการปรับเกณฑใหไดมาตรฐานสากล คือใชน้ําหนัก นอยกวา 500 กรัม ถือเปนการแทงบุตร แตเดิมถือน้ําหนัก ต่ํากวา 1,000 กรัมเปนการแทงบุตร จึงคาดวาตัวเลขเดิมนาจะสูงกวาท่ีรายงาน ท้ังนี้รายงานของ ธนาคารโลกรายงานวาป 2557 ประเทศไทยมีอัตราการตายในทารกแรกเกิด 7 ตอ 1,000 การเกิดมีชีพ ในขณะท่ีขอมูลจากการตรวจราชการรายงานอัตราการตายในทารกแรกเกิด ในป พ.ศ. 2558 ประเทศไทยมีอัตราการตายทารกแรกเกิด เทากับ 3.94 ตอการเกิดมีชีพ 1,000 คนซ่ึงอาจจะ มีสาเหตุมาจากระบบการรายงานท่ียังไมไดมาตรฐาน แตก็มีการปรับตัวลดลงอยางตอเนื่อง

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะสั้น (พ.ศ.2560) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) 12 คน ตอ การเกิดมีชีพ 1,000 คน

1.พัฒนาขีดความสามารถในการดูแลทารกแรกเกิดวิกฤต 2.นิเทศติดตามประเมินผลคุณภาพเครือขายสุขภาพทารกแรกเกิด

- แผนงานพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) สาขาทารกแรกเกิด - แผนงานสงเสริมสุขภาพและปองกันโรคกลุมเด็กวัยรุน (ลดการตั้งครรภในวัยรุน)

กรมการแพทย (สถาบันสุขภาพเด็กแหงชาติมหาราชินี) รวมกับเครือขาย

Page 51: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

42

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะสั้น (พ.ศ.2560) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) 3.สรางเครือขายการคัดกรองโรค

หัวใจพิการแตกําเนิดท่ีรุนแรง เพ่ือลดอัตราการเสียชีวิตในทารกแรกเกิดและพัฒนาการดูแลรักษา เด็กโรคหัวใจระดับประเทศ 4.มีบุคลากรท่ีใหการบริบาลทารกปวยตามเกณฑท่ีกําหนดไวของโรงพยาบาลแตละระดับ 5.มีฐานขอมูลเบื้องตนผูปวยท่ีหนวยบริการเขาถึงได/ใชรวมกันได 6.มีอุปกรณและครุภัณฑทางการแพทยเพ่ือรองรับการขยายเตียง NICU

ติดตามและประเมินผล การดําเนินงานตามแผนยุทธศาสตรแผนงานพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) สาขาทารกแรกเกิด

กรมการแพทย (สถาบันสุขภาพเด็กแหงชาติมหาราชินี)

โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรในการดูแลทารกแรกเกิดปวย กรมการแพทย (สถาบันสุขภาพเด็กแหงชาติมหาราชินี)

300,000,000 โครงการสงเสริมการเลี้ยงลูกดวยนมมารดาท้ังเด็กปกติและเด็กปวย 5,000,000 โครงการบริหารจัดการขอมูลทารกแรกเกิดของเครือขายบริการสุขภาพเฉพาะดานทารกแรกเกิด

1,000,000

โครงการคัดกรองทารกท่ีมีหัวใจพิการแตกําเนิดเพ่ือใหไดรับการรักษาอยางทันทวงที

1,400,000

ติดตามและประเมินผลการดําเนินงานโครงการโรงพยาบาลสงเสริมการใชยาอยางสมเหตุผลเพ่ือลดอัตราเชื้อดื้อยา

2,500,000

แผนงานสงเสริมสุข-ภาพและปองกันโรคกลุมเด็กวัยรุน (ลดการตั้ง ครรภในวัยรุน)

5,000,000

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะกลาง (พ.ศ. 2561 – 2564) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) 12 คน ตอ การเกิดมีชีพ 1,000 คน

1.พัฒนาขีดความสามารถในการดูแลทารกแรกเกิดวิกฤต 2.นิเทศติดตามประเมินผลคุณภาพเครือขายสุขภาพทารกแรกเกิด

- แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560 - 2564)

กรมการแพทย

Page 52: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

43

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะกลาง (พ.ศ. 2561 – 2564) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท)

3.สรางเครือขายการคัดกรองโรค หัวใจพิการแตกําเนิดท่ีรุนแรง เพ่ือลดอัตราการเสียชีวิตในทารกแรกเกิดและพัฒนาการดูแลรักษา เด็กโรคหัวใจระดับประเทศ 4.มีบุคลากรท่ีใหการบริบาลทารกปวยตามเกณฑท่ีกําหนดไวของโรงพยาบาลแตละระดับ 5.มีฐานขอมูลเบื้องตนผูปวยท่ีหนวยบริการเขาถึงได/ใชรวมกันได 6.มีอุปกรณและครุภัณฑทางการแพทยเพ่ือรองรับการขยายเตียง NICU

สรางเครือขายความรวมมือกับคณะแพทยและชมรมทารกแรกเกิดแหงประเทศไทยเพ่ือจัดตั้งศูนยความเปนเลิศเฉพาะดานทารกแรกเกิดใหสามารถแขงขันกับประเทศเพ่ือนบานในเอเชียได - จัดตั้งศูนยความเปนเลิศดานทารกแรกเกิดโดยประสานความรวมมือกับโรงเรียนแพทยและชมรมวิชาชีพดานทารกแรกเกิด

กรมการแพทย (สถาบันสุขภาพเด็กแหงชาติมหาราชินี)

2,000,000

โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรในการดูแลทารกแรกเกิดปวย กรมการแพทย (สถาบันสุขภาพเด็กแหงชาติมหาราชินี)

1,000,000,000 โครงการสงเสริมการเลี้ยงลูกดวยนมมารดาท้ังเด็กปกติและเด็กปวย 20,000,000 โครงการบริหารจัดการขอมูลทารกแรกเกิดของเครือขายบริการสุขภาพเฉพาะดานทารกแรกเกิด

5,000,000

โครงการคัดกรองทารกท่ีมีหัวใจพิการแตกําเนิดเพ่ือใหไดรับการรักษาอยางทันทวงที

5,000,000

ติดตามและประเมินผลการดําเนินงานโครงการโรงพยาบาลสงเสริมการใชยาอยางสมเหตุผลเพ่ือลดอัตราเชื้อดื้อยา

8,000,000

แผนงานสงเสริมสุข-ภาพและปองกันโรคกลุมเด็กวัยรุน (ลดการตั้งครรภในวัยรุน)

10,000,000

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะยาว (พ.ศ.2565 – 2573) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) 12 คน ตอ การเกิดมีชีพ 1,000 คน

1.พัฒนาขีดความสามารถในการดูแลทารกแรกเกิดวิกฤต 2.นิเทศติดตามประเมินผลคุณภาพเครือขายสุขภาพทารกแรกเกิด

- ยุทธศาสตรชาติระยะ 20 ป (พ.ศ. 2560 – 2579) กรมการแพทย (สถาบันสุขภาพเด็กแหงชาติมหาราชินี)รวมกับเครือขาย

- จัดตั้งศูนยฝกอบรมเฉพาะทางดานทารกแรกเกิดหลักสูตรนานาชาต ิ

10,000,000

Page 53: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

44

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะยาว (พ.ศ.2565 – 2573) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) 3.สรางเครือขายการคัดกรองโรค หัวใจพิการแตกําเนิดท่ีรุนแรง เพ่ือลดอัตราการเสียชีวิตในทารกแรกเกิดและพัฒนาการดูแลรักษา เด็กโรคหัวใจระดับประเทศ 4.มีบุคลากรท่ีใหการบริบาลทารกปวยตามเกณฑท่ีกําหนดไวของโรงพยาบาลแตละระดับ 5.มีฐานขอมูลเบื้องตนผูปวยท่ีหนวยบริการเขาถึงได/ใชรวมกันได 6.มีอุปกรณและครุภัณฑทางการแพทยเพ่ือรองรับการขยายเตียง NICU

Page 54: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

45

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

Roadmap SDG – Goal 3

เปาหมายท่ี 3 สรางหลักประกันวาคนมีชีวิตท่ีมีสุขภาพดีและสงเสริมสวัสดิภาพสําหรับทุกคนในทุกวัย เปาประสงคท่ี 3.3 ยุติการแพรกระจายของเอดส วัณโรค มาลาเรีย และโรคเขตรอนท่ีถูกละเลย และตอสูกับโรคตับอักเสบ โรคติดตอทางน้ํา และโรคติดตออ่ืนๆ

ภายในป 2573 ตัวช้ีวัดท่ี 3.3.1 จํานวนผูติดเชื้อ HIV รายใหมตอประชากรท่ีไมมีการติดเชื้อ 1,000 คน (จําแนกตาม เพศ อายุ และประชากรหลัก)

เปาหมาย ภายในป 2562 - ลดผูติดเชื้อรายใหมลงเหลือ 2,602 ราย - ปองกันการเสียชีวิตจากเอดสใหได 9,047 ราย - ลดการตีตราและเลือกปฏิบัติในระบบสุขภาพใหเหลือไมเกินรอยละ 10 ภายในป 2573 - ลดผูติดเชื้อรายใหมใหเหลือนอยกวา 1,000 ราย - ไมมีทารกแรกเกิดท่ีติดเชื้อฯ - ผูติดเชื้อฯทุกคนไดเขาถึงการรักษาดวยยาตานไวรัส

สถานภาพ สถานการณเม่ือถึงสิ้นปพ.ศ. 2558 โดยใชแบบจําลอง AIDS Epidemic Model และ SPECTRUM (เม่ือเมษายน ๒๕๕๙) คาดประมาณวา ประเทศไทยมีผูติดเชื้อเอชไอวีท่ีมีชีวิต จํานวนท้ังหมด 437,700 คน เปนเพศหญิง 181,600 คน เพศชาย 256,100 คน แยกเปนผูใหญอายุ 15 ปข้ึนไป 433,600 คน เปนผูใหญเพศหญิง 179,600 คน ผูใหญเพศชาย 254,000 คน และเปนเด็กอายุไมเกิน 15 ป 4,100 คน จําแนกเปนเด็กหญิง 2,000 คน และเด็กชาย 2,100 คน คิดเปนความชุกการติดเชื้อเอชไอวีในผูใหญ รอยละ 1.0 ผูใหญชายรอยละ 1.1 ผูใหญเพศหญิงรอยละ 0.7 ผูติดเชื้อเอชไอวีรายใหมในป พ.ศ. 2558 ประมาณการวามี 6,900 คน เฉลี่ยวันละประมาณ 19 คน เปนเพศหญิง 2,100 คน เพศชาย 4,800 คน แยกเปนผูใหญอายุ 15 ปข้ึนไป 6,800 คน โดยเปนผูใหญเพศหญิง 2,100 คน ผูใหญเพศชาย 4,800 คน เปนเด็กอายุไมเกิน 15 ป นอยกวา 80 คน เปนเด็กหญิงและเด็กชายประมาณเพศละ 40 คน จํานวนผูติดเชื้อใหมป 2558 ลดลงรอยละ 77 เม่ือเทียบกับปพ.ศ. 2553 ท่ีมีประมาณเกือบ 30,000 คน และลดลงมากกวารอยละ 95 เม่ือเทียบกับป พ.ศ. 2533 ท่ีมีผูติดเชื้อใหมถึง 150,000 คน

Page 55: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

46

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

สถานภาพ ผูติดเชื้อเอชไอวีเสียชีวิตในปพ.ศ. 2558 ประมาณวามี 16,100 คน โดยเปนเพศหญิง 4,630 คน เพศชาย 11,470 คน แยกเปนผูใหญ 16,040 คน เด็ก 60 คน โดยเปนผูใหญเพศหญิง 4,600 คน ผูใหญเพศชาย 11,440 คน เปนเด็กหญิงและเด็กชายอยางละ 30 คน จํานวนผูเสียชีวิตลดลงเม่ือเทียบจากปพ.ศ. 1543 รอยละ 71 ท่ีมีประมาณ 55,500 คน

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะส้ัน (พ.ศ.2560) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) ยุติการแพรกระจายของเอดส ภายในป 2573

1. ระบบเฝาระวัง การคัดกรอง การปองกัน การวินิจฉัย การดูแล การรักษา การสงตอ และควบคุมโรคติดตอ 2. การสื่อสารความเสี่ยงและประชาสัมพันธ 3. บูรณาการระบบฐานขอมูล 4. พัฒนาเทคโนโลยีและชุดตรวจสําหรับวินจิฉัยใหมีมาตรฐานสากล 5.บังคับใชกฎหมายภายใต พรบ. ควบคุมโรคติดตอ พ.ศ. 2558 อยางเครงครัด 6.ผลักดันให อปท. มีขอกําหนด/บัญญัติปองกัน ควบคุมโรคติดตอ

มาตรการท่ี 1 การบริหารจัดการ 1.1 สรางและพัฒนาระบบขอมูลเชิงยุทธศาสตรการติดตามและการประเมินผล 1.1.1 การพัฒนาโครงสรางการติดตามประเมินผล 1.1.2 การรวบรวม ตรวจสอบ และวิเคราะหขอมูล 1.1.3 การประเมินผลแผนงาน และสรางขอมูลเชิงยุทธศาสตร 1.1.4 การใชขอมูลเพ่ือการวางแผนและการปรับปรุงแผนงาน

กรมควบคุมโรค สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

148,584,000

มาตรการท่ี 2 พัฒนาความเขมแข็งของระบบบริการ สุขภาพ และระบบบริการโดยชุมชน ใหมีบริการเชื่อมตอกัน และใหบริการไดมีคุณภาพ และประสิทธิผล 2.1 พัฒนาคุณภาพบริการของหนวยบริการโดยแนวทางของการสราง Brand ของบรกิาร

กรมควบคุมโรค (สอวพ.+สคร.1-12+สป.คม.) สสจ.ทุกแหง หนวยบริการท่ีรวมดําเนินการ

73,895,000

Page 56: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

47

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะสั้น (พ.ศ.2560) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท)

7.พัฒนากลไกการดําเนินงานเพ่ือคุมครองสิทธิ 8.ขับเคลื่อนกระบวนการ Reach-Recruit-Test-Treat-Retain 9.พัฒนาศักยภาพบุคลากรและเครือขายใหสามารถเฝาระวัง ปองกันและควบคุมโรคติดตอใหมีประสิทธิภาพ รวมถึงการวินิจฉัยโรคติดตอ

มาตรการท่ี 3 การใหบริการ RRTTR (Reach-Recruit-Test-Treat-Retain)

กรมควบคุมโรค (สอวพ.+สคร.1-12+สป.คม.) สปสช. สสจ.หนวยบริการท่ีรวมดําเนินการ องคกรภาคประชาสังคม (NGOs)ท่ีดําเนินการ

200,000,000

มาตรการท่ี 4 การสรางสภาวะแวดลอมท่ีเอ้ือตอการดําเนินงาน ลดการตีตรา รังเกียจ และเลือกปฏิบัติ

สคร.1 3 6 12 และ กทม. สสจ.เชียงใหม/ชลบุรี/สงขลา/ตาก/กําแพงเพชร/กทม. NGOs ในระดับพ้ืนท่ี

64,892,000

Page 57: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

48

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะกลาง (พ.ศ. 2561 – 2564) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) ยุติการแพรกระจายของเอดส ภายในป 2573

1. ระบบเฝาระวัง การคัดกรอง การปองกัน การวินิจฉัย การดูแล การรักษา การสงตอ และควบคุมโรคติดตอ 2. การสื่อสารความเสี่ยงและประชาสัมพันธ 3. บูรณาการระบบฐานขอมูล 4. พัฒนาเทคโนโลยีและชุดตรวจสําหรับวินจิฉัยใหมีมาตรฐานสากล 5.บังคับใชกฎหมายภายใต พรบ. ควบคุมโรคติดตอ พ.ศ. 2558 อยางเครงครัด 6.ผลักดันให อปท. มีขอกําหนด/บัญญัติปองกัน ควบคุมโรคติดตอ 7.พัฒนากลไกการดําเนินงานเพ่ือคุมครองสิทธิ 8.ขับเคลื่อนกระบวนการReach-Recruit-Test-Treat-Retain 9.พัฒนาศักยภาพบุคลากรและเครือขายใหสามารถเฝาระวัง ปองกันและควบคุมโรคติดตอใหมีประสิทธิภาพ

- วิจัยและพัฒนายาตานไวรัสเอดสรายการใหมๆตาม guideline ท่ีเปลี่ยนแปลงไปใหสามารถผลิตไดเองใน - วิจัยและพัฒนาสมุนไพรเปนผลิตภัณฑสงเสริมสุขภาพเพ่ือใหผูปวยมีคุณภาพชีวิตท่ีดี

องคการเภสัชกรรม ใชงบดําเนินการปกติขององคการ

เภสัชกรรม (เงินรายได)

- แผนยุทธศาสตรแหงชาติวาดวยการยุติปญหาเอดส พ.ศ.2560-2573 - แผนปฏิบัติการ การยุติปญหาเอดส พ.ศ.2560-2573 1. มุงเนนและเรงรัดจัดชุดบริการท่ีมีประสิทธิผลสูงและรอบดานใหครอบคลุมพ้ืนท่ีและประชากรท่ีอยูในภาวะเสี่ยงและมีโอกาสรับและถายทอดเชื้อเอชไอวีสูง 2. ยกระดบัคุณภาพและบูรณาการการดําเนินงานปองกันท่ีมีประสิทธิผลเดิมใหเขมขน และยั่งยืนในระบบ 3. พัฒนาและเรงรัดการรักษา ดูแลและชวยเหลือทางสังคมใหมีคุณภาพ รอบดาน และยั่งยืน 4. ปรับภาพลักษณ เสริมสรางความเขมแข็งระดับบุคคล ครอบครัว ชุมชน ภาวะแวดลอม รวมท้ังกลไกการคุมครองสิทธิ เพ่ือลดการรังเกียจกีดกัน เลือกปฏิบัติท่ีเก่ียวเนื่องกับเอชไอวีและเพศภาวะ 5. เพ่ิมความรวมรับผิดชอบ การลงทุน และประสิทธิภาพการจัดการในทุกภาคสวนท้ังระดับนานาชาติ ระดับประเทศ ระดับจังหวัด และระดับพ้ืนท่ี 6. สงเสริมและพัฒนาการเขาถึงและการใชประโยชนขอมูลเชิงยุทธศาสตรและการวิจัยท่ีรอบดานและมีประสิทธิภาพ

กรมควบคุมโรค สธ. สปสช. เครือขายผูติดเชื้อองคการพัฒนาเอกชน องคกรภาคประชาสังคมท่ีดําเนินงานกลุมประชากรหลัก กระทรวงยุตธิรรม มท. ศธ. สํานักนายก พม. ภาคธุรกิจ

5,000,000,000

Page 58: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

49

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะยาว (พ.ศ.2565 – 2573) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) ยุติการแพรกระจายของเอดส ภายในป 2573

1. ระบบเฝาระวัง การคัดกรอง การปองกัน การวินิจฉัย การดูแล การรักษา การสงตอ และควบคุมโรคติดตอ 2. การสื่อสารความเสี่ยงและประชาสัมพันธ 3. บูรณาการระบบฐานขอมูล 4. พัฒนาเทคโนโลยีและชุดตรวจสําหรับวินจิฉัยใหมีมาตรฐานสากล 5.บังคับใชกฎหมายภายใต พรบ. ควบคุมโรคติดตอ พ.ศ. 2558 อยางเครงครัด 6.ผลักดันให อปท. มีขอกําหนด/บัญญัติปองกัน ควบคุมโรคติดตอ 7.พัฒนากลไกการดําเนินงานเพ่ือคุมครองสิทธิ 8.ขับเคลื่อนกระบวนการ Reach-Recruit-Test-Treat-Retain 9.พัฒนาศักยภาพบุคลากรและเครือขายใหสามารถเฝาระวัง ปองกันและควบคุมโรคติดตอใหมีประสิทธิภาพ รวมถึงการวินิจฉัย

- (ราง) ยุทธศาสตรการปองกันและแกไขปญหาเอดส ป 2560 – 2573

องคการเภสัชกรรม ใชงบดําเนินการปกติขององคการเภสัชกรรม (เงินรายไดองคการเภสัชกรรม)

Page 59: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

50

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

Roadmap SDG – Goal 3

เปาหมายท่ี 3 สรางหลักประกันวาคนมีชีวิตท่ีมีสุขภาพดีและสงเสริมสวัสดิภาพสําหรับทุกคนในทุกวัย เปาประสงคท่ี 3.3 ยุติการแพรกระจายของเอดส วัณโรค มาลาเรีย และโรคเขตรอนท่ีถูกละเลย และตอสูกับโรคตับอักเสบ โรคติดตอทางน้ํา และโรคติดตออ่ืนๆ

ภายในป 2573 ตัวช้ีวัดท่ี 3.3.2 อัตราการเกิดโรควัณโรคตอประชากร 1,000 คน

เปาหมาย ตามแผนยุทธศาสตรวัณโรคระดับชาติ พ.ศ. 2560-2564 - ลดอุบัติการณวัณโรค (Incidence) ใหต่ํากวา 88 ตอแสนประชากร ตามแผนยุทธศาสตรวัณโรคระดับชาติ พ.ศ. 2565-2569 - ลดอุบัติการณวัณโรค (Incidence) ใหต่ํากวา 30 ตอแสนประชากร ตามแผนยุทธศาสตรวัณโรคระดับชาติ พ.ศ. 2570-2574 - ลดอุบัติการณวัณโรค (Incidence) ใหต่ํากวา 20 ตอแสนประชากร ตามแผนยุทธศาสตรวัณโรคระดับชาติ พ.ศ. 2575-2579 - ลดอุบัติการณวัณโรค (Incidence) ใหต่ํากวา 10 ตอแสนประชากร ภายในป 2578

สถานภาพ องคการอนามัยโลกไดจัดกลุมประเทศท่ีมีภาระวัณโรคสูง (High Burden Country Lists) เปน 3 กลุมไดแก 1) มีภาระโรควัณโรคสูง(TB) 2) มีภาระวัณโรคท่ีสัมพันธกับการติดเชื้อเอชไอวีสูง (TB/HIV) และ 3) มีวัณโรคด้ือยาหลายขนานสูง (MDR-TB) ซ่ึงประเทศไทยเปน 1 ใน 14 ประเทศ ท่ีมีปญหาวัณโรคสูงท้ัง 3 กลุมดังกลาวมา ดังนั้นตั้งแตปพ.ศ.2559 องคการอนามัยโลกไดกําหนดยุทธศาสตรยุติวัณโรค (The End TB Strategy) โดยมีเปาหมายลดอุบัติการณวัณโรค(Incidence) ใหต่ํากวา 10 ตอแสนประชากรโลกภายในป พ.ศ. 2578 (2035) สํานักวัณโรค กรมควบคุมโรค จัดทําแผนยุทธศาสตรวัณโรคระดับชาติ พ.ศ. 2560-2564 เพ่ือเปนกรอบการดําเนินงานโดยมีมาตรการหลัก ในการจะบรรลุเปาหมายการลดอุบัติการณดังกลาวขางตนจําเปนตอง (1) เรงรัดการคนหา วินิจฉัย และรายงานใหมีความครอบคลุมการรักษา (Treatment Coverage) รอยละ 90 ของจํานวนผูปวยท่ีคาดประมาณจากอุบัติการณ (2) เรงรัดการเขาถึงบริการตรวจวินิจฉัยในประชากรกลุมเปราะบางและกลุมเสี่ยงวัณโรค เชน ผูสัมผัส ผูติดเชื้อเอชไอวี ผูปวยเบาหวาน และผูตองขัง แรงงานขามชาติใหครอบคลุมรอยละ 90 (3) ดูแลรักษาผูปวยวัณโรค ท่ีตรวจพบทุก

Page 60: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

51

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

สถานภาพ รายดวยแนวทางการดูแลผูปวยเปนศูนยกลาง (Patient center care ) ใหมีอัตราความสําเร็จการรักษาไมต่ํากวารอยละ 90 ดวยผลการดําเนินงานท่ีบรรลุเปาหมายท้ัง 3 ท่ีสําคัญนี้จะสงผลใหอุบัติการณวัณโรคลดลงอยางรวดเร็วสูเปาหมายยุติวัณโรคได ประเทศไทยมีผูปวยวัณโรครายใหมประมาณ 120,000 รายหรือคิดเปน 172 ตอประชากรแสนคน (WHO, Global TB Report 2016) การจะบรรลุเปาหมายยุติวัณโรคนั้นประเทศไทยตองมีอัตราลดอุบัติการณเฉลี่ยรอยละ 12.5 ตอป ในขณะท่ีปจจุบันระยะ 15 ปท่ีผานมามีอัตราลดลงของอุบัติการณเพียงรอยละ 2.7 ตอป จากผลการดําเนินงานวัณโรคท่ียังไมบรรลุเปาหมายสําคัญ เชน ปงบประมาณ 2557 มีผูปวยวัณโรคข้ึนทะเบียนรักษา 67,789 รายคิดเปนอัตราความครอบคลุมการรักษา (Treatment Coverage) เพียงรอยละ 59 และในปงบประมาณ 2558 มีรายงานผูปวยวัณโรคข้ึนทะเบียนรักษา 62,154 รายคิดเปนความครอบคลุมการรักษา (Treatment Coverage) เพียงรอยละ 55.3 (www.tbthailand.org/data) จากผลการรายงานขององคการอนามัยโลก ป 2558 พบวาจํานวนคาดประมาณผูปวยวัณโรครายใหมและกลับเปนซํ้าท่ีมีการติดเชื้อเอชไอว ี รวมดวยและทราบผลการตรวจ เอชไอวี (HIV-positive) ซ่ึงมีจํานวน 7,819 ราย คิดเปนรอยละ 13 โดยไดรับการรักษาดวยยาตานไวรัส (ART) 5,389 ราย คิดเปนรอยละ 69 สําหรับผูปวยวัณโรคดื้อยาหลายขนานหรือผูปวยท่ีมีเชื้อวัณโรคดื้อตอยาหลักอยางนอย 2 ชนิด คือไอโสไนอาสิดและไรแฟมพิซินิ (Multi-Drug Resistant-TB : MDR-TB) องคการอนามัยโลกคาดประมาณจํานวนผูปวยวัณโรคดื้อยาหลายขนาน (MDR/RR-TB) 4,500 ราย โดยพบในผูปวยวัณโรค รายใหม รอยละ 2.2 และผูปวยท่ีมีประวัติการรักษาวัณโรคมากอนรอยละ 24 แตจากรายงานพบวาไดรับการวินิจฉัยและรักษาเพียง 200 ราย สะทอนใหเห็นถึงการรายงานผูปวยท่ีต่ํากวาความเปนจริงรวมท้ังผูปวยท่ีสงสัยไมไดรับการสงตรวจทดสอบความไวตอยาทางหองปฏิบัติการชันสูตร จากสถานการณดังกลาวขางตน การดําเนินงานวัณโรคของไทยพบปญหาท้ังการวินิจฉัยและตรวจพบผูปวยเพียงรอยละ 55.3 ของจํานวนผูปวย วัณโรคใหมท่ีคาดประมาณอีกท้ังผลการรักษายังตองเพ่ิมความสําเร็จการรักษาใหสูงข้ึน ดังนั้นแผนงานควบคุมวัณโรคจึงกําหนดแนวทางการควบคุมโรคโดยมุงเนน “คนใหพบ จบดวยหาย พัฒนาระบบและเครือขาย นโยบายมุงม่ัน สรางสรรคนวัตกรรม”ท้ังวัณโรคท่ีไวตอยา (Drug Susceptible TB:DS-TB) และวัณโรคดื้อยา (Drug Resistant-TB:DR-TB) รวมท้ังการดําเนินงานผสมผสานวัณโรคและเอดสเปนสําคัญ

Page 61: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

52

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะสั้น (พ.ศ.2560) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) ยุติการแพรกระจายของวัณโรค ภายในป 2573

1. ระบบเฝาระวัง การคัดกรอง การปองกัน การวินิจฉัย การดูแล การรักษา การสงตอ และควบคุมโรคติดตอ 2. การสื่อสารความเสี่ยงและประชาสัมพันธ 3. บูรณาการระบบฐานขอมูล 4. พัฒนาเทคโนโลยีและชุดตรวจสําหรับวินจิฉัยใหมีมาตรฐานสากล

ระยะท่ี 1 เรงรัดคนหา ดูแลรักษา และปฏิรูประบบขอมูล - แผนยุทธศาสตรยุทธศาสตรวัณโรคระดับชาติ พ.ศ. 2560-2564 - แผนปฏิบัติการยุติปญหาวัณโรค พ.ศ. 2561-2564

- สํานักนายกรัฐมนตรี - สํานักงานรัฐมนตรี - องคการอนามัยโลก / สธ./ สปสช. - กระทรวงยุตธิรรม - มท./ ศธ./ พม. - กรมควบคุมโรค - องคกรภาคประชาสังคม.ภาคธุรกิจ และภาคเอกชน กองทุนโลกดานวัณโรค /สปสช. /พม./ งบประมาณปกติ (สํานักงบประมาณ)

7,000,000,000

1. เรงรัดคนหาผูติดเช้ือวัณโรคและผูปวยวัณโรคใหครอบคลุมโดยการคัดกรองในกลุมเส่ียงเปาหมาย 1.1 เพ่ิมการเขาถึงการวินิจฉัยวัณโรคท่ีรวดเร็วโดยเทคโนโลยีอณูชีววิทยา โดยเฉพาะในกลุมเสี่ยงตางๆ เชน ผูสัมผัส ผูสงูอายุ ผูปวยโรคเรื้อรัง ผูตองขัง ผูท่ีติดเชื้อเอชไอวีและแรงงานขามชาติ 1.2 คนหาผูติดเชื้อวัณโรคในกลุมเปาหมายสําคัญ คือ เด็กอายุต่ํากวา 5 ปซ่ึงอยูรวมบานกับผูปวยวัณโรค ผูติดเชื้อเอชไอวีเพ่ือใหไดรับการรักษาวัณโรคระยะแฝง 1.3 ขยายความครอบคลุมการควบคุมการแพรกระจายเชื้อวัณโรคในสถานพยาบาลและชุมชน 1.4 สนับสนุนหนวยงานภาคเอกชนและภาคประชาสังคมใหมีสวนรวมรับผิดชอบในการวินิจฉัย การดูแลรักษา รวมถึงการสงตอผูปวยวัณโรค 2. ลดการเสียชีวิตในผูปวยวัณโรค 2.1 สงเสริมผูปวยวัณโรคทุกราย ท้ังผูใหญและเด็ก ใหไดรับการรักษาอยางสมํ่าเสมอ ครบถวนดวยสูตรยามาตรฐานและยาท่ีมีคุณภาพ

1,200,000,000

Page 62: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

53

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะสั้น (พ.ศ.2560) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) 2.2 เรงรัดการดําเนินงานผสมผสานวัณโรคและโรคเอดส ท้ัง

ดานการวางแผนงานรวมกัน กรเรงรัดคนหาการใหยาปองกันวัณโรค การใหยาปองกันโรคติดเชื้อฉวยโอกาส และการใหยาตานไวรัสในผูปวยวัณโรคทุกรายท่ีติดเชื้อเอชไอวีรวมดวย 2.3 ปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการวัณโรคดื้อยาใหครอบคลุมท้ังประเทศ 3. พัฒนาศักยภาพบุคลากรเพ่ือการปองกัน ดูแลรักษาและควบคุมวัณโรค 3.1 พัฒนาระบบฐานขอมูลผูปวยวัณโรครายบุคคลบนระบบเครือขายอินเตอรเน็ตท่ีสามารถเชื่อมโยงการใชประโยชน ท้ังสําหรับหนวยงานใหบริการ หนวยงานสนับสนุนงบประมาณ หนวยงานติดตามประเมินผลและหนวยงานระดับนโยบาย ไดอยางเปนเอกภาพ 3.2 เพ่ิมคุณภาพการพัฒนาบุคลากรดานวัณโรคใหมีศักยภาพและแรงจูงใจในการดําเนินงานวัณโรค 4. สรางความย่ังยืนของการสนับสนุนเชิงนโยบายอยางจริงจัง (Political commitment) 4.1 มีคณะกรรมการปองกันและควบคุมวัณโรคแหงชาติ เพ่ือระดมศักยภาพของหนวยงาน องคกรทุกภาคสวน ในการปองกัน ดูแลรักษา และควบคุมวัณโรคดวยการระดมทรัพยากรในการดําเนินงาน ปองกัน ดูแลรักษาและควบคุมวัณโรค

Page 63: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

54

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะสั้น (พ.ศ.2560) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท)

4.2 รวมกับแผนงานโรคเอดสและมาลาเรีย สรางกองทุนพิเศษเพ่ือดําเนินงานโรคเอดส วัณโรคและมาลาเรียตอเนื่องหลังจากการสนับสนุนของกองทุนโลดสิ้นสุดลง รวมท้ังพัฒนาระบบสนับสนุนเบี้ยยังชีพแกผูปวยวัณโรคดื้อยา จากแหลงทุนตางๆของภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม 4.3 สงเสริมการใชกฎหมายพระราชบัญญัติท่ีเก่ียวของกับการดําเนินงานวัณโรคอยางเหมาะสม 5. สงเสริมการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการปองกัน ดูแลรักษา และควบคุมวัณโรค 5.1 การเรงรัดการศึกษาวิจัยท่ีสามารถชี้นําแนวทางการเพ่ิมประสิทธิภาพการดําเนินงานวัณโรค รวมท้ังสงเสริมนวัตกรรมสําหรับการพัฒนางานใหสอดคลองกับสถานการณของพ้ืนท่ี 5.2 สงเสริมการสรางนวัตกรรมการดําเนินงานวัณโรคอยางเปนระบบ

Page 64: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

55

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะกลาง (พ.ศ. 2561 – 2564) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) ยุติการแพรกระจายของวัณโรค ภายในป 2573

1. ระบบเฝาระวัง การคัดกรอง การปองกัน การวินิจฉัย การดูแล การรักษา การสงตอ และควบคุมโรคติดตอ 2. การสื่อสารความเสี่ยงและประชาสัมพันธ 3. บูรณาการระบบฐานขอมูล 4. พัฒนาเทคโนโลยีและชุดตรวจสําหรับวินจิฉัยใหมีมาตรฐานสากล 5.บังคับใชกฎหมายภายใต พรบ. ควบคุมโรคติดตอ พ.ศ. 2558 อยางเครงครัด 6.ผลักดันให อปท. มีขอกําหนด/บัญญัติปองกัน ควบคุมโรคติดตอ 7.พัฒนากลไกการดําเนินงานเพ่ือคุมครองสิทธิ 8.ขับเคลื่อนกระบวนการ Reach-Recruit-Test-Treat-Retain 9.พัฒนาศักยภาพบุคลากรและเครือขายใหสามารถเฝาระวัง ปองกันและควบคุมโรคติดตอใหมีประสิทธิภาพ รวมถึงการวินิจฉัย

- แผนยุทธศาสตรวัณโรคระดับชาติ พ.ศ.2559-2563

สํานักวัณโรค กรมควบคุมโรค

ระยะท่ี 2 สรางความเขมแข็งและพัฒนาเชิงคุณภาพ - แผนยุทธศาสตรยุทธศาสตรวัณโรคระดับชาติ พ.ศ. 2565-2569 - แผนปฏิบัติการยุติปญหาวัณโรค พ.ศ. 2565-2569 1. ขยายขอบขายและการเขาถึงมาตรการดูแลรักษาผูปวยและปองกันวัณโรค โดยมุงเนนมาตรการท่ีสงผลกระทบสูง มีการบูรณาการ และมีผูปวยเปนศูนยกลาง 2. ผลักดันนโยบายสุขภาพระดับประเทศและสนับสนุนงบประมาณอยางเพียงพอสําหรับการดูแลรักษาและปองกันวัณโรคเพ่ือพัฒนาใหเกิดประโยชนสูงสุดโดยมีความรวมมืออยางกวางขวางระหวางภาครัฐ ชุมชน ภาคประชาสังคมและเอกชน 3. ใชความรูและนวัตกรรมทางวิทยาศาสตรใหมๆ ท่ีสามารถเปลี่ยนการปองกันและดูแลรักษาผูปวยวัณโรคใหเพ่ิมประสิทธผิลสูง 4. ใชเครื่องมือท่ีมีอยูปจจุบัน รวมกับการขยายการเขาถึงบริการภายใตการประกันสุขภาพถวนหนาและการปกปองทางสังคมแกผูเปราะบาง 5. สนับสนุนและสงเสริมการวิจัยและพัฒนาวัคซีนใหมท่ีประสิทธิผลท้ังแบบใชกอน และหลังสัมผัสโรค รวมถึงมียารักษาการติดเชื้อวัณโรคแฝง

- สํานักนายกรัฐมนตรี - องคการอนามัยโลก - องคกรระหวางประเทศ - กระทรวงสาธารณสุข - สปสช. - กระทรวงยุติธรรม - มท./ศธ./พม. - กระทรวง วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีสารสนเทศ - กรมควบคุมโรค - องคกรภาคประชาสังคม ภาคธุรกิจ และภาคเอกชน

ยังไมกําหนด อาจมีการทบทวน

ประเด็นยุทธศาสตร และ

มาตรการใหม เพ่ือปรับปรุงแผน

Page 65: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

56

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะยาว (พ.ศ.2565 – 2573) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) ยุติการแพรกระจายของวัณโรค ภายในป 2573

1. ระบบเฝาระวัง การคัดกรอง การปองกัน การวินิจฉัย การดูแล การรักษา การสงตอ และควบคุมโรคติดตอ 2. การสื่อสารความเสี่ยงและประชาสัมพันธ 3. บูรณาการระบบฐานขอมูล 4. พัฒนาเทคโนโลยีและชุดตรวจสําหรับวินจิฉัยใหมีมาตรฐานสากล 5.บังคับใชกฎหมายภายใต พรบ. ควบคุมโรคติดตอ พ.ศ. 2558 อยางเครงครัด 6.ผลักดันให อปท. มีขอกําหนด/บัญญัติปองกัน ควบคุมโรคติดตอ 7.พัฒนากลไกการดําเนินงานเพ่ือคุมครองสิทธิ 8.ขับเคลื่อนกระบวนการ Reach-Recruit-Test-Treat-Retain 9.พัฒนาศักยภาพบุคลากรและเครือขายใหสามารถเฝาระวัง ปองกันและควบคุมโรคติดตอใหมีประสิทธิภาพ รวมถึงการวินิจฉัย

ระยะท่ี 3 กาวทันเทคโนโลยีและสรางความย่ังยืนและ ระยะท่ี 4 ประเมินผลกระทบสูการยุติปญหาวัณโรค - แผนยุทธศาสตรยุทธศาสตรวัณโรคระดับชาติ พ.ศ.2570-2579 - แผนปฏิบัติการยุติปญหาวัณโรค พ.ศ. 2570-2579 1. ขยายขอบขายและการเขาถึงมาตรการดูแลรักษาผูปวยและปองกันวัณโรค โดยมุงเนนมาตรการท่ีสงผลกระทบสูง มีการบูรณาการ และมีผูปวยเปนศูนยกลาง 2. ผลักดันนโยบายสุขภาพระดับประเทศและสนับสนุนงบประมาณอยางเพียงพอสําหรับการดูแลรักษาและปองกันวัณโรคเพ่ือพัฒนาใหเกิดประโยชนสูงสุด โดยมีความรวมมืออยางกวางขวางระหวางภาครัฐ ชุมชน ภาคประชาสังคมและเอกชน 3. ใชความรูและนวัตกรรมทางวิทยาศาสตรใหมๆ ท่ีสามารถเปลี่ยนการปองกันและดูแลรักษาผูปวยวัณโรคใหเพ่ิมประสิทธิผลสูง 4. ใชเครื่องมือท่ีมีอยูปจจุบัน รวมกับการขยายการเขาถึงบริการภายใตการประกันสุขภาพถวนหนาและการปกปองทางสังคมแกผูเปราะบาง 5. สนับสนุนและสงเสริมการวิจัยและพัฒนาวัคซีนใหมท่ีประสิทธิผลท้ังแบบใชกอน และหลังสัมผัสโรค รวมถึงมียารักษาการติดเชื้อวัณโรคแฝง

- สํานักนายกรัฐมนตรี - สํานักงานรัฐมนตรี - องคการอนามัยโลก - องคกรระหวางประเทศ - สธ./สปสช./ยธ. - มท./ศธ./พม. - กระทรวง วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีสารสนเทศ - กรมควบคุมโรค - องคกรภาคประชาสังคม ภาคธุรกิจ และภาคเอกชน

ยังไมกําหนด อาจมีการทบทวน

ประเด็นยุทธศาสตร และ

มาตรการใหม เพ่ือปรับปรุง

แผนระยะยาวท่ีกําหนดไวเดิม

Page 66: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

57

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะยาว (พ.ศ.2565 – 2573) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) ดังนั้น เพ่ือใหเกิดความกาวหนาภายหลังป พ.ศ. 2568 ซ่ึงจะ

นําไปสูผลการดําเนินงานบรรลุเปาหมายการพัฒนาอยางยั่งยืน (SDG*) ป พ.ศ. 2573 และเปาหมาย End TB พ.ศ. 2578 จําเปนตองอาศัยเครื่องมือใหมซ่ึงคาดวาจะเกิดข้ึนภายในป พ.ศ. 2568 โดยเฉพาะอยางยิ่ง จะมีวัคซีนใหมท่ีประสิทธิผลท้ังแบบใชกอน และหลังสัมผัสโรค รวมถึงมียารักษาการติดเชื้อวัณโรคแฝงท่ีปจจุบันมีประมาณ 2 พันลานคน จะลดการปวยวัณโรครายใหมได ท้ังนี้จึงเปนความจําเปนท่ีจะตองลงทุนเรื่องการวิจัยและพัฒนาอยางเพียงพอตั้งแตปจจุบันเปนตนไป

Page 67: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

58

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

Roadmap SDG – Goal 3

เปาหมายท่ี 3 สรางหลักประกันวาคนมีชีวิตท่ีมีสุขภาพดีและสงเสริมสวัสดิภาพสําหรับทุกคนในทุกวัย เปาประสงคท่ี 3.3 ยุติการแพรกระจายของเอดส วัณโรค มาลาเรีย และโรคเขตรอนท่ีถูกละเลย และตอสูกับโรคตับอักเสบ โรคติดตอทางน้ํา และโรคติดตออ่ืนๆ

ภายในป 2573 ตัวช้ีวัดท่ี 3.3.3 อัตราการเกิดโรคมาลาเรียตอประชากร 1,000 คน ตอป

เปาหมาย - กําจัดโรคไขมาลาเรียอยางนอย 95% ของอําเภอ/เขตท้ังหมด ภายในป 2564 - ประเทศไทยปลอดจากโรคไขมาลาเรีย ภายในป 2567

สถานภาพ ป 2553-2558 อัตราการเกิดโรคไขมาลาเรียโลกลดลง 21%

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะสั้น (พ.ศ.2560) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) ยุติการแพรกระจาย มาลาเรียภายในป 2573

1. ระบบเฝาระวัง การคัดกรอง การปองกัน การวินิจฉัย การดูแล การรักษา การสงตอ และควบคุมโรคติดตอ 2. การสื่อสารความเสี่ยงและประชาสัมพันธ 3. บูรณาการระบบฐานขอมูล 4. พัฒนาเทคโนโลยีและชุดตรวจสําหรับวินจิฉัยใหมีมาตรฐานสากล

- ยุทธศาสตรการกําจัดโรคไขมาลาเรียประเทศไทย พ.ศ.2560-2569 - แผนปฏิบัติการกําจัดโรคไขมาลาเรียประเทศไทย พ.ศ.2560-2564 หมายเหตุ ยุทธศาสตรฯ และแผนปฏิบัติการฯ ผานมติท่ีประชุมคณะรัฐมนตรี เม่ือ 26 เมษายน พ.ศ.2559

หลัก : สํานักโรคติดตอนําโดยแมลง กรมควบคุมโรค

599,000,000

1. เรงรัดกําจัดการแพรเชื้อมาลาเรียในประเทศไทย รอง : - กระทรวงกลาโหม - กรมสงเสริมการปกครองทองถ่ิน

123,750,000

Page 68: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

59

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะสั้น (พ.ศ.2560) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท)

5.บังคับใชกฎหมายภายใต พรบ. ควบคุมโรคติดตอ พ.ศ. 2558 อยางเครงครัด 6.ผลักดันให อปท. มีขอกําหนด/บัญญัติปองกัน ควบคุมโรคติดตอ 7.พัฒนากลไกการดําเนินงานเพ่ือคุมครองสิทธิ 8.ขับเคลื่อนกระบวนการ Reach-Recruit-Test-Treat-Retain 9.พัฒนาศักยภาพบุคลากรและเครือขายใหสามารถเฝาระวัง ปองกันและควบคุมโรคติดตอใหมีประสิทธิภาพ รวมถึงการวินิจฉัยโรคติดตอ

2. พัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม มาตรการและรูปแบบท่ีเหมาะสมกับสภาพของพ้ืนท่ี

รอง : - สภาวิจัยแหงชาติ - กระทรวงวิทยา ศาสตรและเทคโนโลยี

102,000,000

3. สรางความรวมมือระหวางภาคีเครือขาย ระดับประเทศและระดับนานาชาติเพ่ือขับเคลื่อนงานกําจัดโรคไขมาลาเรีย

รอง : - สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข - กรมสงเสริมการปกครองทองถ่ิน - องคการอนามัยโลกประจําประเทศไทย

100,250,000

4. สงเสริมใหประชาชนมีศักยภาพในการดูแลตนเองจากโรคไขมาลาเรีย

รอง : - กระทรวง ศึกษาธิการ - ภาคประชาสังคม

95,000,000

Page 69: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

60

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะกลาง (พ.ศ. 2561 – 2564) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) ยุติการแพรกระจาย มาลาเรียภายในป 2573

1. ระบบเฝาระวัง การคัดกรอง การปองกัน การวินิจฉัย การดูแล การรักษา การสงตอ และควบคุมโรคติดตอ 2. การสื่อสารความเสี่ยงและประชาสัมพันธ 3. บูรณาการระบบฐานขอมูล 4. พัฒนาเทคโนโลยีและชุดตรวจสําหรับวินจิฉัยใหมีมาตรฐานสากล 5.บังคับใชกฎหมายภายใต พรบ. ควบคุมโรคติดตอ พ.ศ. 2558 อยางเครงครัด 6.ผลักดันให อปท. มีขอกําหนด/บัญญัติปองกัน ควบคุมโรคติดตอ 7.พัฒนากลไกการดําเนินงานเพ่ือคุมครองสิทธิ 8.ขับเคลื่อนกระบวนการ Reach-Recruit-Test-Treat-Retain 9.พัฒนาศักยภาพบุคลากรและเครือขายใหสามารถเฝาระวัง ปองกันและควบคุมโรคติดตอใหมีประสิทธิภาพ รวมถึงการวินิจฉัย

แผนปฏิบัติการกําจัดโรคไขมาลาเรียประเทศไทย พ.ศ.2560-2564

หลัก : สํานักโรคติดตอนําโดยแมลง กรมควบคุมโรค

1. เรงรัดกําจัดการแพรเชื้อมาลาเรียในประเทศไทย รอง : กระทรวงกลาโหม กรมสงเสริมการปกครองทองถ่ิน

495,000,000

2. พัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม มาตรการและรูปแบบท่ีเหมาะสมกับสภาพของพ้ืนท่ี

รอง : สภาวิจัยแหงชาต/ิวท.

408,000,000

3. สรางความรวมมือระหวางภาคีเครือขาย ระดับประเทศและระดับนานาชาติเพ่ือขับเคลื่อนงานกําจัดโรคไขมาลาเรีย

รอง : สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข กรมสงเสริมการปกครองทองถ่ิน องคการอนามัยโลกประจําประเทศไทย

401,000,000

4. สงเสริมใหประชาชนมีศักยภาพในการดูแลตนเองจากโรคไขมาลาเรีย

รอง : ศธ. ภาคประชาสังคม

380,000,000

Page 70: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

61

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะยาว (พ.ศ.2565 – 2573) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) ยุติการแพรกระจาย มาลาเรียภายในป 2573

1. ระบบเฝาระวัง การคัดกรอง การปองกัน การวินิจฉัย การดูแล การรักษา การสงตอ และควบคุมโรคติดตอ 2. การสื่อสารความเสี่ยงและประชาสัมพันธ 3. บูรณาการระบบฐานขอมูล 4. พัฒนาเทคโนโลยีและชุดตรวจสําหรับวินจิฉัยใหมีมาตรฐานสากล 5.บังคับใชกฎหมายภายใต พรบ. ควบคุมโรคติดตอ พ.ศ. 2558 อยางเครงครัด 6.ผลักดันให อปท. มีขอกําหนด/บัญญัติปองกัน ควบคุมโรคติดตอ 7.พัฒนากลไกการดําเนินงานเพ่ือคุมครองสิทธิ 8.ขับเคลื่อนกระบวนการ Reach-Recruit-Test-Treat-Retain 9.พัฒนาศักยภาพบุคลากรและเครือขายใหสามารถเฝาระวัง ปองกันและควบคุมโรคติดตอใหมีประสิทธภิาพ รวมถึงการวินิจฉัย

ยุทธศาสตรการกําจัดโรคไขมาลาเรียประเทศไทย สํานักโรคติดตอนําโดยแมลง กรมควบคุมโรค

1. เรงรัดกําจัดการแพรเชื้อมาลาเรียในประเทศไทย รอง : กระทรวงกลาโหม กรมสงเสริมการปกครองทองถ่ิน

534,000,000

2. พัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม มาตรการและรูปแบบท่ีเหมาะสมกับสภาพของพ้ืนท่ี

รอง : สภาวิจัยแหงชาติ /วท.

17,100,000

3. สรางความรวมมือระหวางภาคีเครือขาย ระดับประเทศและระดับนานาชาติเพ่ือขับเคลื่อนงานกําจัดโรคไขมาลาเรีย

รอง : สป.สธ. กรมสงเสริมการปกครองทองถ่ิน องคการอนามัยโลกประจําประเทศไทย

95,100,000

4. สงเสริมใหประชาชนมีศักยภาพในการดูแลตนเองจากโรคไขมาลาเรีย

รอง : ศธ. / ภาคประชาสังคม

19,450,000

Page 71: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

62

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

Roadmap SDG – Goal 3

เปาหมายท่ี 3 สรางหลักประกันวาคนมีชีวิตท่ีมีสุขภาพดีและสงเสริมสวัสดิภาพสําหรับทุกคนในทุกวัย เปาประสงคท่ี 3.3 ยุติการแพรกระจายของเอดส วัณโรค มาลาเรีย และโรคเขตรอนท่ีถูกละเลย และตอสูกับโรคตับอักเสบ โรคติดตอทางน้ํา และโรคติดตออ่ืนๆ

ภายในป 2573 ตัวช้ีวัดท่ี 3.3.4 อัตราผูติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบี ตอประชากร 100,000 คน

เปาหมาย ใหบริการตรวจคัดกรองและรักษาอยางท่ัวถึงทุกอําเภอ ผูปวยโรคตับอักเสบเรื้อรังจากไวรัสตับอักเสบ B และ C ไดรับการรักษาไมต่ํากวารอยละ 80

สถานภาพ ปจจุบันคาดวามีผูปวยโรคตับอักเสบเรื้อรังจากไวรัสตับอักเสบ B และ C เปนจํานวนมาก คาดวานาจะมากกวา 2 ลานคน และผูปวยเหลานี้จะทยอยเปนโรคตับแข็งและมะเร็งตับตอไปในอนาคต สงผลเปนภาระในการดูแลรักษาและยังสงผลกระทบในดานคาใชจายในการักษาพยาบาลเปนอยางมาก

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะสั้น (พ.ศ.2560) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) ยุติการแพรกระจายและตอสูกับโรคตับอักเสบ ภายในป 2573

1. ระบบเฝาระวัง การคัดกรองการปองกัน การวินิจฉัย การดูแล การรักษา การสงตอ และควบคุมโรคติดตอ 2. การสื่อสารความเสี่ยงและประชาสัมพันธ 3. บูรณาการระบบฐานขอมูล4. พัฒนาเทคโนโลยีและชุดตรวจสําหรับวินจิฉัยใหมีมาตรฐานสากล

แผนแมบท อยูระหวางการพัฒนาการจัดตั้งแผนงานปองกันควบคุมโรคตับอักเสบจากไวรัสในระดับชาติ

กรมควบคุมโรค 700,000

เรงรัดดําเนินการเพ่ือการปองกัน ควบคุมการติดเช้ือไวรัสตับอักเสบ บี ซี การคนหาและดูแลรักษาผูปวย การปองกันและควบคุมโรค 1.สงเสริมการเขาถึงวัคซีนปองกันโรคตับอักเสบท่ีจําเปน2.ยกระดับการบริการทางสาธารณสุขใหปลอดภัยจากไวรัสตับอักเสบ 3.ลดความเสี่ยงตอการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบในประชาชน4.สื่อสารและรณรงคใหความรู ความตระหนักโรคไวรัสตับอักเสบแกประชาชน

กรม คร (สอวพ./สคร.1-12/สป.คม./สํานักสื่อสารฯ) สป สธ. (สสจ.ทุกแหงหนวยบริการท่ีรวมดําเนินการ) อปท. /มท./วท. สสส.

10,000,000

Page 72: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

63

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะสั้น (พ.ศ.2560) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) 5.บังคับใชกฎหมายภายใต พรบ.ควบคุมโรคติดตอ พ.ศ. 2558 อยางเครงครัด 6.ผลักดันให อปท. มีขอกําหนด/บัญญัติปองกัน ควบคุมโรคติดตอ 7.พัฒนากลไกการดําเนินงานเพ่ือคุมครองสิทธิ 8.ขับเคลื่อนกระบวนการ Reach-Recruit-Test-Treat-Retain 9.พัฒนาศักยภาพบุคลากรและเครือขายใหสามารถเฝาระวัง ปองกันและควบคุมโรคติดตอใหมีประสิทธิภาพ รวมถึงการวินิจฉัยโรคติดตอ

การคนหาและดูแลผูปวย 1.สนับสนุนใหประชาชนสามารถเขาถึงการตรวจคัดกรองการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบท่ีมีคุณภาพ 2.พัฒนาศักยภาพในการดูแลผูปวยไวรัสตับอักเสบ3.สงเสริมใหผูปวยโรคไวรัสตับอักเสบเรื้อรังและผูท่ีมีภาวะแทรกซอนจากโรคไวรัสตับอักเสบ ไดรับการดูแลอยางตอเนื่อง ขับเคล่ือนแผนยุทธศาสตร พัฒนานโยบาย กลไก และระบบขอมูลเชิงยุทธศาสตรเพ่ือการปองกันและควบคุมการติดเช้ือไวรัสตับอักเสบ บีและซี ขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตรและกระบวนการปองกันและแกไขปญหาโรคไวรัสตับอักเสบ 1.ถายทอดแผนยุทธศาสตรการปองกันและแกไขปญหาโรคไวรัสตับอักเสบ 2.จัดทําแผนปฏิบัติการการปองกันและแกไขปญหาโรคไวรัสตับอักเสบ 3.พัฒนาระบบงานและแนวทางการปองกันและควบคุมโรคไวรัสตับอักเสบ พัฒนาระบบขอมูลเชิงยุทธศาสตรโรคไวรัสตับอักเสบ 1.จัดทําฐานขอมูลในระดับชาติ ท่ีเก่ียวของกับการติดเชื้อตับอักเสบจากไวรัส บี และ ซี โรคตับอักเสบเรื้อรัง จากไวรัส บี และ ซี และ โรคท่ีเปนผลตอเนื่องจากการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ บี และ ซี

กรมควบคุมโรค (สอวพ./สคร.1-12/สป.คม./สํานักสื่อสารฯ) สป.สธ. (สสจ.ทุกแหง หนวยบริการท่ีรวมดําเนินการ) อปท. กระทรวงมหาดไทย กรมวิทยาศาสตรฯ สสส.

11,500,000

Page 73: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

64

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะสั้น (พ.ศ.2560) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) 2.จัดทําระบบเฝาระวังโรคไวรัสตับอักเสบ3.พัฒนาการใชประโยชนจากระบบขอมูลเชิงยุทธศาสตรโรคไวรัสตับอักเสบ

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะกลาง (พ.ศ. 2561 – 2564) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) ยุติการแพรกระจายและตอสูกับโรคตับอักเสบ ภายในป 2573

1. ระบบเฝาระวัง การคัดกรองการปองกัน การวินิจฉัย การดูแล การรักษา การสงตอ และควบคุมโรคติดตอ 2. การสื่อสารความเสี่ยงและประชาสัมพันธ 3. บูรณาการระบบฐานขอมูล4. พัฒนาเทคโนโลยีและชุดตรวจสําหรับวินิจฉัยใหมีมาตรฐานสากล 5.บังคับใชกฎหมายภายใต พรบ.ควบคุมโรคติดตอ พ.ศ. 2558 อยางเครงครัด 6.ผลักดันให อปท. มีขอกําหนด/บัญญัติปองกัน ควบคุมโรคติดตอ 7.พัฒนากลไกการดําเนินงานเพ่ือคุมครองสิทธิ

วิจัยและพัฒนายาตานไวรัสตับอักเสบ B และ C รายการใหมๆตาม guideline ท่ีเปลี่ยนแปลงไปให สามารถผลิตไดเองในประเทศ

องคการเภสัชกรรม ใชงบดําเนินการปกติขององคการเภสัชกรรม (เงินรายไดองคการ

เภสัชกรรม) 1.การปองกันและควบคุมโรคมาตรการท่ี 1 สงเสริมการเขาถึงวัคซีนปองกันโรคไวรัสตับอักเสบ

ท่ีจําเปน มาตรการท่ี 2 ยกระดับการบริการทางสาธารณสุขใหปลอดภัย

จากไวรัสตับอักเสบ มาตรการท่ี 3 ลดความเสี่ยงตอการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบใน

ประชาชน มาตรการท่ี 4 พัฒนาการสื่อสารความเสี่ยง เพ่ือสรางเสริม

พฤติกรรมการปองกันโรค

-กรมควบคุมโรค -สป.สธ. -สมาคมโรคตับฯ -สสส. -สปสช.

80,000,000

2.การคนหาและดูแลผูปวยมาตรการท่ี 1 สนับสนุนใหประชาชนสามารถเขาถึงการตรวจคัด

กรองโรคไวรัสตับอักเสบท่ีมีคุณภาพ

-กรมควบคุมโรค -สป.สธ. -สมาคมโรคตับฯ

80,000,000

Page 74: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

65

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะกลาง (พ.ศ. 2561 – 2564) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) 8.ขับเคลื่อนกระบวนการ Reach-Recruit-Test-Treat-Retain 9.พัฒนาศักยภาพบุคลากรและเครือขายใหสามารถเฝาระวัง ปองกันและควบคุมโรคติดตอใหมีประสิทธิภาพ รวมถึงการวินิจฉัย

มาตรการท่ี 2 พัฒนาศักยภาพในการดูแลผูปวยไวรัสตับอักเสบ มาตรการที 3 สงเสริมใหผูปวยโรคไวรัสตับอักเสบเรื้อรังและผูท่ีมี

ภาวะแทรกซอนจากโรคไวรัสตับอักเสบไดรับการ ดูแลอยางตอเนื่อง

-สสส.

3.การเฝาระวังโรคและระบบขอมูลมาตรการท่ี 1 การพัฒนาระบบขอมูลโรคไวรัสตับอักเสบ เพ่ือ

การเฝาระวังโรคและติดตามประเมินผลการ ดําเนินงาน

มาตรการท่ี 2 การพัฒนาศักยภาพบุคลากรเพ่ือขับเคลื่อนและ เพ่ิมประสิทธิภาพการ ดําเนินงานในพ้ืนท่ี

มาตรการท่ี 3 การยกระดับการใชขอมูลโรคไวรัสตับอักเสบ

-กรมควบคุมโรค -สป.สธ. -สมาคมโรคตับฯ -สสส.

80,000,000

4.การวิจัยและพัฒนามาตรการท่ี 1 พัฒนาเครือขายผูวิจัยท่ีเก่ียวกับโรคไวรัสตับอักเสบ มาตรการท่ี 2 พัฒนากรอบหัวขอการวิจัยเก่ียวกับโรคไวรัสตับ

อักเสบท่ีจําเปน มาตรการท่ี 3 สงเสริมใหผูวิจัยไดรับการจัดสรรทุนเพ่ือทําการ

วิจัยท่ีสําคัญ มาตรการท่ี 4 การสงเสริมการใชประโยชนจากผลการวิจัย

-กรมควบคุมโรค -สป.สธ. -สมาคมโรคตับฯ -สสส.

80,000,000

5.การบริหารจัดการและจัดการทรัพยากรมาตรการท่ี 1 พัฒนาโครงสรางระบบงาน และเครือขายการ

ปองกันควบคุมและแกไขปญหาโรคไวรัสตับอักเสบ

-กรมควบคุมโรค -สป.สธ. -สมาคมโรคตับฯ

80,000,000

Page 75: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

66

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะกลาง (พ.ศ. 2561 – 2564) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) มาตรการท่ี 2 พัฒนาการจัดการดานงบประมาณ มาตรการท่ี 3 พัฒนาบุคลากรเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพการจัดการ

ปญหาโรคไวรัสตับอักเสบ

-สสส.

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะยาว (พ.ศ.2565 – 2573) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) ยุติการแพรกระจายและตอสูกับโรคตับอักเสบ ภายในป 2573

1. ระบบเฝาระวัง การคัดกรองการปองกัน การวินิจฉัย การดูแล การรักษา การสงตอ และควบคุมโรคติดตอ 2. การสื่อสารความเสี่ยงและประชาสัมพันธ 3. บูรณาการระบบฐานขอมูล4. พัฒนาเทคโนโลยีและชุดตรวจสําหรับวินิจฉัยใหมีมาตรฐานสากล 5.บังคับใชกฎหมายภายใต พรบ.ควบคุมโรคติดตอ พ.ศ. 2558 อยางเครงครัด 6.ผลักดันให อปท. มีขอกําหนด/บัญญัติปองกัน ควบคุมโรคติดตอ 7.พัฒนากลไกการดําเนินงานเพ่ือคุมครองสิทธิ

1.การปองกันและควบคุมโรคมาตรการท่ี 1 สงเสริมการเขาถึงวัคซีนปองกันโรคไวรัสตับอักเสบ

ท่ีจําเปน มาตรการท่ี 2 ยกระดับการบริการทางสาธารณสุขใหปลอดภัย

จากไวรัสตับอักเสบ มาตรการท่ี 3 ลดความเสี่ยงตอการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบใน

ประชาชน มาตรการท่ี 4 พัฒนาการสื่อสารความเสี่ยง เพ่ือสรางเสริม

พฤติกรรมการปองกันโรค

-กรมควบคุมโรค -สป.สธ. -สมาคมโรคตับฯ -สสส. -สปสช.

2.การคนหาและดูแลผูปวยมาตรการท่ี 1 สนับสนุนใหประชาชนสามารถเขาถึงการตรวจคัด

กรองโรคไวรัสตับอักเสบท่ีมีคุณภาพ มาตรการท่ี 2 พัฒนาศักยภาพในการดูแลผูปวยไวรัสตับอักเสบ มาตรการที 3 สงเสริมใหผูปวยโรคไวรัสตับอักเสบเรื้อรังและผูท่ีมี

ภาวะแทรกซอนจากโรคไวรัสตับอักเสบไดรับการ ดูแลอยางตอเนื่อง

-กรมควบคุมโรค -สป.สธ. -สมาคมโรคตับฯ -สสส.

Page 76: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

67

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะยาว (พ.ศ.2565 – 2573) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) 8.ขับเคลื่อนกระบวนการ Reach-Recruit-Test-Treat-Retain 9.พัฒนาศักยภาพบุคลากรและเครือขายใหสามารถเฝาระวัง ปองกันและควบคุมโรคติดตอใหมีประสิทธิภาพ รวมถึงการวินิจฉัย

3.การเฝาระวังโรคและระบบขอมูลมาตรการท่ี 1 การพัฒนาระบบขอมูลโรคไวรัสตับอักเสบ เพ่ือ

การเฝาระวังโรคและติดตามประเมินผลการ ดําเนินงาน

มาตรการท่ี 2 การพัฒนาศักยภาพบุคลากรเพ่ือขับเคลื่อนและ เพ่ิมประสิทธิภาพการ ดําเนินงานในพ้ืนท่ี

มาตรการท่ี 3 การยกระดับการใชขอมูลโรคไวรัสตับอักเสบ

-กรมควบคุมโรค -สป.สธ. -สมาคมโรคตับฯ -สสส.

4.การวิจัยและพัฒนามาตรการท่ี 1 พัฒนาเครือขายผูวิจัยท่ีเก่ียวกับโรคไวรัสตับอักเสบ มาตรการท่ี 2 พัฒนากรอบหัวขอการวิจัยเก่ียวกับโรคไวรัสตับ

อักเสบท่ีจําเปน มาตรการท่ี 3 สงเสริมใหผูวิจัยไดรับการจัดสรรทุนเพ่ือทําการ

วิจัยท่ีสําคัญ มาตรการท่ี 4 การสงเสริมการใชประโยชนจากผลการวิจัย

-กรมควบคุมโรค -สป.สธ. -สมาคมโรคตับฯ -สสส.

5.การบริหารจัดการและจัดการทรัพยากรมาตรการท่ี 1 พัฒนาโครงสรางระบบงาน และเครือขายการ

ปองกันควบคุมและแกไขปญหาโรคไวรัสตับอักเสบ มาตรการท่ี 2 พัฒนาการจัดการดานงบประมาณ มาตรการท่ี 3 พัฒนาบุคลากรเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพการจัดการ

ปญหาโรคไวรัสตับอักเสบ

-กรมควบคุมโรค -สป.สธ. -สมาคมโรคตับฯ -สสส.

80,000,000

Page 77: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

68

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

Roadmap SDG – Goal 3

เปาหมายท่ี 3 สรางหลักประกันวาคนมีชีวิตท่ีมีสุขภาพดีและสงเสริมสวัสดิภาพสําหรับทุกคนในทุกวัย เปาประสงคท่ี 3.3 ยุติการแพรกระจายของเอดส วัณโรค มาลาเรีย และโรคเขตรอนท่ีถูกละเลย และตอสูกับโรคตับอักเสบ โรคติดตอทางน้ํา และโรคติดตออ่ืนๆ

ภายในป 2573 ตัวช้ีวัดท่ี 3.3.5 จํานวนผูท่ีรองขอความชวยเหลือตอการปองกันโรคเขตรอนท่ีถูกละเลย (Neglected tropical diseases)

เปาหมาย ยุติการแพรกระจาย สถานภาพ

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะสั้น (พ.ศ.2560) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) ยุติการแพรกระจายโรคเขตรอนท่ีถูกละเลย ภายในป 2573

1. ระบบเฝาระวัง การคัดกรองการปองกัน การวินิจฉัย การดูแล การรักษา การสงตอ และควบคุมโรคติดตอ 2. การสื่อสารความเสี่ยงและประชาสัมพันธ 3. บูรณาการระบบฐานขอมูล4. พัฒนาเทคโนโลยีและชุดตรวจสําหรับวินจิฉัยใหมีมาตรฐานสากล

ยุทธศาสตรการเฝาระวัง ปองกัน และควบคุมโรคติดตอนําโดยยุงลาย (2560 – 2564) 1. พัฒนาและเพ่ิมความเขมแข็งระบบการเฝาระวังโรคติดตอนําโดยยุงลาย 2. เรงรัดการปองกันและควบคุมการแพรเชื้อ เพ่ือลดการติดเชื้อการปวย และการเกิดภาวะแทรกซอนจากโรคติดตอนําโดยยุงลาย 3. เพ่ิมความเขมแข็งระบบการดูแลรักษาและสนับสนุนอยางตอเนื่องแบบองครวม ท้ังดานรางกาย จิตใจ และสังคม แกผูปวย ครอบครัว และชุมชน

กรม คร. (สอวพ./สคร.1-12/สป.คม.) สป สธ. (สสจ.ทุกแหง หนวยบริการท่ีรวมดําเนินการ) กรมวิทยาศาสตรฯ สป.สธ. (สสจ.ทุกแหง หนวยบริการท่ีรวมดําเนินการ)

135,100,000

จากขอมูลของ WHO มีจํานวนผูรองขอความชวยเหลือตอการปองกันโรคเขตรอนที่ถูกละเลยในป ค.ศ. 2013 จํานวน 154,968 คน ป ค.ศ. 2014

จํานวน 41,297 คน และในป ค.ศ. 2015 จํานวน 145,141 คน ตามลําดับ

Page 78: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

69

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะสั้น (พ.ศ.2560) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท)

5.บังคับใชกฎหมายภายใต พรบ. ควบคุมโรคติดตอ พ.ศ. 2558 อยางเครงครัด 6.ผลักดันให อปท. มีขอกําหนด/บัญญัติปองกัน ควบคุมโรคติดตอ 7.พัฒนากลไกการดําเนินงานเพ่ือคุมครองสิทธิ 8.ขับเคลื่อนกระบวนการ Reach-Recruit-Test-Treat-Retain 9.พัฒนาศักยภาพบุคลากรและเครือขายใหสามารถเฝาระวัง ปองกันและควบคุมโรคติดตอใหมีประสิทธิภาพ รวมถึงการวินิจฉัยโรคติดตอ

4. พัฒนา และสงเสริมการมีสวนรวมรับผิดชอบของบุคลากร ภาคีเครือขาย และประชาชนทุกคนในการปองกันและควบคุมโรคติดตอนําโดยยุงลาย 5. เสริมสรางความเขมแข็งระบบควบคุมโรคและการตอบโตภาวะฉุกเฉินโรคติดตอนําโดยยุงลาย (EOC) 6. เพ่ิมศักยภาพและความสามารถการบริหารจัดการทรัพยากรในการควบคุมยุงลาย 7. พัฒนาระบบการติดตามและประเมินผลการปองกันควบคุมโรคติดตอนําโดยยุงลายใหมีประสิทธิภาพ 8. พัฒนา สงเสริม สนับสนุน และเรงรัดการศึกษาวิจัย นวัตกรรมและเทคโนโลยี การปองกันควบคุมโรคติดตอนําโดยยุงลาย

อปท. ก.มหาดไทย สสส.

Page 79: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

70

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะกลาง (พ.ศ. 2561 – 2564) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) ยุติการแพรกระจายโรคเขตรอนท่ีถูกละเลย ภายในป 2573

1. ระบบเฝาระวัง การคัดกรอง การปองกัน การวินิจฉัย การดูแล การรักษา การสงตอ และควบคุมโรคติดตอ 2. การสื่อสารความเสี่ยงและประชาสัมพันธ 3. บูรณาการระบบฐานขอมูล 4. พัฒนาเทคโนโลยีและชุดตรวจสําหรับวินจิฉัยใหมีมาตรฐานสากล 5.บังคับใชกฎหมายภายใต พรบ. ควบคุมโรคติดตอ พ.ศ. 2558 อยางเครงครัด 6.ผลักดันให อปท. มีขอกําหนด/บัญญัติปองกัน ควบคุมโรคติดตอ 7.พัฒนากลไกการดําเนินงานเพ่ือคุมครองสิทธิ 8.ขับเคลื่อนกระบวนการ Reach-Recruit-Test-Treat-Retain 9.พัฒนาศักยภาพบุคลากรและเครือขายใหสามารถเฝาระวัง ปองกันและควบคุมโรคติดตอใหมีประสิทธิภาพ รวมถึงการวินิจฉัย

ยุทธศาสตรการเฝาระวัง ปองกัน และควบคุมโรคติดตอนําโดยยุงลาย (2560 – 2564) 1. พัฒนาและเพ่ิมความเขมแข็งระบบการเฝาระวังโรคติดตอนําโดยยุงลาย 2. เรงรัดการปองกันและควบคุมการแพรเชื้อ เพ่ือลดการติดเชื้อ การปวย และการเกิดภาวะแทรกซอนจากโรคติดตอนําโดยยุงลาย 3. เพ่ิมความเขมแข็งระบบการดูแลรักษาและสนับสนุนอยางตอเนื่องแบบองครวม ท้ังดานรางกาย จิตใจ และสังคม แกผูปวย ครอบครัว และชุมชน 4. พัฒนา และสงเสริมการมีสวนรวมรับผิดชอบของบุคลากร ภาคีเครือขาย และประชาชนทุกคนในการปองกันและควบคุมโรคติดตอนําโดยยุงลาย 5. เสริมสรางความเขมแข็งระบบควบคุมโรคและการตอบโตภาวะฉุกเฉินโรคติดตอนําโดยยุงลาย (EOC) 6. เพ่ิมศักยภาพและความสามารถการบริหารจัดการทรัพยากรในการควบคุมยงุลาย 7. พัฒนาระบบการติดตามและประเมินผลการปองกันควบคุมโรคติดตอนําโดยยุงลายใหมีประสิทธิภาพ 8. พัฒนา สงเสริม สนับสนุน และเรงรัดการศึกษาวิจัย นวัตกรรมและเทคโนโลยี การปองกันควบคุมโรคติดตอนําโดยยุงลาย

กรม คร (สอวพ./สคร.1-12/สป.คม.) สป สธ. (สสจ.ทุกแหง หนวยบริการท่ีรวมดําเนินการ) กรมวิทยาศาสตรฯ สป สธ. (สสจ.ทุกแหง หนวยบริการท่ีรวมดําเนินการ) อปท. ก.มหาดไทย สสส.

601,690,000

Page 80: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

71

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะยาว (พ.ศ. 2565 – 2573) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) ยุติการแพรกระจายโรคเขตรอนท่ีถูกละเลย ภายในป 2573

1. ระบบเฝาระวัง การคัดกรอง การปองกัน การวินิจฉัย การดูแล การรักษา การสงตอ และควบคุมโรคติดตอ 2. การสื่อสารความเสี่ยงและประชาสัมพันธ 3. บูรณาการระบบฐานขอมูล 4. พัฒนาเทคโนโลยีและชุดตรวจสําหรับวินจิฉัยใหมีมาตรฐานสากล 5.บังคับใชกฎหมายภายใต พรบ. ควบคุมโรคติดตอ พ.ศ. 2558 อยางเครงครัด 6.ผลักดันให อปท. มีขอกําหนด/บัญญัติปองกัน ควบคุมโรคติดตอ 7.พัฒนากลไกการดําเนินงานเพ่ือคุมครองสิทธิ 8.ขับเคลื่อนกระบวนการ Reach-Recruit-Test-Treat-Retain 9.พัฒนาศักยภาพบุคลากรและเครือขายใหสามารถเฝาระวัง ปองกันและควบคุมโรคติดตอใหมีประสิทธิภาพ รวมถึงการวินิจฉัย

1. พัฒนาและเพ่ิมความเขมแข็งระบบการเฝาระวังโรคติดตอนําโดยยุงลาย 2. เรงรัดการปองกันและควบคุมการแพรเชื้อ เพ่ือลดการติดเชื้อ การปวย และการเกิดภาวะแทรกซอนจากโรคติดตอนําโดยยุงลาย 3. เพ่ิมความเขมแข็งระบบการดูแลรักษาและสนับสนุนอยางตอเนื่องแบบองครวม ท้ังดานรางกาย จิตใจ และสังคม แกผูปวย ครอบครัว และชุมชน 4. พัฒนา และสงเสริมการมีสวนรวมรับผิดชอบของบุคลากร ภาคีเครือขาย และประชาชนทุกคนในการปองกันและควบคุมโรคติดตอนําโดยยุงลาย 5. เสริมสรางความเขมแข็งระบบควบคุมโรคและการตอบโตภาวะฉุกเฉินโรคติดตอนําโดยยุงลาย (EOC) 6. เพ่ิมศักยภาพและความสามารถการบริหารจัดการทรัพยากรในการควบคุมยงุลาย 7. พัฒนาระบบการติดตามและประเมินผลการปองกันควบคุมโรคติดตอนําโดยยุงลายใหมีประสิทธิภาพ 8. พัฒนา สงเสริม สนับสนุน และเรงรัดการศึกษาวิจัย นวัตกรรมและเทคโนโลยี การปองกันควบคุมโรคติดตอนําโดยยุงลาย

กรม คร (สอวพ./สคร.1-12/สป.คม.) สป สธ. (สสจ.ทุกแหง หนวยบริการท่ีรวมดําเนินการ) กรมวิทยาศาสตรฯ สป สธ. (สสจ.ทุกแหง หนวยบริการท่ีรวมดําเนินการ) อปท. ก.มหาดไทย สสส.

Page 81: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

72

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

Roadmap SDG 3

เปาหมายท่ี 3 สรางหลักประกันวาคนมีชีวิตท่ีมีสุขภาพดีและสงเสริมสวัสดิภาพสําหรับทุกคนในทุกวัย เปาประสงคท่ี 3.4 ลดการตายกอนวัยอันควรจากโรคไมติดตอใหลดลงหนึ่งในสาม ผานทางการปองกันและการรักษาโรค และสนับสนุนสุขภาพจิตและความเปนอยู

ท่ีดี ภายในป 2573 ตัวช้ีวัดท่ี 3.4.1 อัตราการตายของผูท่ีเปนโรคหัวใจและหลอดเลือด โรคมะเร็ง โรคเบาหวาน หรือโรคระบบทางเดินหายใจ

เปาหมาย อัตราการตายจากโรคหัวใจและหลอดเลือด โรคมะเร็ง โรคเบาหวานและโรคระบบทางเดินหายใจเรื้อรัง ในประชากรไทย อายุ 30-70 ป ลดลง 1/3 ภายใน ป 2573 จากขอมูลพ้ืนฐานป 2553 อัตราการตายจากโรคหลอดเลือดหัวใจ ตอประชากรแสนคน ป 2560 – 28 คนตอแสนประชากร ป 2561 – 27 คนตอแสนประชากร ป 2562 – 26 คนตอแสนประชากร ป 2563 – 25 คนตอแสนประชากร ป 2564 – 24 คนตอแสนประชากร ป 2565 – 23 คนตอแสนประชากร ป 2566 – 22 คนตอแสนประชากร ป 2567 – 21 คนตอแสนประชากร ป 2568-2573 – 20 คนตอแสนประชากร

สถานภาพ

อัตราปวยตายจากโรคหลอดเลือดหัวใจ เทากับ 27.83 ตอแสนประชากร สํานักโรคไมติดตอ : อัตราการตายจากโรคหัวใจและหลอดเลือด 24.27 คนตอแสนประชากร สํานักนโยบายและยุทธศาสตร : อัตราการตายจากโรคหัวใจและหลอดเลือด (ต.ค.58-มิ.ย.59) 20.41 คนตอแสนประชากร

Page 82: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

73

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

สถาบันโรคทรวงอก

- จากขอมูล สปสช ป 2555 ประเทศไทยมีผูปวยโรคนี้จํานวน 1.5 ลานคน และมีภาระคาใชจายจากการรักษา 12,735 ลานบาทตอป คิดเปนรอยละ 0.14 ของรายไดประชาชาติ ทําใหโรคปอดอุดก้ันเรื้อรังเปน 1 ใน 10 ของโรคเรื้อรังท่ีเปนภาระตอคาใชจายสาธารณสุขของประเทศไทยและไดมีการประเมินผูปวยท่ีมีอาการหอบหืดในคลินิกโรคปอดอุดก้ันเรื้อรัง ตาม COPD Clinic Model ซ่ึงทําใหไดมีขอมูลพ้ืนฐานของผูปวยท่ีมีแนวโนมท่ีจะเปนโรคปอดอุดก้ันเรื้อรังท่ีมีความรุนแรง และมีความเสี่ยงท่ีจะเกิด exacerbation จากการศึกษาพบวา ผูปวยท่ีไดรับยา B-2 จะลดอาการ exacerbation มากกวาหรือเทากับ 10-15% และ ผูปวยท่ีไดรับการทํา pulmonary rehabilitation จะสามารถลด exacerbation มากกวาหรือเทากับ 10% - ปจจุบันจากขอมูล Thailand’s 4th National Health Examination 2009 พบวามีผูปวยเปนโรคปอดอุดก้ันเรื้อรังเปนลําดับท่ี 5 ในประเทศไทยจํานวน 270,000 ราย เม่ือประเมิน 10 อันดับโรค โรค Chronic NCDs ในป 2009 มีผูปวยโรคปอดอุดก้ันเรื้อรังอยูในลําดับท่ี 6 เปนเพศชาย ท่ีปวยเปนโรคปอดอุดก้ันเรื้อรัง จํานวน 205,798 คิดเปนรอยละ 3.5 อัตราการตาย 10 อันดับแรกในป 2556 จําแนกตามเพศพบวาเพศชายเปนโรคปอดอุดก้ันเรื้อรังมีอัตราการตายอยูในลําดับท่ี 5 จํานวน 15,000 คน คิดเปนรอยละ 5.7 สวนเพศหญิงมีอัตราการตายอยูในลําดับท่ี 7 จํานวน 5,000 คน คิดเปนรอยละ 2.7

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะสั้น (พ.ศ.2560) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) ลดการตายกอนวัยอันควรจากโรคไมติดตอใหลดลงหนึ่งในสาม ผานทางการปองกันและการรักษาโรค และสนับสนุนสุขภาพจิตและความเปนอยูท่ีดี ภายในป 2573

1. คลินิก NCD คุณภาพในสถานบริการสุขภาพทุกระดับ 2. การจัดบริการสุขภาพ มีระบบ fast track STEMI, cardiac network และ zoning 3. มีระบบการตรวจวินิจฉัยใหไดภายในระยะเวลาตามเกณฑ 4. มีระบบการสงตอท่ีมีประสิทธิภาพ 5. จัดระบบบริการการผาตัดและการดูแลหลังผาตัดใหเหมาะสมกับขีดความสามารถของแตละระดับ

- แผนพัฒนาศักยภาพคนตามชวงวัย (แมและเด็ก เด็กวัยเรียน วัยรุน วัยทํางาน วัยผูสูงอายุและผูพิการ) - แผนพัฒนาระบบบริการสขุภาพ (Service Plan สาขา NCD (DM, HT, COPD, STROKE) ,สาขาหัวใจ และหลอดเลือด และสาขามะเร็ง) - แผนการปองกันและควบคุมโรคมะเร็งระดับชาติ (พ.ศ.2556-2560) - แผนปฏิบัติการบูรณาการยุทธศาสตรการปองกันและควบคุมโรคไมติดตอระดับชาติ - แผนยุทธศาสตรนโยบายแอลกอฮอลระดับชาติ - แผนยุทธศาสตรการควบคุมยาสูบแหงชาติ - ยุทธศาสตรการจัดการปญหาภาวะน้ําหนักเกินและโรคอวน

- สํานักงานปลัด กระทรวงสาธารณสุข (สบรส.) - กรมควบคุมโรค - กรมการแพทย

Page 83: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

74

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะสั้น (พ.ศ.2560) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท)

ของโรงพยาบาลโดยมีการเชื่อมโยงภายในเครือขาย 6.การจัดกําลังคนดานสุขภาพใหเพียงพอและเหมาะสมกับภาระงาน 7.ระบบสารสนเทศมีการจัดเก็บขอมูลท่ีสมบูรณ สอดคลอง และเชื่อมโยงกับระบบของสถานพยาบาล 8.การรายงานขอมูลเปนระบบเดียวกันท่ัวประเทศ 9.ยาและวัสดุครุภัณฑทางการแพทย และ เทคโนโลยี 10.คูมือแนวทางการดําเนินงาน การคัดกรอง 11.มีคณะกรรมการ service plan สาขาโรคไมติดตอระดับเขต และจังหวัด

โรคหัวใจและหลอดเลือด

โครงการ “วิกฤตโรคหัวใจ ปลอดภัยท่ัวไทย” ประมาณปละ 4 ครั้ง และสรุปโครงการอีก 1 ครั้ง

กรมการแพทย (สถาบันโรค ทรวงอก)

2,000,000

ผลักดันใหยา Tenecteplase (TNK) ใหเขาสูบัญชียาหลักแหงชาติ เพ่ือท่ีจะไดสามารถเบิกจายไดใชแทน Streptokinase ในผูปวย STEMI

ลงตรวจเยี่ยมพ้ืนท่ีเขตสุขภาพรวมกับผูตรวจเขต เพ่ือรับทราบปญหา และนํามาแกไข เพ่ือหาขอเสนอแนะในการแกไขปญหา

คิวผาตัด คิวสวนหัวใจ ในผูปวยโรคหลอดเลือดหัวใจไมเกิน 3 เดือน

พัฒนาบุคลากรทางการแพทย มีการฝกอบรมแพทยประจําบานอายุรศาสตรโรคหัวใจ และอนุสาขาหัตถการปฏิบัติรักษาโรคหัวใจและหลอดเลือด และพยาบาล มีการฝกอบรม

หลักสูตรพยาบาลเฉพาะทางการดูแลผูปวยโรคหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน โดยมีมาตรฐานตามท่ีมอบให สรพ.ดําเนินการตามความตองการของเขตบริการสุขภาพ

ใหความรูกับประชากรในการดูแลตัวเอง โดยใชโปรแกรมการดูแลสุขภาพตามกลุมอายุ ท่ีกรมการแพทยไดจัดทําไวให พรอมท้ังการฟนฟูสมรรถภาพรางกายหลังปวย

โครงการเครือขายความรวมมือทางการแพทยดานโรคหัวใจและหลอดเลือดสูประชาชนในสวนภูมิภาค

กรมการแพทย (รพ.ราชวิถี)

151,600

Page 84: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

75

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะสั้น (พ.ศ.2560) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง (COPD)

โครงการพัฒนาบุคลากรทางการแพทยในการดูแลผูปวย (COPD Clinic Model) ป 2560 ลงพ้ืนท่ี 4 ภาค

กรมการแพทย (สถาบันโรค ทรวงอก)

895,000

โครงการหลักสูตร chest nurse ระยะเวลา 4 เดือน เนน COPD และ PFT (สมาคมอุรเวชช)

746,120

อบรม Spirometry 170,000 ผลิตยารักษาโรคเหลานี้ ใหทันตอความตองการ องคการเภสัชกรรม ใชงบดําเนินการ

ปกติขององคการเภสัชกรรม (เงินรายไดองคการเภสัชกรรม)

จัดหายารักษาโรคเหลานี้ ท่ียังไมสามารถผลิตไดเองใหทันตอความตองการในราคาท่ีเหมาะสม

โรคมะเร็ง การปองกันโรค (Primary Prevention) - จัดการรณรงคใหประชาชนหลีกเลี่ยงปจจัยเสี่ยงของการเกิดโรคโดยเฉพาะมะเร็งปอด มะเร็งตับและทอน้ําดี โดยจัดใหมีกิจกรรมระดับจังหวัดและระดับเขต เพ่ือใหประชาชนเห็นความสําคัญ และเกิดการตระหนักใน 3 ประเด็น การลดความเสี่ยง การตรวจคัดกรองและการรักษา

กรมการแพทย (สถาบันมะเร็งแหงชาติ)

การคัดกรอง (Screening) - จัดใหมีการคัดกรองมะเร็งเตานม ปากมดลูก ใน 12 เขตสุขภาพ ในภาคเหนือและภาคอีสาน เพ่ิมการคัดกรองมะเร็งตับและทอน้ําด ีโครงการสนับสนุนเขตสุขภาพลดระยะโรคมะเร็ง

กรมการแพทย (สถาบันมะเร็งแหงชาติ)

1,000,000

Page 85: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

76

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะสั้น (พ.ศ.2560) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท)

- สนับสนุนใหเขตสุขภาพมีการคัดกรองท่ีไดมาตรฐาน โครงการสนับสนุนเขตบริการแกไขปญหาพยาธิใบไมตับและมะเร็งทอน้ําดี

กรมการแพทย (รพ.มะเร็งลําปาง)

197,600

การวินิจฉัยและรักษาโรค (Diagnosis and Treatment) - พัฒนาระบบและสถานพยาบาลเพ่ือใหผูปวยสามารถไดรับการวินิจฉัยและเขาถึงการรักษาไดรวดเร็วในเวลาท่ีเหมาะสม และดูแลรักษาผูปวยระยะทายใหมีคุณภาพชีวิตท่ีดี - จัดหลักสูตรฝกอบรมท้ังระยะสั้น ระยะยาว เพ่ือใหเขตสุขภาพทุกแหงมีบุคลากรท่ีมีความสามารถเพียงพอและดําเนินงานไดตามแผน โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพ่ือพัฒนาบุคลากรทางการแพทยดานมะเร็งเตานม ประกอบดวย 7 หลักสูตร (2560) 1) หลักสูตรการรักษาโรคมะเร็งเตานม Update 2) ทางรังสีวินิจฉัย (Mammogram) 3) หลักสูตรการแปลผลการตรวจเตานมทางรังสีวินิจฉัยตาม มาตรฐาน BIRADS 4) หลักสูตรตรวจวินิจฉัยทางเซลลวิทยาของสิ่งสงตรวจจากเตา นมโดยวิธีเจาะดูดดวยเข็มเล็ก(Fine Needle Aspiration) 5) หลักสูตร การผาตัดเตานม 6) หลักสูตร พยาบาลกับการดูแลผูปวยมะเร็งเตานม 7) Immunohistochemistry and molecular pathology in breast carcinoma

กรมการแพทย (สถาบันมะเร็งแหงชาติ)

900,000

900,000

Page 86: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

77

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะสั้น (พ.ศ.2560) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) - โครงการอบรมหลักสูตรการพยาบาลเฉพาะทางสาขาการ

พยาบาลผูปวยมะเร็งรุนท่ี 19 (Program of Nursing Specialty in Oncology Nursing) - โครงการอบรมหลักสูตรการพยาบาลผูปวยมะเร็งท่ีไดรับยาเคมีบําบัด (หลักสูตร 10 วัน) - เพ่ิมบริการยกระดับสถานพยาบาลระดับ M1 ใหรองรับการดูแลผูปวยมะเร็งท่ีไมมีความซับซอนได ทําให ลดความแออัดและภาระงานในโรงพยาบาลระดับ A และ S และผูปวยไดรับความสะดวกในเรื่องการเดินทางท่ีดีข้ึน สามารถเขาถึงบริการ - โครงการอบรมเครือขายเชิงปฏิบัติการพยาบาลผูปวยโรคมะเร็งเคมีบําบัดรุนท่ี 9/ 2560

กรมการแพทย (รพ.มะเร็งอุดรธานี)

387,400

317,900

สารสนเทศโรคมะเร็ง (Cancer Informatics) - สนับสนุนใหเขตสุขภาพจัดเก็บขอมูลผูปวยมะเร็งและตัวชี้วัดตางๆ ท่ีถูกตองอยางเปนระบบ - กําหนดใหเครื่องดื่มเปนอาหารท่ีตองแสดงฉลากโภชนาการและคาพลังงาน น้ําตาล ไขมัน และโซเดียมแบบจีดีเอ - ทบทวน/ขยายเกณฑสารอาหารหรือคุณคาทางโภชนาการ ในการใหสัญลักษณโภชนาการ (Healthier Choice)ในกลุมอาหารม้ือหลัก น้ํามันและไขมัน และขนมขบเค้ียว ไอศกรีม และขาว - พัฒนาผูประกอบการในการควบคุมกระบวนการผลิตเกลือไอโอดีน - ใหความรูและสงเสริมใหผูบริโภคมีพฤติกรรมการบริโภคท่ีถูกตอง

สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา

Page 87: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

78

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะกลาง (พ.ศ. 2561 – 2564) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) ลดการตายกอนวัยอันควรจากโรคไมติดตอใหลดลงหนึ่งในสาม ผานทางการปองกันและการรักษาโรค และสนับสนุนสุขภาพจิตและความเปนอยูท่ีดี ภายในป 2573

1. คลินิก NCD คุณภาพในสถานบริการสุขภาพทุกระดับ 2. การจัดบริการสุขภาพ มีระบบ fast track STEMI, cardiac network และ zoning 3. มีระบบการตรวจวินิจฉัยใหไดภายในระยะเวลาตามเกณฑ 4. มีระบบการสงตอท่ีมีประสิทธิภาพ 5. จัดระบบบริการการผาตัดและการดูแลหลังผาตัดใหเหมาะสมกับขีดความสามารถของแตละระดับของโรงพยาบาลโดยมีการเชื่อมโยงภายในเครือขาย 6.การจัดกําลังคนดานสุขภาพใหเพียงพอและเหมาะสมกับภาระงาน 7.ระบบสารสนเทศมีการจัดเก็บขอมูลท่ีสมบูรณ สอดคลอง และเชื่อมโยงกับระบบของสถานพยาบาล 8.การรายงานขอมูลเปนระบบเดียวกันท่ัวประเทศ

- แผนยุทธศาสตรสุขภาพดีวิถีไทย พ.ศ.2554-2563 - แผนยุทธศาสตรกิจกรรมทางกายแหงชาติ ฉบับท่ี 1 (ป 2559-2563) - ยุทธศาสตรลดการบริโภคเกลือและโซเดียมในประเทศไทย ป 2558-2568 - แผนยุทธศาสตรอาหารชาติ - ยุทธศาสตรการจัดตั้งศูนยความเปนเลิศทาการแพทย สถาบันการแพทยและสถาบันการศึกษาตาง ๆ ใน ภาพรวมของประเทศ ในระยะยาว (5-10 ป)

- สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข - กรมควบคุมโรค - กรมการแพทย - กรมอนามัย (สํานักโภชนาการ) - อย. - กรม สบส. - สกอ. - สพฐ. - อปท. - สมาคมวิชาชีพ - สํานักการแพทย กรุงเทพมหานคร - สํานักอนามัย กรุงเทพมหานคร

Page 88: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

79

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะกลาง (พ.ศ. 2561 – 2564) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) 9.ยาและวัสดุครุภัณฑทาง

การแพทย และ เทคโนโลยี 10.คูมือแนวทางการดําเนินงาน การคัดกรอง 11.มีคณะกรรมการ service plan สาขาโรคไมติดตอระดับเขต และจังหวัด

การปองกันโรค (Primary Prevention) - จัดใหมีการรณรงคเพ่ือการปองกันโรคระดับประเทศ โดยมุงเนนการมีสวนรวมของภาคประชาชน - ออกกฎหมายควบคุมปจจัยเสี่ยงท่ีสําคัญของโรคมะเร็ง การคัดกรอง (Screening) - จัดใหมีการคัดกรองมะเร็งลําไสใหญและไสตรง ตามโครงการสปสช. - ติดตามใหประชาชนในกลุมเปาหมายสวนใหญไดรับการคัดกรองโรคตามท่ีไดจัดใหมีบริการ แกไขปญหาในเขตหรือพ้ืนท่ีท่ียังไมบรรลุเปาหมาย การวินิจฉัยและรักษาโรค (Diagnosis and Treatment) - ติดตามการเขาถึงการรักษาของผูปวย คุณภาพของการรักษาและระยะของโรคเม่ือผูปวยมาพบแพทยครั้งแรก โดยเฉพาะมะเร็งท่ีมีการคัดกรองโรค - พัฒนาและนําเทคโนโลยีข้ันสูง มาชวยเพ่ิมประสิทธิภาพการวินิจฉัย การรักษาและเพ่ิมการเขาถึงบริการของประชาชน - สนับสนุนเครื่องฉายรังสีใน รพศ. และเขตสุขภาพ สารสนเทศโรคมะเร็ง (Cancer Informatics) - มีการติดตามและตรวจสอบฐานขอมูลเก่ียวกับโรคมะเร็งใหมีคุณภาพ ครบถวน สมบูรณ และครอบคลุม มีการนําขอมูลไปใชประโยชนเพ่ือการแกปญหา

สถาบันมะเร็ง กรมการแพทย

Page 89: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

80

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะกลาง (พ.ศ. 2561 – 2564) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) การวิจัย (Cancer Research)

- สนับสนุนใหมีการจัดตั้งศูนยวิจัยดานโรคมะเร็งในเขตสุขภาพเพ่ือหาแนวทางใหมๆ ในการปองกัน วินิจฉัยและรักษาโรค ท่ีมีประสิทธิภาพเพ่ิมข้ึน - วิจัยและพัฒนายารักษาโรคเหลานี้ รายการใหมๆตาม guideline ท่ีเปลี่ยนแปลงไปใหสามารถผลิตไดเองในประเทศ

องคการเภสัชกรรม ใชงบดําเนินการปกติขององคการเภสัชกรรม (เงินรายไดองคการเภสัชกรรม)

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะยาว (พ.ศ.2565 – 2573) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) ลดการตายกอนวัยอันควรจากโรคไมติดตอใหลดลงหนึ่งในสาม ผานทางการปองกันและการรักษาโรค และสนับสนุนสุขภาพจิตและความเปนอยูท่ีดี ภายในป 2573

1. คลินิก NCD คุณภาพในสถานบริการสุขภาพทุกระดับ 2. การจัดบริการสุขภาพ มีระบบ fast track STEMI, cardiac network และ zoning 3. มีระบบการตรวจวินิจฉัยใหไดภายในระยะเวลาตามเกณฑ 4. มีระบบการสงตอท่ีมีประสิทธิภาพ 5. จัดระบบบริการการผาตัดและการดูแลหลังผาตัดใหเหมาะสมกับขีดความสามารถของแตละระดับของโรงพยาบาลโดยมีการเชื่อมโยงภายในเครือขาย

การปองกันโรค (Primary Prevention) - จัดใหมีการรณรงคเพ่ือการปองกันโรคระดับประเทศ เปนการมีสวนรวมของภาคประชาชน - ออกกฎหมายเปนขอบังคับใชเก่ียวกับปจจัยเสี่ยงหลักๆของโรคมะเร็ง การคัดกรอง (Screening) - มีมาตรการแนวทางการคัดกรองมะเร็งอ่ืนๆ หากมีขอมูลเชิงประจักษท่ีการคัดกรองนั้นๆ ชวยลดอัตราการตายจากโรค ประเทศมีทรัพยากรท่ีเพียงพอท่ีจะปฏิบัติได และมีความคุมคาในการคัดกรอง

สถาบันมะเร็ง กรมการแพทย

Page 90: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

81

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะยาว (พ.ศ.2565 – 2573) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) 6.การจัดกําลังคนดานสุขภาพใหเพียงพอและเหมาะสมกับภาระงาน 7.ระบบสารสนเทศมีการจัดเก็บขอมูลท่ีสมบูรณ สอดคลอง และเชื่อมโยงกับระบบของสถานพยาบาล 8.การรายงานขอมูลเปนระบบเดียวกันท่ัวประเทศ 9.ยาและวัสดุครุภัณฑทางการแพทย และ เทคโนโลยี 10.คูมือแนวทางการดําเนินงาน การคัดกรอง 11.มีคณะกรรมการ service plan สาขาโรคไมติดตอระดับเขต และจังหวัด

การวินิจฉัยและรักษาโรค (Diagnosis and Treatment) - มีการติดตามการรอดชีพของโรค 5 Years Survival ของมะเร็งแตละชนิด ติดตามอัตราการเสียชีวิตจากโรคมะเร็งเปรียบเทียบขอมูล ป 2573 กับ ป 2553 - จัดทํายุทธศาสตรการจัดการดานอาหารของประเทศไทย (พ.ศ. 2570-2579) ภายใตคณะกรรมการอาหารแหงชาติ

สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา

Page 91: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

82

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

Roadmap SDG 3

เปาหมายท่ี 3 สรางหลักประกันวาคนมีชีวิตท่ีมีสุขภาพดีและสงเสริมสวัสดิภาพสําหรับทุกคนในทุกวัย เปาประสงคท่ี 3.4 ลดการตายกอนวัยอันควรจากโรคไมติดตอใหลดลงหนึ่งในสาม ผานทางการปองกันและการรักษาโรค และสนับสนุนสุขภาพจิตและความเปนอยูท่ี

ดี ภายในป 2573 ตัวช้ีวัดท่ี 3.4.2 อัตราการฆาตัวตาย

เปาหมาย อัตราการฆาตัวตายสําเร็จ ป 2560 - 2562 : ไมเกิน 6.3 ตอประชากรแสนคน ป 2563 - 2564 : ไมเกิน 6.0 ตอประชากรแสนคน

สถานภาพ การเขาถึงบริการโรคซึมเศราในประชากรไทยอายุ 15 ปข้ึนไป มีแนวโนมสูงข้ึน ดังนี้ ป 2556 – 2558 คิดเปนรอยละ 33.34, 36.76 และ 44.14 ตามลําดับ โดยกลุมเสี่ยงท่ีควรคัดกรองโรคซึมเศรา ไดแก ผูปวยโรคเรื้อรัง ผูปวยสูงอายุ ผูท่ีตั้งครรภหรือหลงัคลอด และผูท่ีมีปญหาสุรา สารเสพติด

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะสั้น (พ.ศ.2560) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) ลดการตายกอนวัยอันควรจากโรคไมติดตอใหลดลงหนึ่งในสาม ผานทางการปองกันและการรักษาโรค และสนับสนุนสุขภาพจิตและความเปนอยูท่ีดี ภายในป 2573

1. คลินิก NCD คุณภาพในสถานบริการสุขภาพทุกระดับ 2. การจัดบริการสุขภาพ มีระบบ fast track STEMI, cardiac network และ zoning 3. มีระบบการตรวจวินิจฉัยใหไดภายในระยะเวลาตามเกณฑ 4. มีระบบการสงตอท่ีมีประสิทธิภาพ

- แผนพัฒนาสุขภาพแหงชาติ ในชวงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560 – 2564) - แผนยุทธศาสตรกรมสุขภาพจิต ในชวงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560 – 2564) - มติสมัชชาสุขภาพแหงชาติ มติ 4.2 การจัดการปญหาการฆาตัวตาย (สุขใจ ... ไมคิดสั้น)

- กรมสุขภาพจิต - สํานักบริหาร ระบบบริการ สุขภาพจิต - สํานักยุทธศาสตร สุขภาพจิต - รพ.จิตเวชขอนแกนราชนครินทร -รพ.พระศรีมหาโพธิ ์

Page 92: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

83

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะสั้น (พ.ศ.2560) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท)

5. จัดระบบบริการการผาตัดและการดูแลหลังผาตัดใหเหมาะสมกับขีดความสามารถของแตละระดับของโรงพยาบาลโดยมีการเชื่อมโยงภายในเครือขาย 6.การจัดกําลังคนดานสุขภาพใหเพียงพอและเหมาะสมกับภาระงาน 7.ระบบสารสนเทศมีการจัดเก็บขอมูลท่ีสมบูรณ สอดคลอง และเชื่อมโยงกับระบบของสถานพยาบาล 8.การรายงานขอมูลเปนระบบเดียวกันท่ัวประเทศ 9.ยาและวัสดุครุภณัฑทางการแพทย และ เทคโนโลยี 10.คูมือแนวทางการดําเนินงาน การคัดกรอง 11.มีคณะกรรมการ service plan สาขาโรคไมติดตอระดับเขต และจังหวัด

การพัฒนาระบบบริการ - การพัฒนาระบบบริการ เพ่ือเพ่ิมการเขาถึงของผูพยายามฆา ตัวตายระดับประเทศ การพัฒนาศักยภาพบุคลากรเครือขาย - อบรมหลักสูตรระบาดวิทยา การฆาตัวตายและการเยียวยาจิตใจ ผูไดรับผลกระทบจากการฆาตัวตาย - พัฒนาศักยภาพผูดูแล อสม. และบุคลากรในสถานบริการสาธารณสุข เรื่อง การติดตามดูแลชวยเหลือและเฝาระวังอาการในกลุมเสี่ยงโรคจิต และโรคซึมเศรา - พัฒนาวิทยากรหลักสําหรับพยาบาลในเขตสุขภาพ เพ่ือติดตาม เฝาระวังการขาดยา - พัฒนาศักยภาพวิทยากรหลัก สําหรับแพทยเวชปฏิบัติท่ัวไป พยาบาล เรื่อง โรคจิต โรคซึมเศรา - อบรมหลักสูตรการใหการบริการผูฆาตัวตายแผนกฉุกเฉินเพ่ือการเขาสูระบบริการอยางครบวงจร (ขยายผล) - การพัฒนาทักษะความรูบุคลากรดานการเยียวยาจิตใจผูไดรับผลกระทบจากการฆาตัวตาย - การเสริมสรางศักยภาพแกนนําชุมชน เพ่ือลดปญหาการฆาตัวตายในผูมีปญหาการดื่มสุราในชุมชน - การพัฒนาศักยภาพ หมอครอบครัวและพยาบาลเวชปฏิบัติ เพ่ือเพ่ิมการเขาถึงระบบริการสุขภาพในประชากลุมเสี่ยงฆาตัวตาย

กรมสุขภาพจิต 350,000,000

Page 93: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

84

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะสั้น (พ.ศ.2560) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท)

- การพัฒนา Model การเยี่ยมบานในชุมชนสูการปองกันปญหาการฆาตัวตายในผูสูงอายุโรคเรื้อรังในชุมชน - การแลกเปลี่ยนเรียนรู วิชาการดานการปองกันการฆาตัวตายระดับนานาชาติ - พัฒนาศักยภาพวิทยากรหลักสําหรับพยาบาลเรื่อง โรคจิตเภท และโรคซึมเศรา สนับสนุนองคความรูและเทคโนโลยี ในการเฝาระวัง ติดตามดูแลผูปวยโรคจิต โรคซึมเศรา และผูพยายามฆาตัวตายในพ้ืนท่ีดวยชองทางท่ีหลากหลาย - พัฒนา Application รองรับท้ังระบบปฏิบัติการ iOS และ Android เพ่ือการคัดกรอง ประเมินความเสี่ยงจากการฆาตัวตาย - พัฒนามาตรฐานทางการพยาบาลในการดูแลชวยเหลือ และติดตามในหนวยบริการสาธารณสุข - พัฒนาระบบฐานขอมูล การฆาตัวตายระดับประเทศ - การทําเหมืองขอมูลปจจัยเสี่ยงการฆาตัวตายของผูฆาตัวตายในประเทศไทย - จัดทําและผลิตแบบประเมินความรุนแรงของอาการทางจิตในผูปวยโรคจิต และภาวะซึมเศราท่ียังไมครบเกณฑวินิจฉัยสําหรับบุคลากร ในสถานบริการสาธารณสุข ผูดูแล อสม. และผูปวยท่ีมีอาการทางจิตท่ียังไมครบเกณฑวินิจฉัย

Page 94: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

85

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะสั้น (พ.ศ.2560) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) - จัดทําและผลิตแนวทางการรักษาดวยยาตานโรคจิต

(Antipsychotic) และยาตานเศรา (Antidepressant) ในผูท่ีมีอาการทางจิตท่ียังไมครบเกณฑวินิจฉัยสําหรับแพทยเวชปฏิบัติท่ัวไป - จัดทําและผลิตแนวทางการจัดการโรคจิตและโรคซึมเศรา(Management of Psychosis and major depressive disorder) แบบผูปวยนอกและผูปวยใน สําหรับแพทยเวชปฏิบัติท่ัวไปใน รพช./รพท./รพศ. - จัดทําและผลิตแนวทางการบําบัดผูปวยโรคจิตและโรคซึมเศรา Psychosocial intervention (Brief advice, brief intervention, psycho-education) แบบผูปวยนอก แบบผูปวยใน สําหรับพยาบาลใน รพช./รพท./รพศ. - จัดทําระบบฐานขอมูลผูปวยโรคจิต - ทํานุบํารุงรักษาและจัดทําระบบฐานขอมูลและสารสนเทศผูปวยโรคจิตและโรคซึมเศราใหมีประสิทธิภาพในการนําไปใชประโยชน การรณรงคสรางความตระหนัก - รณรงคเนื่องในวันปองกัน การฆาตัวตายแหงชาติ

Page 95: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

86

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะกลาง (พ.ศ. 2561 – 2564) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) ลดการตายกอนวัยอันควรจากโรคไมติดตอใหลดลงหนึ่งในสาม ผานทางการปองกันและการรักษาโรค และสนับสนุนสุขภาพจิตและความเปนอยูท่ีดี ภายในป 2573

1. คลินิก NCD คุณภาพในสถานบริการสุขภาพทุกระดับ 2. การจัดบริการสุขภาพ มีระบบ fast track STEMI, cardiac network และ zoning 3. มีระบบการตรวจวินิจฉัยใหไดภายในระยะเวลาตามเกณฑ 4. มีระบบการสงตอท่ีมีประสิทธิภาพ 5. จัดระบบบริการการผาตัดและการดูแลหลังผาตัดใหเหมาะสมกับขีดความสามารถของแตละระดับของโรงพยาบาลโดยมีการเชื่อมโยงภายในเครือขาย 6.การจัดกําลังคนดานสุขภาพใหเพียงพอและเหมาะสมกับภาระงาน 7.ระบบสารสนเทศมีการจัดเก็บขอมูลท่ีสมบูรณ สอดคลอง และเชื่อมโยงกับระบบของสถานพยาบาล 8.การรายงานขอมูลเปนระบบเดียวกันท่ัวประเทศ 9.ยาและวัสดุครุภัณฑทาง

การพัฒนาระบบบริการ สุขภาพเพ่ือเพ่ิมการเขาถึงบริการผูปวย โรคจิต โรคซึมเศรา และปองกัน จัดการปญหาการฆาตัวตาย 1.พัฒนาระบบบริการของผูท่ีมีความเสี่ยงตอการฆาตัวตาย 2.พัฒนาการเขาถึงบริการในโรคจิตเวชท่ีสําคัญ ไดแก โรคจิต โรคซึมเศรา และโรคสมาธิสั้น 3. การเฝาระวัง คัดกรองความเสี่ยงตอการฆาตัวตาย ในกลุมเสี่ยง 3 กลุม ไดแก 1. โรคจิต/ โรคซึมเศรา 2. โรคทางกายเรื้อรัง 3. โรคสุรา/สารเสพติด 4. การติดตามดูแลผูท่ีเปนกลุมเสี่ยง และพยายาม ฆาตัวตาย ไมใหฆาตัวตายซํ้าตามแนวทางมาตรฐาน 5. การบูรณาการระบบการปองกันการฆาตัวตายท่ีเชื่อมกับ DHS ในเขตสุขภาพ และสรางความตระหนักของประชาชนท่ัวไป และญาติ แกนนําชุมชน ใหรูถึงสัญญาณเตือนของการฆาตัวตายและการชวยเหลือเบื้องตนผูท่ีมีความเสี่ยง และผูท่ีพยายามฆาตัวตาย 6. สนับสนุนใหชุมชน สังคม ยังคงใหความสนใจและใหความรวมมือตอการเพ่ิมการเขาถึงระบบบริการของผูปวยโรคซึมเศรา โรคจิต และผูท่ีมีความเสี่ยงตอการฆาตัวตายและผูท่ีฆาตัวตาย

กรมสุขภาพจิต 800,000,000

พัฒนาศักยภาพบุคลากรสาธารณสุขของหนวยบริการรพ.สต./รพช./รพศ./รพจ. ใหการบริการสุขภาพจิตและจิตเวชท่ีมีประสิทธิภาพ พัฒนาระบบฐานขอมูลการบริการผูปวยโรคจิต โรคซึมเศรา และการฆาตัวตายระดับประเทศท่ีมีคุณภาพและเขาถึงงาย

Page 96: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

87

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะกลาง (พ.ศ. 2561 – 2564) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) การแพทย และ เทคโนโลยี 10.คูมือแนวทางการดําเนินงาน การคัดกรอง 11.มีคณะกรรมการ service plan สาขาโรคไมติดตอระดับเขต และจังหวัด

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะยาว (พ.ศ.2570 – 2579) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) ลดการตายกอนวัยอันควรจากโรคไมติดตอใหลดลงหนึ่งในสาม ผานทางการปองกันและการรักษาโรค และสนับสนุนสุขภาพจิตและความเปนอยูท่ีดี ภายในป 2573

1. คลินิก NCD คุณภาพในสถานบริการสุขภาพทุกระดับ 2. การจัดบริการสุขภาพ มีระบบ fast track STEMI, cardiac network และ zoning 3. มีระบบการตรวจวินิจฉัยใหไดภายในระยะเวลาตามเกณฑ 4. มีระบบการสงตอท่ีมีประสิทธิภาพ 5. จัดระบบบริการการผาตัดและการดูแลหลังผาตัดใหเหมาะสมกับขีดความสามารถของแตละระดับของโรงพยาบาลโดยมีการเชื่อมโยงภายในเครือขาย

1. การพัฒนาระบบบริการสุขภาพเพ่ือเพ่ิมการเขาถึงบริการผูปวย โรคจิต โรคซึมเศรา และปองกัน จัดการปญหาการฆาตัวตาย 1.1 พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิตและจิตเวชท่ีมีคุณภาพและ มาตรฐาน 1.2 พัฒนาระบบชวยเหลือกลุมเสี่ยงใหไดรับการคัดกรอง ประเมินความเสี่ยง 1.3 การเฝาระวัง ติดตามการกลับไปทํารายตนเองซํ้า 2. พัฒนาศักยภาพบุคลากรสาธารณสุขของหนวยบริการรพ.สต./รพช./รพศ./รพจ. ใหการบริการสุขภาพจิตและจิตเวชท่ีมีประสิทธิภาพ 3. พัฒนาระบบฐานขอมูลการบริการผูปวยโรคจิต โรคซึมเศรา และการฆาตัวตายระดับประเทศท่ีมีคุณภาพและเขาถึงงาย

กรมสุขภาพจิต 2,000,000,000

Page 97: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

88

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะยาว (พ.ศ.2570 – 2579) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) 6.การจัดกําลังคนดานสุขภาพใหเพียงพอและเหมาะสมกับภาระงาน 7.ระบบสารสนเทศมีการจัดเก็บขอมูลท่ีสมบูรณ สอดคลอง และเชื่อมโยงกับระบบของสถานพยาบาล 8.การรายงานขอมูลเปนระบบเดียวกันท่ัวประเทศ 9.ยาและวัสดุครุภัณฑทางการแพทย และ เทคโนโลยี 10.คูมือแนวทางการดําเนินงาน การคัดกรอง 11.มีคณะกรรมการ service plan สาขาโรคไมติดตอระดับเขต และจังหวัด

4. พัฒนาองคกรใหเปนแหลงศึกษาอบรมและวิจัยนวัตกรรมดานการปองกันและชวยเหลือผูปวยโรคซึมเศรา โรคจิต และผูท่ีมีความเสี่ยงตอการฆาตัวตาย

Page 98: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

89

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

Roadmap SDG 3

เปาหมายท่ี 3 สรางหลักประกันวาคนมีชีวิตท่ีมีสุขภาพดีและสงเสริมสวัสดิภาพสําหรับทุกคนในทุกวัย เปาประสงคท่ี 3.5 เสริมสรางการปองกันและการรักษาการใชสารในทางท่ีผิด ซ่ึงรวมถึงการใชยาเสพติดในทางท่ีผิดและการใชแอลกอฮอลในทางอันตราย ตัวช้ีวัดท่ี 3.5.1 ความคลอบคลุมของการรักษา (การรักษาโดยใชยา ทางจิตวิทยาและการฟนฟูสมรรถภาพ และบริการการติดตามผลการรักษา) สําหรับผูท่ีใชสารเสพติด

เปาหมาย รอยละของผูปวยยาเสพติดท่ีหยุดเสพตอเนื่อง 3 เดือนหลังจําหนายจากการบําบัดรักษา สถานภาพ ผลการบําบัดรักษาผูเสพ ผูติดยาเสพติด พบวา

1. ระบบบําบัดแบบสมัครใจ มีอัตราลดลง (ป 2556-2558) คิดเปนรอยละ 74.34, 73.67 และ 69.45 ตามลําดับ 2. ระบบบําบัดแบบบังคับบําบัด มีอัตราสูงข้ึน (ป 2556-2558) คิดเปนรอยละ 25.09, 25.92 และ 30.40 ตามลําดับ 3. ระบบบําบัดแบบตองโทษ มีอัตราลดลง (ป 2556-2558) คิดเปนรอยละ 0.57, 0.41 และ 0.15 ตามลําดับ โดยรอยละของผูปวยยาเสพติดท่ีหยุดเสพตอเนื่อง 3 เดือน หลังจําหนายจากการบําบัดรักษา พบวา มีจํานวนเพ่ิมข้ึน (ป 2556-2558) คิดเปนรอยละ 84.68, 87.63 และ 88.90 ตามลําดับ

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะสั้น (พ.ศ.2560) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) เสริมสรางการปองกันและการรักษาการใชสารในทางท่ีผิด ซ่ึงรวมถึงการใชยาเสพติดในทางท่ีผิดและการใชแอลกอฮอลในทางอันตราย

1.สนับสนุนและเพ่ิมการเขาถึงสถานบริการชวยเลิกบุหรี่และเหลาในสถานบริการและชุมชน 2.เฝาระวังการสูบบุหรี่และดื่มเหลาหนาใหม โดยเฉพาะเยาวชนในพ้ืนท่ีท้ังโรงเรียน/สถานศึกษาและชุมชน 3.บังคับใชกฎหมายท่ีเก่ียวของทุกมาตรา

แผนยุทธศาสตรการปองกันและแกไขปญหายาเสพติด พ.ศ.2558-2562

- กรมการแพทย - กรมควบคุมโรค - สํานักบริหารการสาธารณสุข สป.สธ. - กรมสุขภาพจิต

แผนยุทธศาสตรการปองกันและแกไขปญหาการใชเครื่องดื่มแอลกอฮอล พ.ศ.2558-2562

สํานักบริหารการสาธารณสุข สป.สธ.

Page 99: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

90

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะสั้น (พ.ศ.2560) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท)

โครงการบําบัดรักษาฟนฟูผูติดยาเสพติด สุรา กลุมเรื้อรัง/ยุงยากซับซอน

กรมการแพทย 169,070,000

โครงการสัมมนาและอบรมพัฒนาศักยภาพบุคลากรระดับวิชาชีพเชี่ยวชาญ และ ระดับผูปฏิบัติงานดานยาเสพติด

5,207,500

การประชุมวิชาการยาเสพติดแหงชาติและมอบกิตติกรรม ประกาศแกสถานพยาบาลท่ีผานการรับรองคุณภาพหลักสูตร การพยาบาลเฉพาะทาง สาขาการพยาบาลผูใชยาและสารเสพติด หลักสูตรอบรมเวชศาสตรยาเสพติดสําหรับแพทย หลักสูตรการบําบัดรักษาฟนฟูผูปวยยาและสารเสพติดท่ีมีภาวะแทรกซอน วิกฤต และฉุกเฉิน หลักสูตรการบําบัดรักษาผูปวยรูปแบบกายจิตสังคมบําบัด (Matrix Program)

กรมการแพทยโดย สถาบันบําบัดรักษาและฟนฟูผูติดยาเสพติดแหงชาติบรมราชชนน ี

หลักสูตร การบําบัดผูติดยาและสารเสพติดตามแนวปรับเปลี่ยนความคิดและพฤตกิรรม (Cognitive Behavioral Therapy)

รพ.ธัญญารักษแมฮองสอน

หลักสูตรการบําบัดฟนฟูสมรรถภาพผูติดยาเสพติดสําหรับเจาหนาท่ี รพ.สต.

เชียงใหม

หลักสูตรการฟนฟูสมรรถภาพผูติดยาและสารเสพติดแบบเขมขนทางสายใหม FAST MODEL

อุดรธาน ี

หลักสูตรการอบรมการบําบัดฟนฟูดวยการเสริมสรางแรงจูงใจ (Motivational Interviewing)

ขอนแกน

หลักสูตรการดูแลผูปวยท่ีมีภาวะฉุกเฉินดานยาเสพติด สงขลา

Page 100: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

91

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะสั้น (พ.ศ.2560) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท)

หลักสูตรการฟนฟูสมรรถภาพผูติดยาเสพติดรูปแบบการฟนฟูในชุมชน

ปตตานี

หลักสูตรการบําบัดรักษาผูเสพติดสุรา 1. รณรงค ประชาสัมพันธ ความรูเก่ียวกับการปองกันและแกไขปญหายาเสพติดในสถานประกอบกิจการ 2. ตรวจประเมินในสถานประกอบกิจการจนกระท่ังผานตามเกณฑมาตรฐานการปองกันและแกไขปญหายาเสพติด (มยส.) 3. ตรวจติดตามเพ่ือใหสถานประกอบกิจการธํารงรักษาระบบมาตรฐานการปองกันและแกไขปญหายาเสพติดในสถานประกอบกิจการอยางตอเนื่อง 4. จัดอบรม ประชุมชี้แจงเก่ียวกับการจัดทําระบบมาตรฐานการปองกันและแกไขปญหายาเสพติดในสถานประกอบกิจการ 5. จัดตั้งเครือขายปองกันยาเสพติดและจัดกิจกรรมรณรงคเพ่ือสรางเจตคติท่ีดีในการปองกันและแกไขปญหายาเสพติดเนื่องในโอกาสวันสําคัญตางๆ

โครงการสงเสริมระบบการจัดการดานยาเสพติดในสถานประกอบกิจการ - เปาหมายปงบประมาณ พ.ศ.2560 สถานประกอบกิจการท่ีไดรับการสงเสริมระบบการจัดการยาเสพติดจํานวน 20,000 แหง มีการรณรงค ประชาสัมพันธ ความรูเก่ียวกับการปองกันและแกไขปญหายาเสพติดใหกับลูกจาง ผูใชแรงงาน และผูท่ีเก่ียวของ จํานวน 1,000,000 คน

กระทรวงแรงงาน(กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน)

12,624,700

Page 101: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

92

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะสั้น (พ.ศ.2560) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) 6. ดําเนินโครงการโรงงานสีขาว 7. ติดตามประเมินการธํารงสถานะโรงงานสีขาว

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะกลาง (พ.ศ. 2561 – 2564) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) เสริมสรางการปองกันและการรักษาการใชสารในทางท่ีผิด ซ่ึงรวมถึงการใชยาเสพติดในทางท่ีผิดและการใชแอลกอฮอลในทางอันตราย

1.สนับสนุนและเพ่ิมการเขาถึงสถานบริการชวยเลิกบุหรี่และเหลาในสถานบริการและชุมชน 2.เฝาระวังการสูบบุหรี่และดื่มเหลาหนาใหม โดยเฉพาะเยาวชนในพ้ืนท่ีท้ังโรงเรียน/สถานศึกษาและชุมชน 3.บังคับใชกฎหมายท่ีเก่ียวของทุกมาตรา

- โครงการบําบัดรักษาฟนฟูผูติดยาเสพติด สุรา กลุมเรื้อรัง/ยุงยากซับซอน

- โครงการสัมมนาและฝกอบรมดานยาเสพติด - โครงการพัฒนาเครือขายวิชาการดานยาเสพติด - โครงการพัฒนาศักยภาพระบบบริการดานยาเสพติด และ

สุรา (SERVICE PLAN ) ของเขตสุขภาพ 12 เขตและกทม. - โครงการปองกันและแกไขปญหาสุขภาพดานยาเสพติดสุรา

ของประชาชนในพ้ืนท่ี - โครงการตรวจอนุญาตเพ่ือจัดตั้งสถานพยาบาลยาเสพติดตาม

พรบ. 2522 - โครงการพัฒนาและรบัรองคุณภาพสถานพยาบาลทุกระบบ

ท่ัวประเทศ - โครงการศึกษาวิจัยและพัฒนาองคความรู - โครงการพัฒนาระบบบริการ HARM Reduction ในผูติดยา

เสพติดชนิดฉีด

กรมการแพทย โดย สถาบันบําบัดรักษาและฟนฟูผูติดยาเสพติดแหงชาติบรมราชนนี และรพ.ธัญญารักษภูมิภาค

800,000,000

54,500,000 12,600,000 100,00,000

32,000,000

20,000,000

25,980,000 35,000,000

Page 102: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

93

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะกลาง (พ.ศ. 2561 – 2564) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) 1. รณรงค ประชาสัมพันธ ความรู

เก่ียวกับการปองกันและแกไขปญหายาเสพติดในสถานประกอบกิจการ 2. ตรวจประเมินในสถานประกอบกิจการจนกระท่ังผานตามเกณฑมาตรฐานการปองกันและแกไขปญหายาเสพติด (มยส.) 3. ตรวจติดตามเพ่ือใหสถานประกอบกิจการธํารงรักษาระบบมาตรฐานการปองกันและแกไขปญหายาเสพติดในสถานประกอบกิจการอยางตอเนื่อง 4. จัดอบรม ประชุมชี้แจงเก่ียวกับการจัดทําระบบมาตรฐานการปองกันและแกไขปญหายาเสพติด 5. จัดตั้งเครือขายปองกันยาเสพติดและจัดกิจกรรมรณรงคเพ่ือสรางเจตคติท่ีดีในการปองกันและแกไขปญหายาเสพติดเนื่องในโอกาส วันสําคัญตางๆ 6. ดําเนินโครงการโรงงานสีขาว 7. ติดตามประเมินการธํารงสถานะโรงงานสีขาว

โครงการสงเสริมระบบการจัดการดานยาเสพติดในสถานประกอบกิจการ - เปาหมายปงบประมาณ พ.ศ. 2561 สถานประกอบกิจการท่ีไดรับการสงเสริมระบบการจัดการยาเสพติด จํานวน 20,000 แหง มีการรณรงค ประชาสัมพันธ ความรูเก่ียวกับการปองกันและแกไขปญหายาเสพติดใหกับลูกจาง ผูใชแรงงาน และผูท่ีเก่ียวของ จํานวน 1,200,000 คน

กระทรวงแรงงาน(กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน)

13,255,900

Page 103: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

94

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะยาว (พ.ศ. 2565 – 2573) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) เสริมสรางการปองกันและการรักษาการใชสารในทางท่ีผิด ซ่ึงรวมถึงการใชยาเสพติดในทางท่ีผิดและการใชแอลกอฮอลในทางอันตราย

1.สนับสนุนและเพ่ิมการเขาถึงสถานบริการชวยเลิกบุหรี่และเหลาในสถานบริการและชุมชน 2.เฝาระวังการสูบบุหรี่และดื่มเหลาหนาใหม โดยเฉพาะเยาวชนในพ้ืนท่ีท้ังโรงเรียน/สถานศึกษาและชุมชน 3.บังคับใชกฎหมายท่ีเก่ียวของทุกมาตรา

- โครงการบําบัดรักษาฟนฟูผูติดยาเสพติด สุรา กลุมเรื้อรัง/ยุงยากซับซอน

- โครงการสัมมนาและฝกอบรมดานยาเสพติด - โครงการพัฒนาเครือขายวิชาการดานยาเสพติด - โครงการพัฒนาศักยภาพระบบบริการดานยาเสพติด และ

สุรา (SERVICE PLAN ) ของเขตสุขภาพ 12 เขตและกทม. - โครงการปองกันและแกไขปญหาสุขภาพดานยาเสพติดสุรา

ของประชาชนในพ้ืนท่ี - โครงการตรวจอนุญาตเพ่ือจัดตั้งสถานพยาบาลยาเสพติดตาม

พรบ. 2522 - โครงการพัฒนาและรบัรองคุณภาพสถานพยาบาลทุกระบบ

ท่ัวประเทศ - โครงการศึกษาวิจัยและพัฒนาองคความรู - โครงการพัฒนาระบบบริการ HARM Reduction ในผูติดยา

เสพตดิชนิดฉีด

กรมการแพทย โดย สถาบันบําบัดรักษาและฟนฟูผูติดยาเสพติดแหงชาติบรมราชนนี และรพ.ธัญญารักษภูมิภาค

1,000,000,000

1. รณรงค ประชาสัมพันธ ความรูเก่ียวกับการปองกันและแกไขปญหายาเสพติดในสถานประกอบกิจการ 2. ตรวจประเมินในสถานประกอบกิจการจนกระท่ังผานตามเกณฑมาตรฐานการปองกันและแกไขปญหายาเสพติด (มยส.)

โครงการสงเสริมระบบการจัดการดานยาเสพติดในสถานประกอบกิจการ

กระทรวงแรงงาน(กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน)

13,918,700

Page 104: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

95

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะยาว (พ.ศ. 2565 – 2573) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) 3. ตรวจติดตามเพ่ือใหสถานประกอบกิจการธํารงรักษาระบบมาตรฐานการปองกันและแกไขปญหายาเสพติดในสถานประกอบกิจการอยางตอเนื่อง 4. จัดอบรมประชุมชี้แจงเก่ียวกับการจัดทําระบบมาตรฐานการปองกันและแกไขปญหายาเสพติดในสถานประกอบกิจการ 5. จัดตั้งเครือขายปองกันยาเสพติดและจัดกิจกรรมรณรงคเพ่ือสรางเจตคติท่ีดีในการปองกันและแกไขปญหายาเสพติดเนื่องในโอกาสวันสําคัญตาง ๆ 6. ดําเนินโครงการโรงงานสีขาว 7. ติดตามประเมินการธํารงสถานะโรงงานสีขาว

Page 105: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

96

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

Roadmap SDG 3

เปาหมายท่ี 3 สรางหลักประกันวาคนมีชีวิตท่ีมีสุขภาพดีและสงเสริมสวัสดิภาพสําหรับทุกคนในทุกวัย เปาประสงคท่ี 3.5 เสริมสรางการปองกันและการรักษาการใชสารในทางท่ีผิด ซ่ึงรวมถึงการใชยาเสพติดในทางท่ีผิดและการใชแอลกอฮอลในทางอันตราย ตัวช้ีวัดท่ี 3.5.2 การดื่มแอลกอฮอลในระดับอันตราย นิยามตามบริบทของประเทศ คิดเปนปริมาณแอลกอฮอลตอผูบริโภค (อายุตั้งแต 15 ปข้ึนไป) ในจํานวน

ลิตรของแอลกอฮอลบริสุทธิ์ ภายในปปฏิทิน

เปาหมาย สถานภาพ - ปริมาณการดื่มแอลกอฮอลตอหัวประชากรอายุ 15 ปข้ึนไป ของประชากรไทยป2554 เทากับ 7.1 (ลิตรของแอลกอฮอลบริสุทธิ์ตอคนตอป)

- ป 2554 ประชากรผูใหญไทยดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล ปริมาณ 52 ลิตรเครื่องดื่มแอลกอฮอลตอคนตอป - ความชุกของประชากรอายุ 15 ปข้ึนไป ท่ีดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอลในชวงป 2544 – 2557 มีแนวโนมคอนขางคงท่ีจากรอยละ 32.7 เปนรอยละ 32.3 - ความชุกของประชากรอย ุ15-19 ป ท่ีดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล มีทิศทางเพ่ิมข้ึนจากรอยละ 11.04 ในป 2544 เปนรอยละ 18.10 ในป 2557 ซ่ึงเพ่ิมข้ึนเฉลี่ยรอยละ 4.92 ตอป

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะสั้น (พ.ศ.2560) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) เสริมสรางการปองกันและการรักษาการใชสารในทางท่ีผิด ซ่ึงรวมถึงการใชยาเสพติดในทางท่ีผิดและการใชแอลกอฮอลในทางอันตราย

1.สนับสนุนและเพ่ิมการเขาถึงสถานบริการชวยเลิกบุหรี่และเหลาในสถานบริการและชุมชน 2.เฝาระวังการสูบบุหรี่และดื่มเหลาหนาใหม โดยเฉพาะเยาวชนในพ้ืนท่ีท้ังโรงเรียน/สถานศึกษาและชุมชน 3.บังคับใชกฎหมายท่ีเก่ียวของทุกมาตรา

ยุทธศาสตรนโยบายแอลกอฮอลระดับชาติ (เปนแผนยุทธศาสตร10 ป พ.ศ. 2554 - 2563 )

สํานักงานคณะกรรมการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล (สคอ.) กรมควบคุมโรค

- ควบคุมการเขาถึงทางเศรษฐศาสตร และทางกายภาพ - ปรับเปลี่ยนคานิยมและลดแรงสนับสนุนในการดื่ม - ลดอันตรายจากการบริโภค - จัดการปญหาแอลกอฮอลในระดับพ้ืนท่ี - พัฒนากลไกการจัดการและสนับสนุนท่ีเขมแข็ง

15,000,000 10,000,000 60,000,000 30,000,000 10,000,000

Page 106: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

97

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะกลาง (พ.ศ. 2561 – 2564) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) เสริมสรางการปองกันและการรักษาการใชสารในทางท่ีผิด ซ่ึงรวมถึงการใชยาเสพติดในทางท่ีผิดและการใชแอลกอฮอลในทางอันตราย

1.สนับสนุนและเพ่ิมการเขาถึงสถานบริการชวยเลิกบุหรี่และเหลาในสถานบริการและชุมชน 2.เฝาระวังการสูบบุหรี่และดื่มเหลาหนาใหม โดยเฉพาะเยาวชนในพ้ืนท่ีท้ังโรงเรียน/สถานศึกษาและชุมชน 3.บังคับใชกฎหมายท่ีเก่ียวของทุกมาตรา

- ควบคุมการเขาถึงทางเศรษฐศาสตร และทางกายภาพ - ปรับเปลี่ยนคานิยมและลดแรงสนับสนุนในการดื่ม - ลดอันตรายจากการบริโภค - จัดการปญหาแอลกอฮอลในระดับพ้ืนท่ี - พัฒนากลไกการจัดการและสนับสนุนท่ีเขมแข็ง

สํานักงานคณะกรรมการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล (สคอ.) กรมควบคุมโรค

700,000,000

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะยาว (พ.ศ. 2565 – 2573) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) เสริมสรางการปองกันและการรักษาการใชสารในทางท่ีผิด ซ่ึงรวมถึงการใชยาเสพติดในทางท่ีผิดและการใชแอลกอฮอลในทางอันตราย

1.สนับสนุนและเพ่ิมการเขาถึงสถานบริการชวยเลิกบุหรี่และเหลาในสถานบริการและชุมชน 2.เฝาระวังการสูบบุหรี่และดื่มเหลาหนาใหม โดยเฉพาะเยาวชนในพ้ืนท่ีท้ังโรงเรียน/สถานศึกษาและชุมชน 3.บังคับใชกฎหมายท่ีเก่ียวของทุกมาตรา

- ควบคุมการเขาถึงทางเศรษฐศาสตร และทางกายภาพ - ปรับเปลี่ยนคานิยมและลดแรงสนับสนุนในการดื่ม - ลดอันตรายจากการบริโภค - จัดการปญหาแอลกอฮอลในระดับพ้ืนท่ี - พัฒนากลไกการจัดการและสนับสนุนท่ีเขมแข็ง

สํานักงานคณะกรรมการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล (สคอ.) กรมควบคุมโรค

1,000,000,000

Page 107: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

98

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

Roadmap SDG 3

เปาหมายท่ี 3 สรางหลักประกันวาคนมีชีวิตท่ีมีสุขภาพดีและสงเสริมสวัสดิภาพสําหรับทุกคนในทุกวัย เปาประสงคท่ี 3.6 ลดจํานวนการตายและบาดเจ็บจากอุบัติเหตุทางถนนท่ัวโลกลงครึ่งหนึ่ง ภายในป 2563 ตัวช้ีวัดท่ี 3.6.1 อัตราผูเสียชีวิตจากการบาดเจ็บจากอุบัติเหตุทางถนน (จํานวนผูเสียชีวิตจากการบาดเจ็บจากอุบัตเิหตุทางถนน ภายในชวงระยะเวลา 30 วัน ตอ

ประชากร 100,000 คน (อายุมาตรฐาน))

เปาหมาย - เปาหมายลดการตายลง 50% ภายในป 2563 เทียบกับป 2554 - อัตราตายจากอุบัติเหตุทางถนน (ไมเกิน 18 ตอประชากรแสนคน ในป 2560)

สถานภาพ สถานการณอุบัติเหตุทางถนนของประเทศไทย WHO รายงานความปลอดภัยทางถนนของโลก (Global Status Report on Road Safety, 2015) รายงานขอมูลอุบัติเหตุทางถนนของโลก พ.ศ.2556 จากการสํารวจ 180 ประเทศท่ัวโลก พบวา ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตอุบัติเหตุทางถนนท่ีเกิดข้ึน คิดเปนอัตรา 17.3 ตอประชากรแสนคน โดยประเทศไทยเปนประเทศท่ีมีอัตราตายเปนอันดับหนึ่งในภูมิภาคนี้ และจากรายงานดังกลาว ไดประมาณการวาประเทศไทยมีอัตราการเสียชีวิตเปนอันดับ 2 ของโลก อัตราตาย 36.2 รายตอแสนประชากร (ประมาณ 24,237 คน) และประเทศไทยยังเปนอันดับ 1 ของเอเชียและอาเซียน ท่ีมีอัตราการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนสูงท่ีสุด การสูญเสียปสุขภาวะในเพศชายและเพศหญิง จําแนกตามรายโรค พบวาอุบัติเหตุทางถนนเปนสาเหตุของการสูญเสียปสุขภาวะอันดับ 2 ในเพศชาย และอันดับ 8 ในเพศหญิง โดยคาความสูญเสียในเพศชาย รอยละ 8.0 เพศหญิงรอยละ 2.7 ซ่ึงเพศชายสูญเสียปสุขภาวะสูงกวาเพศหญิงถึงกวา 4 เทา และเม่ือพิจารณาการสูญเสีย ปสุขภาวะในเพศชายและเพศหญิง ในกลุมอายุ 15-19 ป พบวา อุบัติเหตุทางถนนเปนสาเหตุอันดับหนึ่งของการสูญเสียปสุขภาวะ โดยคาความสูญเสียในเพศชายรอยละ 32.5 เพศหญิงรอยละ 12.9 ซ่ึงเพศชายสูญเสียปสุขภาวะสูงกวาเพศหญิงถึง 2 เทา และจากขอมูลบูรณาการ 3 ฐาน (สาธารณสุข ตํารวจ และบริษัทกลางฯ) พบวา คนไทยเสียชีวิตจากอุบัติเหตุบนทองถนนมากถึงปละ 23,000 - 24,000 คน หรือชั่วโมงละ 3 คน บาดเจ็บไมไดนอนโรงพยาบาลนับลานคน และนอนรักษาตัวโรงพยาบาลเกือบสองแสนคนตอป พิการอีกปละกวา 7,000 คน คิดเปนความสูญเสียทางเศรษฐกิจกวา 2 แสนลานบาทตอป

Page 108: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

99

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะสั้น (พ.ศ.2560) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) ลดจํานวนการตายและบาดเจ็บจากอุบัติเหตุทางถนนลงครึ่งหนึ่ง ภายในป 2563

1.ระบบเฝาระวังโรคไมติดตอและปจจัยเสี่ยง พรอมท้ังสามารถเชื่อมโยงขอมูลเฝาระวังการเจ็บปวยระดับอําเภอ จังหวัด ประเทศ: SAT/EOC, IS online 2. สนับสนุนการจัดบริการสุขภาพเพ่ือลดเสี่ยงและลดโรค รวมท้ังการเกิดอุบัติทางถนน 3. พัฒนาระบบบริการและสงตอท่ีมีประสิทธิภาพในทุกพ้ืนท่ี: TEA unit, EMS คุณภาพ ER คุณภาพ Ambulance safety 4.พัฒนาศักยภาพแกนนําในการชวยเหลือผูปวยท่ีไดรับอุบัติทางถนนและจมน้ําอยางถูกตอง

1. มาตรการการบริหารจัดการ • SAT/EOC-RTI: การจัดตั้งศูนยปฏิบัติการตอบโตภาวะฉุกเฉิน (Emergency Operation Center: EOC) พรอมท้ังมีทีมตระหนักรู (Situation Awareness Team: SAT) • Trauma & Emergency Admin Unit (TEA Unit) คุณภาพ: การจัดตั้งหนวยงาน TEA Unit ในโรงพยาบาลระดับ A, S และ M1 ดําเนินการรวบรวมขอมูลการบาดเจ็บ พรอมท้ังวิเคราะหสังเคราะหขอมูล • สสอ./รพช. หรือ คปสอ. เปนเลขารวมในศูนยปฏิบัติการความปลอดภัยทางถนนระดับอําเภอ (ศปถ.อําเภอ) โดยมีบทบาทในการขับเคลื่อนการแกปญหาอุบัติเหตุทางถนนตลอดท้ังป เชื่อมโยงการทํางานระหวางกลไกระบบสุขภาพอําเภอ (DHS) ท่ีมีอยูในทุกอําเภอมาหนุนเสริมการทํางาน 2. มาตรการจัดการขอมูล • การบูรณาการขอมูล 3 ฐาน (สาธารณสุข ตํารวจ และบริษัทกลางฯ) ท้ังในระดับประเทศและระดับจังหวัด เพ่ือใหทราบขนาดปญหาท่ีแทจริง วิเคราะหสาเหตุปญหา และนําเสนอขอมูลผาน ศปถ.จังหวัด หรือการประชุมสหสาขา สําหรับใชประโยชนในการชี้เปา วางแผนงาน และประเมินผล • พัฒนาระบบรายงานเฝาระวังการบาดเจ็บ (IS Online) โดยสวนกลางพัฒนา software, server, system และจัด training รวมกับโรงพยาบาลเครือขายระดับ A S M1

สํานักโรคไมติดตอ กรมควบคุมโรค /สพฉ. /สธฉ. /ศูนยความปลอดภัยทางถนน/กรมการแพทย

30,000,000

Page 109: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

100

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะสั้น (พ.ศ.2560) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท)

• พัฒนาระบบรายงานการสอบสวนออนไลน (Web based reporting system) สําหรับนําขอมูลมาสังเคราะหและแกไขปญหาในพ้ืนท่ี • การชี้เปาจุดเสี่ยง โดยการนําขอมูลมาวิเคราะหทางระบาดวิทยาเพ่ือหาจุดเสี่ยงหรือความเสี่ยงตอการเกิดอุบัติเหตุทางถนน และนําเสนอขอมูลจุดเสี่ยงผาน ศปถ.จังหวัด 3. มาตรการปองกัน • ขับเคลื่อนการดําเนินงานผานระบบสุขภาพอําเภอหรืออําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน (DHS-RTI) และเชื่อมโยงกับศูนยปฏิบัติการความปลอดภัยทางถนนในระดับอําเภอ (ศปถ.อําเภอ) มุงเนนใหเกิดการดําเนินงานผานกลไกการควบคุมปองกันโรคในระดับอําเภอ รวมกับศูนยปฏิบัติการความปลอดภัยทางถนนในระดับอําเภอ • ขับเคลื่อนการดําเนินงานดานชุมชน/มาตรการชุมชน/ศูนยสรางเมา (Community Checkpoint) รวมกับภาคีเครือขายในชุมชน ในการปองกันและปองปรามพฤติกรรมเสี่ยงตอการเกิดการบาดเจ็บทางถนน ในชวงเทศกาลหรือในชวงท่ีมีความเสี่ยงตอการเกิดอุบัติเหตุทางถนน • ขับเคลื่อนมาตรการองคกรความปลอดภัยทางถนนของรถพยาบาล (Ambulance Safety) • การแตงตั้งเจาหนาท่ีความปลอดภัยทางถนน (จปถ.) เพ่ือขับเคลื่อนมาตรการองคกรในหนวยงานสังกัดกระทรวงสาธารณสุข (RTI officer)

Page 110: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

101

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะสั้น (พ.ศ.2560) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท)

4. มาตรการรักษาพยาบาล โดยการพัฒนาคุณภาพการรักษาตามแนวทาง Service Plan Trauma and Emergency ครอบคลุมดานตาง ๆ ดังนี้ • EMS คุณภาพ • ER คุณภาพ • In-hos คุณภาพ • Referral System

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะกลาง (พ.ศ. 2561 – 2564) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) ลดจํานวนการตายและบาดเจ็บจากอุบัติเหตุทางถนนลงครึ่งหนึ่ง ภายในป 2563

1.ระบบเฝาระวังโรคไมติดตอและปจจัยเสี่ยง พรอมท้ังสามารถเชื่อมโยงขอมูลเฝาระวังการเจ็บปวยระดับอําเภอ จังหวัด ประเทศ: SAT/EOC, IS online 2. สนับสนุนการจัดบริการสุขภาพเพ่ือลดเสี่ยงและลดโรค รวมท้ังการเกิดอุบัติทางถนน 3. พัฒนาระบบบริการและสงตอท่ีมีประสิทธิภาพในทุกพ้ืนท่ี: TEA unit, EMS คุณภาพ ER คุณภาพ Ambulance safety 4.พัฒนาศักยภาพแกนนําในการชวยเหลือผูปวยท่ีไดรับอุบัติทางถนนและจมน้ําอยางถูกตอง

1. เนนการทํางานใน 4 หลัก 1.1 มาตรการการบริหารจัดการ 1.2 มาตรการจัดการขอมูล 1.3 มาตรการปองกัน 1.4 มาตรการรักษาพยาบาล โดยการพัฒนาคุณภาพการ รักษาตามแนวทาง Service Plan Trauma and Emergency ครอบคลุมดานตางๆ ดังนี้ 2. รวมพัฒนาหนวยจัดการปญหาอุบัติเหตุทางถนน ท่ีมีการจัดการปญหาอยางเปนระบบ 3. ติดตามประเมินผลเพ่ือผลักดันนโยบายและวางแผนงาน สําหรับขับเคลื่อนงานใหทันตอสถานการณปจจุบัน

สํานักโรคไมติดตอ กรมควบคุมโรค/สพฉ. /สธฉ. /ศูนยความปลอดภัยทางถนน/กรมการแพทย

120,000,000

Page 111: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

102

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะยาว (พ.ศ. 2565 – 2573) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) ลดจํานวนการตายและบาดเจ็บจากอุบัติเหตุทางถนนลงครึ่งหนึ่ง ภายในป 2563

1.ระบบเฝาระวังโรคไมติดตอและปจจัยเสี่ยง พรอมท้ังสามารถเชื่อมโยงขอมูลเฝาระวังการเจ็บปวยระดับอําเภอ จังหวัด ประเทศ: SAT/EOC, IS online 2. สนับสนุนการจัดบริการสุขภาพเพ่ือลดเสี่ยงและลดโรค รวมท้ังการเกิดอุบัติทางถนน 3. พัฒนาระบบบริการและสงตอท่ีมีประสิทธิภาพในทุกพ้ืนท่ี: TEA unit, EMS คุณภาพ ER คุณภาพ Ambulance safety 4.พัฒนาศักยภาพแกนนําในการชวยเหลือผูปวยท่ีไดรับอุบัติทางถนนและจมน้ําอยางถูกตอง

1. เนนการทํางานใน 4 หลัก 1.1 มาตรการการบริหารจัดการ 1.2 มาตรการจัดการขอมูล 1.3 มาตรการปองกัน 1.4 มาตรการรักษาพยาบาล โดยการพัฒนาคุณภาพการ รักษาตามแนวทาง Service Plan Trauma and Emergency ครอบคลุมดานตางๆ ดังนี้ 2. รวมพัฒนาหนวยจัดการปญหาอุบัติเหตุทางถนน ท่ีมีการจัดการปญหาอยางเปนระบบ 3. ติดตามประเมินผลเพ่ือผลักดันนโยบายและวางแผนงาน สําหรับขับเคลื่อนงานใหทันตอสถานการณปจจุบัน

สํานักโรคไมติดตอ กรมควบคุมโรค/สพฉ. /สธฉ. /ศูนยความปลอดภัยทางถนน/กรมการแพทย

200,000,000

Page 112: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

103

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

Roadmap SDG 3

เปาหมายท่ี 3 สรางหลักประกันวาคนมีชีวิตท่ีมีสุขภาพดีและสงเสริมสวัสดิภาพสําหรับทุกคนในทุกวัย เปาประสงคท่ี 3.7 สรางหลักประกันวามีการเขาถึงบริการ ขอมูล การใหการศึกษาเก่ียวกับอนามัยเจริญพันธุโดยถวนหนา รวมถึงการวางแผนครอบครัว และการ

ผสานอนามัยเจริญพันธุในยุทธศาสตรและแผนงานระดับชาติ ภายในป 2573 ตัวช้ีวัดท่ี 3.7.1 รอยละของหญิงวัยเจริญพันธุอายุ (15-49 ป) ท่ีพึงพอใจกับการวางแผนครอบครัวดวยวิธีสมัยใหม

เปาหมาย สรางหลักประกันวามีการเขาถึงบริการ ขอมูล การใหการศึกษาเก่ียวกับอนามัยเจริญพันธุโดยถวนหนา รวมถึงการวางแผนครอบครัว และการผสานอนามัยเจริญพันธุในยุทธศาสตรและแผนงานระดับชาติ ภายในป 2573

สถานภาพ ปจจุบันประเทศไทยมีอัตราการเกิดโดยรวมลดลงอยางตอเนื่องตั้งแต พ.ศ. 2513 พบวาในชวงสิบปท่ีผานมา กลุมท่ีมีการคลอดหรืออัตราการเจริญพันธุลดลงอยางมากเปนกลุมวัยทํางานอายุ 20-34 ป ท่ีกําลังอยูในชวงอายุท่ีเหมาะสมท่ีจะมีบุตร อัตราการคุมกําเนิดในหญิงวัยเจริญพันธุอยูในระดับสูงประมาณ รอยละ 80 แตในกลุมอายุต่ํากวา 20 ป กลับมีการตั้งครรภและการคลอดเพ่ิมข้ึนอยางมาก โดยในป พ.ศ. 2543 มีแมวัยรุนอายุต่ํากวา 20 ป ประมาณปละ 90,000 คน โดยเพ่ิมข้ึนจนถึงปละมากกวา 120,000 คนในปจจุบัน และยังพบวามีการคลอดโดยแมท่ีอายุต่ํากวา 15 ป ปละมากกวา 3,000 คน ซ่ึงการตั้งครรภโดยแมวัยรุนสวนใหญมักเปนการตั้งครรภท่ีไมไดตั้งใจและนําไปสูปญหาตางๆ มากมาย อาทิเชน การทําแทงเถ่ือน รวมท้ังเกิดภาวะแทรกซอนตางๆ จากการตั้งครรภเชน การตกเลือดหลังคลอด ทารกคลอดกอนกําหนด ทารกน้ําหนักต่ํากวาเกณฑ เปนตน หนวยงานองคกรระหวางประเทศ เชน กองทุนประชากรแหงสหประชาชาติ (UNFPA) ไดใหขอสรุปท่ีสําคัญวา การตั้งครรภในวัยรุนเปนปจจัยคุกคามคุณภาพประชากรในระยะยาว ดังนั้นการปองกันและแกไขปญหาการตั้งครรภในวัยรุนจึงเปนภารกิจท่ีสําคัญของประเทศ โดยการเนนการจัดบริการท่ีมีประสิทธิภาพ และสงเสริมการเขาถึงบริการคุมกําเนิดดวยวิธีสมัยใหมท่ีหลากหลาย ตรงกับความตองการ โดยเฉพาะการคุมกําเนิดดวยวิธีก่ึงถาวร สําหรับวัยรุนอายุต่ํากวา 20 ป หลังคลอดหรือหลังแทงทุกสิทธิ โดยพบวาหญิงอายุนอยกวา 20 ปหลังคลอดหรือหลังแทงท่ีคุมกําเนิดไดรับการคุมกําเนิดดวยวิธีก่ึงถาวร (ยาฝงคุมกําเนิด/หวงอนามัย) เทากับ รอยละ 49.98 ใน พ.ศ. 2559 (ขอมูลระบบ HDC พ.ศ. 2559) สถานการณการวางแผนครอบครัว จากขอมูลการสํารวจสถานการณเด็กและสตรี (MICS) พ.ศ. 2555 และ พ.ศ. 2558 ท่ีเก่ียวของกับการคุมกําเนิดในสตรีวัยเจริญพันธุพบวาอัตราการคุมกําเนิดในสตรีวัยเจริญพันธุ อายุ 15-49 ป เทากับรอยละ 79.3 และ 78.4 ตามลําดับ โดยรอยละของหญิงวัยเจริญพันธุอายุ (15-49 ป) ท่ีพึงพอใจกับการวางแผนครอบครัวดวยวิธีสมัยใหม เทากับ 92.0 และ 93.0 ตามลําดับ

Page 113: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

104

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

สถานภาพ สวนความตองการท่ียังไมสัมฤทธิ์ในการคุมกําเนิด เทากับรอยละ 6.9 และ 6.2 ในการสํารวจ MICS พ.ศ. 2555 และ พ.ศ. 2558 ตามลําดับ โดยพบวาในกลุมวัยรุนอายุ 15-19 ป มีความตองการท่ียังไมสัมฤทธิ์สําหรับการคุมกําเนิดสูงสุดเทากับรอยละ 11.5 (การสํารวจ MICS พ.ศ. 2555)

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะสั้น (พ.ศ.2560) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) สรางหลักประกันวามีการเขาถึงบริการ ขอมูล การใหการศึกษาเก่ียวกับอนามัยเจริญพันธุโดยถวนหนา รวมถึงการวางแผนครอบครัว และการผสานอนามัยเจริญพันธุในยุทธศาสตรและแผนงานระดับชาติ ภายในป 2573

1. พัฒนาระบบบริการสุขภาพท่ีแบบเปนมิตรสําหรับเด็ก วัยรุน เยาวชนและครอบครัว 2. สรางแนวรวมทุกภาคีเครือขายเพ่ือผลักดันใหกระทรวงศึกษามีนักจิตวิทยา หรือ พยาบาล หรือนักจัดการสุขภาพ เด็กและวัยรุนประจาํโรงเรียน หรือสถาบันการศึกษาท่ีมีเด็กมากกวา 200 คนข้ึนไป 3. พัฒนาระบบบริการสุขภาพทางเพศและอนามัยการเจริญพันธุ และเขาถึงบริการท่ีหลากหลายครอบคลุมความตองการวัยรุน 4. เพ่ิมชองทางการสื่อสาร/ใหคําปรึกษาโดยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศท่ีนาสนใจผาน social media

1. พัฒนากฎหมาย นโยบายและยุทธศาสตรท่ีเกี่ยวของ - โครงการขับเคลื่อนการดําเนินงานตามนโยบายและยุทธศาสตรการพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุแหงชาติฉบับท่ี 2 (พ.ศ. 2560-2569) วาดวยการสงเสริมการเกิดและการเจริญเติบโตอยางมีคุณภาพ - โครงการขับเคลื่อนการดําเนินงานตามพระราชบัญญัติการปองกันและแกไขปญหาการตั้งครรภในวัยรุน 2 พัฒนาระบบบริการสาธารณสุขและสรางการเขาถึงบริการอยางเทาเทียม 2.1 การขยายสถานบริการท่ีเปนมิตร สําหรับวัยรุนและเยาวชน ใหครอบคลุมถึงภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคมและทุกภาคสวนท่ีเก่ียวของกับวัยรุน - โครงการสงเสริมการจัดบริการสุขภาพท่ีเปนมิตรและสรางเสริมการมีสวนรวมและพัฒนาภาคีเครือขายอนามัยการเจริญพันธุในวัยรุนและเยาวชน 2.2 สนับสนุนและสงเสริมใหสถานบริการสาธารณสุข มีและใชเวชภัณฑวางแผนครอบครัวดวยเทคโนโลยีท่ีหลากหลายทันกับปญหา และครอบคลุมระบบประกันสุขภาพทุกระบบ - โครงการอบรมใหบริการยาฝงคุมกําเนิดสําหรับบุคลากรสาธารณสุขท่ีปฏิบัติงานวางแผนครอบครัว

- กรมอนามัย (สํานักอนามัยการเจริญพันธุ, สํานักสงเสริมสุขภาพ (กลุมอนามัยแมและเด็ก) - สสส. - สปสช. - สํานักงานสถิติแหงชาติ - กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย กรมกิจการเด็กและเยาวชน - กระทรวง ศึกษาธิการ สพฐ.

2,677,900

5,240,200

2,681,000

1,000,000

Page 114: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

105

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะสั้น (พ.ศ.2560) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) - โครงการสงเสริมและสนับสนุนถุงยางอนามัยและสารหลอลื่น

- โครงการสงเสริมการจัดบริการตรวจหาสาเหตุและรักษาภาวะมีบุตรยาก - โครงการสงเสริมการเขาถึงบริการคุมกําเนิดดวยวิธีสมัยใหมท่ีมีความปลอดภัยและมีประสิทธิภาพสูง โดยเฉพาะทางเลือกในการคุมกําเนิดดวยวิธีก่ึงถาวร ไดแก หวงอนามัยและยาฝงคุมกําเนิด ใหแกวัยรุนอายุต่ํากวา 20 ปหลังคลอดหรือหลังแทง 2.3 โครงการเพศคุยไดในครอบครัว 3 พัฒนาระบบสารสนเทศ การส่ือสารสังคม และการพัฒนาวิชาการท่ีเกี่ยวของกับงานดานอนามัยการเจริญพันธุ 3.1 จัดตั้งคณะทํางานคณะทํางานวิชาการสงเสริมการเกิดและการเจริญเติบโตอยางมีคุณภาพ เพ่ือศึกษาขอมูล ความเปนไปไดและผลกระทบ ประกอบการผลักดัน ปรับปรงุ แกไข กฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับสิทธิประโยชนในประเด็นตางๆ ท่ีครอบคลุมถึงประเด็นการเขาถึงบรกิารวางแผนครอบครัว ดวยวิธีการคุมกําเนิดท่ีหลากหลาย 3.2 การพัฒนาการสื่อสารดานอนามัยการเจริญพันธุดวยการผลิตสื่อดานอนามัยการเจริญพันธุท่ีมีคุณภาพและรปูแบบทันสมัย ตรงตามความสนใจของกลุมเปาหมาย 3.3 การพัฒนารูปแบบการสื่อสารดานอนามัยการเจริญพันธุสําหรับผูนํานักเรียน 3.4 โครงการนํารองพัฒนาศักยภาพแกนนําวัยรุนตนแบบดานสุขภาพแบบองครวมในชุมชน (Smart Youth: SY)

30,000,000 10,000,000

75,000,000

713,700

100,000

1,000,000

600,000

700,000

Page 115: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

106

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะกลาง (พ.ศ. 2561 – 2564) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) สรางหลักประกันวามีการเขาถึงบริการ ขอมูล การใหการศึกษาเก่ียวกับอนามัยเจริญพันธุโดยถวนหนา รวมถึงการวางแผนครอบครัว และการผสานอนามัยเจริญพันธุในยุทธศาสตรและแผนงานระดับชาติ ภายในป 2573

1. พัฒนาระบบบริการสุขภาพท่ีแบบเปนมิตรสําหรับเด็ก วัยรุน เยาวชนและครอบครัว 2. สรางแนวรวมทุกภาคีเครือขายเพ่ือผลักดันใหกระทรวงศึกษามีนักจิตวิทยา หรือ พยาบาล หรือนักจัดการสุขภาพ เด็กและวัยรุนประจําโรงเรียน หรือสถาบันการศึกษาท่ีมีเด็กมากกวา 200 คนข้ึนไป 3. พัฒนาระบบบริการสุขภาพทางเพศและอนามัยการเจริญพันธุ และเขาถึงบริการท่ีหลากหลายครอบคลุมความตองการวัยรุน 4. เพ่ิมชองทางการสื่อสาร/ใหคําปรึกษาโดยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศท่ีนาสนใจผาน social media

- พัฒนาความรวมมือกับองคกรภาคีเครือขายเพ่ือขยายการติดตามประเมินผลการดําเนินงานในการติดตามการดําเนินงาน และการเขาถึงบริการวางแผนครอบครัวและการคุมกําเนิดในกลุมสตรีวัยเจริญพันธุในระดับพ้ืนท่ี - ทบทวน ปรับปรุง แกไขกฎหมาย กฎ ระเบียบและนโยบาย เพ่ือเอ้ือใหวัยรุนเขาถึงบริการสุขภาพทางเพศและอนามัยการเจริญพันธุท่ีหลากหลาย มีความสอดคลองและครอบคลุมความตองการของวัยรุน - พัฒนาระบบบริการดานการวางแผนครอบครวัและการคุมกําเนิดใหมีความหลากหลาย และเพ่ิมชองทางการเขาถึงบริการใหแกกลุมเปาหมายท่ีมีความยากลําบากในการเขาถึงบริการคุมกําเนิด

- กรมอนามัย (สํานักอนามัยการเจริญพันธุ, สํานักสงเสริมสุขภาพ (กลุมอนามัยแมและเด็ก) - สสส. - สปสช. - สํานักงานสถิติแหงชาติ

- ศึกษาวิจัยและพัฒนารูปแบบบริการวางแผนครอบครัว และบริการคุมกําเนิดท่ีเหมาะสมโดยคํานึงถึง นโยบายการสนับสนุนและสงเสริมการเกิดอยางมีคุณภาพมากยิ่งข้ึน - ทบทวน และปรับปรุงแผนปฏิบัติการภายใตนโยบายและยุทธศาสตรการพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุแหงชาติ ฉบับท่ี 2 พ.ศ. 2560-2569 และยุทธศาสตรการปองกันและแกไขปญหาการตั้งครรภในวัยรุน พ.ศ. 2560-2569 เพ่ือใหการดําเนินงานสงเสริมการเขาถึงบริการวางแผนครอบครัวและการคุมกําเนิดมีความสอดคลองกับสถานการณ สภาพเศรษฐกิจและสังคมท่ีมีการเปลี่ยนแปลง

- กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย กรมกิจการเด็กและเยาวชน - กระทรวง ศึกษาธิการ สพฐ.

Page 116: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

107

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะยาว (พ.ศ. 2565 – 2573) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) สรางหลักประกันวามีการเขาถึงบริการ ขอมูล การใหการศึกษาเก่ียวกับอนามัยเจริญพันธุโดยถวนหนา รวมถึงการวางแผนครอบครัว และการผสานอนามัยเจริญพันธุในยุทธศาสตรและแผนงานระดับชาติ ภายในป 2573

1. พัฒนาระบบบริการสุขภาพท่ีแบบเปนมิตรสําหรับเด็ก วัยรุน เยาวชนและครอบครัว 2. สรางแนวรวมทุกภาคีเครือขายเพ่ือผลักดันใหกระทรวงศึกษามีนักจิตวิทยา หรือ พยาบาล หรือนักจัดการสุขภาพ เด็กและวัยรุนประจําโรงเรียน หรือสถาบันการศึกษาท่ีมีเด็กมากกวา 200 คนข้ึนไป 3. พัฒนาระบบบริการสุขภาพทางเพศและอนามัยการเจริญพันธุ และเขาถึงบริการท่ีหลากหลายครอบคลุมความตองการวัยรุน 4. เพ่ิมชองทางการสื่อสาร/ใหคําปรึกษาโดยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศท่ีนาสนใจผาน social media

- ศึกษาวิจัยและพัฒนารูปแบบบริการวางแผนครอบครัว และบริการคุมกําเนิดท่ีสอดคลองกับอัตราการเจริญพันธุของประเทศ - จัดทํานโยบายและยุทธศาสตรการพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุแหงชาติ ฉบับท่ี 3 (พ.ศ. 2570-2579) ท่ีเหมาะสมกับสภาพเศรษฐกิจและสังคมไทย ใหประชาชนทุกกลุมวัย ท้ังชายและหญิงมีหลักประกันวามีการเขาถึงบริการ ขอมูล การใหการศึกษาเก่ียวกับอนามัยเจริญพันธุโดยถวนหนา

- กรมอนามัย (สํานักอนามัยการเจริญพันธุ, สํานักสงเสริมสุขภาพ (กลุมอนามัยแมและเด็ก) - สสส. - สปสช. - สํานักงานสถิติแหงชาติ - กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย กรมกิจการเด็กและเยาวชน - กระทรวง ศึกษาธิการ สพฐ.

Page 117: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

108

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

Roadmap SDG 3

เปาหมายท่ี 3 สรางหลักประกันวาคนมีชีวิตท่ีมีสุขภาพดีและสงเสริมสวัสดิภาพสําหรับทุกคนในทุกวัย เปาประสงคท่ี 3.7 สรางหลักประกันวามีการเขาถึงบริการ ขอมูล การใหการศึกษาเก่ียวกับอนามัยเจริญพันธุโดยถวนหนา รวมถึงการวางแผนครอบครัว และการ

ผสานอนามัยเจริญพันธุในยุทธศาสตรและแผนงานระดับชาติ ภายในป 2573 ตัวช้ีวัดท่ี 3.7.2 อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ (10-14 ป, 15-19 ป) ตอผูหญิงอายุ (10-14 ป, 15-19 ป) 1,000 คน

เปาหมาย อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ 15-19 ป (ไมเกิน 50 ตอประชากรหญิงอายุ 15-19 ป พันคน) ภายในป 2561 สถานภาพ ป 2558 อัตราการตั้งครรภในวัยรุน (10-14, 15-19 ป) ตอผูหญิง 1,000 คน เทากับ 44.6 คน ตอการเกิดมีชีพ 1,000 คน (World Bank) โดยมีแนวโนม

ลดลง ในชวงป 2503 – 2558 ขอมูลกระทรวงสาธารณสุข สถานการณการตั้งครรภในวัยรุน 1. อัตราคลอดมีชีพในหญิงอายุ 10-14 ป พ.ศ.2558 เทากับ 1.5 ตอประชากรหญิงอายุ 10-14 ป 1,000 คน โดยพบวาอัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ 10-14 ป มีแนวโนมลดลงในระยะ 3 ป ท่ีผานมา (อัตรา 1.8, 1.7, 1.6 และ 1.5 ในป 2555-2558) 2. อัตราคลอดมีชีพในหญิงอายุ 15-19 ป พ.ศ.2558 เทากับ 44.8 ตอประชากรหญิงอายุ 15-19 ป 1,000 คน โดยพบวาอัตราการคลอดมีแนวโนมเริ่มลดลงในชวง 3 ป ท่ีผานมา (อัตรา 53.4, 51.1, 47.9 และ 44.8 ในระหวาง พ.ศ. 2555-2558)

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะสั้น (พ.ศ.2560) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) สรางหลักประกันวามีการเขาถึงบริการ ขอมูล การใหการศึกษาเก่ียวกับอนามัยเจริญพันธุโดยถวนหนา รวมถึงการ

1. พัฒนาระบบบริการสุขภาพท่ีแบบเปนมิตรสําหรับเด็ก วัยรุน เยาวชนและครอบครัว 2. พัฒนาผูเชี่ยวชาญดานการพัฒนาสุขภาพกาย จิต ของวัยรุน

พัฒนากฎหมาย นโยบายและยุทธศาสตรท่ีเกี่ยวของ -โครงการขับเคลื่อนการดําเนินงานตามนโยบายและยุทธศาสตรการพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุแหงชาติฉบับท่ี 2 (พ.ศ.2560-2569) วาดวยการสงเสริมการเกิดและการเจริญเติบโตอยางมีคุณภาพ -โครงการขับเคลื่อนการดําเนินงานตามพระราชบัญญัติการปองกันและแกไขปญหาการตั้งครรภในวัยรุน

- สธ. - พม. - กระทรวงแรงงาน - ศธ. - มท. - สสส. - สปสช.

2,677,900

5,240,200

Page 118: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

109

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะสั้น (พ.ศ.2560) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) วางแผนครอบครัว และการผสานอนามัยเจริญพันธุในยุทธศาสตรและแผนงานระดับชาติ ภายในป 2573

3. พัฒนาชุดความรู NuPETHS (โภชนาการ กิจกรรมทางกาย สิง่แวดลอม สุขภาพชองปาก และการนอน) พัฒนาชุดสิทธิประโยชน 4. พัฒนาระบบบริการสุขภาพทางเพศและอนามัยการเจริญพันธุ และสงเสริมการเขาถึงบริการท่ีหลากหลายครอบคลุมความตองการวัยรุน 5.เรงรัดการออกกฎกระทรวงหรืออนุบัญญัติอ่ืนๆ และขับเคลื่อนการดําเนินงานตามภายใต พรบ. การปองกันและแกไขปญหาการตั้งครรภในวัยรุน พ.ศ. 2559 6.สงเสริมใหชุมชนและภาคีเครือขายเขามามีสวนรวมในการจัดการสุขภาพวัยเรียนและวัยรุน

พัฒนาระบบบริการสาธารณสุขและสรางการเขาถึงบริการอยางเทาเทียม - โครงการสงเสริมการจัดบริการสุขภาพท่ีเปนมิตรและสรางเสริมการมีสวนรวมและพัฒนาภาคีเครือขายอนามัยการเจริญพันธุในวัยรุนและเยาวชน - โครงการอบรมใหบริการยาฝงคุมกําเนิดสําหรับบุคลากรสาธารณสุขท่ีปฏิบัติงานวางแผนครอบครัว - โครงการสงเสริมและสนับสนนุถุงยางอนามัยและสารหลอลื่น - โครงการสงเสริมการเขาถึงบริการคุมกําเนิดดวยวิธีสมัยใหมท่ีมีความปลอดภัยและมีประสิทธภิาพสูง โดยเฉพาะทางเลือกในการคุมกําเนิดดวยวิธีก่ึงถาวร ไดแก หวงอนามัยและยาฝงคุมกําเนิดใหแกวัยรุนอายุต่ํากวา 20 ปหลังคลอดหรือหลงัแทง - โครงการสงเสริมการจัดบริการตรวจหาสาเหตุและรักษาภาวะมีบุตรยาก -โครงการเพศคุยไดในครอบครัว

- สธ. - พม. - กระทรวงแรงงาน - ศธ. - มท. - สสส. - สปสช.

2,681,000

1,000,000

30,000,000 75,000,000

10,000,000

713,700 พัฒนาระบบสารสนเทศ การส่ือสารสังคม และการพัฒนาวิชาการท่ีเกี่ยวของกับงานดานอนามัยการเจริญพันธุ -จัดตั้งคณะทํางานคณะทํางานวิชาการสงเสริมการเกิดและการเจริญเติบโตอยางมีคุณภาพ เพ่ือศึกษาขอมูล ความเปนไปไดและผลกระทบ ประกอบการผลักดัน ปรับปรุง แกไข กฎหมาย ระเบียบขอบังคับสิทธปิระโยชนในประเด็นตางๆ ท่ีครอบคลุมถึง ประเด็นการเขาถึงบริการวางแผนครอบครัวดวยวิธีการคุมกําเนิดท่ีหลากหลาย

100,000

Page 119: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

110

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะสั้น (พ.ศ.2560) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) -การพัฒนาการสื่อสารดานอนามัยการเจริญพันธุดวยการผลิตสื่อดานอนามัยการเจริญพันธุท่ีมีคุณภาพและรูปแบบทันสมัย ตรงตามความสนใจของกลุมเปาหมาย -การพัฒนารูปแบบการสื่อสารดานอนามัยการเจริญพันธุสําหรับผูนํานักเรียน -โครงการนํารองพัฒนาศักยภาพแกนนําวัยรุนตนแบบดานสุขภาพ แบบองครวมในชุมชน (Smart Youth: SY)

1,000,000

600,000

700,000

โครงการจาฮูกสอนเด็ก (Owl teach child) (โครงการอบรมเสริมสรางศักยภาพเยาวชนรุนใหม รูเทาทันภัยไซเบอร (Mentor the Master Program)) ครูอาจารย บุคลากรทางการศึกษา และนักเรียนในสถานศึกษาไดรับความรูความเขาใจในการใชงานอินเทอรเน็ตอยางปลอดภัยและสามารถปองกันภัยคุกคามทางอินเทอรเน็ต ในเบื้องตนได

กระทรวงดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคม

(สป.ดศ.)

497,450

Page 120: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

111

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะกลาง (พ.ศ. 2561 – 2564) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) สรางหลักประกันวามีการเขาถึงบริการ ขอมูล การใหการศึกษาเก่ียวกับอนามัยเจริญพันธุโดยถวนหนา รวมถึงการวางแผนครอบครัว และการผสานอนามัยเจริญพันธุในยุทธศาสตรและแผนงานระดับชาติ ภายในป 2573

1. พัฒนาระบบบริการสุขภาพท่ีแบบเปนมิตรสําหรับเด็ก วัยรุน เยาวชนและครอบครัว 2. พัฒนาผูเชี่ยวชาญดานการพัฒนาสุขภาพกาย จิต ของวัยรุน 3. พัฒนาชุดความรู NuPETHS (โภชนาการ กิจกรรมทางกาย สิง่แวดลอม สุขภาพชองปาก และการนอน) พัฒนาชุดสิทธิประโยชน 4. พัฒนาระบบบริการสุขภาพทางเพศและอนามัยการเจริญพันธุ และสงเสริมการเขาถึงบริการท่ีหลากหลายครอบคลุมความตองการวัยรุน 5.เรงรัดการออกกฎกระทรวงหรืออนุบัญญัติอ่ืนๆ และขับเคลื่อนการดําเนินงานตามภายใต พรบ. การปองกันและแกไขปญหาการตั้งครรภในวัยรุน พ.ศ. 2559 6.สงเสริมใหชุมชนและภาคีเครือขายเขามามีสวนรวมในการจัดการสุขภาพวัยเรียนและวัยรุน

- ติดตามและประเมินผลการดําเนินงานตาม แผนยุทธศาสตรกระทรวง และ นโยบายและยุทธศาสตรการปองกันและแกไขปญหาการตั้งครรภในวัยรุน พ.ศ. 2558 – 2567 - จัดทําและขับเคลื่อนนโยบายและยุทธศาสตรการพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุแหงชาติ ฉบับท่ี 2 (พ.ศ. 2560-2569 - พระราชบัญญัติการปองกันและแกไขปญหาการตั้งครรภในวัยรุน พ.ศ. 2559 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม 133 ตอนท่ี 30 ก. วันท่ี 31 มีนาคม 2559 การดําเนินงานดานพัฒนาระบบฐานขอมูลเพ่ือติดตามและประเมินผลการดําเนินงานดานอนามัยการเจริญพันธุของประเทศตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน

- กรมอนามัย - สสส. - สปสช.

โครงการอบรมเสริมสรางศักยภาพเยาวชนรุนใหม รูเทาทันภัยไซเบอร (Mentor the Master Program) ครูอาจารย บุคลากรทางการศึกษา และนักเรียนในสถานศึกษาไดรับความรูความเขาใจในการใชงานอินเทอรเน็ตอยางปลอดภัย และสามารถปองกันภัยคุกคามทางอินเทอรเน็ตในเบื้องตนได

กระทรวงดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคม

(สป.ดศ.)

1,702,000

Page 121: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

112

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะยาว (พ.ศ. 2565 – 2573) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) สรางหลักประกันวามีการเขาถึงบริการ ขอมูล การใหการศึกษาเก่ียวกับอนามัยเจริญพันธุโดยถวนหนา รวมถึงการวางแผนครอบครัว และการผสานอนามัยเจริญพันธุในยุทธศาสตรและแผนงานระดับชาติ ภายในป 2573

1. พัฒนาระบบบริการสุขภาพท่ีแบบเปนมิตรสําหรับเด็ก วัยรุน เยาวชนและครอบครัว 2. พัฒนาผูเชี่ยวชาญดานการพัฒนาสุขภาพกาย จิต ของวัยรุน 3. พัฒนาชุดความรู NuPETHS (โภชนาการ กิจกรรมทางกาย สิง่แวดลอม สุขภาพชองปาก และการนอน) พัฒนาชุดสิทธิประโยชน 4. พัฒนาระบบบริการสุขภาพทางเพศและอนามัยการเจริญพันธุ และสงเสริมการเขาถึงบริการท่ีหลากหลายครอบคลุมความตองการวัยรุน 5.เรงรัดการออกกฎกระทรวงหรืออนุบัญญัติอ่ืนๆ และขับเคลื่อนการดําเนินงานตามภายใต พรบ. การปองกันและแกไขปญหาการตั้งครรภในวัยรุน พ.ศ. 2559 6.สงเสริมใหชุมชนและภาคีเครือขายเขามามีสวนรวมในการจัดการสุขภาพวัยเรียนและวัยรุน

Page 122: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

113

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

Roadmap SDG – Goal 3

เปาหมายท่ี 3 สรางหลักประกันวาคนมีชีวิตท่ีมีสุขภาพดีและสงเสริมสวัสดิภาพสําหรับทุกคนในทุกวัย เปาประสงคท่ี

3.8 บรรลุการมีหลกัประกันสุขภาพถวนหนา รวมถึงการปองกันความเสี่ยงทางการเงิน การเขาถึงการบริการสาธารณสุขจําเปนท่ีมีคุณภาพ และเขาถึงยาและวัคซีนจําเปนท่ีปลอดภัย มีประสิทธิภาพ มีคุณภาพ และมีราคาท่ีสามารถซ้ือหาได

ตัวช้ีวัดท่ี 3.8.1 ความครอบคลุมของบริการดานสุขภาพท่ีจําเปน (นิยามความครอบคลุมของบริการท่ีจําเปนเฉลี่ยโดยยึดการติดตามการรักษา ซ่ึงประกอบดวย การเจริญพันธุ มารดา เด็กเกิดใหมและสุขภาพเด็ก โรคติดตอ โรคไมติดตอ และความสามารถในการเขาถึงบริการระหวางคนท่ัวไปและผูดอยโอกาส (ความท่ัวถึงของการติดตามการรักษา (เชน การฉีดวัคซีนแบบเต็มรูปแบบในเด็ก, การรักษาดวยยาตานไวรัส การรักษาวัณโรค การรักษาความดันโลหิตสูง, การดูแลการคลอดโดยผูชํานาญ))

3.8.2 จํานวนประชากรท่ีไดรับการคุมครองจากประกันภัยหรือระบบสาธารณสุขตอประชากร 1,000 คน

เปาหมาย บรรลุการมีหลักประกันสุขภาพถวนหนา รวมถึงการปองกันความเสี่ยงทางการเงิน การเขาถึงการบริการสาธารณสุขจําเปนท่ีมีคุณภาพ และเขาถึงยาและวัคซีนจําเปนท่ีปลอดภัย มีประสิทธิภาพ มีคุณภาพ และมีราคาท่ีสามารถซ้ือหาได

สถานภาพ ตัวช้ีวัดท่ี 3.8.1 -ประชาชนรอยละ 99.95 มีหลักประกันสุขภาพระบบใดระบบหนึง่ - ความครอบคลุมของการไดรับวัคซีนแบบครบถวน (EPI program ) รอยละ 90.3-100 ในป 2556 เพ่ิมข้ึนทุกประเภทวัคซีนเม่ือเปรียบเทียบกับผลความครอบคลุมในป 2551 - การฉีดวัคซีนปองกันโรคไขหวัดใหญ รอยละ 78.47 เทียบกับเปาหมาย - ผูติดเชื้อเอชไอวีและผูปวยเอดสท่ีรับทราบสถานะการติดเชื้อ รอยละ 86.66 เขาถึงยาตานไวรัส * - ผูปวยโรคกลามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน ชนิด STEMI เขาถึงยาละลายลิ่มเลือดและ/หรือหัตถการ Primary PCI รอยละ 75.5 * - ผูปวยโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตัน เขาถึงยาละลายลิ่มเลือดได รอยละ 4.75 * - มะเร็งปากมดลูกเปนมะเร็งท่ีพบมากเปนอันดับสองในหญิงไทยรองจากมะเร็งเตานม คาดประมาณวาในแตละปประเทศไทยมีผูปวยมะเร็งปากมดลูกรายใหมประมาณ 8,184 ราย และมีผูเสียชีวิตจากมะเร็งปากลดลูกประมาณ 4,513 ราย สาเหตุสวนใหญมาจากการติดเชื้อ Human Papillomavirus หรือเชื้อเอชพีวี (HPV) หมายเหตุ * เปนขอมูลของผูมีสิทธิ UC ปงบประมาณ 2559

Page 123: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

114

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

สถานภาพ ตัวช้ีวัดท่ี 3.8.2 - อุบัติการณของครัวเรือนท่ีตองกลายเปนครัวเรือนยากจนภาย หลังจากการจายคารักษาพยาบาล คิดเปนรอยละ 0.47 ของครัวเรือนท้ังหมด ในป 2556 ท่ีมา: การวิเคราะหขอมูลการสํารวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือนป 2556 ทําการสํารวจโดย สํานักงานสถิติแหงชาติ และ ขอมูลเสนความยากจนจากสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะสั้น (พ.ศ.2560) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) บรรลุการมีหลักประกันสุขภาพถวนหนา รวมถึงการปองกันความเสี่ยงทางการเงิน การเขาถึงการบริการสาธารณสุขจําเปนท่ีมีคุณภาพ และเขาถึงยาและวัคซีนจําเปนท่ีปลอดภัย มีประสิทธิภาพ มีคุณภาพ และมีราคาท่ีสามารถซ้ือหาได

1) ศึกษาพัฒนากลไกเพ่ือลดความเหลื่อมล้ําในระบบประกันสุขภาพ 2) พัฒนามาตรฐานการจายเงินของแตละระบบหลักประกันสุขภาพภาครัฐท้ังสามระบบหลักใหแกสถานพยาบาลเพ่ือลดความเหลื่อมล้ํา ๓ กองทุน 3) ศึกษาเพ่ือพัฒนาการจัดสรรทรัพยากรสําหรับหนวยบริการเพ่ือลดความเหลื่อมล้ํา 4) ศึกษาปจจัยท่ีเก่ียวของกับระบบการจัดสรรงบประมาณท่ีมีประสิทธิภาพ

แผนงานยุทธศาสตรพัฒนาระบบประกันสุขภาพ

-สํานักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติ -กรมบัญชีกลาง -สํานักงานประกันสังคม -สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข -สถาบันการแพทยฉุกเฉินแหงชาติ -กรมสงเสริมการปกครองสวนทองถ่ิน

299,969,607,225

Page 124: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

115

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะสั้น (พ.ศ.2560) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) 5) ศึกษาความเหลื่อมล้ําของ

ศักยภาพสถานบริการท่ีมีผลตอการเขาถึงบริการของประชาชน 6) พัฒนาคุณภาพขอมูล และมีระบบคืนกลับเพ่ือนําไปใชประโยชนในระดับพ้ืนท่ี

“5 Ensure” Strategies Strategy 1: สรางความม่ันใจในการเขาถึงบริการของกลุมเปราะบาง และกลุมท่ียังเขาไมถึงบริการ(Ensure coverage and access for vulnerable and underutilization groups) Strategy 2: สรางความม่ันใจในคุณภาพมาตรฐานและความเพียงพอของบริการ (Ensure quality and adequacy of health services) Strategy 3: สรางความม่ันใจในประสิทธิภาพการบริหารกองทุน (Ensure financial efficiency) Strategy 4: สรางความม่ันใจในการมีสวนรวมของทุกภาคสวน (Ensure participation and ownership of all stakeholders) Strategy 5: สรางความม่ันใจในธรรมาภิบาล (Ensure good governance)

สํานักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติ

- จัดหางบประมาณสําหรับการซ้ือวัคซีนเอชพีวี - ดําเนินการจัดซ้ือวัคซีนเอชพีวี - นําวัคซีนเอชพีวีมาใชในแผนงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค

กรมควบคุมโรค (งบฯการจัดซ้ือวัคซีน) สปสช. (งบฯการจัดซ้ือวัคซีน)

143,994,300

ประเมินผลการใหบริการวัคซีนเอชพีวีภายหลังการนํามาใชในแผนงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค

กรมควบคุมโรค 6,000,000

1) พัฒนาระบบบริหารจัดการบริการทางการแพทยประกันสังคม เพ่ือใหผูประกันตนเขาถึงบริการทางการแพทยไดอยางท่ัวถึงและสะดวกรวดเร็ว

กระทรวงแรงงาน (สํานักงาน

ประกันสังคม)

Page 125: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

116

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะสั้น (พ.ศ.2560) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) 2) เสริมสรางความสัมพันธกับเครือขายเพ่ือใหแรงงานในระบบประกันสังคมเขาถึงสิทธิการรักษามาก

กระทรวงแรงงาน (สํานักงาน

ประกันสังคม)

10,000,000

3) บูรณาการระบบหลกัประกันสุขภาพ 3 กองทุน เพ่ือพัฒนาประสิทธิภาพกลไกการบริหารดานการเงินการคลังในระบบบริการทางการแพทยประกันสังคม เพ่ือใหแรงงานไดรับการดูแลดานสุขภาพอยางมีประสิทธิภาพ

กระทรวงแรงงาน (สํานักงาน

ประกันสังคม)

14,342,888,500

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะกลาง (พ.ศ. 2561 – 2564) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) บรรลุการมีหลัก

ประกันสุขภาพถวนหนารวมถึงการปองกันความเสี่ยงทางการเงิน การเขาถึงการบริการสาธารณสุขจําเปนท่ีมีคุณภาพ และเขาถึงยาและวัคซีนจําเปนท่ีปลอดภัย มีประสิทธิ ภาพ มีคุณภาพ และมีราคาท่ีสามารถซ้ือหาได

1) ศึกษาพัฒนากลไกเพ่ือลดความเหลื่อมล้ําในระบบประกันสุขภาพ 2) พัฒนามาตรฐานการจายเงินของแตละระบบหลักประกันสุขภาพภาครัฐท้ังสามระบบหลักใหแกสถานพยาบาลเพ่ือลดความเหลื่อมล้ํา 3 กองทุน 3) ศึกษาเพ่ือพัฒนาการจัดสรรทรัพยากรสําหรับหนวยบริการเพ่ือลดความเหลื่อมล้ํา

แผนงานยุทธศาสตรพัฒนาระบบประกันสุขภาพ -สํานักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติ -กรมบัญชีกลาง -สํานกังานประกันสังคม -สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข -สถาบันการแพทยฉุกเฉินแหงชาติ -กรมสงเสริมการปกครองสวนทองถ่ิน

1,558,364,022,700

Page 126: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

117

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะกลาง (พ.ศ. 2561 – 2564) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) 4) ศึกษาปจจัยท่ีเก่ียวของกับระบบการจัดสรรงบประมาณท่ีมีประสิทธิภาพ 5) ศึกษาความเหลื่อมล้ําของศักยภาพสถานบริการท่ีมีผลตอการเขาถึงบริการของประชาชน 6) พัฒนาคุณภาพขอมูล และมีระบบคืนกลับเพ่ือนําไปใชประโยชนในระดับพ้ืนท่ี

1) พัฒนาชุดสิทธิประโยชนทางการแพทย เพ่ือแรงงานในระบบประกันสังคมไดรับการรักษาตามมาตรฐานการรักษาท่ีมีการปรับปรุงในแตละชวงเวลา

กระทรวงแรงงาน (สํานักงาน

ประกันสังคม)

-

2) เพ่ิมประสิทธิภาพความคุมครองดานการสงเสริมสุขภาพและปองกันโรค เพ่ือใหแรงงานในระบบประกันสังคมมีคุณภาพชีวิตท่ีด ี

กระทรวงแรงงาน (สํานักงาน

ประกันสังคม)

-

3) บูรณาการระบบหลักประกันสุขภาพ 3 กองทุน เพ่ือพัฒนาประสิทธิภาพกลไกการบริหารดานการเงินการคลังในระบบบริการทางการแพทยประกันสังคม เพ่ือใหแรงงานไดรับการดูแลดานสุขภาพอยางมีประสิทธิภาพ

กระทรวงแรงงาน (สํานักงาน

ประกันสังคม)

112,384,554,600

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะยาว (พ.ศ. 2565 – 2573) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) บรรลุการมีหลักประกันสุขภาพถวนหนา รวมถึงการปองกันความเสี่ยงทางการเงิน การเขาถึงการบริการสาธารณสุขจําเปนท่ีมีคุณภาพ และเขาถึงยาและวัคซีนจําเปนท่ี

1) ศึกษาพัฒนากลไกเพ่ือลดความเหลื่อมล้ําในระบบประกันสุขภาพ 2) พัฒนามาตรฐานการจายเงินของแตละระบบหลักประกันสุขภาพภาครัฐท้ังสามระบบหลักใหแกสถานพยาบาลเพ่ือลดความเหลื่อมล้ํา ๓ กองทุน

แผนงานยุทธศาสตรพัฒนาระบบประกันสุขภาพ -สํานักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติ -กรมบัญชีกลาง -สํานกังานประกันสังคม -สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

1,558,364,022,700

Page 127: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

118

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะยาว (พ.ศ. 2565 – 2573) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) ปลอดภัย มีประสิทธิภาพ มีคุณภาพ และมีราคาท่ีสามารถซ้ือหาได

3) ศึกษาเพ่ือพัฒนาการจัดสรรทรัพยากรสําหรับหนวยบริการเพ่ือลดความเหลื่อมล้ํา 4) ศึกษาปจจัยท่ีเก่ียวของกับระบบการจัดสรรงบ ประมาณท่ีมีประสิทธิภาพ 5) ศึกษาความเหลื่อมล้ําของศักยภาพสถานบริการท่ีมีผลตอการเขาถึงบริการของประชาชน 6) พัฒนาคุณภาพขอมูล และมีระบบคืนกลับเพ่ือนําไปใชประโยชนในระดับพ้ืนท่ี

-สถาบันการแพทยฉุกเฉินแหงชาติ -กรมสงเสริมการปกครองสวนทองถ่ิน

1) เพ่ิมประสิทธิภาพความคุมครองดานการสงเสริมสุขภาพและปองกันโรค เพ่ือใหแรงงานในระบบประกันสังคมมีคุณภาพชีวิตท่ีดี มีหลักประกันสุขภาพตามกฎหมายประกันสังคมและกฎหมายเงินทดแทน

กระทรวงแรงงาน (สํานักงาน

ประกันสังคม)

-

2) บูรณาการระบบหลกัประกันสุขภาพ 3 กองทุน เพ่ือพัฒนาประสิทธิภาพกลไกการบริหารดานการเงิน การคลังในระบบบริการทางการแพทยประกันสังคม เพ่ือใหแรงงานไดรับการดูแลดานสุขภาพอยางมีประสิทธิภาพ

กระทรวงแรงงาน (สํานักงาน

ประกันสังคม)

243,200,000,000

Page 128: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

119

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

Roadmap SDG 3

เปาหมายท่ี 3 สรางหลักประกันวาคนมีชีวิตท่ีมีสุขภาพดีและสงเสริมสวัสดิภาพสําหรับทุกคนในทุกวัย เปาประสงคท่ี 3.9 ลดจํานวนการตายและการเจ็บปวยจากสารเคมีอันตรายและจากมลพิษและการปนเปอนทางอากาศ น้ํา และดิน ใหลดลงอยางมาก ภายในป

2573 ตัวช้ีวัดท่ี 3.9.1 อัตราการตายท่ีเกิดจากมลพิษทางอากาศในบานเรือนและในบรรยากาศ

(อัตราปวยดวยโรคทางเดินหายใจสวนลางจากมลพิษหมอกควันภาคเหนือ) (กรมอนามัย : อัตราการปวยและเสียชีวิตดวยโรคท่ีเก่ียวของกับมลพิษทางอากาศในบานเรือนและในบรรยากาศ 1) อัตราปวยและตายโรคระบบทางเดินหายใจทุกกลุมอายุ 2) อัตราปวยและตายจากโรคระบบหัวใจและหลอดเลือดทุกกลุมอาย)ุ

เปาหมาย 1. อัตราปวยดวยโรคทางเดินหายใจสวนลางจากมลพิษหมอกควันภาคเหนือ ตอแสนประชากร (ลดลงอยางนอยรอยละ 5 ตอป คิดจากฐานขอมูล ป 2558 = 2005.65 เฉลี่ยลดลงประมาณ 100 รายตอแสนประชากร) ป 2560=1900 ป 2561=1800 ป 2562=1700 ป 2563=1600 ป 2564=1500 2. อัตราการปวยและเสียชีวิตดวยโรคท่ีเก่ียวของกับมลพิษทางอากาศ ลดลงอยางนอยรอยละ 2 ตอป คิดจากฐานขอมูล (กรมอนามัย)

สถานภาพ มลพิษทางอากาศ สงผลกระทบตอสุขภาพอนามัยของประชาชน โดยเปนหนึ่งในปจจัยท่ีกอใหเกิดโรคระบบทางเดินหายใจ โรคระบบหัวใจและหลอดเลือด รวมท้ังโรคความดันโลหิตสูง หรือทําใหผูท่ีเปนโรคเหลานี้อยูแลวมีอาการกําเริบเฉียบพลันถึงเสียชีวิตได สารมลพิษทางอากาศบางชนิด เชน สารอินทรียระเหยงาย เปนสารกอมะเร็ง จากสถิติสุขภาพของประชากรไทย ป 2541 – 2556 พบวากลุมโรคระบบหัวใจและหลอดเลือด รวมท้ังความดันโลหิตสูงมีจํานวนผูปวยท่ีมากกวากลุมโรคอ่ืน แมวาในป 2556 ปริมาณไมเพ่ิมจากป 2555 มากนัก แนวโนม 5 ปท่ีผานมาเฉลี่ยเพ่ิมข้ึนรอยละ 10 ตอป จํานวนผูปวยโรคระบบทางเดินหายใจเพ่ิมข้ึนจากป 2555 รอยละ 8 อัตราการเสียชีวิตดวยโรคมะเร็งในป 2556 เพ่ิมข้ึนจากป 2555 รอยละ 6

Page 129: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

120

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

สถานภาพ ณ ปจจุบัน ประเทศไทยไดรบัผลกระทบจากปญหามลพิษทางอากาศท่ีเกิดจากไฟปาบริเวณเกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซียสงผลตอภาคใต ไดแก สุราษฎรธานี พังงา ภูเก็ต สตูล สงขลา ปตตานี ยะลา และนราธิวาส ตั้งแตวันท่ี 3 ตุลาคม 2558 สํานักงานปองกันควบคุมโรคท่ี 12 สงขลา และสํานักงานควบคุมโรคท่ี 11 นครศรีธรรมราช ใหการสนับสนุนหนากากอนามัย แกประชาชนท่ัวไป นอกจากนี้ ยังมีปญหามลพิษจากหมอกควันภาคเหนือตอนบนท่ีทวีความรุนแรงในพ้ืนท่ี 8 จังหวัด ไดแก เชียงใหม เชียงราย นาน พะเยา แพร แมฮองสอน ลําปาง ลําพูน โดยสํานักงานปองกันควบคุมโรคท่ี 1 เชียงใหม และหนวยงานเครือขายสํานักงานสาธารณสุข ตั้งแตโรงพยาบาลชุมชนข้ึนไป เฝาระวังในระยะหมอกควัน (มกราคม-เมษายน 2559) และอยูระหวางพัฒนาระบบขอมูลเฝาระวังในชวงระยะภาวะปกติ โดยเบื้องตนมีการเฝาระวังใน 4 กลุมโรค ไดแก กลุมโรคหัวใจและหลอดเลือดทุกชนิด กลุมโรคทางเดินหายใจทุกชนิด กลุมโรคตาอักเสบ และกลุมโรคผิวหนังอักเสบ - เม่ือพิจารณาอาการของโรค คาดวา โรคทางเดินหายใจสวนลาง (รหัส J40-47) แสดงถึงผลกระทบทางสุขภาพจากมลพิษทางอากาศของภาคเหนือจึงเลือกอัตราปวยของโรคนี้เปนตัวแทน โดยเก็บขอมูลท้ังป - จากขอมูลของระบบ HDC ณ วันท่ี 15 ธันวาคม 2559 พบวา ป 2558 มีอัตราปวยดวยโรคทางเดินหายใจสวนลาง (รหัส J40-47) จากมลพิษหมอกควันภาคเหนือของประชากรในเขตสุขภาพท่ี 1 เทากับ 2,005.65 ตอแสนประชากร กรมอนามัย มลพิษทางอากาศ สงผลกระทบตอสุขภาพอนามัยของประชาชน โดยเปนหนึ่งในปจจัยท่ีกอใหเกิดโรคระบบทางเดินหายใจ โรคระบบหัวใจและหลอดเลือด หรือทําใหผูท่ีเปนโรคเหลานี้อยูแลวมีอาการกําเริบเฉียบพลันถึงเสียชีวิตได 1) อัตราปวยและตายโรคระบบทางเดินหายใจทุกกลุมอายุ จากขอมูลบริการสุขภาพของสํานักนโยบายและยุทธศาสตร สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ท่ีรวบรวมขอมูลการเจ็บปวย ผูปวยนอกท่ีเขารับการรักษาตั้งแตป 2552 – 2556 พบวาโรคระบบทางเดินหายใจ คือ โรคท่ีมีการเขารับการรักษาสูงสุดเปนอันดับท่ี 1 ในทุกปท่ีผานมา ท้ังนี้ อัตราปวยอยูระหวาง 418.25 - 499.53 รายตอพันประชากร โดยมีอัตราปวยสูงสุดใน ป 2553 หลังจากนั้นแนวโนมการเจ็บปวย มีอัตราเขารับการรักษาลดลง 2) อัตราปวยและตายจากโรคระบบหัวใจและหลอดเลือดทุกกลุมอายุ จากขอมูลบริการสุขภาพของสํานักนโยบายและยุทธศาสตร สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ท่ีรวบรวมขอมูลการเจ็บปวย ผูปวยนอกท่ีเขารับการรักษาดวยโรคระบบหลอดเลือดและหัวใจ ตั้งแตป 2552 - 2556 อัตราปวยอยูระหวาง 306.42 - 425.72 รายตอพันประชากร โดยมีอัตราปวยสูงสุดในป 2553 หลังจากนั้น แนวโนมการเจ็บปวยมีอัตราเขารับการรักษาลดลงโดยในป 2556 มีผูเสียชีวิตดวยโรคระบบหลอดเลือดและหัวใจ จํานวน 54,530 คน เฉลี่ยเสียชีวิตวันละ 150 คนหรือเฉลี่ยชั่วโมงละ 6 คน

Page 130: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

121

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะสั้น (พ.ศ.2560) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) ลดจํานวนการตายและการเจ็บปวยจากสารเคมีอันตรายและจากมลพิษและการปนเปอนทางอากาศ น้ํา และดิน ใหลดลงอยางมาก ภายในป 2573

1. ระบบบริการสุขภาพและระบบเฝาระวังใหรองรับโรคและภัยสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดลอมท่ีเหมาะสมพ้ืนท่ีเสี่ยงในระดับจังหวัด 2. พัฒนา ปรับปรุงและเพ่ิมขีดความสามารถในการรองรับปริมาณน้ําเสียโรงพยาบาล ของระบบบําบัดน้ําเสีย ใหมีประสิทธิภาพ 3. พัฒนาระบบการจัดการมูลฝอยทุกประเภท โดยเฉพาะอยางยิ่งมูลฝอยติดเชื้อของเสียอันตราย และของเสียทางการแพทย ใหถูกสุขลักษณะและเปนไปตามกฎหมาย

- (ราง) แผนยุทธศาสตรอนามัยสิ่งแวดลอมแหงชาติ ฉบับท่ี 3 (พ.ศ.2560 - 2564) - แผนงานบูรณาการการบริหารจัดการขยะและสิ่งแวดลอม - แผนยุทธศาสตรคุมครองสุขภาพ ในพ้ืนท่ีเสี่ยงจากมลพิษสิ่งแวดลอม ป 2558 - 2567

กรมอนามัย กรมควบคุมโรคกรมการแพทย สนย.สป.

แผนแมบทบริหารจัดการขยะมูลฝอย ทส. มท. อก. วท. การดําเนินงานภายใตแผนตางๆ ท่ีเกี่ยวของ ไดแก - แผนยุทธศาสตรคุมครองสุขภาพในพ้ืนท่ีเสี่ยงจากมลพิษสิ่งแวดลอม ป 2558-2567 - แผนบูรณาการบริหารจัดการขยะและสิ่งแวดลอม ป 2560 - แผนยุทธศาสตรชาติระยะ 20 ป (ดานสาธารณสุข) โดยการดําเนินงานท่ีสําคัญ มีดังนี้ - การเฝาระวังและประเมินความเสี่ยงจากผลกระทบตอสุขภาพจากมลพิษอากาศ - การจัดทํามาตรฐานคาเฝาระวังระดับมลพิษทางอากาศ ท่ีอาจสงผลกระทบตอสุขภาพ - จัดทําแนวทางการเฝาระวังผลกระทบตอสุขภาพจากมลพิษอากาศ - การศึกษาวิจัยและพัฒนาชุดความรูการลดการสัมผัสมลพิษทางอากาศ - การพัฒนาระบบและกลไกการสื่อสารเตือนภัยผลกระทบตอสุขภาพของประชาชน

กรมอนามัย กรมการแพทย กรมควบคุมโรค

2,000,000

Page 131: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

122

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะสั้น (พ.ศ.2560) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) 4. พัฒนาปรับปรุงโครงสราง

เชน สวมใหไดตามมาตรฐาน HAS และมีระบบจัดการสิ่งปฏิกูลท่ีถูกตอง โรงครัวใหไดมาตรฐาน 5.สรางแรงจูงใจในการพัฒนาเปนองคกร บุคคลตนแบบในการจัดการสิ่งแวดลอมเพ่ือสุขภาพ 6.สรางจิตสรางสาธารณะในเรื่องขยะ การใชน้ํา การรีไซเคิล การประหยัดพลังงานรวมถึงการนํามาตรการ 3R มาใช 7.สนับสนุนเครื่องมือดานอาชีวอนามัยและอนามัยสิ่งแวดลอมท่ีสอดคลองกับพ้ืนท่ีเสี่ยงในระดับจังหวัด 8.พัฒนากฎหมาย/อนุบัญญัติและการบังคับใช

- การพัฒนาขีดความสามารถบุคลากรในการจัดการดานสุขภาพจากมลพิษอากาศ - กํากับติดตามและประเมินผลการดําเนินงาน - การจัดทําขอเสนอเชิงนโยบายการแกไขปญหาผลกระทบตอสุขภาพจากมลพิษอากาศ โครงการพัฒนาระบบการดูแลผูปวยท่ีไดรับผลกระทบจากมลพิษทางขยะ โครงการจัดทํารูปแบบการตอบสนองตอปญหาสิ่งแวดลอมของประเทศ โครงการพัฒนาการจัดการสารเคมีแหงชาติ โครงการซอมแผนตอบโตภาวะฉุกเฉินดานภัยสุขภาพรังสีและสารเคมีระดับประเทศและความรวมมือระหวางประเทศ โครงการเฝาระวัง ปองกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพของประชาชนและผูสัมผัสขยะ มาตรการดําเนินงาน : เฝาระวังและคัดกรองทางสุขภาพจากมลพิษทางสิ่งแวดลอม โดยผานการจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดลอมของหนวยบริการสาธารณสุข กิจกรรมหลัก 1. พัฒนาองคความรูและแนวทางการดําเนินงานเฝาระวัง ปองกัน ควบคุมโรคและผลกระทบตอสุขภาพจากมลพิษทางอากาศ

กรมการแพทย (รพ.นพรัตนราชธานี) กรมควบคุมโรค (สํานักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดลอม)

2,371,000

301,000

500,000

500,000

บูรณาการกิจกรรมอยูภายใตโครงการฯ ขยะ(ประมาณ 1,200,000

บาท)

Page 132: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

123

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะสั้น (พ.ศ.2560) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท)

2. สนับสนุนองคความรู/รูปแบบ/แนวทางการดําเนินงานใหกับหนวยงานท่ีเก่ียวของ 3. พัฒนากลไกการตอบโตภาวะฉุกเฉินฯ และจัดหาอุปกรณปองกันสนับสนุนแกหนวยงานเครือขาย 4. สื่อสารความเสี่ยงเพ่ือปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 5. ถอดบทเรียนและเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู 6. จัดทําสถานการณการเฝาระวังฯ ดานสิ่งแวดลอมและสุขภาพระดับประเทศ

สงเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย โดยบูรณาการผานกลไกประชารัฐ (Safety Thailand) 1. ควบคุม ดูแล และสนับสนุนใหสถานประกอบกิจการปฏิบัติตามมาตรฐานกฎหมายความปลอดภัยอาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางาน โดยการบังคับใชกฎหมายอยางเครงครัด 2. สรางความตระหนักรูดานความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดลอมในการทํางาน

กํากับ ดูแล ใหสถานประกอบกิจการปฏิบตัิตามกฎหมายและสนับสนุนใหแรงงานมีความปลอดภัยและสุขภาพอนามัยท่ีดีในการทํางาน - เปาหมายปงบประมาณ พ.ศ. 2560 กํากับดูแลใหสถานประกอบกิจการไดรับการการปฏิบัติตามกฎหมาย สนับสนุนใหแรงงานมีความปลอดภัยและสุขภาพอนามัยท่ีดีในการทํางาน จํานวน 14,000 แหง 557,800 คน

กระทรวงแรงงาน (กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน)

51,644,500

Page 133: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

124

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะสั้น (พ.ศ.2560) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) 3. บูรณาการงานดานความปลอดภัยและอาชีวอนามัยกับภาคสวนท่ีเก่ียวของ เพ่ือใหบรรลุเปาหมายตามนโยบายระเบียบวาระแหงชาติ “แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี” ระยะท่ี 2 (พ.ศ. 2560 – 2569) โดยอาศัยกลไกการดําเนินการภายใตแผนแมบทดานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางานแหงชาติ ฉบับท่ี 2 (พ.ศ. 2560 – 2564)

Page 134: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

125

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะกลาง (พ.ศ. 2561 – 2564) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) ลดจํานวนการตายและการเจ็บปวยจากสารเคมีอันตรายและจากมลพิษและการปนเปอนทางอากาศ น้ํา และดิน ใหลดลงอยางมาก ภายในป 2573

1. ระบบบริการสุขภาพและระบบเฝาระวังใหรองรับโรคและภัยสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดลอมท่ีเหมาะสมพ้ืนท่ีเสี่ยงในระดับจังหวัด 2. พัฒนา ปรับปรุงและเพ่ิมขีดความสามารถในการรองรับปริมาณน้ําเสียโรงพยาบาล ของระบบบําบัดน้ําเสีย ใหมีประสิทธิภาพ 3. พัฒนาระบบการจัดการมูลฝอยทุกประเภท โดยเฉพาะอยางยิ่งมูลฝอยติดเชื้อของเสียอันตราย และของเสียทางการแพทย ใหถูกสุขลักษณะและเปนไปตามกฎหมาย

โครงการจัดทํารูปแบบการจัดการสิ่งแวดลอม เรื่องโลกรอนและหมอกควันพิษ

กรมการแพทย (รพ.นพรัตนราชธานี)

845,000

โครงการตามแผนบูรณาการฯ ระดับชาติ : โครงการพัฒนาระบบเฝาระวัง ปองกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพจากมลพิษส่ิงแวดลอม (ดานอากาศ) (กรมควบคุมโรค) โครงการของกรมควบคุมโรค : โครงการเฝาระวัง ตรวจคัดกรองสุขภาพและการสื่อสารความเสี่ยงจากมลพิษทางอากาศแบบครบวงจร กลุมเปาหมาย : ประชาชนผูไดรับผลกระทบในพ้ืนท่ีหมอกควันไฟปาภาคเหนือ 9 จังหวัด และภาคใต 8 จังหวัด จํานวน 819,608 คน (9 จ. ภาคเหนือ ไดแก เชียงใหม, เชียงราย, นาน, พะเยา, แพร, ลําพูน, แมฮองสอน, ลําปาง, ตาก) (8 จ. ภาคใต ไดแก สุราษฎรธานี, ภูเก็ต, สงขลา, นราธิวาส, ยะลา, สตูล, ปตตานี, พังงา) มาตรการ/กิจกรรมการดําเนินงาน มาตรการท่ี 1 : เฝาระวัง ปองกันภัยสุขภาพและสื่อสารความเสี่ยงจากมลพิษทางอากาศ ผลผลิต : ประชาชนในพ้ืนท่ีท่ีมีปญหามลพิษทางอากาศไดรับการปองกันและดูแลสุขภาพจากการมีระบบเฝาระวังและประเมินความเสี่ยงสิ่งแวดลอมตอสุขภาพจากปญหามลพิษทางอากาศ (รอยละ 35 / จํานวน 286,863 คน จาก 819,608 คน)

กรมควบคุมโรค (สํานักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดลอม , สคร.1, 2, 11, 12)

2,660,000

Page 135: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

126

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะกลาง (พ.ศ. 2561 – 2564) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท)

4. พัฒนาปรับปรุงโครงสราง เชน สวมใหไดตามมาตรฐาน HAS และมีระบบจัดการสิ่งปฏิกูลท่ีถูกตอง โรงครัวใหไดมาตรฐาน 5.สรางแรงจูงใจในการพัฒนาเปนองคกร บุคคลตนแบบในการจัดการสิ่งแวดลอมเพ่ือสุขภาพ 6.สรางจิตสรางสาธารณะในเรื่องขยะ การใชน้ํา การรีไซเคิล การประหยัดพลังงานรวมถึงการนํามาตรการ 3R มาใช 7.สนับสนุนเครื่องมือดานอาชีวอนามัยและอนามัยสิ่งแวดลอมท่ีสอดคลองกับพ้ืนท่ีเสี่ยงในระดับจังหวัด 8.พัฒนากฎหมาย/อนุบัญญัติและการบังคับใช

กิจกรรมหลัก : เฝาระวัง ตรวจคัดกรองสุขภาพและการสื่อสารความเสี่ยงจากมลพิษทางอากาศในพ้ืนท่ีหมอกควันไฟปา ภาคเหนือ 9 จังหวัด และภาคใต 8 จังหวัด มาตรการท่ี 2 : พัฒนาชุมชนตนแบบในการจัดการปญหามลพิษทางอากาศแบบครบวงจร (มาตรการใหมป 61) ผลผลิต : ชุมชนตนแบบในการจัดการปญหามลพิษทางอากาศแบบครบวงจรตามเกณฑท่ีกําหนด (10 แหง) กิจกรรมหลัก : การพัฒนาเกณฑของชุมชนตนแบบในการจัดการปญหามลพิษทางอากาศแบบครบวงจร กิจกรรมการดําเนินงาน กิจกรรมของสํานักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดลอม 1. พัฒนาองคความรูทางวิชาการ คูมือ เกณฑ แนวทาง มาตรฐาน ตนแบบ เทคโนโลยีในการตรวจวิเคราะหทางหองปฏิบัติการ และการคัดกรองสุขภาพ เพ่ือการเฝาระวังฯ ปญหามลพิษทางอากาศ และการพัฒนาการจัดบริการอาชีวอนามัยและเวชกรรมสิ่งแวดลอมของหนวยบริการสาธารณสุข 2. พัฒนาระบบขอมูลขาวสาร และสารสนเทศ 3. พัฒนาระบบตอบโตภาวะฉุกเฉิน 4. พัฒนาการสื่อสารความเสี่ยง ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพประชาชนท่ีไดรับผลกระทบจากปญหามลพิษทางอากาศ 5. พัฒนาเกณฑและสนับสนุนการพัฒนาชุมชนตนแบบในการจัดการปญหามลพิษทางอากาศแบบครบวงจร

Page 136: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

127

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะกลาง (พ.ศ. 2561 – 2564) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท)

กิจกรรมของ สคร.1 , 2 , 11 , 12 : เฝาระวังฯ ปญหาหมอกควัน และสนับสนุนการดําเนินงานของเครือขายในพ้ืนท่ี โครงการคุมครองสุขภาพประชาชนจากมลพิษส่ิงแวดลอมในพ้ืนท่ีเส่ียงปญหาหมอกควัน กิจกรรมหลัก 1. พัฒนาระบบ กลไกการจัดการปญหาจากมลพิษสิ่งแวดลอมสุขภาพ 1.1 ตรวจประเมิน กํากับติดตาม และใหคําปรึกษาในการแกไขปญหาอนามัยสิ่งแวดลอมในพ้ืนท่ี 2. การพัฒนาระบบเฝาระวัง สื่อสารเตือนภัย และตอบโตภาวะฉุกเฉิน 2.1 สื่อสารความเสี่ยง ประชาสัมพันธ 2.2 ตอบโตภาวะฉุกเฉินฯ 3. พัฒนาองคความรู เทคโนโลยีและนวัตกรรม 3.1 จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู ถอดบทเรียนการดําเนินงาน 4. การพัฒนาขีดความสามารถบุคลากรภาคีเครือขาย และสรางความเขมแข็งชุมชน 4.1 พัฒนาศักยภาพเจาหนาท่ีและภาคีเครือขายดานสิ่งแวดลอมและสุขภาพ 4.2 พัฒนาศักยภาพแกนนํา อสม. 4.3 พัฒนาตนแบบการเฝาระวังอนามัยสิ่งแวดลอมในชุมชน

สสจ. 17 จังหวัด (9 จว. ภาคเหนือ

และ 8 จว. ภาคใต)

77,050,000

Page 137: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

128

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะกลาง (พ.ศ. 2561 – 2564) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) 5. พัฒนาระบบบริการอาชีวอนามัยและเวชกรรมสิ่งแวดลอม

5.1 สสจ. สนับสนุนการจัดบริการอาชีวอนามัยและเวชกรรมสิ่งแวดลอมใหกับโรงพยาบาลในพ้ืนท่ี 5.2 รพ.จัดบริการอาชีวอนามัยและเวชกรรมสิ่งแวดลอม 5.3 เฝาระวังทางสุขภาพ โดยการตรวจคัดกรองทางสุขภาพในประชาชนกลุมเสี่ยง ตรวจสุขภาพท่ัวไป/แบบสอบถาม โครงการเฝาระวัง ตรวจคัดกรองสุขภาพและการส่ือสารความเส่ียงจากมลพิษทางอากาศแบบครบวงจร กลุมเปาหมาย : ประชาชนผูไดรับผลกระทบในพ้ืนท่ีหมอกควันไฟปาภาคเหนือ 9 จังหวัด และภาคใต 8 จังหวัด จํานวน 819,608 คน (9 จ. ภาคเหนือ ไดแก เชียงใหม, เชียงราย, นาน, พะเยา, แพร, ลําพูน, แมฮองสอน, ลําปาง, ตาก) (8 จ. ภาคใต ไดแก สุราษฎรธานี, ภูเก็ต, สงขลา, นราธิวาส, ยะลา, สตูล, ปตตานี, พังงา) มาตรการ/กิจกรรมการดําเนินงาน มาตรการท่ี 1 : เฝาระวัง ปองกันภัยสุขภาพและสื่อสารความเสี่ยงจากมลพิษทางอากาศ ผลผลิต : ประชาชนในพ้ืนท่ีท่ีมีปญหามลพิษทางอากาศไดรับการปองกันและดูแลสุขภาพจากการมีระบบเฝาระวังและประเมินความเสี่ยงสิ่งแวดลอมตอสุขภาพจากปญหามลพิษทางอากาศ (รอยละ 40 / จํานวน 327,843 คน จาก 819,608 คน)

กรมควบคุมโรค (สํานักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดลอม , สคร.1, 2, 11, 12)

8,500,000

Page 138: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

129

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะกลาง (พ.ศ. 2561 – 2564) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท)

กิจกรรมหลัก : เฝาระวัง ตรวจคัดกรองสุขภาพและการสื่อสารความเสี่ยงจากมลพิษทางอากาศในพ้ืนท่ีหมอกควันไฟปา ภาคเหนือ 9 จังหวัด และภาคใต 8 จังหวัด มาตรการท่ี 2 : พัฒนาชุมชนตนแบบในการจัดการปญหามลพิษทางอากาศแบบครบวงจร ผลผลิต : ชุมชนตนแบบในการจัดการปญหามลพิษทางอากาศแบบครบวงจรตามเกณฑท่ีกําหนด (20 แหง) กิจกรรมหลัก : การสนับสนุนการพัฒนาชุมชนตนแบบในการจัดการปญหามลพิษทางอากาศแบบครบวงจร กิจกรรมการดําเนินงาน กิจกรรมของสํานักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดลอม 1. พัฒนาองคความรูทางวิชาการ คูมือ เกณฑ แนวทาง มาตรฐาน ตนแบบ เทคโนโลยีในการตรวจวิเคราะหทางหองปฏิบัติการ และการคัดกรองสุขภาพ เพ่ือการเฝาระวังฯ ปญหามลพิษทางอากาศ และการพัฒนาการจัดบริการอาชีวอนามัยและเวชกรรมสิ่งแวดลอมของหนวยบริการสาธารณสุข 2. บริหารจัดการระบบขอมูลขาวสาร และสารสนเทศ 3. บริหารจดัการระบบตอบโตภาวะฉุกเฉิน 4. พัฒนาการสื่อสารความเสี่ยง ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพประชาชนท่ีไดรับผลกระทบจากปญหามลพิษทางอากาศ

Page 139: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

130

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะกลาง (พ.ศ. 2561 – 2564) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท)

5. สนับสนุนการพัฒนาชุมชนตนแบบในการจัดการปญหามลพิษทางอากาศแบบครบวงจร กิจกรรมของ สคร.1 , 2 , 11 , 12 : เฝาระวังฯ ปญหาหมอกควัน และสนับสนุนการดําเนินงานของเครือขายในพ้ืนท่ี

สงเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย โดยบูรณาการผานกลไกประชารัฐ (Safety Thailand) 1. ควบคุม ดูแล และสนับสนนุใหสถานประกอบกิจการปฏิบัติตามมาตรฐานกฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพ แวดลอมในการทํางาน โดยการบังคับใชกฎหมายอยางเครงครัด 2. สรางความตระหนักรูดานความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดลอมในการทํางาน 3. บูรณาการงานดานความปลอดภัยและอาชีวอนามัยกับภาคสวนท่ีเก่ียวของ เพ่ือให

โครงการความปลอดภัยและอาชีวอนามัยของประเทศไทย (Safety Thailand) - เปาหมายปงบประมาณพ.ศ. 2561 กํากับดูแลใหสถานประกอบกิจการไดรับการปฏิบัติตามกฎหมาย สนับสนุนใหแรงงานมีความปลอดภัยและสุขภาพอนามัยท่ีดีในการทํางาน จํานวน 14,000 แหง 600,000 คน

กระทรวงแรงงาน (กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน)

54,226,700

Page 140: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

131

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะกลาง (พ.ศ. 2561 – 2564) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) บรรลุเปาหมายตามนโยบายระเบียบวาระแหงชาติ “แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี” ระยะท่ี 2 (พ.ศ. 2560 – 2569) โดยอาศัยกลไกการดําเนินการภายใตแผนแมบทดานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางานแหงชาติ ฉบับท่ี 2 (พ.ศ. 2560 – 2564)

Page 141: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

132

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะยาว (พ.ศ.2565 – 2573) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) ลดจํานวนการตายและการเจ็บปวยจากสารเคมีอันตรายและจากมลพิษและการปนเปอนทางอากาศ น้ํา และดิน ใหลดลงอยางมาก ภายในป 2573

1. ระบบบริการสุขภาพและระบบเฝาระวังใหรองรับโรคและภัยสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดลอมท่ีเหมาะสมพ้ืนท่ีเสี่ยงในระดับจังหวัด 2. พัฒนา ปรับปรุงและเพ่ิมขีดความสามารถในการรองรับปริมาณน้ําเสียโรงพยาบาล ของระบบบําบัดน้ําเสีย ใหมีประสิทธิภาพ 3. พัฒนาระบบการจัดการมูลฝอยทุกประเภท โดยเฉพาะอยางยิ่งมูลฝอยติดเชื้อของเสียอันตราย และของเสียทางการแพทย ใหถูกสุขลักษณะและเปนไปตามกฎหมาย

- (ราง) แผนยุทธศาสตรอนามัยสิ่งแวดลอมแหงชาติ ฉบับท่ี 3 (พ.ศ.2560 - 2564) - แผนงานบูรณาการการบริหารจัดการขยะและสิ่งแวดลอม - แผนยุทธศาสตรคุมครองสุขภาพ ในพ้ืนท่ีเสี่ยงจากมลพิษสิ่งแวดลอม ป 2558 – 2567 1. โครงการเฝาระวัง ตรวจคัดกรองสุขภาพและการส่ือสารความเส่ียงจากมลพิษทางอากาศแบบครบวงจร มาตรการท่ี 1 : เฝาระวัง ปองกันภัยสุขภาพและสื่อสารความเสี่ยงจากมลพิษทางอากาศ กิจกรรมหลัก : เฝาระวัง ตรวจคัดกรองสุขภาพและการสื่อสารความเสี่ยงจากมลพิษทางอากาศในพ้ืนท่ีหมอกควันไฟปา ภาคเหนือ 9 จังหวัด และภาคใต 8 จังหวัด มาตรการท่ี 2 : พัฒนาชุมชนตนแบบในการจัดการปญหามลพิษทางอากาศแบบครบวงจร กิจกรรมหลัก : การสนับสนนุการพัฒนาชุมชนตนแบบในการจัดการปญหามลพิษทางอากาศแบบครบวงจร กิจกรรม 1.ทบทวน ปรับปรุงองคความรูทางวิชาการ คูมือ เกณฑ แนวทาง มาตรฐาน ตนแบบ นวัตกรรม เทคโนโลยีในการตรวจวิเคราะหทางหองปฏิบัติการ และการคัดกรองสุขภาพ เพ่ือการเฝาระวังฯ ปญหามลพิษทางอากาศ และการพัฒนาการจัดบริการ อาชีวอนามัยและเวชกรรมสิ่งแวดลอมของหนวยบริการสาธารณสุข

กรมอนามัย (หลัก) กรมควบคุมโรคกรมการแพทย สนย.สป. (รายงาน)

1,000,000,000

Page 142: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

133

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะยาว (พ.ศ.2565 – 2573) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) 4. พัฒนาปรับปรุงโครงสราง เชน

สวมใหไดตามมาตรฐาน HAS และมีระบบจัดการสิ่งปฏิกูลท่ีถูกตอง โรงครัวใหไดมาตรฐาน 5.สรางแรงจูงใจในการพัฒนาเปนองคกร บุคคลตนแบบในการจัดการสิ่งแวดลอมเพ่ือสุขภาพ 6.สรางจิตสรางสาธารณะในเรื่องขยะ การใชน้ํา การรีไซเคิล การประหยัดพลงังานรวมถึงการนํามาตรการ 3R มาใช 7.สนับสนุนเครื่องมือดานอาชีวอนามัยและอนามัยสิ่งแวดลอมท่ีสอดคลองกับพ้ืนท่ีเสี่ยงในระดับจังหวัด 8.พัฒนากฎหมาย/อนุบัญญัติและการบังคับใช

2.บริหารจัดการระบบขอมูลขาวสาร และสารสนเทศ 3.บริหารจัดการระบบตอบโตภาวะฉุกเฉิน 4.พัฒนาการสื่อสารความเสี่ยง ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพประชาชน สนับสนุนการดําเนินงานชุมชนตนแบบในการจัดการปญหามลพิษทางอากาศแบบครบวงจร 2. โครงการคุมครองสุขภาพประชาชนจากมลพิษส่ิงแวดลอมในพ้ืนท่ีเส่ียงปญหาหมอกควัน กิจกรรมหลัก : (1) พัฒนาระบบ กลไกการจัดการปญหาจากมลพิษ

สิ่งแวดลอมสุขภาพ โดยตรวจประเมิน กํากับติดตาม

และใหคําปรึกษาในการแกไขปญหาอนามัยสิ่งแวดลอม

ในพ้ืนท่ี

(2) พัฒนาระบบเฝาระวัง สื่อสารเตือนภัย และตอบโตภาวะ

ฉุกเฉิน โดยการสื่อสารความเสี่ยง ประชาสัมพันธ และ

ตอบโตภาวะฉุกเฉินฯ

(3) พัฒนาองคความรู เทคโนโลยีและนวัตกรรม

(4) พัฒนาศักยภาพบุคลากรภาคีเครือขาย และสรางความ

เขมแข็งชุมชนดานสิ่งแวดลอมและสุขภาพโดยพัฒนา

ตนแบบการเฝาระวังอนามัยสิ่งแวดลอมในชุมชน

(5) พัฒนาระบบบริการอาชีวอนามัยและเวชกรรม

สิ่งแวดลอม ท้ังระดบั สสจ. และ รพ.

Page 143: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

134

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะยาว (พ.ศ.2565 – 2573) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) การดําเนินงานภายใตแผนตางๆ ท่ีเกี่ยวของ ไดแก

- แผนยุทธศาสตรคุมครองสุขภาพ ในพ้ืนท่ีเสี่ยงจากมลพิษสิ่งแวดลอม ป 2558-2567 แผนยุทธศาสตรชาติระยะ 20 ป (ดานสาธารณสุข) โดยการดําเนินงานท่ีสําคัญ มีดังนี้ - การพัฒนาระบบสารสนเทศ เพ่ือการเฝาระวังผลกระทบตอสุขภาพจากมลพิษทางอากาศ ดวยประชาชนเอง และปฏิบัติเพ่ือลดการไดรับสัมผัสมลพิษอากาศ - การศึกษาภาระโรคจากรไดรับสัมผัสมลพิษทางอากาศในบรรยากาศ - พัฒนาการจัดทําคามาตรฐานเฝาระวังผลกระทบตอสุขภาพจากมลพิษอากาศใหครอบคลุม - การพัฒนาระบบและกลไกการสื่อสารเตือนภัยผลกระทบตอสุขภาพของประชาชน - กํากับติดตามและประเมินผลการดําเนินงาน - อ่ืนๆ

กรมอนามัย

9,000,000

สงเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย โดยบูรณาการผานกลไกประชารัฐ (Safety Thailand) 1. ควบคุม ดูแล และสนับสนุนใหสถานประกอบกิจการปฏิบัติตามมาตรฐานกฎหมายความ

โครงการความปลอดภัยและอาชีวอนามัยของประเทศไทย (Safety Thailand)

กระทรวงแรงงาน (กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน)

56,938,100

Page 144: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

135

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะยาว (พ.ศ.2565 – 2573) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) ปลอดภัยอาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางาน โดยการบังคับใชกฎหมายอยางเครงครัด 2. สรางความตระหนักรูดานความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดลอมในการทํางาน 3. บูรณาการงานดานความปลอดภัยและอาชีวอนามัยกับภาคสวนท่ีเก่ียวของ เพ่ือใหบรรลุเปาหมายตามนโยบายระเบียบวาระแหงชาติ “แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี” ระยะท่ี 2 (พ.ศ. 2560 – 2569) โดยอาศัยกลไกการดําเนินการภายใตแผนแมบทดานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางานแหงชาติ ฉบับท่ี 2 (พ.ศ. 2560 – 2564)

Page 145: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

136

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

Roadmap SDG 3

เปาหมายท่ี 3 สรางหลักประกันวาคนมีชีวิตท่ีมีสุขภาพดีและสงเสริมสวัสดิภาพสําหรับทุกคนในทุกวัย เปาประสงคท่ี 3.9 ลดจํานวนการตายและการเจ็บปวยจากสารเคมีอันตรายและจากมลพิษและการปนเปอนทางอากาศ น้ํา และดิน ใหลดลงอยางมาก ภายในป 2573 ตัวช้ีวัดท่ี 3.9.2 อัตราการตายท่ีเกิดจากน้ํา สุขอนามัย ท่ีไมปลอดภัย และปราศจากสุขลักษณะ (การเปดเผยบริการชะลางท่ีไมปลอดภัย)

(อัตราการตายเนื่องจากสารเคมีอันตราย มลภาวะในน้ําและในดิน และการปนเปอน)

เปาหมาย 1. อัตราปวยดวยโรคพิษตะก่ัว ตอแสนประชากร ป 2558=0.05 ป 2559=0.06 ป 2560 =0.05 ป 2561=0.04 ป 2562 =0.03 ป 2563=0.02 ป 2564 =0.01 2. อัตราปวยดวยโรคพิษสารกําจัดศัตรูพืชตอแสนประชากร ป 2558=17.12 ป 2559=14.47 ป 2560=12 ป 2561=10 ป 2562=8 ป 2563=6 ป 2564=4

สถานภาพ จากสถานการณสารอันตรายท้ังภาคเกษตรกรรมและอุตสาหกรรม อาจไมไดสะทอนถึงสารเคมีท่ีเปนอันตรายและกอเกิดปญหามลพิษโดยตรง แตเปนเพียงขอมูลใหทราบวาประเทศไทยมีการใชสารเคมีชนิดใดในปริมาณมากในลําดับตนๆ ซ่ึงบงบอกถึงความเสี่ยงท่ีเพ่ิมข้ึนจากอันตรายของสารพิษและสารเคมีตางๆหากไมมีการจัดการอยางเหมาะสม อยางไรก็ตาม ประเทศไทยยังมีการควบคุมสารเคมีท่ีมีความเปนพิษสูงและมีความเปนอันตราย โดยกําหนดใหเปนวัตถุอันตรายตามพระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 ท่ีตองควบคุมการผลิต นําเขา สงออก และมีไวในครอบครอง โดยหนวยงานท่ีกํากับจะมีการปรับปรุงรายชื่อสารอันตรายท่ีตองควบคุมอยางตอเนื่อง สําหรับสารเคมีอันตรายจากภาคอุตสาหกรรมท่ีเปนตัวแทนของสารโลหะหนัก ปจจุบันมีการตรวจวินิจฉัยโรคพิษตะก่ัว ซ่ึงสามารถทําไดโดยท่ัวไป โดยตรวจหาระดับตะก่ัวในเลือด และมีการจัดเก็บขอมูลในระบบขอมูลของกระทรวงสาธารณสุข (HDC) โดยกลุมอาชีวเวชกรรมในโรงพยาบาลสามารถวินิจฉัยโรคพิษตะก่ัว และบันทึกขอมูลในระบบ HDC ขอจํากัดของระบบนี้คือไมมีการตรวจสอบความถูกตอง (Verify) มาตรการท่ีจะสงเสริมใหการดําเนินงานตามตัวชี้วัดสําเร็จท่ีหนวยงานตางๆ มีรวมกัน ไดแก 1. นโยบายลดการปนเปอนตะก่ัวในเด็ก 2. โรคพิษตะก่ัวเปน 1 ใน 7 กลุมโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดลอม เปาหมายของกรมควบคุมโรค 3. มาตรการดานสิ่งแวดลอม ในการลดสารตะก่ัวในศูนยเด็กเล็ก และนโยบายลดการปนเปอน โดยการใชสีท่ีปราศจากการปนเปอนสารตะก่ัว

Page 146: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

137

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

สถานภาพ - จากฐานขอมูล HDC พบวา มีอัตราปวยดวยพิษโลหะหนัก ในป 2558 เทากับ 0.05 ตอแสนประชากร และในป 2559 เทากับ 0.06 ตอแสนประชากร ซ่ึงเปนผูปวยดวยโรคพิษตะก่ัวท้ังหมด - ในสวนของภาคเกษตรกรรมพบวา ประเทศไทยนําเขาสารกําจัดศัตรูพืช มากกวาปละ 1 แสนตัน ทําใหมีการเฝาระวัง อัตราปวยดวยโรคพิษสารกําจัดศัตรูพืช มาตั้งแตป 2554 แตในป 2558 ไดปรับปรุงระบบขอมูลสุขภาพ เปนระบบ HDC พบวาขอมูลอัตราปวยดวยโรคพิษสารกําจัดศัตรูพืช ป 2558 เทากับ 17.12 ตอแสนประชากร และอัตราปวยป 2559 เทากับ 14.47 ตอแสนประชากร หมายเหตุ 1. ขอมูลอัตราปวยป 2558 ดึงขอมูลจากระบบ HDC ณ วันท่ี 10 ม.ค.60 2. ขอมูลอัตราปวยป 2559 ดึงขอมูลจากระบบ HDC ณ วันท่ี 15 ธ.ค. 59 3. ขอมูลจํานวนประชากรจากทะเบียนราษฎร จาก HDC service

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะสั้น (พ.ศ.2560) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) ลดจํานวนการตายและการเจ็บปวยจากสารเคมีอันตรายและจากมลพิษและการปนเปอนทางอากาศ น้ํา และดิน ใหลดลงอยางมาก ภายในป 2573

1. ระบบบริการสุขภาพและระบบเฝาระวังใหรองรับโรคและภัยสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดลอมท่ีเหมาะสมพ้ืนท่ีเสี่ยงในระดับจังหวัด 2. พัฒนา ปรับปรุงและเพ่ิมขีดความสามารถในการรองรับปริมาณน้ําเสียโรงพยาบาล ของระบบบําบัดน้ําเสีย ใหมีประสิทธิภาพ 3. พัฒนาระบบการจัดการมูลฝอยทุกประเภท โดยเฉพาะอยางยิ่งมูลฝอยติดเชื้อของเสีย

- (ราง) แผนยุทธศาสตรอนามัยสิ่งแวดลอมแหงชาติ ฉบับท่ี 3 (พ.ศ.2560 - 2564) - แผนงานบูรณาการการบริหารจัดการขยะและสิ่งแวดลอม - แผนยุทธศาสตรคุมครองสุขภาพ ในพ้ืนท่ีเสี่ยงจากมลพิษสิ่งแวดลอม ป 2558 – 2567

- กรมอนามัย - กรมควบคุมโรค - กรมการแพทย - สํานักงานคณะ กรรมการอาหารและยา - สนย.สป.

โครงการเฝาระวัง ปองกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพของประชาชนและผูสัมผัสขยะ มาตรการท่ี 1 : เฝาระวังและคัดกรองทางสุขภาพจากมลพิษทางสิ่งแวดลอม โดยผานการจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดลอมของหนวยบริการสาธารณสุข

กรมควบคุมโรค (สํานักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดลอม , สคร. 1 – 12 และ สปคม.)

21,401,700

Page 147: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

138

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะสั้น (พ.ศ.2560) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) อันตราย และของเสียทางการแพทย ใหถูกสุขลักษณะและเปนไปตามกฎหมาย 4. พัฒนาปรับปรุงโครงสราง เชน สวมใหไดตามมาตรฐาน HAS และมีระบบจัดการสิ่งปฏิกูลท่ีถูกตอง โรงครัวใหไดมาตรฐาน 5.สรางแรงจูงใจในการพัฒนาเปนองคกร บุคคลตนแบบในการจัดการสิ่งแวดลอมเพ่ือสุขภาพ 6.สรางจิตสรางสาธารณะในเรื่องขยะ การใชน้ํา การรีไซเคิล การประหยัดพลังงานรวมถึงการนํามาตรการ 3R มาใช 7.สนับสนุนเครื่องมือดานอาชีวอนามัยและอนามัยสิ่งแวดลอมท่ีสอดคลองกับพ้ืนท่ีเสี่ยงในระดับจังหวัด 8.พัฒนากฎหมาย/อนุบัญญัติและการบังคับใช

กิจกรรมหลัก 1.1 ผลักดันนโยบายการขับเคลื่อนผานหนวยบริการสาธารณสุขทุกระดับ และองคกรปกครองสวนทองถ่ินใหหนวยงานท่ีเก่ียวของออกกฎหมาย มาตรฐาน 1.2 สรางกระบวนการเชิงนโยบายกับเครือขาย 1.3 พัฒนาองคความรูและแนวทางการดําเนินงานเฝาระวัง ปองกัน ควบคุมโรคและผลกระทบตอสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดลอม 1.4 พัฒนาศักยภาพทางหองปฏิบัติการ 1.5 พัฒนาและสนับสนุนองคความรู/รูปแบบ/แนวทางการดําเนินงานใหกับหนวยงานท่ีเก่ียวของ 1.6 มีกระบวนการเฝาระวังฯ และจัดบริการเชิงรุก เชิงรับ 1.7 ประสานงานเครือขายและสนับสนุนใหมีการดําเนินงานเฝาระวังสุขภาพในประชาชนกลุมเปาหมาย 1.8 พัฒนากลไกการตอบโตภาวะฉุกเฉินดานโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดลอม 1.9 พัฒนาหลักสูตรการสอบสวนโรคและภัยสุขภาพจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดลอม 1.10 ถายทอดแนวทางการดําเนินงาน ประสานขอมูลและดําเนินงานรวมกับภาคีเครือขาย 1.11 สื่อสารความเสี่ยงเพ่ือปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ โดยเฉพาะพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพของผูปกครองเพ่ือปองกันตนเองจากพิษตะก่ัว

Page 148: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

139

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะสั้น (พ.ศ.2560) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) 1.12 สรางมาตรการทองถ่ินเพ่ือปรับเปลี่ยนสภาพแวดลอมรวมกับกรมอนามัยใหสุขศึกษาระดับบุคคล , ครอบครัว , บาน 1.13 สนับสนุนการดําเนินงานโครงการพระราชดําริ (ตะก่ัวท่ีอุมผาง จ.ตาก) 1.14 เฝาระวังโรคจากการสัมผัสสารตะก่ัวในเด็กปฐมวัย 1.15 เฝาระวัง ปองกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพจากพิษตะก่ัว ท่ีหวยคลิตี้ จ.กาญจนบุรี โดยลงพ้ืนท่ีเก็บตัวอยางในประชาชนกลุมเปาหมาย ตรวจวิเคราะหทางหองปฏิบัติการ วิเคราะหผล และดําเนินการเฝาระวังทางสุขภาพอยางตอเนื่อง 1.16 รวมติดตามและประเมินผลการดําเนินงานกับหนวยงานเครือขายในพ้ืนท่ี 1.17 ถอดบทเรียนและเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู 1.18 จัดทําสถานการณการเฝาระวังฯ ดานสิ่งแวดลอมและสุขภาพ มาตรการท่ี 2 : บูรณาการดําเนินงานปองกันผลกระทบตอสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดลอม กิจกรรมหลัก 2.1 ขับเคลื่อนนโยบายการจัดการผลกระทบฯ ผานหนวยงานทองถ่ิน และบูรณาการงานรวมกับกรมอนามัย 2.2 พัฒนากฎหมายโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดลอม 2.3 พัฒนาหลักสูตร อบรม อสม./อสอช. ดานโรคและภัยสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดลอม

Page 149: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

140

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะสั้น (พ.ศ.2560) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) 2.4 บูรณาการหลักสูตรอาชีวอนามัยและสิ่งแวดลอม และพัฒนาบุคลากรของทองถ่ินระดับเทศบาลและหนวยงานเครือขาย ใหสามารถดําเนินการเฝาระวังและดูแลสุขภาพดานโรคและภัยสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดลอม 2.5 พัฒนาการรับรูและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมระดับบุคคล (Self - care) (พัฒนาคูมือ , อุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล) 2.6 ประสาน/สรางพ้ืนท่ีตนแบบดานสิ่งแวดลอม 2.7 สราง model / ถายทอดเครือขายเพ่ือดําเนินการในพ้ืนท่ี / กําหนดพ้ืนท่ีเปาหมายรวมกับเครือขาย 2.8 จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรูในพ้ืนท่ี โครงการจัดทําทําเนียบรายการสารเคมีท่ีมีอยูในประเทศไทย (Thailand Existing Chemicals Inventory)

- สํานกังานคณะ กรรมการอาหารและยา - กระทรวงการคลัง - กระทรวงเกษตรและสหกรณ - กระทรวงอุตสาหกรรม - กระทรวงกลาโหม - กระทรวงพลังงาน - กระทรวงวิทยาศาสตร และเทคโนโลยี - การนิคมอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย

1,181,000

Page 150: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

141

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะสั้น (พ.ศ.2560) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) การปองกัน ควบคุมปจจัยเส่ียงจากการประกอบอาชีพในกลุม

แรงงานนอกระบบ มาตรการท่ี 1 : สรางการจัดบริการอาชีวอนามัยใหแรงงานในชุมชน กิจกรรมหลัก 1.1 ขับเคลื่อนนโยบายการสงเสริมปองกันโรคจากการประกอบอาชีพสําหรับกลุมแรงงานนอกระบบ 1.2 พัฒนาและสนับสนุนองคความรู แนวทางการดําเนินงาน ขอมูล แลกเปลี่ยนขอคิดเห็นการเฝาระวังฯ และขอคิดเห็นการสงเสริมปองกันโรคจากการประกอบอาชีพสําหรับกลุมแรงงานนอกระบบ 1.3 ปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรเพ่ือพัฒนาศักยภาพของบุคลากรหรือเจาหนาท่ีสาธารณสุขสําหรับกลุมแรงงานนอกระบบ 1.4 พัฒนาผลิตภัณฑการเฝาระวังโรคและภัยสุขภาพฯ 1.5 พัฒนาเทคนิคทางหองปฏิบัติการสําหรับตรวจสารกําจัดศัตรูพืช 1.6 พัฒนาศักยภาพเครือขายใหกับเจาหนาท่ีในพ้ืนท่ีในการจัดบริการอาชีวอนามัยใหแรงงานในชุมชนในหนวยบริการปฐมภูมิ (รพสต. และ/หรือ PCU ของ รพช.) 1.7 สนับสนุนเสริมสรางความเขมแข็งการจัดการเฝาระวัง ปองกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพจากการประกอบอาชีพ เชน Reactive paper , องคความรู , สื่อประชาสัมพันธ

- กรมควบคุมโรค (สํานักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดลอม, สคร.1- 12) - สสจ. 77 จังหวัด

6,700,000

Page 151: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

142

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะสั้น (พ.ศ.2560) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) 1.8 พัฒนาระบบการเชื่อมโยงขอมูลการคัดกรองสุขภาพตามระบบขอมูลสุขภาพ ICD10 และเชื่อมโยงระบบขอมูลของ สปสช. ในกลุมแรงงานนอกระบบ 1.9 ติดตาม ประเมินผลการดําเนินงานจัดบริการอาชีวอนามัยใหแรงงานในชุมชน 1.10 สนับสนุนติดตามการดําเนินงานของเครือขายและพ้ืนท่ี 1.11 ถอดบทเรียนและจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู มาตรการท่ี 2 : สรางและพัฒนาความรวมมือของเครือขายเพ่ือการลดปจจยัเสี่ยงในการทํางานของแรงงานในชุมชนและแรงงานนอกระบบ กิจกรรมหลัก 2.1 ขับเคลื่อนนโยบาย “ลดการใชสารกําจัดศัตรูพืช” 2.2 พัฒนาศักยภาพ เสริมสรางความเขมแข็งเครือขายพ้ืนท่ีตนแบบลด ละ เลิกการใชสารกําจัดศัตรูพืชในพ้ืนท่ี

3,850,000

แผนงานการจัดทําแนวทางการควบคุมสารเคมีกําจัดศัตรูพืชเพ่ือสรางความม่ันคงทางสุขภาพของเกษตรกรและผูบริโภค

อย. (หนวยงานหลัก) กษ./ก.การคลัง วท./องคกรภาคประชาสังคม องคกรภาคเอกชน

6,000,000

Page 152: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

143

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะกลาง (พ.ศ. 2561 – 2564) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) ลดจํานวนการตายและการเจ็บปวยจากสารเคมีอันตรายและจากมลพิษและการปนเปอนทางอากาศ น้ํา และดิน ใหลดลงอยางมาก ภายในป 2573

1. ระบบบริการสุขภาพและระบบเฝาระวังใหรองรับโรคและภัยสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดลอมท่ีเหมาะสมพ้ืนท่ีเสี่ยงในระดับจังหวัด 2. พัฒนา ปรับปรุงและเพ่ิมขีดความสามารถในการรองรับปริมาณน้ําเสียโรงพยาบาล ของระบบบําบัดน้ําเสีย ใหมีประสิทธิภาพ 3. พัฒนาระบบการจัดการมูลฝอยทุกประเภท โดยเฉพาะอยางยิ่งมูลฝอยติดเชื้อของเสียอันตราย และของเสียทางการแพทย ใหถูกสุขลักษณะและเปนไปตามกฎหมาย 4. พัฒนาปรับปรุงโครงสราง เชน สวมใหไดตามมาตรฐาน HAS และมีระบบจัดการสิ่งปฏิกูลท่ีถูกตอง โรงครัวใหไดมาตรฐาน

- แผนยุทธศาสตรการจัดการสารเคมีแหงชาติ ฉบับท่ี 4 (พ.ศ.2555-2564) - แผนงานบูรณาการการบริหารจัดการขยะและสิ่งแวดลอม - แผนยุทธศาสตรการคุมครองสุขภาพในพ้ืนท่ีเสี่ยงจากมลพิษสิ่งแวดลอม ป 2558-2567

- กรมอนามัย - กรมควบคุมโรค - ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

200,000,000

ขับเคลื่อนการดําเนินงานตามแผนแมบทการจัดการสวมและสิ่งปฏิกูลของประเทศไทย พ.ศ.2560-2569

กรมอนามัย (สํานักอนามัยสิ่งแวดลอม)

- จัดทํายุทธศาสตรการเฝาระวังคุณภาพน้ําบริโภคของประชาชน - จัดทําฐานขอมูลระบบสารสนเทศสถานการณคุณภาพน้ําบริโภคประเทศไทย - พัฒนาเครื่องมือ/อุปกรณ/นวัตกรรม สนับสนุนการตรวจวิเคราะหน้ําบริโภค ภาคสนาม - ติดตามเฝาระวังคุณภาพน้ําบริโภค อยางตอเนื่อง - วิเคราะห/ประเมิน/พยากรณคุณภาพน้ําดวยแบบจําลองทางคณิตศาสตร

กรมอนามัย (สํานักสุขาภิบาลอาหารและน้ํา)

โครงการคุมครองสุขภาพประชาชนจากมลพิษส่ิงแวดลอมในพ้ืนท่ีเส่ียง (Hot Zone) มาตรการท่ี 1 : การดําเนินการมีสวนรวมกับการดําเนินงาน EHIA

กรมควบคุมโรค (สํานักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดลอม , สคร. 1 – 12 และ สปคม.)

Page 153: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

144

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะกลาง (พ.ศ. 2561 – 2564) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) 5.สรางแรงจูงใจในการพัฒนาเปนองคกร บุคคลตนแบบในการจัดการสิ่งแวดลอมเพ่ือสุขภาพ 6.สรางจิตสรางสาธารณะในเรื่องขยะ การใชน้ํา การรีไซเคิล การประหยัดพลังงานรวมถึงการนํามาตรการ 3R มาใช 7.สนับสนุนเครื่องมือดาน อาชีวอนามัยและอนามัยสิ่งแวดลอมท่ีสอดคลองกับพ้ืนท่ีเสี่ยงในระดับจังหวัด 8.พัฒนากฎหมาย/อนุบัญญัติและการบังคับใช

มาตรการท่ี 2 : การประเมิน จัดการความเสี่ยงทางสิ่งแวดลอมและเฝาระวังทางสุขภาพในพ้ืนท่ีเสี่ยง มาตรการท่ี 3 : การจัดการปญหาผลกระทบตอสุขภาพจากสิ่งแวดลอม และเยียวยา การดําเนินงานเฝาระวัง ปองกัน ควบคุมปจจัยเส่ียงดานโรคและภัยสุขภาพจากการประกอบอาชีพในกลุมแรงงานนอกระบบ

- กรมควบคุมโรค (สํานักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดลอม , สคร. 1 - 12) - สสจ. 77 จังหวัด

Page 154: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

145

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะยาว (พ.ศ.2565 – 2573) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) ลดจํานวนการตายและการเจ็บปวยจากสารเคมีอันตรายและจากมลพิษและการปนเปอนทางอากาศ น้ํา และดิน ใหลดลงอยางมาก ภายในป 2573

1. ระบบบริการสุขภาพและระบบเฝาระวังใหรองรับโรคและภัยสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดลอมท่ีเหมาะสมพ้ืนท่ีเสี่ยงในระดับจังหวัด 2. พัฒนา ปรับปรุงและเพ่ิมขีดความสามารถในการรองรับปริมาณน้ําเสียโรงพยาบาล ของระบบบําบัดน้ําเสีย ใหมีประสิทธิภาพ 3. พัฒนาระบบการจัดการมูลฝอยทุกประเภท โดยเฉพาะอยางยิ่งมูลฝอยติดเชื้อของเสียอันตราย และของเสียทางการแพทย ใหถูกสุขลักษณะและเปนไปตามกฎหมาย 4. พัฒนาปรับปรุงโครงสราง เชน สวมใหไดตามมาตรฐาน HAS และมีระบบจัดการสิ่งปฏิกูลท่ีถูกตอง โรงครัวใหไดมาตรฐาน

- เฝาระวังคุณภาพน้ําบริโภคท่ีมีความเสี่ยงตอการปนเปอนมลพิษ สารเคมี สารเคมีเกษตร ในน้ําบริโภคทุแหลงใหครอบคลุมท่ัวประเทศ

กรมอนามัย (สํานักสุขาภิบาลอาหารและน้ํา)

15,000,000

Page 155: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

146

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะยาว (พ.ศ.2565 – 2573) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) 5.สรางแรงจูงใจในการพัฒนาเปนองคกร บุคคลตนแบบในการจัดการสิ่งแวดลอมเพ่ือสุขภาพ 6.สรางจิตสรางสาธารณะในเรื่องขยะ การใชน้ํา การรีไซเคิล การประหยัดพลังงานรวมถึงการนํามาตรการ 3R มาใช 7.สนับสนุนเครื่องมือดานอาชีวอนามัยและอนามัยสิ่งแวดลอมท่ีสอดคลองกับพ้ืนท่ีเสี่ยงในระดับจังหวัด 8.พัฒนากฎหมาย/อนุบัญญัติและการบังคับใช

Page 156: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

147

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

Roadmap SDG 3

เปาหมายท่ี 3 สรางหลักประกันวาคนมีชีวิตท่ีมีสุขภาพดีและสงเสริมสวัสดิภาพสําหรับทุกคนในทุกวัย เปาประสงคท่ี 3.9 ลดจํานวนการตายและการเจ็บปวยจากสารเคมีอันตรายและจากมลพิษและการปนเปอนทางอากาศ น้ํา และดิน ใหลดลงอยางมาก ภายในป 2573 ตัวช้ีวัดท่ี 3.9.3 อัตราการตายท่ีเกิดจากการไดรับสารพิษโดยไมตั้งใจ

เปาหมาย ลดจํานวนการตายและการเจ็บปวยจากสารเคมีอันตรายและจากมลพิษและการปนเปอนทางอากาศ น้ํา และดิน ใหลดลงอยางมาก ภายในป 2573 สถานภาพ

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะสั้น(พ.ศ.2560) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) ลดจํานวนการตายและการเจ็บปวยจากสารเคมีอันตรายและจากมลพิษและการปนเปอนทางอากาศ น้ํา และดิน ใหลดลงอยางมาก ภายในป 2573

1. ระบบบริการสุขภาพและระบบเฝาระวังใหรองรับโรคและภัยสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดลอมท่ีเหมาะสมพ้ืนท่ีเสี่ยงในระดับจังหวัด 2. พัฒนา ปรับปรุงและเพ่ิมขีดความสามารถในการรองรับปริมาณน้ําเสียโรงพยาบาล ของระบบบําบัดน้ําเสีย ใหมีประสิทธิภาพ 3. พัฒนาระบบการจัดการมูลฝอยทุกประเภท โดยเฉพาะอยางยิ่งมูลฝอยติดเชื้อของเสียอันตราย และของเสียทางการแพทย ใหถูกสุขลักษณะและเปนไปตามกฎหมาย

- (ราง) แผนยุทธศาสตรอนามัยสิ่งแวดลอมแหงชาติ ฉบับท่ี 3 (พ.ศ.2560 - 2564) - แผนงานบรูณาการการบริหารจัดการขยะและสิ่งแวดลอม - แผนยุทธศาสตรคุมครองสุขภาพ ในพ้ืนท่ีเสี่ยงจากมลพิษสิ่งแวดลอม ป 2558 – 2567

- กรมอนามัย - กรมควบคุมโรค - กรมการแพทย - อย. - สนย.สป.

20,000,000 1. การพัฒนาองคความรู แนวทางการเฝาระวังอันตรายจากการรับสัมผัสสารพิษและสารเคมี 2. การเฝาระวัง ปองกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพจากการรับสัมผัสสารพิษและสารเคมี 3. การพัฒนาสื่อประชาสัมพันธ และสื่อสารความเสี่ยงเก่ียวกับอันตรายจากสารพิษและสารเคมี 4. การพัฒนาระบบการตอบโตภาวะฉุกเฉินกรณีเกิดการแพรกระจายสารพิษและสารเคมี

กรมควบคุมโรค

Page 157: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

148

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะสั้น(พ.ศ.2560) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) 4. พัฒนาปรับปรุงโครงสราง เชน สวมใหไดตามมาตรฐาน HAS และมีระบบจัดการสิ่งปฏิกูลท่ีถูกตอง ไดมาตรฐาน 5.สรางแรงจูงใจในการพัฒนาเปนองคกร บุคคลตนแบบในการจัดการสิ่งแวดลอมเพ่ือสุขภาพ 6.สรางจิตสรางสาธารณะในเรื่องขยะ การใชน้ํา การรีไซเคิล การประหยัดพลังงานรวมถึงการนํามาตรการ 3R มาใช 7.สนับสนุนเครื่องมือดานอาชีวอนามัยและอนามัยสิ่งแวดลอมท่ีสอดคลองกับพ้ืนท่ีเสี่ยงในระดับจังหวัด 8.พัฒนากฎหมาย/อนุบัญญัติและการบังคับใช

5. การพัฒนาระบบขอมูลและการรายงานการรับสัมผัสสารพิษของประชาชน 6. การพัฒนาศักยภาพบุคลากรในการดําเนินงานเฝาระวังอันตรายจากการรับสัมผัสสารพิษและสารเคมี 7. การสนับสนุน และติดตามการดําเนินงานของเครือขายและพ้ืนท่ี สงเสริมการพัฒนาอนามัยสิ่งแวดลอมในโรงพยาบาล ตามเกณฑ GREEN and CLEAN Hospital (สงเสริมการบริโภคพืชผักปลอดสารเคมี และการผลิตและใชปุยอินทรียในโรงพยาบาล และชุมชน)

กรมอนามัย (สํานักอนามัยสิ่งแวดลอม)

500,000

วิจัยและพัฒนาแนวทางการจัดการของเสียท่ีมีสารปรอทอยางปลอดภัย

550000

Page 158: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

149

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะกลาง (พ.ศ. 2561 - 2564) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) ลดจํานวนการตายและการเจ็บปวยจากสารเคมีอันตรายและจากมลพิษและการปนเปอนทางอากาศ น้ํา และดิน ใหลดลงอยางมาก ภายในป 2573

1. ระบบบริการสุขภาพและระบบเฝาระวังใหรองรับโรคและภัยสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดลอมท่ีเหมาะสมพ้ืนท่ีเสี่ยงในระดับจังหวัด 2. พัฒนา ปรับปรุงและเพ่ิมขีดความสามารถในการรองรับปริมาณน้ําเสียโรงพยาบาล ของระบบบําบัดน้ําเสีย ใหมีประสิทธิภาพ 3. พัฒนาระบบการจัดการมูลฝอยทุกประเภท โดยเฉพาะอยางยิ่งมูลฝอยติดเชื้อของเสียอันตราย และของเสียทางการแพทย ใหถูกสุขลักษณะและเปนไปตามกฎหมาย 4. พัฒนาปรับปรุงโครงสราง เชน สวมใหไดตามมาตรฐาน HAS และมีระบบจัดการสิ่งปฏิกูลท่ีถูกตอง ไดมาตรฐาน 5.สรางแรงจูงใจในการพัฒนาเปนองคกร บุคคลตนแบบในการจัดการสิ่งแวดลอมเพ่ือสุขภาพ 6.สรางจิตสรางสาธารณะในเรื่องขยะ การใชน้ํา การรีไซเคิล การประหยัดพลังงานรวมถึงการนํามาตรการ 3R มาใช

พัฒนาระบบและกลไกการเฝาระวังปญหาผลกระทบตอสุขภาพและสิ่งแวดลอมจากของเสียทางการแพทยท่ีมีการปนเปอนสารเคมีอันตรายและโลหะหนัก

กรมอนามัย (สํานักอนามัยสิ่งแวดลอม)

50,000,000

พัฒนาอนามัยสิ่งแวดลอมท่ีปลอดภัยสําหรับเด็ก (ในสถานท่ีและพ้ืนท่ีเสี่ยงปนเปอนสารเคมีและโลหะหนัก)

12,000,000

1. การพัฒนาองคความรู แนวทางการเฝาระวังอันตรายจากการรับสัมผัสสารพิษและสารเคมี 2. การเฝาระวัง ปองกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพจากการรับสัมผัสสารพิษและสารเคมี 3. การพัฒนาสื่อประชาสัมพันธ และสื่อสารความเสี่ยงเก่ียวกับอันตรายจากสารพิษและสารเคมี 4. การพัฒนาระบบการตอบโตภาวะฉุกเฉินกรณีเกิดการแพรกระจายสารพิษและสารเคมี 5. การพัฒนาระบบขอมูลและการรายงานการรับสัมผัสสารพิษของประชาชน 6. การพัฒนาศักยภาพบุคลากรในการดําเนินงานเฝาระวังอันตรายจากการรับสัมผัสสารพิษและสารเคมี 7. การสนับสนุน และติดตามการดําเนินงานของเครือขายและพ้ืนท่ี

กรมควบคุมโรค 100,000,000

Page 159: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

150

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะกลาง (พ.ศ. 2561 - 2564) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท)

7.สนับสนุนเครื่องมือดานอาชีวอนามัยและอนามัยสิ่งแวดลอมท่ีสอดคลองกับพ้ืนท่ีเสี่ยงในระดับจังหวัด 8.พัฒนากฎหมาย/อนุบัญญัติและการบังคับใช

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะยาว (พ.ศ.2565 – 2573) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) ลดจํานวนการตายและการเจ็บปวยจากสารเคมีอันตรายและจากมลพิษและการปนเปอนทางอากาศ น้ํา และดิน ใหลดลงอยางมาก ภายในป 2573

1. ระบบบริการสุขภาพและระบบเฝาระวังใหรองรับโรคและภัยสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดลอมท่ีเหมาะสมพ้ืนท่ีเสี่ยงในระดับจังหวัด 2. พัฒนา ปรับปรุงและเพ่ิมขีดความสามารถในการรองรับปริมาณน้ําเสียโรงพยาบาล ของระบบบําบัดน้ําเสีย ใหมีประสิทธิภาพ 3. พัฒนาระบบการจัดการมูลฝอยทุกประเภท โดยเฉพาะอยางยิ่งมูลฝอยติดเชื้อของเสียอันตราย และของเสียทางการแพทย ใหถูกสุขลักษณะและเปนไปตามกฎหมาย

1. การพัฒนาองคความรู แนวทางการเฝาระวังอันตรายจากการรับสัมผัสสารพิษและสารเคมี 2. การเฝาระวัง ปองกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพจากการรับสัมผัสสารพิษและสารเคมี 3. การพัฒนาสื่อประชาสัมพันธ และสื่อสารความเสี่ยงเก่ียวกับอันตรายจากสารพิษและสารเคมี 4. การพัฒนาระบบการตอบโตภาวะฉุกเฉินกรณีเกิดการแพรกระจายสารพิษและสารเคมี 5. การพัฒนาระบบขอมูลและการรายงานการรับสัมผัสสารพิษของประชาชน 6. การพัฒนาศักยภาพบุคลากรในการดําเนินงานเฝาระวังอันตรายจากการรับสัมผัสสารพิษและสารเคมี 7. การสนับสนุน และติดตามการดําเนินงานของเครือขายและพ้ืนท่ี

กรมควบคุมโรค 500,000,000

Page 160: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

151

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะยาว (พ.ศ.2565 – 2573) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) 4. พัฒนาปรับปรุงโครงสราง เชน สวมใหไดตามมาตรฐาน HAS และมีระบบจัดการสิ่งปฏิกูลท่ีถูกตอง ไดมาตรฐาน 5.สรางแรงจูงใจในการพัฒนาเปนองคกร บุคคลตนแบบในการจัดการสิ่งแวดลอมเพ่ือสุขภาพ 6.สรางจิตสรางสาธารณะในเรื่องขยะ การใชน้ํา การรีไซเคิล การประหยัดพลังงานรวมถึงการนํามาตรการ 3R มาใช 7.สนับสนุนเครื่องมือดานอาชีวอนามัยและอนามัยสิ่งแวดลอมท่ีสอดคลองกับพ้ืนท่ีเสี่ยงในระดับจังหวัด 8.พัฒนากฎหมาย/อนุบัญญัติและการบังคับใช

Page 161: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

152

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

Roadmap SDG 3

เปาหมายท่ี 3 สรางหลักประกันวาคนมีชีวิตท่ีมีสุขภาพดีและสงเสริมสวัสดิภาพสําหรับทุกคนในทุกวยั เปาประสงคท่ี 3.a เสริมการดําเนินงานของกรอบอนุสัญญาขององคการอนามัยโลกวาดวยการควบคุมยาสูบในทุกประเทศตามความเหมาะสม ตัวช้ีวัดท่ี 3.a.1 ความชุกของการปรับมาตรฐานอายุของผูท่ีสูบบุหรี่ในปจจุบันในจํานวนผูสูบบุหรี่ท่ีมีอายุตั้งแต 15 ปข้ึนไป

เปาหมาย ลดการบริโภคยาสูบ 30% ป 2568 อัตราการบริโภคยาสูบไมเกินรอยละ 15 หรือจํานวนผูสูบบุหรี่ไมเกิน 9 ลานคน สถานภาพ - การสํารวจการสูบบุหรี่ของประชากรไทย ปลาสุด (พ.ศ. 2558)พบวา ประชากรท่ีมีอายุ 15 ปข้ึนไป มีผูสูบบุหรี่ 10.9 ลานคน คิดเปนรอยละ 19.9ภาพรวม

พบวา ในชวงป 10 ปท่ีผานมา (พ.ศ. 2547– 2557) อัตราการสูบบุหรี่มีแนวโนมลดลงเล็กนอย จากรอยละ 23.0 เปนรอยละ 20.7 และลาสุด ในป พ.ศ.2558 อัตราการบริโภคยาสูบ คิดเปนรอยละ 19.9 ซ่ึงเม่ือเทียบกับการสํารวจครั้งท่ีผานมา (พ.ศ. 2557) พบวา ท้ังเพศชายและหญิงมีอัตราการสูบบุหรี่ลดลง ท้ังนี้ อัตราการสูบบุหรี่ของเพศชายยังคงสูงกวาเพศหญิงประมาณ 20 เทา - เม่ือพิจารณารายกลุมอายุพบวา อัตราการบริโภคยาสูบในกลุม วัยทํางานอายุ 25-59 ป มีการสูบบุหรี่สูงท่ีสุด โดยกลุมอายุ 25-59 ป และ 60 ปข้ึน มีแนวโนมอัตราการสูบบุหรี่ท่ีสูงข้ึน จากรอยละ 22.79 และ รอยละ 14.25 เปน รอยละ 23.54 และ รอยละ 16.63 อีกท้ังมีอัตราการปวยและตายจากโรคท่ีเก่ียวของกับยาสูบเพ่ิมข้ึน -การสูบบุหรี่ของเยาวชน ในชวงป 10 ปท่ีผานมา (พ.ศ. 2547– 2557) พบวา อัตราการสูบบุหรี่มีแนวโนมเพ่ิมข้ึน จากรอยละ 6.58 เปนรอยละ 8.25 โดยเฉพาะในกลุมเยาวชนผูหญิงมีการสูบบุหรี่โรงงานเพ่ิมข้ึน จากการสํารวจครั้งลาสุด (พ.ศ.2558)เปรียบเทียบกับครั้งท่ีผานมา (พ.ศ. 2557) พบวาอัตราการบริโภคยาสูบลดลงจากรอยละ 8.25เปน7.92แตอายุเฉลี่ยของเยาวชนท่ีเริ่มสูบกลับมีแนวโนมลดลง อีกท้ังพบวาเยาวชนมีการเขาถึงผลิตภัณฑยาสูบรูปแบบใหมๆเพ่ิมข้ึน โดยอุตสาหกรรมยาสูบ เนนการใชกลยุทธสื่อออนไลน social marketing ท่ีเขามาเปนสวนสําคัญ ซ่ึงกฎหมายปจจุบันยังไมสามารถดําเนินการได และกลุมเยาวชนยังขาดความเขาใจและตระหนักถึงพิษภัยของยาสูบท่ีถูกตอง - ท้ังนี้จากเปาหมาย NCDs global target จะตองลดอัตราการบริโภคลงใหไดภายในป 2568 อยางนอยรอยละ 30 ดังนั้น การทําใหผูเสพเลิกยาสูบไดก็มีสวนสําคัญในการดําเนินงานดังกลาว โดยระบบบริการชวยเลิกบุหรี่ในปจจุบัน : ประชาชนยังไมเขาถึงและยังขาดรูปแบบ/แนวทางท่ีชัดเจน เปนมาตรฐานเดียวกัน /ความครอบคลุมของการใหบริการ/การติดตาม/สงตอ

Page 162: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

153

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะสั้น(พ.ศ.2560) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) เสริมการดําเนินงานของกรอบอนุสัญญาขององคการอนามัยโลกวาดวยการควบคุมยาสูบตามความเหมาะสม

1.สนับสนุนและเพ่ิมการเขาถึงสถานบริการชวยเลิกบุหรี่และเหลาในสถานบริการและชุมชน 2.บังคับใชกฎหมายท่ีเก่ียวของทุกมาตรา 3.สงเสริม สนับสนุนและรวมกับหนวยงานระดับจังหวัดในการดําเนินงานเฝาระวังการสูบบุหรี่และดื่มเหลาหนาใหม โดยเฉพาะเยาวชนในพ้ืนท่ีท้ังโรงเรียน/สถานศึกษาและชุมชน 4.สรางความตระหนักรูอยางเขมงวดในกลุมผูปวยโรคเรื้อรังใหเลิกสูบบุหรี่และดื่มสุรา 5.เพ่ิมศักยภาพทุกภาคีเครือขายในตําบลจัดการสุขภาพใหสามารถควบคุมและจัดการปญหาการสูบบุหรี่และดื่มสุราในชุมชน และสถานท่ีสาธารณะ

สรางเสริมความเขมแข็งและพัฒนาขีดความสามารถในการควบคุมยาสูบของประเทศ 1. ผลักดันนโยบายควบคุมยาสูบตามกรอบอนุสัญญาขององคการอนามัยโลก - พัฒนานโยบาย/มาตรการ/แนวทาง ควบคุมยาสูบของประเทศไทยท่ีสอดคลองตามพันธกรณีของอนุสัญญาการควบคุมยาสูบขององคการอนามัยโลก 2.พัฒนาโครงสรางและบริหารจัดการเพ่ือสรางความรวมมือดานการควบคุมยาสูบแบบบูรณาการในทุกระดับ - พัฒนาโครงสรางและกลไกดานการดําเนินงานควบคุมยาสูบในระดับสวนกลางและระดับจังหวัด - กําหนดเปาหมายและแผนการดําเนินงานควบคุมยาสูบในระดับจังหวัด (โครงการจังหวัดปลอดบุหรี่) - ติดตามประเมินผลการดําเนินนโยบาย/มาตรการควบคุมยาสูบ - พัฒนา/จัดทํารูปแบบการดําเนินงานยาสูบในองคกรปกครองสวนทองถ่ินเพ่ือสนับสนุนการดําเนินงานควบคุมยาสูบระดับพ้ืนท่ี 3.พัฒนาศักยภาพและขีดความสามารถของบุคลากรและภาคีเครือขาย - พัฒนาศักยภาพพนักงานเจาหนาท่ี/บุคลากรใหมีความรูสมรรถนะ/ทักษะในการดําเนินงานเฝาระวัง/ควบคุมยาสูบ - ผลักดันและจัดการศึกษา/หลักสูตรท่ีเก่ียวของกับการควบคุมยาสูบเพ่ือพัฒนาศักยภาพบุคลากร

- กรมควบคุมโรค - สํานักงานปลัด กระทรวงสาธารณสุข - เครอืขายวิชาชีพสุขภาพเพ่ือสังคม ไทยปลอดบุหรี่ - มูลนิธิรณรงคเพ่ือการไมสูบบุหรี่ - ศูนยวิจัยและจัดการความรูเพ่ือการควบคุมยาสูบ - สํานักงานสถิติแหงชาติ - กรมสงเสริมการปกครองสวนทองถ่ิน - สํานักงานกองทุนสนับสนนุการสรางเสริมสุขภาพ - Southeast Asia Tobacco Control Alliance

122,000,000

Page 163: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

154

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะสั้น(พ.ศ.2560) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) 4.พัฒนาระบบเฝาระวัง ควบคุมกํากับ และติดตามประเมินการควบคุมยาสูบทุกระดับ - พัฒนาระบบและกลไกความรวมมือเพ่ือการเฝาระวังควบคุมยาสูบ 5.สนับสนุนการศึกษาวิจัยและการจัดการความรูเพ่ือการควบคุมยาสูบ - จัดทํางานวิจัยหรือนวัตกรรมท่ีสนับสนุนการปองกันมิใหเกิดผูเสพยาสูบรายใหมและการชวยใหเลิกเสพยาสูบ - รวบรวมแลกเปลี่ยนและเผยแพรความรู /นวัตกรรมดานการควบคุมยาสูบสูสาธารณะชน 6.ปรับปรุงกฎหมายและระบบการบังคับใชกฎหมายท่ีเอ้ือตอการควบคุมยาสูบ - พัฒนา/ปรับปรุงพระราชบัญญัติประกาศกระทรวง กฎหรือระเบียบอ่ืนๆท่ีเก่ียวของกับการควบคุมยาสูบ - ประสาน ควบคุม กํากับติดตามการบังคับใชกฎหมายควบคุมยาสูบ

ปองกันมิใหเกิดผูเสพยาสูบรายใหมและเฝาระวังธุรกิจยาสูบท่ีมุงเปาไปยังเด็ก เยาวชน และนักสูบหนาใหม 1. สรางความตระหนัก จิตสํานึกในพิษภัยยาสูบ คานิยมการไมสูบบุหรี่ใหกับเยาวชนและประชาชนท่ัวไป และพัฒนาสื่อ การสื่อสารท่ีเขาถึงใจผูบริโภค 2. สรางสิ่งแวดลอมทางกายภาพและสังคมเพ่ือเอ้ือตอการไมสูบบุหรี่ของเยาวชน 3. พัฒนาศักยภาพแกนนําและเครือขายเพ่ือปองกันนักสูบหนาใหม (โครงการโรงเรียนปลอดบุหรี่)

- กรมควบคุมโรค - กรมอนามัย - กระทรวงทองเท่ียวและกีฬา - วธ. /- ศธ. - กระทรวงดิจิทัลฯ - เครือขายครูนักรณรงคเพ่ือการไมสูบบุหรี ่

30,000,000

Page 164: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

155

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะสั้น(พ.ศ.2560) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) 4. เฝาระวัง ควบคุม และบังคับใชกฎหมายท่ีเก่ียวของกับธุรกิจยาสูบในสถานศึกษาและกลุมเยาวชน - สรางเครือขาย เด็ก และเยาวชนในการเฝาระวัง - พัฒนาศักยภาพ พัฒนาองคความรู ตลอดจนหลักสูตรและกิจกรรมใหรูเทาทันสื่อ และมีทักษะการเฝาระวัง

- สํานักงานสงเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ เด็ก เยาวชน

ชวยผูเสพใหเลิกใชยาสูบ 1.พัฒนาคุณภาพระบบบริการเลิกยาสูบ และสายดวนเลิกบุหรี ่- สรางความครอบคลุมใหบริการบําบัดผูเสพยาสูบในสถานบริการสาธารณสุขทุกระดับ 2.พัฒนาศักยภาพบุคลากร และภาคีตางๆท่ีเก่ียวของท่ีเปนผูใหบริการเลิกยาสูบ - พัฒนาความสามารถบุคลากรสาธารณสุขในดานการใหบริการชวยเลิกยาสูบในสถานบริการทุกระดับ 3.สรางเสริมพลังชุมชนและเครือขายเพ่ือการบําบัดผูเสพยาสูบ

- กรมควบคุมโรค - สป.สธ. - กรมการแพทย - กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ - เครือขายวิชาชีพสุขภาพฯ

52,000,000

- โครงการ 3 ลาน 3 ป เลิกบุหรี่ท่ัวไทย เทิดไทองคราชัน - ขยายศักยภาพการบริการของศูนยบริการเลิกบุหรี่ทาง โทรศัพทแหงชาติ (Quitline 1600) - ผลักดันยาเลิกบุหรี่มาตรฐานเขาบัญชียาหลักแหงชาติ

- Quitline1600 - มูลนิธิรณรงคเพ่ือการไมสูบบุหรี่ - สมาพันธเครือขายแหงชาติเพ่ือสังคมไทยปลอดบุหรี่ - กรมสงเสริมการปกครองทองถ่ิน

Page 165: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

156

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะสั้น(พ.ศ.2560) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) ควบคุมและเปดเผยสวน ประกอบผลิตภัณฑยาสูบ

1. ปรับปรุงกฎหมาย แนวทางการดําเนินการวาดวยการจดแจงสวนประกอบฯ ใหเปนไปตามพันธะกรณีระหวางประเทศ WHO FCTC 2.เฝาระวังและเผยแพรขอมูลสารอันตรายของผลิตภัณฑยาสูบ - เผยแพรขอมูลเก่ียวกับสารอันตรายในผลิตภัณฑยาสูบตอสาธารณชน

- กรมควบคุมโรค - สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข - กรมการแพทย

3,500,000

ทําส่ิงแวดลอมใหปลอดควันบุหรี่ 1.ปรับปรุงกฎหมายใหสถานท่ีสาธารณะและสถานท่ีทํางานทุกแหงปลอดควันบุหรี่ 100 % 2. สงเสริมสนับสนุนใหมีการปฏิบัติตามกฎหมายในทุกท่ีท่ีกําหนดใหปลอดควันบุหรี่ - ปรับปรุงมาตรฐานงานตางๆท่ีเก่ียวของเพ่ือชวยเอ้ือใหสถานท่ีปลอดควันบุหรี่ - ปรับปรุงประกาศกระทรวง กฎหรือระเบียบอ่ืนๆเพ่ือใหสอดคลองและเอ้ือตอการปฏิบัติตามกฎหมายวาดวยการคุมครองสุขภาพของผูไมสูบบุหรี่ - สรางความตระหนักและใหความรูแกหนวยงานองคกรและสถานประกอบการ - บูรณาการการทําสิ่งแวดลอมปลอดควันบุหรี่ในโครงการตางๆ รวมท้ังในสถานท่ีสาธารณะ 3. ดําเนินการบังคับใชกฎหมายอยางจริงจังและมีประสิทธิภาพ - ปรับปรุงประเภทและอํานาจหนาท่ีของพนักงาน/เจาหนาท่ี

- กระทรวงสาธารณสุข - กระทรวงศึกษา ธิการ - กระทรวงวัฒนธรรม - กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย - กระทรวงมหาดไทย - กระทรวงการทองเท่ียวและกีฬา - กทม.และเมืองพัทยา

70,000,000

Page 166: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

157

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะสั้น(พ.ศ.2560) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) - ปรับปรุงกระบวนวิธีการดําเนินการบังคับใชกฎหมายใหมีประสิทธิภาพ 4.ปรับเปลี่ยน ทัศนคติ พฤติกรรม และคานิยมของการเสพยาสูบเพ่ือใหการไมสูบบุหรี่ในบาน สถานท่ีทํางานและสถานท่ีสาธารณะเปนบรรทัดฐานของสังคมไทย 5.เฝาระวังและควบคุมกํากับและประเมินผลการทําสิ่งแวดลอมปลอดควันบุหรี่ มาตรการทางภาษีและปราบปรามเพ่ือควบคุมยาสูบ 1.ปรับปรุงโครงสรางภาษียาสูบ 2.ปองกันและปราบปรามยาสูบท่ีผิดกฎหมาย

- กรมสรรพสามิต - สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง - กรมควบคุมโรค - กรมศุลกากร - สํานักงานกองทุนสนับสนนุการสรางเสริมสุขภาพ

30,000,000

Page 167: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

158

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะกลาง (พ.ศ. 2561 - 2564) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) เสริมการดําเนินงานของกรอบอนุสัญญาขององคการอนามัยโลกวาดวยการควบคุมยาสูบตามความเหมาะสม

1.สนับสนุนและเพ่ิมการเขาถึงสถานบริการชวยเลิกบุหรี่และเหลาในสถานบริการและชุมชน 2.บังคับใชกฎหมายท่ีเก่ียวของทุกมาตรา 3.สงเสริม สนับสนุนและรวมกับหนวยงานระดับจังหวัดในการดําเนินงานเฝาระวังการสูบบุหรี่และดื่มเหลาหนาใหม โดยเฉพาะเยาวชนในพ้ืนท่ีท้ังโรงเรียน/สถานศึกษาและชุมชน 4.สรางความตระหนักรูอยางเขมงวดในกลุมผูปวยโรคเรื้อรังใหเลิกสูบบุหรี่และดื่มสุรา 5.เพ่ิมศักยภาพทุกภาคีเครือขายในตําบลจัดการสขุภาพใหสามารถควบคุมและจัดการปญหาการสูบบุหรี่และดื่มสุราในชุมชน และสถานท่ีสาธารณะ

สรางเสริมความเขมแข็งและพัฒนาขีดความสามารถในการควบคุมยาสูบของประเทศ

- กรมควบคุมโรค - สํานักงานปลัด กระทรวงสาธารณสุข - เครือขายวิชาชีพสุขภาพเพ่ือสังคมไทยปลอดบุหรี่ - มูลนิธิรณรงคเพ่ือการไมสูบบุหรี่ - ศูนยวิจัยและจัดการความรูเพ่ือการควบคุมยาสูบ - สํานักงานสถิติแหงชาติ - กรมสงเสริมการปกครองสวนทองถ่ิน - สสส. - Southeast Asia Tobacco Control Alliance

1.ผลักดันนโยบายควบคุมยาสูบตามกรอบอนุสัญญาขององคการอนามัยโลก

6,000,000

2.พัฒนาโครงสรางและบริหารจัดการเพ่ือสรางความรวมมือดานการควบคุมยาสูบแบบบูรณาการในทุกระดบั

120,000,000

3.พัฒนาศักยภาพและขีดความสามารถของบุคลากรและภาคีเครือขาย

32,000,000

4.พัฒนาระบบเฝาระวัง ควบคุมกํากับ และติดตามประเมินการควบคุมยาสูบทุกระดับ

27,000,000

5.สนับสนุนการศึกษาวิจัยและการจัดการความรูเพ่ือการควบคุมยาสูบ

37,000,000

6.ปรับปรุงกฎหมายและระบบการบังคับใชกฎหมายท่ีเอ้ือตอการควบคุมยาสูบ

15,000,000

ปองกันมิใหเกิดผูเสพยาสูบรายใหมและเฝาระวังธุรกิจยาสูบท่ีมุงเปาไปยังเด็ก เยาวชน และนักสูบหนาใหม 1. สรางความตระหนัก จิตสํานึกในพิษภัยยาสูบ คานิยมการไมสบูบุหรี่ใหกับเยาวชนและประชาชนท่ัวไป และพัฒนาสื่อ

- กรมควบคุมโรค - กรมอนามัย - กก. - วธ.

145,000,000

Page 168: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

159

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะกลาง (พ.ศ. 2561 - 2564) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) การสื่อสารท่ีเขาถึงใจผูบริโภค 2. สรางสิ่งแวดลอมทางกายภาพและสังคมเพ่ือเอ้ือตอการไมสูบบุหรี่ของเยาวชน 3. พัฒนาศักยภาพแกนนําและเครือขายเพ่ือปองกันนักสูบหนาใหม 4. เฝาระวัง ควบคุม และบังคับใชกฎหมายท่ีเก่ียวของกับธุรกิจยาสูบในสถานศึกษาและกลุมเยาวชน

- ศธ. - กระทรวงดิจิทัลฯ - เครือขายครูนักรณรงคเพ่ือการไมสูบบุหรี่ - สํานักงานสงเสริมสวัสดภิาพและพิทักษ เด็ก เยาวชน (สท.)

ชวยผูเสพใหเลิกใชยาสูบ 1.พัฒนาคุณภาพระบบบริการเลิกยาสูบ และสายดวนเลิกบุหรี่. 2.พัฒนาศักยภาพบุคลากร และภาคีตางๆท่ีเก่ียวของท่ีเปนผูใหบริการเลิกยาสูบ 3.สรางเสริมพลังชุมชนและเครือขายเพ่ือการบําบัดผูเสพยาสูบ

- กรมควบคุมโรค - สป.สธ - กรมการแพทย - กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ - เครือขายวิชาชีพสุขภาพฯ - Quit line 1600 - มูลนิธิรณรงคเพ่ือการไมสูบบุหรี่ - สมาพันธเครือขายแหงชาติเพ่ือสังคมไทยปลอดบุหรี่ - กรมสงเสริมการปกครองทองถ่ิน

165,000,000

Page 169: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

160

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะกลาง (พ.ศ. 2561 - 2564) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) ควบคุมและเปดเผยสวน ประกอบผลิตภัณฑยาสูบ 1. ปรับปรุงกฎหมาย แนวทางการดําเนินการวาดวยการจดแจงสวนประกอบฯ ใหเปนไปตามพันธะกรณีระหวางประเทศ WHO FCTC 2. สรางกระบวนการบริหารจัดการขอมูลสวนประกอบผลิตภัณฑยาสูบ 3.สรางกลไกใหธุรกิจยาสูบปฏิบัติตามกฎหมายฯ 4.เฝาระวังและเผยแพรขอมูลสารอันตรายของผลิตภัณฑยาสูบ

- กรมควบคุมโรค - สํานักงานปลดักระทรวงสาธารณสุข - กรมการแพทย

20,000,000

ทําส่ิงแวดลอมใหปลอดควันบุหรี่ 1.ปรับปรุงกฎหมายใหสถานท่ีสาธารณะและสถานท่ีทํางานทุกแหงปลอดควันบุหรี่ 100 % 2.สงเสริมสนับสนุนใหมีการปฏิบัติตามกฎหมายในทุกท่ีท่ีกําหนดใหปลอดควันบุหรี่ 3.ดําเนินการบังคับใชกฎหมายอยางจริงจังและมีประสิทธิภาพ 4.ปรับเปลี่ยน ทัศนคติ พฤติกรรม และคานิยมของการเสพยาสูบเพ่ือใหการไมสูบบุหรี่ในบาน สถานท่ีทํางานและสถานท่ีสาธารณะเปนบรรทัดฐานของสังคมไทย 5.เฝาระวังและควบคุมกํากับและประเมินผลการทําสิ่งแวดลอมปลอดควันบุหรี่

- สธ - ศธ - วธ. - พม. - มท - กก. - กรุงเทพมหานครและเมืองพัทยา

244,000,000

มาตรการทางภาษีและปราบปรามเพ่ือควบคุมยาสูบ 1.ปรับปรุงโครงสรางภาษียาสูบ 2.ปองกันและปราบปรามยาสูบท่ีผิดกฎหมาย

- กรมสรรพสามิต - สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง - กรมควบคุมโรค

105,000,000

Page 170: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

161

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะกลาง (พ.ศ. 2561 - 2564) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) - กรมศุลกากร - สํานักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะยาว (พ.ศ. 2565 – 2573) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) เสริมการดําเนินงานของกรอบอนุสัญญาขององคการอนามัยโลกวาดวยการควบคุมยาสูบตามความเหมาะสม

1.สนับสนุนและเพ่ิมการเขาถึงสถานบริการชวยเลิกบหุรี่และเหลาในสถานบริการและชุมชน 2.บังคับใชกฎหมายท่ีเก่ียวของทุกมาตรา 3.สงเสริม สนับสนุนและรวมกับหนวยงานระดับจังหวัดในการดําเนินงานเฝาระวังการสูบบุหรี่และดื่มเหลาหนาใหม โดยเฉพาะเยาวชนในพ้ืนท่ีท้ังโรงเรียน/สถานศึกษาและชุมชน 4.สรางความตระหนักรูอยางเขมงวดในกลุมผูปวยโรคเรื้อรังใหเลิกสูบบุหรี่และดื่มสุรา 5.เพ่ิมศักยภาพทุกภาคีเครือขายในตําบลจัดการสุขภาพให

สรางเสริมความเขมแข็งและพัฒนาขีดความสามารถในการควบคุมยาสูบของประเทศ 1. ผลักดันนโยบายควบคุมยาสูบตามกรอบอนุสัญญาขององคการอนามัยโลก 2.พัฒนาโครงสรางและบริหารจัดการเพ่ือสรางความรวมมือดานการควบคุมยาสบูแบบบูรณาการในทุกระดับ 3.พัฒนาศักยภาพและขีดความสามารถของบุคลากรและภาคีเครือขาย 4.พัฒนาระบบเฝาระวัง ควบคุมกํากับ และติดตามประเมินการควบคุมยาสูบทุกระดับ 5.สนับสนุนการศึกษาวิจัยและการจัดการความรูเพ่ือการควบคุมยาสูบ 6.ปรับปรุงกฎหมายและระบบการบังคับใชกฎหมายท่ีเอ้ือตอการควบคุมยาสูบ

- กรมควบคุมโรค - สํานักงานปลัด กระทรวงสาธารณสุข - เครือขายวิชาชีพสุขภาพเพ่ือสังคมไทยปลอดบุหรี่ - มูลนิธิรณรงคเพ่ือการไมสูบบุหรี่ - ศูนยวิจัยและจัดการความรูเพ่ือการควบคุมยาสูบ - สํานักงานสถิติแหงชาติ - กรมสงเสริมการปกครองสวนทองถ่ิน - สสส.

494,000,000

Page 171: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

162

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะยาว (พ.ศ. 2565 – 2573) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) สามารถควบคุมและจัดการปญหาการสูบบุหรี่และดื่มสุราในชุมชน และสถานท่ีสาธารณะ

- Southeast Asia Tobacco Control Alliance

ปองกันมิใหเกิดผูเสพยาสูบรายใหมและเฝาระวังธุรกิจยาสูบท่ีมุงเปาไปยังเด็ก เยาวชน และนักสูบหนาใหม 1. สรางความตระหนัก จิตสํานึกในพิษภัยยาสูบ คานิยมการไมสูบบุหรี่ใหกับเยาวชนและประชาชนท่ัวไปและพัฒนาสื่อ การสื่อสารท่ีเขาถึงใจผูบริโภค 2. สรางสิ่งแวดลอมทางกายภาพและสังคมเพ่ือเอ้ือตอการไมสูบบุหรี่ของเยาวชน 3. พัฒนาศักยภาพแกนนําและเครือขายเพ่ือปองกันนักสูบหนาใหม 4. เฝาระวัง ควบคุม และบังคับใชกฎหมายท่ีเก่ียวของกับธุรกิจยาสูบในสถานศึกษาและกลุมเยาวชน

- กรมควบคุมโรค - กรมอนามัย - กก. /- วธ. /- ศธ. - กระทรวงดิจิทัลฯ - เครือขายครูนักรณรงคเพ่ือการไมสูบบุหรี่ - สํานักงานสงเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ เด็ก เยาวชน (สท.)

260,000,000

ชวยผูเสพใหเลิกใชยาสูบ 1.พัฒนาคุณภาพระบบบริการเลิกยาสูบ และสายดวนเลิกบุหรี่. 2.พัฒนาศักยภาพบุคลากร และภาคีตางๆท่ีเก่ียวของท่ีเปนผูใหบริการเลิกยาสูบ 3.สรางเสริมพลังชุมชนและเครือขายเพ่ือการบําบัดผูเสพยาสูบ

กรมควบคุมโรค/ สํานักงานปลัด กระทรวงสาธารณสุข/ กรมการแพทย/ สบส./เครือขายวิชาชีพสุขภาพฯ/ Quit line 1600/ มูลนิธิรณรงคเพ่ือการไมสูบบุหรี่ - สมาพันธเครือขาย

165,000,000

Page 172: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

163

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะยาว (พ.ศ. 2565 – 2573) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) แหงชาติเพ่ือสังคมไทยปลอดบุหรี่ - กรมสงเสริมการปกครองสวนทองถ่ิน

ควบคุมและเปดเผยสวน ประกอบผลิตภัณฑยาสูบ 1. ปรับปรุงกฎหมาย แนวทางการดําเนินการวาดวยการจดแจงสวนประกอบฯ ใหเปนไปตามพันธะกรณีระหวางประเทศ WHO FCTC 2. สรางกระบวนการบริหารจัดการขอมูลสวนประกอบผลิตภัณฑยาสูบ 3.สรางกลไกใหธุรกิจยาสูบปฏิบัติตามกฎหมายฯ 4.เฝาระวังและเผยแพรขอมูลสารอันตรายของผลิตภัณฑยาสูบ

- กรมควบคุมโรค - สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข - กรมการแพทย

500,000,000

ทําส่ิงแวดลอมใหปลอดควันบุหรี่ 1.ปรับปรุงกฎหมายใหสถานท่ีสาธารณะและสถานท่ีทํางานทุกแหงปลอดควันบุหรี่ 100 % 2. สงเสริมสนับสนุนการปฏิบัติตามกฎหมายท่ีท่ีกําหนดใหปลอดควันบุหรี่ 3. ดําเนินการบังคับใชกฎหมายอยางจริงจังและมีประสิทธิภาพ 4.ปรับเปลี่ยน ทัศนคติ พฤติกรรม และคานิยมของการเสพยาสูบเพ่ือใหการไมสูบบุหรี่ในบาน สถานท่ีทํางานและสถานท่ีสาธารณะเปนบรรทัดฐานของสังคมไทย 5.เฝาระวังและควบคุมกํากับและประเมินผลการทําสิ่งแวดลอมปลอดควันบุหรี่

- สธ. - ศธ. - วธ. - พม. - มท. - กก. - กรุงเทพมหานครและเมืองพัทยา

250,000,000

Page 173: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

164

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะยาว (พ.ศ. 2565 – 2573) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) มาตรการทางภาษีและปราบปรามเพ่ือควบคุมยาสูบ 1.ปรับปรุงโครงสรางภาษียาสูบ 2.ปองกันและปราบปรามยาสูบท่ีผิดกฎหมาย

- กรมสรรพสามิต - สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง - กรมควบคุมโรค - กรมศุลกากร - สํานักงานกองทุนสนับสนนุการสรางเสริมสุขภาพ

105,000,000

Page 174: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

165

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

Roadmap SDG 3

เปาหมายท่ี 3 สรางหลักประกันวาคนมีชีวิตท่ีมีสุขภาพดีและสงเสริมสวัสดิภาพสําหรับทุกคนในทุกวยั เปาประสงคท่ี 3.b สนับสนุนการวิจัยและการพัฒนาวัคซีนและยาสําหรับโรคติดตอและไมติดตอท่ีสงผลกระทบโดยตรงตอประเทศกําลังพัฒนา ใหมีการเขาถึงยาและ

วัคซีนจําเปนในราคาท่ีสามารถซ้ือหาได ตามปฏิญญาโดฮาความตกลงวาดวยสิทธิในทรัพยสินทางปญญาท่ีเก่ียวกับการคาและการสาธารณสุข ซ่ึงเนนย้ําสิทธิสําหรับประเทศกําลังพัฒนาท่ีจะใชบทบัญญัติในความตกลงวาดวยสิทธิในทรัพยสินทางปญญาท่ีเก่ียวกับการคาอยางเต็มท่ีในเรื่องการผอนปรนเพ่ือจะปกปองสุขภาพสาธารณะและโดยเฉพาะการเขาถึงยาโดยถวนหนา (สนับสนุนการวิจัยและการพัฒนาวัคซีนและยาสําหรับโรคติดตอและไมติดตอท่ีสงผลกระทบโดยตรงตอประเทศกําลังพัฒนา ใหมีการเขาถึงยาและวัคซีนจําเปนในราคาท่ีสามารถซ้ือหาได)

ตัวช้ีวัดท่ี 3.b.1 สัดสวนของประชากรท่ีเขาถึงยา และวัคซีน ในราคาท่ีสามารถหาซ้ือไดท่ีตั้งอยูบนหลักความยั่งยืน 3.b.2 เงินชวยเหลือเพ่ือการพัฒนาอยางเปนทางการสุทธิรวม (Total net official development assistance-ODA) ตอการวิจัยทางการแพทย และ

ดานสุขภาพข้ันพ้ืนฐาน

เปาหมาย สถานภาพ วัคซีน เปนเครื่องมือหนึ่งในการควบคุมปองกันโรคท่ีมีประสิทธิภาพสูงท่ีสุด กระบวนการพัฒนาและผลิตวัคซีนใชเทคโนโลยีชั้นสูง มีความยุงยาก

ซับซอน มีการควบคุมคุณภาพเขมงวด ใชเวลานาน จึงทําใหตนทุนสูง จํานวนผูประกอบการจึงมีนอย ดังนั้นเพ่ือลดความเสี่ยงของธุรกิจ บริษัทจึงมุงผลิตวัคซีนสําหรับประเทศท่ีมีกําลังซ้ือสูง และหยุด/ลดการผลิต หรือไมจําหนายวัคซีนใหแกประเทศท่ีมีกําลังซ้ือต่ํา ประเทศกําลังพัฒนา เชน ประเทศไทยยังผลิตวัคซีนใชเองไดนอย (วัคซีนสมัยใหม) ประกอบกับมีปญหางบประมาณ และอ่ืน ๆ อีกหลายดานในการจัดซ้ือจัดหาวัคซีน จึงเกิดการขาดแคลน หรือไดรับวัคซีนไมทันเวลา ท้ังในภาวะปกติและภาวะฉุกเฉิน ทําใหมีความม่ันคงดานวัคซีนนอย (Vaccine security) ในสวนของ ยาเคมี ประเทศไทยยังไมพรอมในการเปนประเทศวิจัยพัฒนายาใหม อุตสาหกรรมยาในประเทศ สวนใหญเปนการผลิตยาสามัญ และกําลังเผชิญกับขอตกลงระหวางประเทศท่ีจะชะลอการผลิตยาสามัญ ทดแทนยาตนแบบท่ีผูกขาดในตลาด และตองพ่ึงพาวัตถุดิบจากตางประเทศ ยาตนแบบท่ีพัฒนาข้ึนจากตางประเทศมีราคาแพง กลไกในการควบคุมราคา และ การใชสิทธิตามปฏิญญาโดฮา ยังมีขอจํากัด

Page 175: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

166

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะสั้น(พ.ศ.2560) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) สนับสนุนการวิจัยและการพัฒนาวัคซีนและยาสําหรับโรคติดตอและไมติดตอท่ีสงผลกระทบโดยตรงตอประเทศกําลังพัฒนา ใหมีการเขาถึงยาและวัคซีนจําเปนในราคาท่ีสามารถซ้ือหาได ตามปฏิญญาโดฮาความตกลงวาดวยสิทธิในทรัพยสินทางปญญาท่ีเก่ียวกับการคาและการสาธารณสุข ซ่ึงเนนย้ําสิทธิสําหรับประเทศกําลังพัฒนาท่ีจะใชบทบัญญัติในความตกลงวาดวยสิทธิในทรัพยสินทางปญญาท่ีเก่ียวกับการคาอยางเต็มท่ีในเรื่องการผอนปรนเพ่ือจะปกปอง

- มาตรการเก่ียวกับการจัดซ้ือยาของภาครัฐ - มาตรการเพ่ือสงเสริมการลงทุนอุตสาหกรรมยา - มาตรการดานทรัพยสินทางปญญาและสิทธบิัตรยา - มาตรการสงเสริมอุตสาหกรรมการผลิตสมุนไพร / ชีววัตถุ

การบูรณาการมาตรการเพ่ือการเขาถึงยา ควบคุมคาใชจาย สรางเศรษฐกิจและความม่ันคงดานยา 1.จัดทําแผนพัฒนาสูตลาดของบัญชียามุงเปา เพ่ือสงเสริมการเขาถึงยา ควบคุมคาใชจาย สรางเศรษฐกิจและความม่ันคงดานยา ผานกลไกประชารัฐ 2.พัฒนากลไกดานทรัพยสินทางปญญาใหเอ้ือตอการเขาถึงยาและการผลิตยา 3.กําหนดชองทางพิเศษข้ึนทะเบียนตํารับยาในบัญชีมุงเปา 4.สงเสริมการผลิต การตลาดและการวิจัยพัฒนายาในประเทศ 5.ปรับปรุงและพัฒนากฎระเบียบท่ีเปนอุปสรรคตอการพัฒนาอุตสาหกรรมการผลิตยาในประเทศ การบูรณาการมาตรการสงเสริมการใชยาอยางสมเหตุผลในโรงพยาบาล 1.สงเสริมการใชยาอยางสมเหตุผลในโรงพยาบาลรัฐตามนโยบาย “โรงพยาบาลสงเสริมการใชยาอยางสมเหตุผล” 2.สงเสริมการใชยาปฏิชีวนะอยางสมเหตุผล 3.ทบทวนทะเบียนตํารับยาท่ีไมเหมาะสม 4.สงเสริมการใชยาสามัญทดแทนยาตนแบบ การพัฒนากลไกประสานเชื่อมโยงนโยบายและยุทธศาสตรการพัฒนาระบบยาแหงชาติ

สํานักยา สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา

Page 176: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

167

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะสั้น(พ.ศ.2560) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) สุขภาพสาธารณะและโดยเฉพาะการเขาถึงยาโดยถวนหนา (สนับสนุนการวิจัยและการพัฒนาวัคซีนและยาสําหรับโรคติดตอและไมติดตอท่ีสงผลกระทบโดยตรงตอประเทศกําลังพัฒนา ใหมีการเขาถึงยาและวัคซีนจําเปนในราคาท่ีสามารถซ้ือหาได)

1. การปฏิรูประบบการจัดซ้ือยารวมระดับกองทุนของประเทศ โดยมีการตอรองราคาเพ่ือจัดซ้ือยารวมในระดับกองทุนประเทศ 2. การปฏิรูประบบการจัดซ้ือยาของภาครัฐโดยการประกันคุณภาพยาท่ีผลิตในประเทศโดยพัฒนาระบบบูรณาการขอมูลสารสนเทศเพ่ือการจัดซ้ือยา 3. การปฏิรปูระบบการจัดซ้ือยารวมระดบักองทุนของประเทศโดยแกไขกฎหมายใหสามารถจัดซ้ือยารวมในระดับประเทศได 4. การปฏิรปูระบบการจัดซ้ือยาของภาครัฐโดยการประกันคุณภาพยาท่ีผลิตในประเทศโดยพัฒนาระบบการรับรองผลิตภัณฑยาเพ่ือการจัดซ้ือยาของภาครัฐ

สํานักยา สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา

1.การปฏิรปูระบบการวิจัยทางคลนิิกในประเทศโดยพัฒนากฎหมายท่ีเก่ียวของพัฒนากระบวนการอนุญาตการวิจัยทางคลินิกและเพ่ิมความเขมแข็งในการตรวจตราการวิจัย 2.การปฏิรปูระบบการวิจัยทางคลนิิกในประเทศ โดยพัฒนาโครงสรางพ้ืนฐาน (Eco-System)และสงเสริมการลงทุนดานการศึกษาวิจัยทางคลินิก

สํานักยา สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา

- เสนอวัคซีนปองกันมะเร็งปากมดลูกใหไดรับการบรรจุในแผนงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค - ปรับปรุงกลไกการนําวัคซีนใหมมาใชในแผนสรางเสริมภูมิ คุมกันโรค

สถาบันวัคซีนแหงชาติ (องคการมหาชน)

4,000,000

Page 177: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

168

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะสั้น(พ.ศ.2560) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท)

- จัดทําขอเสนอเชิงนโยบายการนําวัคซีนใหมมาใชในแผนงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรคใน 5 ปขางหนา - จัดทําขอเสนอเชิงนโยบายระบบการจัดหา การสํารอง และการกระจายวัคซีน - จัดทําขอเสนอเชิงนโยบายแหลงทุนสําหรับการจัดซ้ือวัคซีนในแผนงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค

- สรางวัคซีนไขเลือดออกตัวเลือก (ชนิด LAV / DNA / VLP/ chimeric) serotype 3 และ 4 - ผลิตวัคซีนไขหวัดใหญเชื้อตายสําหรับการทดสอบในคนระยะท่ี 3 - ไดวัคซีนเดี่ยวคอตีบ บาดทะยัก ไอกรนแบบเขมขน - รับถายทอดเทคโนโลยีการผลิตวัคซีนไขสมองอักเสบเจอีจาก ม.มหิดล - ทํา antitoxin A (Botulinum antitoxin) ใหบริสุทธิ์

- สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ - ม.มหิดล - องคการเภสัชกรรม - สถานเสาวภา

120,000,000

- จัดเก็บขอมูลและชีววัสดุในศูนยทรัพยากรชีวภาพทางการแพทยตามมาตรฐานสากล - เตรียมความพรอมโรงงานผลิตวัคซีนระดับก่ึงอุตสาหกรรมท่ีใชเทคโนโลยีการผลิตวัคซีนชนิดเซลลสัตว/ เซลลแมลง และโรงงานผลิตวัคซีนท่ีใชเทคโนโลยีการผลิตวัคซีนชนิดแบคทีเรีย - ประเมินความพรอมและความเปนไปไดในการจัดตั้งศูนยทดสอบวัคซีนในสัตวทดลอง และจัดทําขอเสนอเชิงนโยบายสําหรับการจัดตั้งศูนยทดสอบวัคซีนในสัตวทดลอง

- สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ - ม.เทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี - ม.มหิดล - ม.นเรศวร - จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

190,000,000

Page 178: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

169

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะสั้น(พ.ศ.2560) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท)

- เสนอวัคซีนปองกันไวรัสโรตาใหไดรับการบรรจุในแผนงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค - จัดทําขอเสนอเชิงนโยบายเพ่ือบริหารจัดการวัคซีนดานตาง ๆ - พัฒนารูปแบบการใหบริการวัคซีนตลอดชวงชีวิต เชน วัยรุน วัยผูใหญ วัยผูสูงอายุ เปนตน - พัฒนางานขอมูลขาวสารตลาดวัคซีน (Vaccine Market Intelligent Unit: VMIU)

สถาบันวัคซีนแหงชาติ (องคการมหาชน)

4,000,000

- ผลิต Master seed และ Working seed ของวัคซีนไขเลือดออกตามมาตรฐาน GMP - ทดสอบวัคซีนไขหวัดใหญเชื้อตายในคนระยะท่ี 3 - ทดสอบความคงตัวของวัคซีนเดี่ยวคอตีบ บาดทะยัก ไอกรน รวมท้ังทดสอบวัคซีนในสัตวทดลอง - คนหาสภาวะท่ีเหมาะสมและสอบทานเครื่องมือของการผลิตวัคซีนไขสมองอักเสบเจอี - ทํา antitoxin B (Botulinum antitoxin) ใหบริสุทธิ์ รวมท้ังทดสอบ antitoxin A (Botulinum antitoxin) ในสัตวทดลอง

- สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาต ิ- ม.มหิดล - องคการเภสัชกรรม - สถานเสาวภา

120,000,000

- ตรวจสอบคุณภาพและความถูกตองของชีววัสดุท่ีถูกจัดเก็บในศูนยทรัพยากรชีวภาพทางการแพทยโดยใชวิธีทาง molecular genetics - โรงงานผลิตวัคซีนระดับก่ึงอุตสาหกรรมไดรับการรับรองมาตรฐาน GMP Pics

- สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาต ิ- มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุร ี

190,000,000

Page 179: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

170

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะสั้น(พ.ศ.2560) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท)

- เตรียมความพรอมดานโครงสรางพ้ืนฐาน วัสดุอุปกรณ เครื่องมือ และสนับสนุนการพัฒนาบุคลากรสําหรับศูนยทดสอบวัคซีนในสัตวทดลอง

- ม.มหิดล - ม.นเรศวร - จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

- เสนอวัคซีนรวมปองกันคอตีบ-บาดทะยัก-ไอกรน-ตับอักเสบบีใหไดรับการบรรจุในแผนงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค - จัดทําขอเสนอเชิงนโยบายเพ่ือบริหารจัดการวัคซีนดานตาง ๆ - พัฒนารูปแบบการใหบรกิารวัคซีนตลอดชวงชีวิต เชน วัยรุน วัยผูใหญ วัยผูสูงอายุ เปนตน - พัฒนางานขอมูลขาวสารตลาดวัคซีน (Vaccine Market Intelligent Unit: VMIU)

สถาบันวัคซีนแหงชาติ (องคการมหาชน)

4,000,000

- ทดสอบวัคซีนไขเลือดออกอยางนอย 1 ชนิดในสัตวทดลอง - ยื่นขอมูลเพ่ือขอข้ึนทะเบียนวัคซีนไขหวัดใหญเชื้อตาย - ศึกษาเปรียบเทียบวัคซีนเดี่ยวคอตีบ บาดทะยัก ไอกรน กับวัคซีนมาตรฐานในทองตลาด - ทดสอบวัคซีนไขสมองอักเสบเจอีในสัตวทดลอง - ทดสอบ antitoxin B (Botulinum antitoxin) ในสัตวทดลอง รวมท้ังผสมสูตร antitoxin A และ antitoxin B (Botulinum antitoxin) และทดสอบในสัตวทดลอง

- สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ - ม.มหิดล - องคการเภสัชกรรม - สถานเสาวภา

120,000,000

Page 180: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

171

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะสั้น(พ.ศ.2560) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท)

- พัฒนาระบบ on line สําหรับการฝากชีววัสดุและการขอรับบริการชีววัสดุของศูนยทรัพยากรชีวภาพทางการแพทย - เตรียมความพรอมโรงงานผลิตวัคซีนระดับก่ึงอุตสาหกรรมรองรับการผลิตวัคซีนเพ่ือทดสอบในคน - ศูนยทดสอบวัคซีนในสัตวทดลองจัดเตรียมเอกสารเพ่ือรับการรับรองมาตรฐาน

- สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ - ม.เทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี - ม.มหิดล - ม.นเรศวร - จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

190,000,000

- เสนอวัคซีนปองกันโรคปอดอักเสบใหไดรับการบรรจุในแผนงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค - จัดทําขอเสนอเชิงนโยบายเพ่ือบริหารจัดการวัคซีนดานตาง ๆ - พัฒนารูปแบบการใหบริการวัคซีนตลอดชวงชีวิต เชน วัยรุน วัยผูใหญ วัยผูสูงอายุ เปนตน - พัฒนางานขอมูลขาวสารตลาดวัคซีน (Vaccine Market Intelligent Unit: VMIU)

สถาบันวัคซีนแหงชาติ (องคการมหาชน)

4,000,000

- ทดสอบวัคซีนไขเลือดออกอยางนอย 1 ชนิดในคนระยะท่ี 1 - วัคซีนไขหวัดใหญเชื้อตายไดรับการข้ึนทะเบียน - วัคซีนรวม dT และ DTP ไดรับการข้ึนทะเบียน - ทดสอบวัคซีนไขสมองอักเสบเจอีในคนระยะท่ี 1 - ผลิต Botulinum antitoxin เพ่ือทดสอบในคน

- สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาต ิ- ม.มหิดล - องคการเภสัชกรรม - สถานเสาวภา

120,000,000

Page 181: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

172

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะสั้น(พ.ศ.2560) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท)

- ศูนยทรัพยากรชีวภาพทางการแพทยจัดเตรียมและยื่นเอกสาร เพ่ือขอรับการรับรองมาตรฐาน - โรงงานผลิตวัคซีนระดับก่ึงอุตสาหกรรมผลิตวัคซีนเพ่ือทดสอบในคนไดอยางนอย 1 ชนิด - ศูนยทดสอบวัคซีนในสัตวทดลองยื่นเอกสารเพ่ือขอรับการรับรองมาตรฐาน

- สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ - มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี - ม.มหิดล - ม.นเรศวร - จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

190,000,000

Page 182: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

173

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะกลาง (พ.ศ. 2561 - 2564) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) สนับสนุนการวิจัยและการพัฒนาวัคซีนและยาสําหรับโรคติดตอและไมติดตอท่ีสงผลกระทบโดยตรงตอประเทศกําลังพัฒนา ใหมีการเขาถึงยาและวัคซีนจําเปนในราคาท่ีสามารถซ้ือหาได ตามปฏิญญาโดฮาความตกลงวาดวยสิทธิในทรัพยสินทางปญญาท่ีเก่ียวกับการคาและการสาธารณสุข ซ่ึงเนนย้ําสิทธิสําหรับประเทศกําลังพัฒนาท่ีจะใชบทบัญญัติในความตกลงวาดวยสิทธิในทรัพยสินทางปญญาท่ีเก่ียวกับการคาอยางเต็มท่ีในเรื่องการผอนปรนเพ่ือจะปกปองสุขภาพสาธารณะและโดยเฉพาะการเขาถึงยาโดยถวนหนา

- มาตรการเก่ียวกับการจัดซ้ือยาของภาครัฐ - มาตรการเพ่ือสงเสริมการลงทุนอุตสาหกรรมยา - มาตรการดานทรัพยสินทางปญญาและสิทธบิัตรยา - มาตรการสงเสริมอุตสาหกรรมการผลิตสมุนไพร / ชีววัตถุ

- แผนยุทธศาสตรพัฒนาระบบยาแหงชาติ พ.ศ. 2560-2564 - แผนยุทธศาสตรวัคซีนแหงชาติ พ.ศ. 2560-2564 - จัดทํา (ราง) แผนยุทธศาสตร 3 ฉบับ (พ.ศ. 2560 – 2564) ไดแก

• แผนยุทธศาสตรวัคซีนแหงชาติ

• แผนยุทธศาสตรพัฒนาระบบยาแหงชาติ

• แผนแมบทแหงชาติวาดวยการพัฒนาสมุนไพร

- สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา - สถาบันวัคซีนแหงชาติ (องคการมหาชน)

- แผนวิจัยและพัฒนายาใหม ยาสามัญใหม ชีววัตถุ สมุนไพร วัตถุดิบทางยา (ขององคการเภสัชกรรม) - เขารวมในแผนยุทธศาสตรชาติท่ีเก่ียวของ ไดแก

• แผนยุทธศาสตรพัฒนาระบบยาแหงชาติ พ.ศ. 2560-2564

• แผนยุทธศาสตรวัคซีนแหงชาติ พ.ศ. 2560-2564 - เขารวมการจัดทํา (ราง) แผนยุทธศาสตร 3 ฉบับ (พ.ศ. 2560 – 2564) ไดแก

• แผนยุทธศาสตรวัคซีนแหงชาติ

• แผนยุทธศาสตรพัฒนาระบบยาแหงชาติ

• แผนแมบทแหงชาติวาดวยการพัฒนาสมุนไพร

องคการเภสัชกรรม ใชงบดําเนินการปกติขององคการเภสัชกรรม (เงินรายไดองคการเภสัชกรรม)

Page 183: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

174

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะกลาง (พ.ศ. 2561 - 2564) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) (สนับสนุนการวิจัยและการพัฒนาวัคซีนและยาสําหรับโรคติดตอและไมติดตอท่ีสงผลกระทบโดยตรงตอประเทศกําลังพัฒนา ใหมีการเขาถึงยาและวัคซีนจําเปนในราคาท่ีสามารถซ้ือหาได)

- เสนอวัคซีนใหมใหไดรับการบรรจุในแผนงานสรางเสริม ภูมิคุมกันโรค

สถาบันวัคซีนแหงชาติ (องคการมหาชน)

4,000,000

- กําหนดโจทยวิจัย ดําเนินการทบทวนสถานการณและ/หรือผลการศึกษาวิจัยท่ีเก่ียวของตามโจทยวิจัย - สังเคราะหรางขอเสนอเชิงนโยบายดานวัคซีน -เสนอรางขอเสนอเชิงนโยบายตอผูบรหิารในระดับนโยบาย และคณะกรรมการวัคซีนแหงชาติ

สถาบันวัคซีนแหงชาติ (องคการมหาชน)

16,000,000

- สนับสนุนทุนเพ่ือพัฒนาวัคซีนเปาหมายของประเทศ 3,000,000,000 - สนับสนุนทุนเพ่ือพัฒนายาชีววัตถุสําหรับการรักษาผูปวยมะเร็ง และโรคติดเชื้อ

1,000,000,000

- สนับสนุนทุนเพ่ือการจัดตั้งโครงสรางพ้ืนฐานดานวัคซีน 3,000,000,000

Page 184: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

175

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะยาว (พ.ศ.2565 – 2573) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) สนับสนุนการวิจัยและการพัฒนาวัคซีนและยาสําหรับโรคติดตอและไมติดตอท่ีสงผลกระทบโดยตรงตอประเทศกําลังพัฒนา ใหมีการเขาถึงยาและวัคซีนจําเปนในราคาท่ีสามารถซ้ือหาได ตามปฏิญญาโดฮาความตกลงวาดวยสิทธิในทรัพยสินทางปญญาท่ีเก่ียวกับการคาและการสาธารณสุข ซ่ึงเนนย้ําสิทธิสําหรับประเทศกําลังพัฒนาท่ีจะใชบทบัญญัติในความตกลงวาดวยสิทธิในทรัพยสินทางปญญาท่ีเก่ียวกับการคาอยางเต็มท่ีในเรื่องการผอนปรนเพ่ือจะปกปองสุขภาพสาธารณะและโดยเฉพาะการเขาถึงยาโดยถวนหนา

- มาตรการเก่ียวกับการจัดซ้ือยาของภาครัฐ - มาตรการเพ่ือสงเสริมการลงทุนอุตสาหกรรมยา - มาตรการดานทรัพยสินทางปญญาและสิทธบิัตรยา - มาตรการสงเสริมอุตสาหกรรมการผลิตสมุนไพร / ชีววัตถุ

- เสนอวัคซีนใหมใหไดรับการบรรจุในแผนงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค

สถาบันวัคซีนแหงชาติ (องคการมหาชน)

4,000,000

- กําหนดโจทยวิจัย ดําเนินการทบทวนสถานการณและ/หรือผลการศึกษาวิจัยท่ีเก่ียวของตามโจทยวิจัย - สังเคราะหรางขอเสนอเชิงนโยบายดานวัคซีน -เสนอรางขอเสนอเชิงนโยบายตอผูบริหารในระดับนโยบาย และคณะกรรมการวัคซีนแหงชาติ

16,000,000

- สนับสนุนทุนเพ่ือพัฒนาวัคซีนเปาหมายของประเทศ สถาบันวัคซีนแหงชาติ (องคการมหาชน)

1,500,000,000 - สนับสนุนทุนเพ่ือพัฒนายาชีววัตถุสําหรับการรักษาผูปวยมะเร็ง และโรคติดเชื้อ

2,500,000,000

- สนับสนุนทุนเพ่ือขยายกําลังการผลิตวัคซีนสัตวทดแทนการนําเขา และผลิตวัคซีนสัตวชนิดใหม

3,250,000,000

- สนับสนุนทุนเพ่ือการจัดตั้งโครงสรางพ้ืนฐานดานวัคซีน 3,000,000,000

Page 185: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

176

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะยาว (พ.ศ.2565 – 2573) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) (สนับสนุนการวิจัยและการพัฒนาวัคซีนและยาสําหรับโรคติดตอและไมติดตอท่ีสงผลกระทบโดยตรงตอประเทศกําลังพัฒนา ใหมีการเขาถึงยาและวัคซีนจําเปนในราคาท่ีสามารถซ้ือหาได)

Page 186: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

177

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

Roadmap SDG 3

เปาหมายท่ี 3 สรางหลักประกันวาคนมีชีวิตท่ีมีสุขภาพดีและสงเสริมสวัสดิภาพสําหรับทุกคนในทุกวัย เปาประสงคท่ี 3.c เพ่ิมการใชเงินท่ีเก่ียวกับสุขภาพ และการสรรหา การพัฒนา การฝกฝน และการเก็บรักษากําลังคนดานสุขภาพในประเทศกําลังพัฒนา โดยเฉพาะ

อยางยิ่งในประเทศพัฒนานอยท่ีสุดและรัฐกําลังพัฒนาท่ีเปนเกาะขนาดเล็ก ตัวช้ีวัดท่ี 3.c.1 ความหนาแนนและการกระจายตัวของบุคลากรดานสาธารณสุข

เปาหมาย เพ่ิมการใชเงินท่ีเก่ียวกับสุขภาพ และการสรรหา การพัฒนา การฝกฝน และการเก็บรักษากําลังคนดานสุขภาพในประเทศกําลังพัฒนา โดยเฉพาะอยางยิ่งในประเทศพัฒนานอยท่ีสุดและรัฐกําลังพัฒนาท่ีเปนเกาะขนาดเล็ก

สถานภาพ ความหนาแนนของแพทย ทันตแพทย เภสัชกร และพยาบาล ปฏิบัติงานในกรุงเทพฯ สูงกวาในภาคตะวันออกเฉียงเหนือประมาณ 5-10 เทา การขาดแคลนแพทยในชนทบยังเปนปญหาท่ีสําคัญ ถึงแมจะมีเจาพนักงานสาธารณสุขชุมชนและพยาบาลเปนผูใหบริการในระดับปฐมภูมิในชนบท แตอยางไรก็ตาม มีความจําเปนท่ีจะตองมีแพทยและบุคลากรระดับวิชาชีพอ่ืนในระดับท่ีเหมาะสม เพ่ือใหเกิดความเทาเทียมในการเขาถึงบุคลากรระดับวิชาชีพ (ขอมูลจากสมัชชาสุขภาพแหงชาติ)

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะสั้น(พ.ศ.2560) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) เพ่ิมการใชเงินท่ีเก่ียวกับสุขภาพ และการสรรหา การพัฒนา การฝกฝน และการเก็บรักษากําลังคนดานสุขภาพ

1.พัฒนาระบบบริหารผลงาน (Performance Management) 2.ปรับปรุงระบบการสรรหาและการคัดเลือก แตงตั้ง ประเมิน ใหโปรงใส และเปนธรรม (Recruitment Process)

โครงการเสริมสรางความเขมแข็งในการการขับเคลื่อนกําลังคนทุกระดับ (Strengthen core HR organization)

สป.สธ. 84,000

โครงการพัฒนากระบวนการวางแผนกําลังคน โครงการพัฒนาฐานขอมูลกําลังคนดานสุขภาพ โครงการพัฒนากระบวนการวางแผนกําลังคน โครงการพัฒนาฐานขอมูลกําลังคนดานสุขภาพ โครงการจัดทําแผนพัฒนากําลังคนตามความตองการดานสุขภาพและบริบทของพ้ืนท่ี

120,000

Page 187: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

178

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะสั้น(พ.ศ.2560) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) 3. พัฒนาระบบคาตอบแทน

สิทธิประโยชน แรงจูงใจในการทํางาน และความกาวหนาในสายอาชีพอยางเปนธรรม (Retention Strategy &. Happy Work life)

โครงการจัดตั้งLearning Center สป.สธ. โครงการสรางระบบพ่ีเลี้ยง (Coaching and Mentoring) โครงการพัฒนาบุคลากรท่ีมีความสามารถพิเศษของหนวยงาน (Talent) โครงการเพ่ิมประสิทธิภาพการรับรูคานิยมองคกรกระทรวงสาธารณสุข (Core value :MOPH)

โครงการสงเสริมการสรางนวัตกรรมการบริหารจัดการกําลังคนดานสุขภาพ

โครงการปรับปรุงกระบวนการสรรหา/คัดเลือกบุคลากรเชิงรุก Succession planning โครงการธํารงรักษาบุคลากร : แผนการสงเสริมความกาวหนาในอาชีพ โครงการจัดการความสุขในองคกร โครงการปรับปรุงระบบการประเมินผลการปฏิบัติงาน (PMS) โครงการพัฒนาศักยภาพกําลังคนสุขภาพภาคประชาชน โครงการพัฒนาความรวมมือเครือขายกําลังคนดานสุขภาพ โครงการสรางและปรับภาพลักษณกระทรวงสาธารณสุข โครงการสรางและพัฒนาเครือขายประชาสัมพันธกระทรวงสาธารณสุข

Page 188: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

179

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะกลาง (พ.ศ. 2561 - 2564) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) เพ่ิมการใชเงินท่ีเก่ียวกับสุขภาพ และการสรรหา การพัฒนา การฝกฝน และการเก็บรักษากําลังคนดานสุขภาพ

1.พัฒนาระบบบริหารผลงาน (Performance Management) 2.ปรับปรุงระบบการสรรหาและการคัดเลือก แตงตั้ง ประเมิน ใหโปรงใส และเปนธรรม (Recruitment Process) 3. พัฒนาระบบคาตอบแทน สิทธิประโยชน แรงจูงใจในการทํางาน และความกาวหนาในสายอาชีพอยางเปนธรรม (Retention Strategy &. Happy Work life)

แผนการพัฒนาระบบบริหารจัดการกําลังคนดานสุขภาพ 1.โครงการพัฒนาการวางแผนกําลังคนดานสุขภาพ 2.โครงการผลิตและพัฒนากําลังคนดานสุขภาพสูความเปนมืออาชีพ 3.โครงการเพ่ิมประสิทธิภาพการบริหารจัดการกําลังคน 4.โครงการพัฒนาเครือขายกําลังคนดานสุขภาพ

บค/สบช./เขต กรมและหนวยงานสวนภูมิภาค

Page 189: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

180

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะยาว (พ.ศ.2565 – 2573) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) เพ่ิมการใชเงินท่ีเก่ียวกับสุขภาพ และการสรรหา การพัฒนา การฝกฝน และการเก็บรักษากําลังคนดานสุขภาพ

1.พัฒนาระบบบริหารผลงาน (Performance Management) 2.ปรับปรุงระบบการสรรหาและการคัดเลือก แตงตั้ง ประเมิน ใหโปรงใส และเปนธรรม (Recruitment Process) 3. พัฒนาระบบคาตอบแทน สิทธิประโยชน แรงจูงใจในการทํางาน และความกาวหนาในสายอาชีพอยางเปนธรรม (Retention Strategy &. Happy Work life)

แผนการพัฒนาระบบบริหารจัดการกําลังคนดานสุขภาพ 1.โครงการพัฒนาการวางแผนกําลังคนดานสุขภาพ 2.โครงการผลิตและพัฒนากําลังคนดานสุขภาพสูความเปนมืออาชีพ 3.โครงการเพ่ิมประสิทธิภาพการบริหารจัดการกําลังคน 4.โครงการพัฒนาเครือขายกําลังคนดานสุขภาพ

บค./สบช./เขต กรมและหนวยงานสวนภูมิภาค

Page 190: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

181

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

Roadmap SDG 3

เปาหมายท่ี 3 สรางหลักประกันวาคนมีชีวิตท่ีมีสุขภาพดีและสงเสริมสวัสดิภาพสําหรับทุกคนในทุกวัย เปาประสงคท่ี 3.d เสริมขีดความสามารถสําหรับทุกประเทศ โดยเฉพาะอยางยิ่งในประเทศกําลังพัฒนา ในเรื่องการแจงเตือนลวงหนา การลดความเสี่ยง และการ

บริหารจัดการความเสี่ยงดานสุขภาพในระดับประเทศและระดับโลก ตัวช้ีวัดท่ี 3.d.1 ปริมาณของกฎอนามัยระหวางประเทศ (International Health Regulations : IHR) และการเตรียมความพรอมฉุกเฉินดานสุขภาพ

เปาหมาย เสริมขีดความสามารถสําหรับทุกประเทศ โดยเฉพาะอยางยิ่งในประเทศกําลังพัฒนา ในเรื่องการแจงเตือนลวงหนา การลดความเสี่ยง และการบริหารจัดการความเสี่ยงดานสุขภาพในระดับประเทศและระดับโลก

สถานภาพ ปจจุบันสถานการณกําลังคนดานสุขภาพของประเทศ ยังเปนวิกฤตปญหาท่ีสําคัญของระบบสุขภาพ ท้ัง ในเรื่องความขาดแคลนบุคลากรในสาขาตาง ๆ การกระจายตัวท่ีไมเหมาะสมระหวางในเมืองและชนบท สิ่งแวดลอมในการปฏิบัติงานท่ีไมเอ้ือตอประสิทธิภาพของงาน ความสัมพันธระหวางผูใหบริการและผูรับบริการเปนตน โดยเฉพาะอยางยิ่งปญหาดานจํานวนท่ีไมเพียงพอ ในป 2548 ประเทศไทยมีแพทย 1 คนตอการดูแลประชากร 2,500 คน และเม่ือเปรียบเทียบกับประเทศท่ีมีระดับเศรษฐกิจท่ีใกลเคียงกันแลว ประเทศไทยมีความขาดแคลนแพทยเกือบมากท่ีสุด เพ่ือแกไขปญหาความขาดแคลนบุคลากร รัฐไดมีนโยบายการเพ่ิมการผลิตบุคลากรหลากหลายมาตรการ โดยในป 2549 มีการรับนักศึกษาแพทย ทันตแพทย และพยาบาลเพ่ิมข้ึนทุกกลุมโดยนักศึกษาแพทยท่ีรับเพ่ิมข้ึนเกือบรอยละ 50 จากป 2545

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะสั้น(พ.ศ.2560) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) เสริมขีดความสามารถสําหรับทุกประเทศ โดยเฉพาะอยางยิ่งในประเทศกําลังพัฒนา ในเรื่องการแจงเตือนลวงหนา การลดความ

1. บูรณาการระบบขอมูลท่ีสามารถเชื่อมโยงทุกหนวยงานท่ีเก่ียวของในระดับจังหวัดและพัฒนาระบบการจัดเก็บ รายงาน ขอมูลใหมีความถูกตองเชื่อถือได

โครงการพัฒนาระบบและศักยภาพบุคลากรเพ่ือเตรียมพรอมตอบโตภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขกรมควบคุมโรค ปงบประมาณ 2560 1. อบรม ICS เบื้องตนใหครบ 100% 2. ทบทวน และปรับปรุงแผน BCP & Surge Capacity ของหนวยงานท่ีเก่ียวของกับการจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข

สํานัก ระบาดวิทยา

2,420,000

Page 191: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

182

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะสั้น(พ.ศ.2560) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) เสี่ยง และการบริหารจัดการความเสี่ยงดานสุขภาพในระดบัประเทศและระดับโลก

2. สนับสนนุงบประมาณดําเนินงานของศูนยปฏิบัติการฯ รวมถึงการจายคาตอบแทนแกบุคลากร 3. สนับสนนุการพัฒนาศักยภาพของศูนยใหสามารถรองรับโรคและภัยสุขภาพพ้ืนท่ีรอยตอระหวางประเทศหรือดานเขาออก - สนับสนุนการเพ่ิมแพทยผูเชี่ยวชาญดานระบาดวิทยาภาคสนาม ในสัดสวนท่ีระบุตามกฎหมาย/ขอกําหนด การควบคุมโรคระหวางประเทศ IHR -พัฒนาทีม SRRTไดอยางมีประสิทธิภาพ 4.เรงรัดการออกกฎกระทรวงหรืออนุบัญญัติอ่ืนๆ และขับเคลื่อนการดําเนินงานตามภายใต พรบ.โรคไมติดตอ พ.ศ. 2558

3. จัดทําแผนปฏิบัติการควบคุมโรคและภัยสุขภาพ (All Hazard Plan) และ IAP ใหครบโรคและภัยสุขภาพ 4. อบรมและชี้แจงการปฏิบัติงานบุคลากรตามกลุมภารกิจใน ICS 5. จัดทํามาตรฐานการปฏิบัติงานในแตละกลุมภารกิจตามโครงสราง ICS

Page 192: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

183

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะสั้น(พ.ศ.2560) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) 5.สงเสริมใหประชาชนมีความรูในการเตรียมความพรอมรองรับหรือตอบโตภาวะฉุกเฉินทางดานสาธารณสุขและภัยสุขภาพไดอยางเหมาะสม ไมเกิดความตระหนัก

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะกลาง (พ.ศ. 2561 - 2564) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) เสริมขีดความสามารถสําหรับทุกประเทศ โดยเฉพาะอยางยิ่งในประเทศกําลังพัฒนา ในเรื่องการแจงเตือนลวงหนา การลดความเสี่ยง และการบริหารจัดการความเสี่ยงดานสุขภาพในระดบัประเทศและระดับโลก

1. บูรณาการระบบขอมูลท่ีสามารถเชื่อมโยงทุกหนวย งานท่ีเก่ียวของในระดับจังหวัดและพัฒนาระบบการจัดเก็บ รายงาน ขอมูลใหมีความถูกตองเชื่อถือได 2. สนับสนนุงบประมาณดําเนินงานของศูนยปฏิบัติการฯ รวมถึงการจายคาตอบแทนแกบุคลากร 3. สนับสนนุการพัฒนาศักยภาพของศูนยให

โครงการพัฒนาระบบและศักยภาพบุคลากรเพ่ือการเตรียมพรอมตอบโตภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข กรมควบคุมโรค ปงบประมาณ 2561 1. รายงานประเมินความเสี่ยงและจัดลําดับความสําคัญของโรคและภัยสุขภาพในพ้ืนท่ี 2. แผนบริหารความตอเนื่องของภารกิจหนวยงานและแผนปฏิบัติการรองรับภาวะฉุกเฉินของโรคและภัยสุขภาพท่ีสําคัญและมีโอกาสเกิดข้ึนสูงในพ้ืนท่ี 3. รายงานผลการซอมแผนและประเมินความพรอมการรองรับภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข 4. จํานวนทีมตระหนักรูสถานการณ (SAT) ปฏิบัติงานไดครบถวนตามมาตรฐานท่ีกําหนด ท้ังในภาวะปกติและภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข

สํานัก ระบาดวิทยา

50,000,000

Page 193: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

184

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะกลาง (พ.ศ. 2561 - 2564) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) สามารถรองรับโรคและภัยสุขภาพพ้ืนท่ีรอยตอระหวางประเทศหรือดานเขาออก - สนับสนุนการเพ่ิมแพทยผูเชี่ยวชาญดานระบาดวิทยาภาคสนาม ในสดัสวนท่ีระบุตามกฎหมาย/ขอกําหนด การควบคุมโรคระหวางประเทศ IHR -พัฒนาทีม SRRT ไดอยางมีประสิทธิภาพ 4.เรงรัดการออกกฎกระทรวงหรืออนุบัญญัติอ่ืนๆ และขับเคลื่อนการดําเนินงานตามภายใต พรบ.โรคไมติดตอ พ.ศ. 2558 5.สงเสริมใหประชาชนมีความรูในการเตรียมความพรอมรองรับหรือตอบโตภาวะฉุกเฉินทางดานสาธารณสุขและภัยสุขภาพไดอยางเหมาะสม ไมเกิดความตระหนัก

Page 194: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

185

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะยาว (พ.ศ.2565 – 2573) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) เสริมขีดความสามารถสําหรับทุกประเทศ โดยเฉพาะอยางยิ่งในประเทศกําลังพัฒนา ในเรื่องการแจงเตือนลวงหนา การลดความเสี่ยง และการบริหารจัดการความเสี่ยงดานสุขภาพในระดบัประเทศและระดับโลก

1. บูรณาการระบบขอมูลท่ีสามารถเชื่อมโยงทุกหนวยงานท่ีเก่ียวของในระดับจังหวัดและพัฒนาระบบการจัดเก็บ รายงาน ขอมูลใหมีความถูกตองเชื่อถือได 2. สนับสนนุงบประมาณดําเนินงานของศูนยปฏิบัติการฯ รวมถึงการจายคาตอบแทนแกบุคลากร 3. สนับสนุนการพัฒนาศักยภาพของศูนยใหสามารถรองรับโรคและภยัสุขภาพพ้ืนท่ีรอยตอระหวางประเทศหรือดานเขาออก - สนับสนุนการเพ่ิมแพทยผูเชี่ยวชาญดานระบาดวิทยาภาคสนาม ในสัดสวนท่ีระบุตามกฎหมาย/ขอกําหนด การควบคุมโรคระหวางประเทศ IHR

1. พัฒนาแผนบริหารจัดการตอบโตภาวะฉุกเฉินและมีการซอมแผนตามระยะเวลา 2. พัฒนาระบบขอมูลและการติดตามประสถานการณท่ีถูกตองเหมาะสมกับสถานการณ 3. พัฒนาเจาหนาท่ีในการปฏิบัติงานจัดการภาวะฉุกเฉินอยางพอเพียงตอสถานการณ 4. พัฒนาทีมปฏิบัติการท่ีดําเนินการไดอยางมีประสิทธิภาพปลอดภัยและรวดเร็ว 5. พัฒนาโครงสรางพ้ืนฐานและสงขอมูลสําหรับการสั่งการไดอยางมีประสิทธิภาพ

สํานัก ระบาดวิทยา

Page 195: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG

186

แผนที่นําทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 3

เปาหมาย มาตรการ การดําเนินงานระยะยาว (พ.ศ.2565 – 2573) หนวยงาน งบประมาณ

(บาท) -พัฒนาทีม SRRTไดอยางมีประสิทธิภาพ 4.เรงรัดการออกกฎกระทรวงหรืออนุบัญญัติอ่ืนๆ 5.สงเสริมใหประชาชนมีความรูในการเตรียมความพรอมรองรับหรือตอบโตภาวะฉุกเฉินทางดานสาธารณสุขและภัยสุขภาพไดอยางเหมาะสม ไมเกิดความตระหนัก

Page 196: แนวทางการขับเคลื่อน เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/SDG